Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19

การศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19

Published by Reading Room, 2021-08-10 03:58:09

Description: กลุ่ม 11 การศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19

Search

Read the Text Version

การศึกษาพฤติกรรมการใชอ้ ีเลิรน์ นิงและการเรยี นผา่ นอเี ลิรน์ นิง ของนิสติ คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ในช่วงสถานการณโ์ รค COVID-19 Exploring Using and Learning on the E-learning Behavior of Nursing students, Naresuan University in Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) situation โดย นางสาวจนั ทิมา พสิ ิฐพัฒนพงศ์ รหสั นสิ ิต 61560138 นางสาวฉัตรทพิ ย์ เทียนบุตร รหัสนสิ ิต 61560206 นางสาวณัฐณชิ า ใจธรรม รหัสนสิ ติ 61560336 นางสาวธนัชชา เมอื งงาว รหัสนิสติ 61560480 นางสาวบัวขาว เพ็งสวุ รรณ รหัสนสิ ิต 61560657 นางสาวปิยฉตั ร อะโนมา รหัสนสิ ิต 61560725 นางสาวภาวนิ ี วงกาวนิ รหสั นสิ ิต 61560862 นางสาวสภุ าพร กติ ิ รหสั นสิ ิต 61561289 อาจารย์ที่ปรกึ ษา ดร. รุ้งนภา ชัยรัตน์ มนี าคม 2564

กิตตกิ รรมประกาศ รายงานวิจยั ฉบับน้สี ำเรจ็ ลลุ ว่ งได้ด้วยความกรุณาอยา่ งสูงจาก อาจารย์ ดร.รุ้งนภา ชัยรัตน์ อาจารย์ที่ ปรึกษาโครงการวจิ ัย ผู้ชี้แนะแนวทาง ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่อยา่ งดยี ิง่ และให้ กำลังใจด้วยดีตลอดมา คณะผู้วิจัยตระหนักถึงความตั้งใจและความทุ่มเทของอาจารย์ และขอกราบ ขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ ทน่ี ้ี ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ศรีสุภา ใจโสภา อาจารย์ ดร.กัญญาณัฏฐ์ สาธกธรณ์ธันย์ และอาจารย์ ดร.กมลรจน์ วงษ์จนั ทร์หาญ ซ่งึ เปน็ ผู้เชย่ี วชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัย ทกี่ รุณาเสียสละเวลาอันมีค่าใน การให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรทุกทา่ นที่ใหค้ วามกรุณาใหค้ วามรู้ และคำแนะนำตลอดระยะเวลาการทำวจิ ยั และ เจ้าหน้าที่ทกุ ท่านท่ีอำนวยความสะดวกในทกุ ด้าน ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่าง นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ทีใ่ หค้ วามร่วมมือในการเข้า รว่ มการดำเนนิ การวิจัยเปน็ อย่างดีตลอดระยะเวลาในการเก็บข้อมูลในการทำวิจัยครั้งนี้ สุดท้ายน้ี คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณบิดา มารดา และสมาชิกทุกคนในครอบครัวที่ให้กำลังใจ และ สนับสนุนทุก ๆ ด้านตลอดมา ขอขอบคุณเพื่อนนิสิตปริญญาตรี พยาบาลศาสตรบัณฑิต ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ และให้กำลังใจเสมอมา และขอบพระคุณผู้ที่คณะผู้วิจัยได้ขอความร่วมมือโดยมิได้กล่าวนามมา ณ ที่น้ดี ้วย ปยิ ฉตั ร อะโนมา 22 มนี าคม 2564 ก

ช่อื เรอ่ื ง การศกึ ษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผา่ นอเี ลริ ์นนงิ ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ผวู้ ิจยั มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 นางสาวปิยฉตั ร อะโนมา อาจารยท์ ปี่ รึกษา นางสาวจันทมิ า พิสฐิ พัฒนพงศ์ คำสำคญั นางสาวฉัตรทพิ ย์ เทยี นบุตร นางสาวณัฐณิชา ใจธรรม นางสาวธนชั ชา เมืองงาว นางสาวบวั ขาว เพง็ สุวรรณ นางสาวภาวินี วงกาวิน นางสาวสุภาพร กติ ิ ดร. รงุ้ นภา ชัยรตั น์ พฤติกรรมการใชอ้ เี ลริ ์นนงิ พฤตกิ รรมการเรยี นผ่านอีเลิร์นนิง ชว่ งสถานการณ์โรค COVID-19 บทคดั ย่อ การวิจัยนีเ้ ป็นการวจิ ยั ย้อนหลังเชงิ พรรณนาแบบเปรียบเทียบ มีวัตถุประสงคเ์ พือ่ ศึกษา และเปรียบเทยี บ พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 กับชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร ภาคเรยี นที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 ในชว่ งสถานการณโ์ รค COVID-19 กล่มุ ตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยคร้งั น้ี คือ นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปที ี่ 2 และชนั้ ปที ี่ 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ทีล่ งทะเบียนเรียนภาคเรียน ท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 139 คน สุม่ ตวั อยา่ งแบบชั้นภูมิ (Stratified random sampling) เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ใน การวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ดัดแปลงมาจาก ของวรวุฒิ มั่นสุขผล และปุณเชษฐ์ จินางศุกะ (2558) ซึ่งหาค่าความเที่ยงโดยวิธีทดสอบซ้ำ ได้เท่ากับ 0.61 และ แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ดัดแปลงมาจากของปิยะ บูชา (2561) ซึ่งหาค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาครอนบาค ได้เท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบ Chi-square test สถิติ ทดสอบคา่ ที (t-test) และ Mann-Whitney U test ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง นิสิตทั้งสองชั้นปีมีการเรียนผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook) มากที่สุด นิสิตชั้นปีที่ 3 มีการใช้งานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัย (NU Wi-Fi) อินเทอร์เน็ต สาธารณะ/เน็ตประชารัฐ (Public Wi-Fi) และอื่น ๆ มากกว่านิสิตชั้นปีที่ 2 (p=0.036) นิสิตทั้งสองชั้นปีส่วนใหญ่ เข้าใช้อีเลิร์นนิงที่บ้าน นิสิตทั้งสองชั้นปีมีจำนวนวันในการใช้งานส่วนใหญ่ 5-6 วัน/สัปดาห์ นิสิตทั้งสองชั้นปีส่วน ใหญม่ ีการเข้าใช้งานช่วงเวลา 12.01-16.00 น. ระยะเวลาการเขา้ ใช้งานอีเลริ ์นนิงในแตล่ ะครง้ั แตกต่างกนั โดยนสิ ิต ชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่เข้าใช้งาน 4-6 ชั่วโมงต่อครั้ง และนิสิตชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่เข้าใช้งาน 1-3 ชั่วโมงต่อคร้ัง (p=0.021) ด้านวัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานพบว่า นิสิตทั้งสองชั้นปีมีการใช้งานเพื่อศึกษาบทเรียน/ทบทวน ข

บทเรียนมากที่สุด แต่ชั้นปีที่ 2 มีร้อยละของการเข้าใช้เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ มากกว่าชั้นปีที่ 3 ในทุกด้าน (p=0.021) ปัญหาและอุปสรรคพบว่า ด้านอุปกรณ์/เครือข่ายอินเทอร์เนต็ มีปญั หาและอุปสรรคมากที่สุดของนสิ ิต ทง้ั สองช้ันปี 2. พฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงพบว่า ทั้งสองช้ันปีไม่แตกต่างทางสถติ ิ แต่เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า นิสิตชั้นปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการส่งงานที่ได้รับมอบหมายให้อาจารยผ์ ู้สอนผ่านทาง e-Learning (x̄ =4.27, S.D.= 0.963) มากกว่านิสติ ช้ันปที ่ี 3 (x̄ =3.90, S.D.= 1.365) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05 (p=0.041) ผลการวจิ ัยนแ้ี สดงให้เห็นวา่ นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชน้ั ปที ่ี 3 ภาค เรยี นท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 สว่ นใหญ่มพี ฤตกิ รรมการใช้อเี ลริ ์นนิงไมแ่ ตกต่างกัน ยกเวน้ ในดา้ นระบบเครือข่ายท่ีใช้ งาน ระยะเวลาการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง และวัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ซึ่งแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญที่ระดับ .05 สำหรับพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงโดยรวมพบว่า ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้น พฤติกรรมการส่งงานที่ได้รับมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนผ่านทาง e-Learning ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไป ประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการเรียนการสอน ระบบการสนับสนุนอุปกรณ์หรือเครือข่าย อินเทอรเ์ นต็ เพ่ือส่งเสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพสอดคล้องกบั บริบทการศกึ ษา และพฤติกรรมการใช้ อเี ลริ ์นนงิ และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของผเู้ รยี นในสถานการณ์ COVID-19 ค

Protocol title Exploring Using and Learning on the E-learning Behavior of Nursing students, Investigator Naresuan University in Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) situation Miss Piyachat Anoma Research staff Miss Janthima Phisitphattanaphong Keywords Miss Chatthip Thainbut Miss Natnicha Jaitrum Miss Thanatcha Maung-ngao Miss Buakaw Pengsuwan Miss Pawinee Wongkawin Miss Supaporn Giti Dr. Rungnapa Chairat Using the e-Learning behavior, Learning on the e-Learning behavior and Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) situation Abstract This research is a comparative descriptive retrospective research. The purpose of this research is to study and to compare the behavior of e-learning and learning through e-learning of the 2nd and 3rd year students in Faculty of Nursing at Naresuan University on Semester 3, school year 2019, during the COVID-19 disease situation. The sample group used in this research was 139 students from 2nd and 3rd year of Faculty of Nursing at Naresuan University who enrolled in Semester 3, school year 2019, which stratified random sampling. The research instruments included a personal information questionnaire, e-learning behavior questionnaire adapted from Worawut Munsukphol and Punchet Jinangsuka (2015). The accuracy was obtained by the repeat test method equal to 0.61 and the e-learning behavior questionnaire was adapted from Piya Bucha (2018), which found the Cronbach's alpha coefficient equal to 0.89. The data were analyzed by descriptive statistics, Chi-square test, t-test and Mann-Whitney U test. The research found that: 1. Behavior of using e-learning students in both years have the most learning through laptop. 3rd year students have more usage via university internet network (NU Wi-Fi), public internet/public Wi-Fi, etc. than 2nd year students (p = 0.036). Most of the students in both years have access to e-learning at home, have a number of days of use, mostly 5-6 days / week and use mostly during 12.01-16.00 p.m. The period of e-learning access is different for each time, with ง

most of 2nd year students accessing 4-6 hours per session, and most 3rd year students accessing 1-3 hours per session (p = 0.021). For the purpose of access, it was found that students in both years were the most active for study/review the lesson, but 2nd year students have a higher percentage of access for various purposes than the 3rd year in all areas (p = 0.021). 2. Learning behavior through e-learning was found that in both years there was no statistical difference. But when considering each task, they have given, it was found that 2nd year students have an average of the behavior of submitting assignments to teachers through e- Learning (x̄ =4.27, S.D.= 0.963) higher than 3rd year students (x̄ =3.90, S.D.= 1.365) statistically significant at the .05 level (p = 0.041). The results of this research show that the students of the Faculty of Nursing, Naresuan University in 2nd year and 3rd year on Semester 3, school year 2019, mostly showed no different behavior in using e-learning except in terms of active networking, the duration of each e-learning access and the purpose of the e-learning access is significantly different at the .05 level. The overall e-learning behavior was found to be no statistically different except for the behavior of submission of work assigned to the teacher via e-Learning. The results of this study can be applied to guide the development of teaching and learning systems, device support systems or internet networks to encourage effective learning consistent with the educational context and the use of e-learning and e-learning behavior of learners in the COVID-19 situation. จ

สารบญั หนา้ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดยอ่ ภาษาไทย ง บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ ฉ สารบญั ซ สารบญั ตาราง 1 บทที่ 1 บทนำ 1 4 ความเป็นมาและความสำคัญ 4 คำถามงานวจิ ยั 4 วตั ถปุ ระสงค์ของงานวิจัย 4 สมมติฐานการวิจัย 5 ขอบเขตการวจิ ัย 5 ตัวแปรท่ศี ึกษา 6 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 7 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 7 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง 9 แนวคดิ ทเ่ี กยี่ วกับโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนาสายพนั ธุใ์ หม่ 2019 (COVID-19) 14 แนวคิดเก่ยี วกบั การเรยี นผ่านอีเลริ น์ นงิ 15 แนวคิดเกี่ยวกบั พฤติกรรมการใชอ้ ีเลิร์นนงิ 16 แนวคดิ เก่ยี วกับพฤติกรรมการเรยี นผ่านอเี ลริ น์ นิง 21 งานวิจัยที่เก่ียวข้อง 21 บทท่ี 3 วิธีดำเนินการวิจยั 21 รูปแบบการศึกษา 23 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 24 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั 24 การพิทักษ์สิทธ์ิของกล่มุ ตัวอย่าง 25 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 25 การประมวลผลข้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ฉ

สารบัญ (ต่อ) หนา้ 26 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 26 สัญลักษณ์ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล 27 ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 28 ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ของนิสิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 3 32 ปกี ารศกึ ษา 2562 ส่วนท่ี 3 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมการเรยี นผา่ นอีเลริ ์นนิง ของนิสิต 33 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 34 ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของ 35 นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชน้ั ปที ี่ 2 กับ ชนั้ ปีที่ 3 ภาคเรียน 37 ท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2562 41 41 บทท่ี 5 สรปุ ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 42 สรุปผลการวิจัย 46 อภิปรายผลการวจิ ัย 47 ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช้ 51 ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การวิจยั คร้งั ต่อไป 52 53 บรรณานกุ รม 54 ภาคผนวก 55 60 ภาคผนวก ก เคร่อื งมือที่ใชใ้ นงานวจิ ยั ภาคผนวก ข รายนามผ้ทู รงคุณวฒุ ติ รวจสอบเครอื่ งมอื ภาคผนวก ค หนังสือขออนุญาตบุคลากรในสงั กัดเป็นผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ภาคผนวก ง ผลการพจิ ารณาโครงรา่ งงานวิจัย ภาคผนวก จ หนังสือขออนุญาตเกบ็ ข้อมลู ภาคผนวก ฉ การรบั รองจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมวิจัยในมนษุ ย์ ประวัติผู้วจิ ยั ช

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 แสดงผลการคำนวณกลุ่มตัวอย่างประชากรตามสัดส่วนประชากรเพื่อนำมา 22 วิเคราะหค์ วามเที่ยง (Reliability) ของเครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ัย 23 2 แสดงผลการคำนวณกลุ่มตัวอย่างประชากรตามสดั ส่วนประชากรเพือ่ เกบ็ รวบรวม 27 ข้อมลู 27 3.1 แสดงจำนวน และร้อยละของข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มตัวอยา่ ง จำแนกตามเพศ 28 3.2 แสดงการเปรยี บเทยี บค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของขอ้ มลู ทัว่ ไปของ กลุม่ ตัวอย่าง 32 4 แสดงการเปรยี บเทยี บจำนวน และรอ้ ยละ ของพฤตกิ รรมการใช้อีเลิร์นนงิ ของนิสิต คณะพยาบาลศาสตร์ ชน้ั ปที ่ี 2 กับ ช้ันปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาคเรียนที่ 3 ปี การศกึ ษา 2562 5 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ของพฤติกรรมการเรียน ผ่านอีเลริ ์นนิง ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ชัน้ ปีที่ 2และ ช้นั ปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ซ

บทที่ 1 ความเปน็ มาและความสำคญั จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เมื่อปลายปี 2019 ในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหู เป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน มีสาเหตุมาจากไวรัสโคโรนา โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงชนิดที่สอง (Severe acute respiratory syndrome coronavirus 2: SARS-CoV-2) หรือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นไวรัสที่อยู่ในตระกูลเดียวกันกับไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือโรคซาร์ส (Severe acute respiratory syndrome: SARS) ที่มีการแพร่ระบาดเมื่อปี พ.ศ.2545 และโรคทางเดินหายใจ ตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส (Middle-East Respiratory Syndrome Coronavirus: MERS-CoV) ที่มีการแพร่ ระบาดเมื่อปี พ.ศ.2555 เชื้อไวรัสชนิดนี้เป็นสาเหตุก่อโรคปอดอักเสบ (pneumonia) ทำให้ระบบทางเดินหายใจ ล้มเหลว และเชือ้ ไวรสั นี้ไดเ้ กิดการแพร่กระจายออกไปยงั หลาย ๆ ประเทศทวั่ โลก ในขณะนี้ท่ัวโลกพบผู้ตดิ เชื้อจำนวน 5,837,541 ราย ผู้เสียชีวิตจำนวน 360,919 ราย (ข้อมูลวันที่ 29 พฤษภาคม 2563) (ไทยรัฐออนไลน์ , 2563) โดย ประเทศที่พบผู้ติดเชื้อมากที่สุดคือประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ภาคทวีปเอเชียพบผู้ติดเชื้อ 494,710 ราย ผู้เสียชีวิต 15,140 ราย (ข้อมูลวันที่ 29 พฤษภาคม 2563) และสำหรับปัจจุบันประเทศไทยพบผู้ติดเชื้อ 3,076 ราย รกั ษาหายแล้ว 2,945 ราย ผเู้ สียชวี ติ 57 ราย (ขอ้ มลู วันที่ 29 พฤษภาคม 2563) (กรมควบคุมโรค, 2563) เชื้อไวรัส COVID-19 เป็นเชื้อไวรสั ที่สามารถแพรจ่ ากคนหน่ึงไปสู่อีกคนหนึ่งผ่านทางฝอยละออง (droplets) จากจมูกหรือปากของผู้ติดเชื้อ เมื่อผู้ติดเชื้อไอ จามหรือหายใจ ฝอยละอองเหล่านี้จะตกลงสู่วัตถุ หรือพื้นผิวรอบ ๆ เมื่อผู้อื่นไดร้ ับเชือ้ ด้วยการสมั ผสั พื้นผิวหรือวัตถเุ หล่านั้นแล้วมาจับตา จมูกหรือปากทำให้สามารถติดเชื้อโดยทางออ้ ม (พงศ์ทัศ วนิชานันท์, 2563) จากวิธีการแพร่กระจายเชื้อไวรัส COVID-19 สามารถแพร่จากคนสู่คนได้ ภาครัฐและ กระทรวงสาธารณสุขจึงมีมาตรการการเวน้ ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) เพื่อเป็นการควบคุม ชะลอ และ ลดอตั ราการแพรเ่ ช้อื ในพื้นที่ทมี่ ีคนอาศัยรวมกนั จำนวนมาก โดยใหก้ ักตัวอยใู่ นเคหะสถาน และสามารถออกนอกเคหะ สถานได้ในช่วงเวลาที่กำหนดเท่านั้น ซึ่งมาตรการนี้ได้ส่งผลกระทบต่อหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ รวมถึง กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งก็ได้มีการประกาศจากทาง กระทรวงฯ ขอความร่วมมือสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งดำเนินการตามมาตรการและการเฝ้าระวังการระบาดของโรค COVID-19 หยุดการดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทุกรูปแบบ พิจารณายกเลิกการฝึกงาน ปรับเปลี่ยนระยะเวลา และกิจกรรมอื่นทดแทน ปรับรูปแบบการสอบและการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพทดแทนการดำเนินการแบบเดิม (ประกาศกระทรวงอุดมศึกษาฯ, 2563) ทำให้มหาวิทยาลัยหลายสถาบันเริ่มมีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ หรืออีเลิร์นนิงเป็นสื่อหลักในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้การเรียนการสอนยังคงดำเนินไป และสอดคล้องกับ มาตรการของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข การเรียนการสอนผ่านอีเลิร์นนิงก่อนสถานการณ์ COVID-19 ส่วนใหญ่เป็นการจัดการเรียนการสอนใน ลักษณะเป็นสื่อเสริมโดยผสมผสานการเรียนรู้ในห้องเรียนกับการเรียนรู้ที่ใช้สื่ออิเล็ก ทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายออนไลน์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนการสอน และช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผูเ้ รียน ผู้เรียนสามารถ 1

แสดงความคิดเห็นหรือแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน สำหรับพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง หรือ พฤติกรรมการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จากงานวิจัยการพัฒนารูปแบบเชิงสาเหตุ และประสิทธิผลของโปรแกรม ส่งเสริมคุณลักษณะทางจิตที่มีต่อพฤติกรรมการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนิสิตระดับปรญิ ญาตรี ของ ปิยะ บูชา (2561) ให้นิยามไว้ว่า พฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงเป็นการแสดงออกของผู้เรียนด้วยการเรียนผ่านส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้บทเรียนออนไลน์ที่มีช่องทางสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน โดยไม่มี ข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ในการใช้งานผ่านระบบเครือข่ายได้ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ซ่ึงประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การใช้ประโยชน์จากการเรียนผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การกลับมาทบทวนบทเรียน ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม รวมทั้งศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าเพ่ือ เตรียมการเรยี นครั้งต่อไป 2) การมีปฏสิ มั พันธ์ในการเรยี นผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หมายถงึ มีการสอบถามข้อสงสัยหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้สอนหรือเพื่อน รวมทั้งการส่งงานที่ได้รับมอบหมายพร้อมทั้งแก้ไขงานตามเวลาที่กำหนด ทางการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3) เวลา/ความถี่ในการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การแบ่งเวลาในการ เรียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เข้าศึกษาตลอดเวลาเม่ือมีเวลาวา่ ง เมอื่ เรียนแลว้ ยังไม่เข้าใจก็มกี ารเรยี นซำ้ อีกจนกว่าจะเข้าใจ เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยการใชป้ ระโยชน์จากการเรียนผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์เท่ากับ 2.87 และ S.D. เท่ากบั 0.75 ค่าเฉลี่ยการมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เท่ากับ 2.82 และ S.D. เท่ากับ 0.83 ค่าเฉลี่ยเวลา/ ความถใ่ี นการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์เท่ากับ 2.83 และ S.D. เท่ากบั 0.94 นอกจากนนั้ ในชว่ งทีผ่ ่านมามีการศึกษา เก่ียวกบั พฤติกรรมการใชอ้ เี ลริ น์ นงิ เพื่อการพฒั นารูปแบบการเรยี นการสอนในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ พฤติกรรมการใช้ e-Learning เปน็ การแสดงออก การกระทำของผู้เรยี นผ่านอีเลิร์นนิง โดยใชส้ ือ่ อิเล็กทรอนิกส์ พฤติกรรมการใช้ e-Learning จากงานวิจัยการศึกษาพฤติกรรมและความต้องการใช้อีเลิร์นนิงของนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปกร ของวรวุฒิ มั่นสุขผล และปุณเชษฐ์ จินาง-ศุกะ (2558) พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เข้าถึงระบบอีเลิร์นนิงด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Laptop) ร้อยละ 42.11 รองลงมาเป็นการใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ร้อยละ 32.16 ความถี่จำนวนครั้งในการใช้งานระบบอีเลิร์นนิงต่อ สัปดาห์ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เข้าใช้งานระบบอีเลิร์นนิง 1-2 ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 61.90 ความถี่ระยะเวลาในการใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เข้าใช้งานในช่วงเวลา 18 .01– 21.00 คดิ เปน็ ร้อยละ 34.43 ความถี่ระยะเวลาการเข้าใช้งานระบบอเี ลิร์นนิงในแต่ละคร้ัง พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ เข้าใช้งานระบบอีเลิร์นนิงในแต่ละครั้ง 1-2 ช่ัวโมง คิดเป็นร้อยละ 52.69 วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอี เลิรน์ นงิ ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เข้าใช้งานเพ่ือศึกษาบทเรยี น/ทบทวนบทเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ 35.81 รองลงมา เป็นเพือ่ ดาวนโ์ หลดเอกสารประกอบการเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 30.7 การศึกษาที่ผ่านมาเกยี่ วกับการเรยี นผา่ นอเี ลิรน์ นิงก่อนสถานการณ์ COVID-19 พบวา่ ปัจจัยท่ีอาจมีผลกระทบ ต่อการเรียนการสอนที่พบจากการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงในสถานการณ์ปกติ มักเกิดจากการไม่เตรียมความพร้อมข อง ผ้เู รยี น และขาดการทบทวนบทเรียนก่อนเขา้ เรียน และยังมปี ัจจัยส่งเสรมิ ในเร่ืองของเทคโนโลยีท่ีใช้ประกอบการสอน ทีเ่ กิดข้อบกพร่องอย่างกะทนั หัน เช่น ไมม่ ีสัญญาณอินเทอร์เน็ต สญั ญาณอินเทอร์เน็ตไม่เสถยี ร ไม่มีอุปกรณ์ใช้ในการ 2

เรียนออนไลน์ (มัทนันท์ อันภักดี, ธวัชชัย ธรรมมา และกรวรรณ วงษาลี, 2556) นอกจากนี้ยังพบว่าขาดการวาง แผนการเรียน จึงทำให้ผูเ้ รียนไม่ประสบผลสำเรจ็ ในการเรียน (วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล, 2550 อ้างอิงใน ปิยะ บูชา, 2561) ผ้เู รยี นยงั ขาดความรู้ ความเขา้ ใจในการใช้ระบบ และยังไม่เหน็ ความสำคัญผา่ นการเรียนผ่านสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ (สำนัก วิทยาบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 2554 อ้างองิ ใน ปยิ ะ บูชา, 2561) การเรียนผ่านอเี ลิรน์ นงิ ในสถานการณ์ปกติ ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร เป็นการเรยี นการสอนโดยใช้สือ่ ออนไลน์เป็นสือ่ เสริม เพื่อดูวิดโี อ ประกอบการสอนก่อนเขา้ ห้องเรยี นปฏิบตั ิการ และเปน็ ชอ่ งทางในการดาวนโ์ หลด (Download) เอกสารประกอบการ เรียนการสอน อย่างไรก็ตาม เมื่อบริบทของสังคมได้เปลี่ยนไป เนื่องจากสถานการณ์ของโรค COVID-19 ทำให้การเรียนการ สอนในปัจจุบันต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนไปเป็นการเรียนการสอนผ่านอีเลิร์นนิงเป็นสื่อหลักทำได้ 2 ลักษณะคือ 1) การเรียนการสอนแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning Methods) เป็นระบบการเรียน การสอนที่ทีมผู้สอนสร้างเว็บไซต์เพือ่ ให้ผู้เรียนเข้ามาเรียนรูเ้ นื้อหาวิชาเวลาใดก็ได้ ที่ได้ก็ได้ โดยที่ผู้เรียนและผู้สอนไม่ ต้องสื่อสารหรือโต้ตอบกันภายในเวลาเดียวกัน เช่น การเรียนการสอนผ่านคลิปวีดิโอที่ผู้สอนบันทึกและลงไว้บน เว็บไซต์ e-Learning ของสถาบันการศึกษา การทำแบบทดสอบท้ายบทเรียนในรูปแบบออนไลน์ การทำกิจกรรม ทบทวนความรู้ และตอบกลับผ่านบนเว็บไซต์ e-Learning และ 2) การเรียนการสอนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning Methods) เป็นระบบการเรียนการสอนทีผ่ ูส้ อนและผู้เรียนอยู่ในเวลาเดียวกัน มีการเรียน การสอนพร้อมกันหรือภายในเวลาเดียวกันเกิดการปฏิสัมพันธ์แบบทันทีทันใด เช่น การสอนผ่านโปรแกรมประชุม ออนไลน์ เช่น Google meet, Zoom และ Microsoft Teams การทดสอบความรู้ระหว่างภาคเรียน และปลายภาค เรียนในรูปแบบออนไลน์ รวมถึงมีการคุมการทำข้อสอบของผู้เรียนผ่านโปรแกรมประชุมออนไลน์ (Google meet) เพื่อช่วยให้ผู้เรียนยังคงสามารถเรียนต่อไปได้แม้จะไม่ได้อยู่ในสถาบันการศึกษา และยังมีช่องทางการสื่อสารระหว่าง ผูส้ อน และผู้เรยี นหลากหลายมากยง่ิ ขึ้น แต่อาจมีอุปสรรคสำหรบั การเรยี นการสอนผา่ น อเี ลริ น์ นิงในสถานการณ์ ท่ีเกิดขึ้นอย่างกะทันหันนี้คือ ค่านิยมและความมีวินัยของผู้เรียน ในความรู้สึกของผู้เรียนยังต้องการให้มีอาจารย์เป็น ผู้สอน เพราะไม่คุ้นชินกับการเรียนด้วยตนเอง ซึ่งผู้เรียนส่วนใหญ่ยังคงติดกับการเรียนการสอนที่ต้องมีผู้สอนเป็นผู้ หยิบยืน่ ขอ้ มูลให้ (สมาคมอีเลริ น์ นิงแห่งประเทศไทย, 2555 อา้ งอิงใน ปยิ ะ บชู า, 2561) อีกท้งั การเรยี นการสอนผ่าน อีเลิร์นนิง อาจมีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการรับรู้ และไม่เหมาะสมกับการเรียนในบางรายวิชาหรือบางสาขาอาชพี นอกจากนั้นยังมีอุปสรรคเกี่ยวกับการเข้าถึงอุปกรณ์สำหรับการเรียนผ่าน อีเลิร์นนิง อาทิเช่น คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์มือถือ, แท็บเล็ต หรือสัญญาณอนิ เทอร์เน็ตที่มีข้อจำกัด สภาพแวดลอ้ มทีไ่ ม่เหมาะสมกบั การเรียน อาจส่งผล ตอ่ พฤตกิ รรมการใชอ้ ีเลริ น์ นิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนงิ ของผู้เรยี นได้ (ฐาปนีย์ ธรรมเมธา, 2557) จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า การเรียนรู้ของผู้เรียนทีส่ ะสมมากขึ้นในแต่ละชัน้ ปี จะทำให้ผู้เรียนมีทกั ษะ การเรียนรู้ดา้ นคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารมากขึ้น ตามระดับชั้นปีทีม่ ากขึ้น ดังเช่น การศึกษา พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาแพทย์ระดับชั้นพรีคลินิกของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ของ พรรณิการ์ พุ่มจันทร์, บุษจรีย์ หงษ์เหลี่ยม และพัชดาพรรณ อุดมเพ็ชร (2558) ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาแพทย์ท่ี 3

ชนั้ ปีตา่ งกัน มพี ฤตกิ รรมการใชส้ อื่ สงั คมออนไลน์ดา้ นการศกึ ษาแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั 0.05 โดย นักศึกษาแพทย์ชั้นปีท่ี 3 มีพฤติกรรมการใช้สื่อสงั คมออนไลนด์ ้านการศกึ ษาที่ดีกว่านกั ศึกษาแพทย์ช้ันปีท่ี 2 เล็กน้อย ทั้งนี้อาจเนือ่ งมาจากนักศึกษาแพทยแ์ ต่ละช้ันปีมบี ริบทการศึกษาไม่เหมือนกัน ชั้นปีทีเ่ พิม่ มากขึ้นอาจต้องใชส้ ่ือสังคม ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงานหรือทำการบ้านที่ได้รับมอบหมาย ค้นคว้าหาตำราวิชาการมากขึ้นจึงทำให้มี พฤติกรรมการใช้สอื่ ออนไลนด์ า้ นการศึกษามากกว่าระดบั ชนั้ ท่ตี ่ำกว่า ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะดำเนินการวิจัยในครั้งนี้ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่าน อี เลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในสถานการณ์ของโรค COVID-19 โดยการศึกษาครั้งน้ี ผู้วิจัยเลือกศึกษาในนิสิตระดับปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ภาค เรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 เนื่องจากเป็นกลุ่มนิสติ ท่ีมีประสบการณ์ในการใชอ้ ีเลิร์นนิง และการเรียนผ่าน อีเลิร์นนงิ ในสถานการณ์โรค COVID-19 ทั้งนี้ ปรากฏการณ์พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ใน สถานการณ์โรค COVID-19 ยังไม่ปรากฏในงานวิจัยในปัจจุบัน บริบทของพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียน ผา่ นอเี ลริ น์ นงิ ในชว่ งก่อนสถานการณ์โรค COVID-19 อาจไมส่ ามารถนำมาสรปุ ผล หรืออ้างองิ ถงึ พฤติกรรมการใช้อีเลิร์ นนิงและการเรยี นผ่านอีเลิรน์ นิงในสถานการณโ์ รค COVID-19 ในปจั จุบันได้ ผู้วจิ ัยไดเ้ ห็นถึงความสำคญั ของการศึกษา การทำวิจยั ในประเด็นดังกล่าว เพ่อื เป็นฐานข้อมลู การเรียนการสอนผ่านอีเลิร์นนิง การทราบถึงพฤติกรรมการใช้อีเลิร์ นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง จะเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษาและผู้สอนที่ต้องการพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนแบบผ่านอีเลิร์นนิงให้เหมาะสมกับพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของผู้เรียน และ ก่อให้เกิดประสิทธภิ าพในการเรียนการสอนอย่างสูงสุด อีกทั้งยังสอดคล้องกับแนวคิดการจัดการเรยี นการสอนโดยยดึ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ คำถามงานวจิ ัย 1. พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 2 กับชั้นปีท่ี 3 ในชว่ งสถานการณ์โรค COVID-19 เป็นอย่างไร 2. พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตรช์ ัน้ ปีที่ 2 กับชั้นปีท่ี 3 ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 แตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร วัตถุประสงค์ของงานวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ช้ันปีท่ี 2 กบั ชั้นปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 กับชน้ั ปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 3. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชน้ั ปที ี่ 2 กับชัน้ ปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 4

สมมตฐิ านการวจิ ัย 1. พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 กับชั้นปีท่ี 3 แตกต่างกนั 2. พฤติกรรมการเรยี นผ่านอีเลิรน์ นิงของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 กับช้ันปีที่ 3 แตกตา่ งกัน ขอบเขตการวจิ ยั การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบการศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนาแบบเปรียบเทียบ (Retrospective Comparative Descriptive Research) ดำเนนิ การเฉพาะในมหาวิทยาลัยนเรศวร ประชากรท่ีนำมาทำการศกึ ษาวิจัย ในครั้งนี้เป็นนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ทำการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และช้นั ปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 3 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 250 คน (ฝา่ ยเวชระเบยี น คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2563) ขอบเขตระยะเวลา ภาคเรยี นที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรทใี่ ช้ในการวิจัย นสิ ติ ระดบั ปรญิ ญาตรี ชัน้ ปที ี่ 2 และชัน้ ปที ่ี 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร จำนวน 250 คน (ฝ่ายเวชระเบียน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2563) การสุ่มตัวกลุ่มตัวอย่างการวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างของ Yamane (1970: 580-581) ที่ระดับ ความคลาดเคลื่อน .05 เก็บตัวอย่างนสิ ิตระดับปริญญาตรี ช้นั ปีที่ 2 และชนั้ ปีที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร จำนวน 139 คน จากนั้นทำการสุ่มตัวอย่างแบบชัน้ ภูมิ (Stratified random sampling) เพื่อหาจำนวนกลุม่ ตวั อย่างในแต่ละชนั้ ปี ประกอบด้วยนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ชนั้ ปที ่ี 2 และชน้ั ปีท่ี 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ภาคเรยี นท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 67 คน และ 72 คน ตามลำดับ แล้วการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Sample Random Sampling) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS เพื่อสมุ่ รายชื่อตามจำนวนกลุม่ ตวั อย่างในแต่ละชน้ั ปี ตวั แปรท่ศี ึกษา 1. พฤติกรรมการใชอ้ เี ลริ น์ นิง 2. พฤตกิ รรมการเรยี นผา่ นอีเลิร์นนงิ นิยามศัพท์เฉพาะ - พฤตกิ รรมการใช้อเี ลิร์นนิง หมายถงึ พฤตกิ รรมการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง โดยอาศยั เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการถ่ายทอดเนื้อหา ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการใช้อุปกรณ์ที่เข้าถึงระบบ อี เลิรน์ นิง 2) ด้านความถจี่ ำนวนครง้ั ในการใชง้ านระบบอีเลิร์นนิงตอ่ สัปดาห์ 3) ดา้ นความถ่รี ะยะเวลาในการใช้งานอีเลิร์ นนงิ ตอ่ ครั้ง 4) ดา้ นความถี่ระยะเวลาการเข้าใชง้ านระบบอีเลิร์นนิงในแตล่ ะครั้ง 5) ดา้ นวตั ถปุ ระสงค์ในการเข้าใช้งาน 5

อีเลิรน์ นงิ 6) ปญั หาและอปุ สรรคในการใช้งานอีเลริ น์ นงิ วัดไดจ้ ากแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ อีเลริ ์นนิง ซ่ึง ดดั แปลงมาจากแบบสอบถามพฤตกิ รรมการใช้อีเลริ น์ นงิ ของวรวุฒิ ม่นั สุขผล และปณุ เชษฐ์ จินางศกุ ะ - พฤตกิ รรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง หมายถึง การแสดงออก หรอื การกระทำของผู้เรียนที่มีต่อการเรยี น ภายใต้ ส่ิงแวดลอ้ มทีเ่ กี่ยวกบั เทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล หรือสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Learning) โดยการใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ท่ี มีช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน ซึ่งเป็นการเรียนที่ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลา สถานท่ี และอุปกรณ์ในการใช้งานผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ และแท็บเล็ต วัดได้จากแบบประเมินพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ซึ่งดัดแปลงมาจากแบบประเมินพฤติกรรมการเรียนผ่านสื่อ อเิ ล็กทรอนิกส์ ของปยิ ะ บชู า - อเี ลริ น์ นิง หมายถงึ นวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรปู แบบหน่ึง ซึ่งสามารถเปลย่ี นแปลงวธิ ีเรียนในรปู แบบ เดิม ๆ ใหเ้ ปน็ การเรียนใหม่ ท่ใี ชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ มาช่วยทำการสอน (worathan, 2562) ในการศึกษาคร้ังนเ้ี ป็นการเรียน ผ่านอเี ลิร์นนิงเปน็ สือ่ หลกั แทนการบรรยายในห้องเรยี น ผู้เรียนตอ้ งศึกษาเน้ือหาในอีเลริ ์นนงิ ท้งั หมด - สถานการณ์โรค COVID-19 หมายถงึ เหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสสายพันธ์ใุ หม่ (Severe Acute Respiratory Syndrome Coronavirus 2: SARS-CoV-2) หรือไวรัสโควิด-19 (COVID-19) โดยพบการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสชนดิ นี้ครั้งแรกที่เมืองอูฮ่ ั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อเดือนธันวาคม 2562 (กรม ควบคุมโรค, 2563) และมีการแพร่ระบาดเข้ามาในประเทศไทยชว่ งกลางเดือนมกราคม 2563 (กระทรวงสาธารณสขุ , 2563) ในการศกึ ษาคร้งั น้ี หมายถงึ ช่วงเดือนเมษายน ถงึ เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ.2563 - นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ หมายถงึ นสิ ิตพยาบาลศาสตร์ ชนั้ ปที ี่ 2 และ 3 ทงั้ ชายและหญิง หลกั สตู ร พยาบาลศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลัยนเรศวร ท่ลี งทะเบยี นเรยี นในภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 1. ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรในช่วงสถานการณ์ COVID-19 2. เพอ่ื เปน็ ข้อมูลเบื้องต้น และแนวทางในการจัดการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกับพฤติกรรมการ ใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของผู้เรียนในสถานการณ์ที่มีการเรียนการสอนแบบใช้อีเลิรน์ นิงเป็น ส่ือหลัก 6

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วข้อง การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในสถานการณ์โรค COVID-19 ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เพ่อื เป็นกรอบแนวทางในการดำเนนิ การวิจัย ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) แนวคดิ ที่เกย่ี วกบั โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) และผลกระทบจากโรค 2) แนวคิดเกย่ี วกับการเรียนออนไลนห์ รอื การเรยี นผ่านอีเลริ ์นนิง 3) แนวคิดเกีย่ วกบั พฤตกิ รรมการใชอ้ เี ลิรน์ นิง 4) แนวคดิ เกี่ยวกบั พฤติกรรมการเรียนผา่ นอีเลริ ์นนงิ 5) งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง 1) แนวคดิ ที่เก่ียวกับโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ุ หม่ 2019 (COVID-19) โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ 2019 เป็นเชือ้ ไวรัสในตระกูลของไวรัสทก่ี ่อให้อาการป่วยต้ังแตโ่ รคไข้หวัด ธรรมดาไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบ ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-CoV) เป็นต้น ซึ่งเป็นสายพันธุ์ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ก่อให้เกิด อาการปว่ ยระบบทางเดินหายใจในคน และสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้ โดยเชื้อไวรัสนพ้ี บครั้งแรกในการระบาดใน เมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019 มีหลักฐานจากการถอดรหัสพันธุกรรมพบว่า SARS-CoV-2 มีต้นกำเนิดมาจาก ค้างคาวมงกุฎเทาแดง (กรมควบคุมโรค, 2563) จากรายงานผลการตรวจหาลำดับ เบสของสารพันธุกรรมอาร์เอน็ เอสว่ นเปลือก (glycoprotein spikes) ของเช้ือ 2019-nCoV (MN908947) พบวา่ ไวรัส นี้อยู่ในจีนัส Beta-coronavirus ซึ่งเป็นจีนัสเดียวกับ SARS-CoV และ MERS-CoV ซึ่งเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับสาร พนั ธุกรรมของไวรัสโคโรนาจากคน และสตั วต์ า่ ง ๆ พบวา่ เช้ือ 2019-nCoV เป็นไวรัสท่เี กดิ จากการผสมสารพันธุกรรม ระหว่างไวรัสโคโรนาของค้างคาวกับไวรัสโคโรนาของงูเห่า (Chinese cobra, Naja Atra) จึงทำให้ไวรัสโคโรนาสาย พันธ์ุใหม่ 2019 นแ้ี พร่เช้อื ข้ามสปีชสี ์จากงูเห่ามายงั คนได้ ตอ่ มาเชือ้ มีการกลายพันธุ์มากข้ึน จงึ สามารถติดต่อจากคนสู่ คน (ภาควิชาจุลชีววทิ ยาคณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล, 2563) การแพรก่ ระจายเช้ือจากคนหนึง่ ไปสู่อกี คนหนึ่งผา่ นทางฝอยละอองจากจมูกและปาก (Droplets) ของผตู้ ิดเช้ือ หรือการพดู โดยไม่มีอุปกรณ์ปิดปากในระยะใกล้ชิด (นอ้ ยกวา่ 1 เมตร) เมอื่ ผู้ติดเชอื้ ที่ไอ จามหรือหายใจ ส่งผลให้ฝอย ละอองเหล่าน้ีตกลงสู่วัตถุหรือพืน้ ผิวรอบ ๆ ในระยะ 1-2 เมตร ซึ่งในละอองฝอยจะมีเชื้อไวรัสทีม่ ีลักษณะเปน็ หยดนำ้ เล็ก ๆ ลอยในอากาศขนาด > 5 micron จะอยู่รอดได้เพียง 5 นาที เรียกว่า Droplets ซึ่งเมื่อบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดหรือ บุคคลที่อยู่ในสภาพแวดล้อมนั้นได้รับเชื้อจากการสัมผัสพื้นผิวหรอื วัตถุเหล่าน้ันแล้วมาสัมผัสตา จมูกหรือปาก รวมถึง การได้รับเชื้อโดยตรงได้จากการหายใจเอาฝอยละอองของผู้ติดเชื้อเข้าไปเมื่อผู้ติดเชื้อ ไอ จาม หรือหายใจออก นอกจากนี้มีรายงานว่าพบการแพร่กระจายจากเชื้อท่ีอยู่ในอุจจาระ (SARS ประมาณ 9-14 วัน) เป็นการแพร่กระจาย เชื้อที่เกิดจากการสัมผัสอุจจาระของผู้ตดิ เชื้อ หรือมีการทำให้น้ำล้างอุจจาระของผู้ป่วยกระเด็นเป็นฝอยละอองขึ้นมา 7

แต่อย่างไรก็ตามความเสี่ยงของการติดเชื้อ COVID-19 จากอุจจาระนั้นค่อนข้างต่ำ แม้มีงานศึกษาวิจัยในเบื้องต้นท่ี ระบุว่าอาจมีการพบไวรัสชนิดนี้ในอุจจาระได้ในบางกรณี แต่การแพร่ระบาดผ่านทางอุจจาระยังไม่ใช่สาเหตุหลักของ การแพร่เชื้อ (WHO, 2563) สาเหตุหลักของการแพร่กระจายเชื้อของโรค COVID-19 คือ ความใกล้ชิดกันระหว่าง บุคคล สง่ ผลใหเ้ กดิ การแพรก่ ระจายของฝอยละออง (Droplets) จากคนสคู่ น และการสมั ผัสส่ิงของเครอื่ งใช้ตา่ ง ๆ ท่ีมี เช้ือไวรัสอยูท่ ำให้เชอ้ื ไวรสั เข้าส่รู ่างกายโดยตรง อาการทั่วไปของ COVID-19 ได้แก่ มีไข้ ไอ จาม หายใจหอบเหนื่อย หายใจลำบาก น้ำมูกไหล เจ็บคอ ปวด ศีรษะ อ่อนเพลีย พบระดับของเม็ดเลือดขาวต่ำลง อุจจาระร่วง ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทำให้เกิด ภาวะแทรกซ้อน เชน่ ปอดบวม ปอดอักเสบและนำ้ ท่วมปอด โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ไตวาย ระบบ หัวใจและหลอดเลือดล้มเหลว และอาจเสียชีวิตได้ (ภาควิชาจุลชีววิทยาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหิดล, 2563 และกรมควบคุมโรค, 2563) วิธีป้องกันโรค COVID-19 ตามหลักสุขภาพสาธารณสุข (Public health) (มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทย์ ศาสตร์ศิริราขพยาบาลศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก, 2563) ที่สำคัญประการหนึ่งคือ การมีระยะห่างทางสังคม (Social distancing) หมายถงึ การลดการสมั ผัส การใกลช้ ิดระหวา่ งบุคคล เพ่อื ปอ้ งกันการระบาดจากคนสู่คน ไดแ้ ก่ 1) การเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล (Social distancing) การรักษาระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอย่างนอ้ ย 1 เมตร หรอื 3 ฟตุ 2) หลีกเลย่ี งการใกล้ชิดกบั ผูป้ ว่ ยทม่ี ีอาการไอ จาม น้ำมกู ไหล เหนอ่ื ยหอบ เจ็บคอ 3) สวมหนา้ กากอนามัยทุกคร้ังเมอื่ อยู่ในท่ีสาธารณะ 4) ระมัดระวงั การสมั ผัสพน้ื ผิวทไ่ี ม่สะอาด และอาจมีเชอ้ื โรคเกาะอยู่ รวมถงึ สิง่ ท่มี ีคนจับบ่อยคร้ัง เช่น ท่ีเปิด- ปิดประตูในรถ กลอนประตู ก๊อกน้ำ ราวบันได เมื่อจับแล้วอย่าเอามือสัมผัสหน้า และข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัวต่าง ๆ เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ กระเปา๋ ฯลฯ 5) ล้างมือให้สม่ำเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่ต่ำ กว่า 70% ผลกระทบจากสถานการณ์ปัญหาจากโรค COVID-19 ทำให้ต้องมีการเว้นระยะห่างทางสังคมมีผลกระทบต่อ หลายด้าน อาทิเช่น ด้านเศรษฐกิจและธุรกิจ ด้านการท่องเที่ยว ด้านการประกอบอาชีพ ด้านการเป็นอยู่ใน ชีวิตประจำวัน และที่สำคัญคือด้านการศึกษา เพราะการแพร่ระบาดที่กระจายไปในหลายประเทศทั่วโลก ทำให้มี มาตรการการรับมือกับการระบาดคือ การเวน้ ระยะห่างทางสงั คม หรือ Social distance ซงึ่ มาตรการน้ีได้ส่งผลอย่าง มหาศาลกับทุกภาคส่วน รวมไปถึงระบบการศึกษาทั้งในไทยและต่างประเทศ มีการนำระบบการเรียนการสอน ออนไลน์เข้ามาปรับใช้ เพื่อดำเนินการเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤตโรคระบาดนี้ มหาวิทยาลัยหลายแห่งเร่ิม พจิ ารณาถึงการเล่ือนการสอบหรือเปล่ียนการแบบประสานเวลาผ่านทางแอพพลิเคช่ันตา่ ง ๆ ที่นักเรียนนิสิตนักศึกษา สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าตอบโต้สอบถามคุยกันได้ และการสอนแบบวิดีโอที่ผู้สอนสามารถ อัดล่วงหน้าและผู้เรียนสามารถมาติดตามภายหลังสำหรับผู้ที่มีข้อจำกัดเรื่องการเรียนการสอ นออนไลน์แบบประสาน 8

เวลา สอบเป็นระบบออนไลน์ เพื่อลดความเสี่ยงในการชุมนุมกันของนักศึกษาในวันสอบ ทั้งนี้รวมไปถึงการเลื่อนรับ ปริญญาด้วย (กันต์ เอยี่ มอนิ ทรา, 2563) 2) แนวคิดเก่ียวกับการเรยี นผ่านอีเลริ ์นนงิ มผี ใู้ ห้ความหมายของการเรยี นผ่านอีเลิรน์ นิงไวม้ ากมาย ดงั นี้ รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2551) ได้ให้ความหมายของการเรียนแบบออนไลน์ หมายถึง การเรียนใน ลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่าย อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ ซึ่ง เนื้อหาสารสนเทศอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนที่เราคุ้นเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การ เรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรืออาจอยู่ในลักษณะที่ยังไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายนัก เช่น การเรียนจากวิดีทัศน์ ตาม อธั ยาศยั (Video On-Demand) เป็นต้น (ถนอมพร เลาหจรสั แสง, 2551 อา้ งองิ ใน ปยิ ะ บูชา, 2560) อาณัติ รัตนถิรกุล (2553) ได้ให้ความหมายของ การเรียนแบบออนไลน์คือ การเรียน การสอนผ่านทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นวิทยุกระจายเสียง (Radio Broadcast) โทรทัศน์ (Television) ซีดีรอม/ดีวีดีรอม(CD- ROM/DVD-ROM) เครือข่ายอินทราเน็ต( Intranet) เครือข่ายเอ็กซทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ดาวเทียม (Satellite Broadcast) โทรศัพท์มือถือ (Mobile Phone) เครื่องพีดีเอ(PDA) หรืออุปกรณ์ไร้ สายต่าง ๆ โดยที่ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนรู้เพื่อพัฒนา ตนเองได้ตามอัธยาศัย ได้ทุกที่ทุกเวลา ผ่านทางเว็บไซต์ใน รูปแบบมัลติมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวีดีโอ อีกทั้งผู้ใช้ง านสามารถทำการโต้ตอบได้ เสมือนการนั่งเรียนในห้องเรียนปกติ นับเป็นการลดช่องว่างทางการศึกษาอย่างแท้จริง ทำให้ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ เท่าเทยี มกัน 24 ชั่วโมง อมรเทพ เทพวิชิต (2552) ได้ให้ความหมายของ การเรียนแบบออนไลน์ คือ เป็นการ จัดการเรียนผ่าน เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต โดยใชร้ ่วมกบั เน้ือหาท่ีเป็นสื่อประสม รว่ มกบั ระบบจัดการเรียน การสอน (LMS) ซ่ึงผู้เรียนและ ผสู้ อนใช้เปน็ ช่องทางในการติดต่อส่ือสารกันโดยมสี ว่ นประกอบท่ี สำคัญ ได้แก่ สว่ นจดั การระบบ สว่ นของเน้ือหาหรือ การจัดการเรียน เครื่องมือช่วยจัดการเรยี น การปฏิสัมพันธ์ และกระบวนการในการเรียน ทำให้ไม่มีขีดจํากัดทางการ เรียนในระยะทาง เวลา และสถานที่ ทำให้ตอบสนองต่อความสนใจและความสามารถของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี (อมร เทพ เทพวชิ ิต, 2552 อ้างอิงใน ปิยะ บชู า, 2560) ดร.ชุณหพงศ์ ไทยอุปถมั ภ์ ให้ความหมายของ e-Learning ว่าหมายถงึ รปู แบบการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่ออิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ มีวัตถุประสงค์ที่เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้องค์ ความรู้ (Knowledge) ได้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานท่ี (Anywhere–Anytime Learning) เพื่อให้ระบบการเรยี นการ สอนเปน็ ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน และเพือ่ ให้ผู้เรยี นสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของกระบวนวชิ าท่ีเรียนนั้น ๆ (ชณุ หพงศ์ ไทยอุปถัมภ์, 2545 อ้างอิงใน ปยิ ะ บชู า, 2560) 9

โครงการการเรียนรูแ้ บบออนไลน์แห่ง สวทช. ได้ให้คำนิยามไว้ว่า e-Learning หมายถึงการศึกษาเรียนรู้ผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอรอ์ ินเทอรเ์ น็ต หรืออินทราเน็ต เปน็ การเรียนรู้ดว้ ยตวั เอง ผูเ้ รียนจะไดเ้ รียนตามความสามารถและ ความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่น ๆ จะถูก ส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพ่ือนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ ทันสมัย (E-mail, Web-Board, Chat) จงึ เปน็ การเรยี นสำหรับทุกคน เรียนไดท้ กุ เวลา และทุกสถานที่ (Learning for all: anyone, anywhere and anytime) ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์ ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning ว่า หมายถึงการเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี ซึ่งครอบคลุมวิธีการเรียนรู้จากหลายรูปแบบ อาทิ การเรียนรู้บนคอมพิวเตอร์ (Computer-Based Learning) การเรียนรู้บนเว็บ (Web-Based Learning) ห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classrooms) และความร่วมมือกันผ่านระบบดจิ ติ อล (Digital Collaboration) เปน็ ต้น ผเู้ รยี นสามารถเรียนรผู้ ่านส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท อาทิ อินเทอร์เน็ต (Internet) เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) การถ่ายทอดผ่านดาวเทียม (Satellite Broadcast) ผ่านแถบบันทึกเสียงและวิดีทัศน์ (Audio/Video Tape) โทรทัศน์ที่สามารถโต้ตอบกันได้ (Interactive TV) และซดี ีรอม (CD-ROM) (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศกั ดิ์, 2544 อา้ งองิ ใน ปิยะ บชู า, 2560) เกียรติศักดิ์ อนุธรรม ได้ให้ความหมายของ e-Learning ว่าแตกต่างกันออกไปตามประสบการณ์ของแต่ละ บุคคล แต่ก็ยังมีส่วนที่เหมือนกันอยู่คือ การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารเป็นเครื่องมือสำคัญ ของการเรียนรู้ในการศึกษา โดยมพี ฒั นาการไปตามความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ต ครอบคลุมการ เรียนในหลายรูปแบบทง้ั การเรยี นทางไกลและการเรียนผ่านเครือขา่ ย จากความหมายและคำจำกัดความข้างต้น สรุปได้ว่า การเรียนผ่านอีเลิร์นนิง หรือแบบออนไลน์ หมายถึง การศกึ ษาโดยการถ่ายทอดเนื้อหาในรูปแบบต่าง ๆ อาทิเชน่ รปู ภาพ เสียง วดี ที ัศน์ และมลั ตมิ ีเดยี อน่ื ๆ ของการเรียน ผา่ นทางอุปกรณส์ อ่ื อิเล็กทรอนิกส์ตา่ ง ๆ และเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ซงึ่ มตี น้ ทุนถูก สามารถกระจายไดอ้ ย่างท่วั ถึง เป็น การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ผู้เรยี น ผสู้ อน และเพ่ือนรว่ มชั้นเรียน สามารถตดิ ตอ่ กนั เพอ่ื ปรึกษา แลกเปลยี่ นความคิดเห็นกัน ไดผ้ า่ นทางสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ีเ่ ชื่อมตอ่ กับเครือข่ายออนไลน์ แนวคดิ เก่ียวกบั การจัดการเรียนผ่านอีเลิรน์ นงิ ในศตวรรษที่ 21 มีความสมบูรณ์และความหลากหลายในเรื่องของแหล่งการเรียนรู้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้สร้างผลงานทาง วิชาการมีเครื่องมือสำหรับการผลิตเนื้อหาต่าง ๆ ได้เลือกใช้หลากหลายและมีความสะดวก ผู้สร้างผลงานสามารถ เรยี นร้วู ิธีใช้งานเคร่อื งมอื นนั้ ๆ ได้อย่างง่ายดาย สง่ ผลทำให้เกดิ ผลงานทไี่ ด้รับการเผยแพรใ่ นโลกออนไลนม์ ากมายตาม ไปด้วย ผู้เรียนสามารถเลือกสารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือประกอบการเรียนรู้ของตนเองได้ แต่การเลือกใช้สารสนเทศน้ัน จะต้องคำนึงถึงความถูกต้อง ความทันสมัย สารสนเทศที่ได้มานั้นได้จากแหล่งการเรียนรู้ที่มีความน่าเชื่อถือ ระบุช่ือ ผู้สร้างผลงานและปีที่ เผยแพร่อย่างชัดเจน และสิ่งหนึ่งที่ควรพิจารณาคือ การจัดรูปแบบเอกสารที่ควรจะมีลักษณะ ของเอกสารทางวชิ าการ มีการเขียนอ้างอิงต่าง ๆ ครบถ้วน เทคโนโลยที างคอมพิวเตอร์และการส่ือสารโทรคมนาคมมี 10

พัฒนาการที่ทำให้การจัดการเรียนการสอน แบบไม่เผชิญหน้าสามารถทำได้อย่างสะดวกมากขึ้น ผู้สอนสามารถสร้าง บทเรียนเพือ่ นาํ เขา้ สู่ระบบการบริหาร และจัดการความรทู้ างออนไลน์ได้งา่ ย ซึ่งสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ออนไลน์ ไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปจากยุค WEB 1.0 มคี วามยืดหยนุ่ และสะดวกมากขนึ้ ในการจัดการความรู้ไปยังผู้เรยี น (วรัท พฤกษา กุลนันท, 2550) รูปแบบการเรียนการสอนย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากการเรียนการสอนเดิมที่มีลักษณะครูเป็น ศูนย์กลาง กลายมาเป็นครูทำหน้าที่โค้ช (Coach) หรือผู้กำกับการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ฉะนั้นสภาพแวดล้อมทางการ เรียนในมติ กิ ารรบั รขู้ องผเู้ รยี นกเ็ ปล่ียนไปด้วยเช่นกัน จากแบบเผชิญหน้าเป็นการพบเจอแบบเสมือนจรงิ ผ่านโปรแกรม หรือสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ มากขึ้น ผู้สอนเองก็ต้องมีการปรับตัวให้ทัน จากนักบรรยายเป็นผู้จัดก ารเรียนรู้ให้ เหมาะสมกับผู้เรียน โดยใช้ทรัพยากรการเรียนรู้ในโลกออนไลน์มาจัดกระบวนการเรียนสอนให้เหมาะสมกับรูปแบบ การเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคปัจจุบันเป็นรายบุคคล ซึ่งเป็นการตอบสนองในเรื่องของความแตกต่างระหว่างบุคคลมาก ขน้ึ (ธนะวัฒน์ วรรณประภา และอมรรกั ษ์ ทศพมิ พ์, 2562) ประเภทของการจดั การเรียนการสอน 1) แบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning Methods) เป็นการเรียนการสอนที่สร้างเว็บไซต์ขึ้นมา เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเขา้ เรียนรูเ้ นอื้ หาวิชา ณ เวลาใดเวลาหน่งึ ท่ีใดก็ได้ โดยท่ีผเู้ รียนและผสู้ อนไมต่ อ้ งรอเพอ่ื ตอบโตก้ ันภายใน เวลาเดียวกัน ซึ่งสามารถใช้เครื่องมือสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กระดาน ข่าว (Web-Board) 2) แบบประสานเวลา (Synchronous Learning Methods) เป็นการเรียนการสอนที่มีผู้ส่งและผู้รับอยู่ในเวลา เดียวกนั โดยใชก้ ารรับสง่ ขา่ วสารข้อมลู ภายในเวลาเดียวกันหรอื พร้อมกนั เกิดการปฏสิ ัมพันธ์แบบทนั ทีทันใด เช่น ห้อง สนทนา (Chat Room) การประชมุ ผ่านวิดที ัศน์ (Video Conference) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Environment) ปัจจุบันรูปแบบการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศึกษามีความแตกตา่ งไปจากเมื่อก่อนมาก เครื่องมือทีส่ นับสนนุ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์มีให้เลือก มากมาย เช่น สื่อสังคมออนไลน์ (Social media) หากผู้สอนจะนำมาใช้สำหรับการเรียนการสอนต้องมีการประยุกต์ และมีการใช้งานมากกว่าหนึ่งโปรแกรม ตัวอย่างเช่น การนํา Google hangouts มาใช้ร่วมกับ Google classroom เมื่อผู้สอนจะต้องมีการบรรยาย หรือสนทนาโต้ตอบโดยทันทีทันใด ผู้สอนสามารถใช้คุณสมบัติของ Google hangouts ด้านการประชุมแบบวีดีโอ (Video conference) ได้ ซึ่งกว่าจะมาเป็นลักษณะการเรียนการสอนออนไลน์ ในสภาพปัจจุบันนั้น มีความพยายามจัดสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ในระยะเริ่มต้น การจัด สภาพแวดล้อมการเรียนการสอนบนเว็บ เป็นการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ที่ไม่ได้จํากัดเพียงในห้องเรียน หากแต่เทคโนโลยีสารสนเทศหรือนวัตกรรมการศึกษา ได้เข้ามามีบทบาทในการขยายขอบเขตของสภาพการเรียนรู้ท่ี กว้างขวางขึ้น ไม่จํากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ สภาพแวดล้อม ทางการเรียนรู้บนเว็บเป็นการผสมผสานกัน ระหว่างเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์กับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้ และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจํากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากร 11

ของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ (W.W.W.) ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน (วรัท พฤกษา กลุ นันท, 2550) ข้อควรคํานึงสำหรบั การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนออนไลน์ (สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ, 2548 (10-11)) กล่าวไว้ เกี่ยวกับข้อควรคํานึงสำหรบั การจัด สภาพแวดล้อมการเรียน ซึ่งสามารถนํามาประยุกต์กับการจัดสภาพแวดล้อมการ เรยี นร้แู บบออนไลน์ได้ดงั นี้ 1. มีการกำหนดจุดมุ่งหมาย เปน็ การกำหนดจดุ ม่งุ หมายในการจัดสภาพแวดล้อมซ่ึงจะต้อง กาํ หนดให้สอดคล้อง กบั ความมุ่งหมายทางการศกึ ษา 2. มกี ารวเิ คราะห์เกีย่ วกับผเู้ รยี น และเนื้อหาหลกั สูตรรวมทง้ั วธิ ีสอน 3. มีการกำหนดและเลอื กสอ่ื ต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกบั การจัดการเรียนการสอน 4. ควรพิจารณาเลอื กเทคโนโลยกี ารศึกษาประเภทใดท่ีจะได้ประโยชนส์ ูงสุด และมีความเหมาะสม 5. จะต้องมีการพัฒนาบุคลากรอยู่อย่างสม่ำเสมอ และตอ่ เน่ืองเพือ่ ใหท้ นั ต่อเทคโนโลยีที่กา้ วหน้าอยู่ตลอด 6. ในการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน จะต้องก่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่าง ๆ น้อยที่สุด ทั้งด้านกายภาพ จิตภาพ สงั คม และสารสนเทศ การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ผ่านอีเลิร์นนิงให้มีความหลากหลายจะเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้ ผู้เรียนมีความ สนใจเนื้อหา มีความอยากรู้ มีแรงจูงใจเพื่อการเรียน รวมทั้งมีความใกล้ชิดหรอื คุ้นเคยกับผู้เรยี น ผู้สอนจําเป็นจะต้อง เลือกใช้เครอ่ื งมือตา่ ง ๆ ให้มคี วามเหมาะสมกับผเู้ รยี น เลอื กใช้เครอ่ื งมือให้มีความสอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้สื่อใน ชว่ งเวลาต่าง ๆ ของผเู้ รยี น รูปแบบของการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง มาใช้ในการเรียนการสอน มีอยู่ 3 ลักษณะ (สกาวเดือน แหวนเพ็ชร์, 2558) ลักษณะท่ี 1 ใช้ e-Learning เป็นสื่อเสริม (Supplementary) การนำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะสื่อเสริม กล่าวคือ นอกจากเนื้อหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะ อื่น ๆ เช่น จากเอกสารประกอบการสอน จากวิดีทัศน์ (Videotape) ฯลฯ การใช้ e-Learning ในลักษณะนี้เท่ากับวา่ ผู้สอนเพียงต้องการใช้ e-Learning เป็นอีกหนึ่งทางเลอื กสำหรับผู้เรยี นในการเข้าถึงเนื้อหาเพ่ือให้ประสบการณพ์ ิเศษ เพิม่ เติมแกผ่ เู้ รียนเท่านนั้ ลักษณะที่ 2 ใช้ e-Learning เป็นสื่อเติม (Complementary) การนำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะเพิ่มเตมิ จากวิธีการสอนในลักษณะอื่น ๆ เช่น นอกจากการบรรยายในห้องเรียนแล้ว ผู้สอนยังออกแบบเนือ้ หาให้ผู้เรียนเขา้ ไป ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมจาก e-Learning โดยเนื้อหาที่ผู้เรียนเรียนจาก e-Learning ผู้สอนไม่จำเป็นต้องสอนซ้ำอีก แต่ สามารถใช้เวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเนื้อหาที่เข้าใจได้ยาก ค่อนข้างซับซ้อน หรือเป็นคำถามที่มีความเข้าใจผิด บ่อย ๆ นอกจากน้ี ยังสามารถใช้เวลาในการทำกจิ กรรมทเี่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ กดิ การคดิ วเิ คราะห์แทนได้ ลักษณะที่ 3 ใช้ e-Learning เป็นสื่อหลัก (Comprehensive Replacement) การนำ e-Learning ไปใช้ใน ลักษณะแทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลน์ และโต้ตอบกับเพื่อนและผู้เรียน อ่ืน ๆ ในชั้นเรียนผ่านทางเครื่องมือตดิ ต่อสื่อสารต่าง ๆ ท่ี e-Learning จัดเตรียมไว้ ในปัจจุบันแนวคิดเก่ียวกับการนำ 12

e-Learning ไปใช้ในต่างประเทศจะอยู่ในลักษณะ learning through technology ซึ่งหมายถึง การเรยี นรโู้ ดยมุง่ เน้น การเรียนในลักษณะมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น ผู้สอน ผู้เรียน และผู้เชี่ยวชาญอื่ น ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศยั เทคโนโลยีในการนำเสนอเนื้อหา และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ซ่ึงต้องการการโต้ตอบผ่านเคร่ืองมือส่ือสาร ตลอด โดยไมเ่ น้นทางด้านของการเรียนรู้รายบุคคลผ่านสื่อ (courseware) มากนกั ในขณะทใ่ี นประเทศไทยการใช้ e- Learning ในลกั ษณะส่ือหลักเชน่ เดียวกับตา่ งประเทศนั้น จะอยูใ่ นวงจำกัด แตก่ ารใช้ส่วนใหญ่จะยงั คงเป็นในลักษณะ ของ learning with technology ซึ่งหมายถึง การใช้ e-Learning เป็นเสมือนเครื่องมือทางเลือกเพื่อให้ผู้เรียนเกิด ความกระตอื รือร้น สนกุ สนาน พร้อมไปกบั การเรียนรู้ในชนั้ เรยี น งานวิจัยนี้ศึกษาพฤติกรรมการใช้และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงใน รูปแบบเป็นสื่อหลัก (Comprehensive Replacement) จากสถานการณ์โรค COVID-19 ได้มีมาตรการการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ส่งผลให้ด้านการระบบศึกษาต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์ จึงมีการเรียนผ่านอีเลิร์นนิ ง เพื่อลดการ แพร่กระจายเชอ้ื ข้อดีและขอ้ จำกัดของการเรยี นผา่ นอเี ลริ น์ นงิ ขอ้ ดีของการเรยี นผ่านอีเลริ น์ นงิ (ธญั จิรา จิรนันทกาญจน์,2559) 1. ความยดื หยุน่ และความสะดวก (Flexibility and Convenience) ผู้เรียน e-Learning สามารถเข้าถึงเนื้อหาหลักสูตร ณ เวลาและสถานที่ใดก็ได้ตามแต่ความสะดวก ซึ่งเป็น การขจัดขอ้ จำกัดทางกายภาพที่เกดิ จากการเรียนในห้องเรียนแบบเดิม การเรียนผ่านเว็บสามารถเรยี นได้จากท่ีบ้าน ที่ ทำงาน หรือสถานศึกษาตามความสะดวกของผู้เรียน เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายในการใช้ ห้องเรียนด้วย 2. เรยี นได้ทันใจตามตอ้ งการ (Just-time Learning) นักเรียนสามารถเรียนผ่านเว็บได้ทุกขณะที่ต้องการ การเรียนแบบ e-Learning จึงสามารถชักจูงใจและทำให้ ผู้เรียนเรียนได้เป็นเวลานานโดยไม่เบื่อหน่าย ผู้เรียนสามารถค้นหาและเข้าถึงความรู้ใหม่ ๆ ได้ทันเวลา และความ ต้องการ เนื้อหาบนเว็บท่ถี กู สรา้ งและปรบั ปรุงขนึ้ ใหม่ทกุ ขณะ ทำใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรยี นรไู้ ด้ตลอดชวี ิต และนำไปใช้ได้ อยา่ งทันเหตุการณ์ 3. รูปแบบมัลติมเี ดยี (Multimedia Format) เวิลด์ ไวด์ เว็บ (W.W.W.) ช่วยให้การนำเสนอเนื้อหามีรูปแบบที่หลากหลาย รวมทั้งตัวอักษรเสียง วิดีทัศน์ และการติดต่อส่อื สาร ณ เวลาจรงิ คุณสมบัตนิ ช้ี ่วยใหผ้ ู้เรยี นสามารถเลือกรูปแบบการนำเสนอท่ีมปี ระสิทธิภาพต่อการ เรยี นของตนมากท่ีสุด และครผู ู้สอนกส็ ามารถเลือกรูปแบบทเี่ หมาะสมกับหลักสูตรมากที่สุดได้ 4. ความทันสมัย (Currency) เนอื้ หาทีใ่ ช้ในการเรยี นบนเว็บน้ันสามารถปรับปรงุ ให้ทนั สมัยได้ง่ายเม่ือเปรียบเทยี บกับหนังสือเรียน จึงทำให้ ครูสามารถนำเสนอขอ้ มูลท่ีทนั สมยั ท่ีสดุ เทา่ ท่มี ีอยู่ให้แก่ผูเ้ รียน 5. ช่วยเผยแพรผ่ ลงาน (Publishing Capabilities) 13

ผู้เรียนที่ส่งงานไว้บนเว็บ ถือว่าเป็นโอกาสที่จะเผยแพร่ผลงานของตนเองออกสู่สาธารณะ เว็บเป็นแหล่ง ประกาศผลงานที่ดีเลิศ เพราะคนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา สถานที่ และผู้เรียนก็มีโอกาสได้ เหน็ ผลงานของผอู้ นื่ บนเวบ็ ดว้ ยเช่นกัน 6. เพม่ิ ทักษะทางเทคโนโลยี (Increase Technology Skills) การเรียนผา่ นเว็บทำให้ผู้เรยี นไดใ้ ชท้ ักษะและเพ่มิ พูนความสามารถในการใช้เทคโนโลยียงิ่ ขึน้ โดยลำดับ เพราะ ผูเ้ รียนจะไดร้ ับประสบการณ์ใหม่ ๆ และฝกึ ฝนทกั ษะได้จากเทคโนโลยีอันหลากหลาย ข้อจำกดั ของการเรียนผา่ นอีเลิรน์ นงิ (ธัญจริ า จริ นนั ทกาญจน์,2559) 1. ขอ้ เสยี ของรูปแบบมัลตมิ ีเดยี (Format Weaknesses) แม้ว่าเว็บจะสามารถนำเสนอมัลติมีเดียรปู แบบต่าง ๆ ได้มากมาย แต่รูปแบบของสือ่ แต่ละชนดิ ยงั เป็นปัญหา อยูบ่ า้ ง การนำเสนอด้วยตัวอักษรทำให้ผเู้ รียนสามารถอ่านและพิมพ์ออกมาไดง้ ่ายในรปู แบบของสื่อสิ่งพิมพ์ ในขณะท่ี วิดีโอบนเว็บเคลื่อนไหวช้ากว่าวิดีทัศน์ หรือโทรทัศน์ธรรมดา นอกจากนี้การติดต่อส่ือสาร ณ เวลาจริง (Real-time communication) ยังไม่สามารถให้ความรู้สึกได้เหมือนของจริง และด้วยข้อจำกัดเรื่อง bandwidth ทำให้การดาวน์ โหลดขอ้ มูลมัลติมีเดยี กนิ เวลานาน และนา่ เบื่อหนา่ ยสำหรบั ผเู้ รยี น 2. ปัญหาของเสน้ ทางการเขา้ สเู่ น้ือหา (Navigational Problems) แม้ Hypertext หรือข้อความที่แสดงบนหน้าจออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีการอ้างอิงเชื่อมโยงไปถึงข้อความ อื่น ๆ ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงได้ทันที จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงออกไปสู่เนื้อหาภายนอกต่อไปได้ก็ตาม แต่ถ้า การออกแบบบทเรียนไม่ดีพอแล้ว ผู้เรียนอาจหลงทางและหลงประเด็นได้ ทำให้การเรียนมีปัญหาและไม่ได้ผลตาม เป้าหมาย 3. การขาดการติดตอ่ ระหวา่ งบคุ คล (Lack of Human Contact) ในการเรียนผ่านเว็บ ผู้สอนจะไม่มีโอกาสได้เห็นว่าผู้เรียนเกิดความสงสัยหรือไม่เข้าใจและมีผู้เรียนบางคนก็มี ความพึงพอใจกับความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนแบบดั้งเดิมมากกว่า อย่างไรก็ตามมีความพยายามแก้ไขปัญหา โดยการทดแทนความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลด้วยการใช้ E-mail หรอื การจัดใหม้ ีกระดานสนทนา (discussion forum) เพ่อื ท่ีผเู้ รยี นจะสามารถมกี ารตดิ ตอ่ ส่อื สารกับบุคคลอ่นื ๆ ได้ 3) แนวคิดเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมการใช้อีเลิร์นนงิ จากการทบทวนวรรณกรรมมีผู้ให้ความหมายของพฤตกิ รรมการใช้อเี ลริ น์ นงิ (ขวญั ใจ จรยิ าทัศนก์ ร และ จริ ะ จิตสุภา, 2560) หมายถึง การกระทำหรือการปฏิบัติของนักศึกษาในการทบทวนบทเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ได้แก่ การ สอบถามข้อสงสัยในบทเรียนจากอาจารย์ผู้สอนผ่านอีเลิร์นนิง การใช้อีเลิร์นนิงในการเตรียมเรียนบทเรียนล่วงหน้า การทำแบบทดสอบหรือข้อสอบออนไลนผ์ ่านอีเลิร์นนิง การทำการบา้ นหรือแบบฝึกหัดสง่ อาจารย์ผสู้ อนผ่านอีเลิร์นนิง และการส่งรายงานใหอ้ าจารยผ์ ู้สอนผ่านอเี ลิร์นนงิ โดยสามารถเขา้ ถึงอีเลริ น์ นิง และเชื่อมโยงเนือ้ หาต่าง ๆ ได้ทุกที่ทุก เวลา โดยประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ การยอมรับเทคโนโลยี ทักษะออนไลน์ ภาพและเสียงออนไลน์ การอภิปรายบน อินเทอรเ์ น็ต สงิ่ สำคญั ตอ่ ความสำเร็จในการเรยี น และความตง้ั ใจทจี่ ะใชอ้ เี ลริ ์นนิง 14

วรวุฒิ มั่นสุขผล และปุณเชษฐ์ จินางศุกะ (2558) ศึกษาพฤติกรรมและความต้องการการใช้อีเลิร์นนิงของ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมการใช้ อี เลิร์นนิง หมายถึง พฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการ ถ่ายทอดเน้ือหา ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการใช้งานระบบอีเลริ น์ นิง 2) ด้านการใช้อุปกรณ์ทีเ่ ข้าถึงระบบอี เลิรน์ นงิ 3) ดา้ นความถี่จำนวนคร้งั ในการใช้งานระบบอเี ลิรน์ นงิ ตอ่ สัปดาห์ 4) ด้านความถรี่ ะยะเวลาในการใช้งานอีเลิร์ นนิงตอ่ ครง้ั 5) ด้านความถีร่ ะยะเวลาการเข้าใชง้ านระบบอีเลริ ์นนิงในแตล่ ะคร้ัง 6) ดา้ นวัตถปุ ระสงค์ในการเข้าใช้งาน อีเลิร์นนงิ จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง หมายถึง พฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดย อาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการถ่ายทอดเนื้อหา ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการใช้ อุปกรณ์ที่เข้าถึงระบบอีเลิร์นนิง 2) ด้านความถี่จำนวนครั้งในการใช้งานระบบอีเลิร์นนิงต่อสัปดาห์ 3) ด้านความถี่ ระยะเวลาในการใชง้ านอีเลิร์นนิงต่อครั้ง 4) ด้านความถี่ระยะเวลาการเขา้ ใชง้ านระบบอีเลิร์นนิงในแต่ละครั้ง 5) ด้าน วัตถปุ ระสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลริ ์นนิง 6) ปัญหาและอุปสรรคในการใช้งานอีเลริ ์นนิง เครื่องมอื วดั พฤติกรรมการใช้อเี ลิร์นนิง สามารถวัดได้จาก แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้อีเลริ ์นนิงที่ดัดแปลง มาจากแบบสอบถามพฤติกรรมการใชอ้ ีเลิร์นนงิ ของวรวุฒิ มั่นสุขผล และปุณเชษฐ์ จินางศุกะ ที่ใช้กับนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ประกอบดว้ ย 1) ดา้ นการใช้งานอเี ลิรน์ นงิ 2) ด้านการใช้อุปกรณ์ทเ่ี ขา้ ถึงระบบอีเลิร์ นนิง 3) ด้านความถ่ีจำนวนครั้งในการใช้งานระบบอีเลิร์นนิงต่อสัปดาห์ 4) ด้านความถี่ ระยะเวลาในการใช้งานอีเลิร์ นนิงตอ่ ครั้ง 5) ด้านความถรี่ ะยะการใชง้ านระบบอีเลิร์นนงิ ในแตล่ ะครั้ง 6) ด้านวัตถุประสงคใ์ นการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (Check List) เนื่องจากแบบทดสอบมีความน่าเชื่อถือ และ สอดคล้องกับการศึกษาของงานวจิ ยั ฉบับน้ี 4) แนวคดิ เกี่ยวกับพฤตกิ รรมการเรียนผา่ นอีเลริ น์ นงิ ปิยะ บูชา ได้ให้ความหมายของ พฤติกรรมการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเลิร์นนิง หมายถึง การ แสดงออกของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียน ด้วยการเรียนผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ โดยการใช้บทเรียนออนไลน์ท่ีมีช่องทางการ ส่ือสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผูเ้ รียน ซึ่งเป็นการเรียนทีไ่ ม่มีข้อจำกัดในเรือ่ งของเวลา และสถานที่ใน การใช้งาน ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายได้ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ และแทบ็ เลต็ เปน็ ตน้ เพอ่ื พฒั นาตนเองให้มีความสามารถทักษะตา่ ง ๆ ตามจดุ มุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้ ในรายวิชา รวมถึงการแสวงหาความรู้ การแลกเปลี่ยนข้อมูล การมีส่วนร่วมทำกิจกรรมกลุ่ม เป็นต้น (ปิยะ บูชา, 2561) ประกอบด้วย 3 ด้านดังนี้ 1) การใช้ประโยชน์จากการเรียนออนไลน์ 2) การมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียน 3) เวลา ความถ่ีในการเรียนผ่านอเี ลริ ์นนิง Kun Liang, Yiying Zhang, Yeshen He, Yilin Zhou, Wei Tan, and Xiaoxia Li studied Online Behavior Analysis-Based Student Profile for Intelligent E-Learning (2 0 1 7 ) . They give a definition of Learning Behavior is the online learning behavior is the kind of learning behavior under the network 15

environment. The core of learning behavior is the operation of online learning behaviors. For example, a learner clicks on a course, browses the page, plays the video, and downloads the relevant courseware. จากความหมายและคำจำกัดความข้างต้น สรุปได้ว่า พฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง หมายถึง การ แสดงออก หรือการกระทำของผู้เรียนทีม่ ีต่อการเรียน ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่เกีย่ วกับเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล หรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) โดยการใช้บทเรียนออนไลน์ที่มีช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และ ผู้เรียนกับผู้เรียน ซึ่งเป็นการเรียนที่ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลา สถานที่ และอุปกรณ์ในการใช้งานผ่านระบบ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มือถือ และแท็บเลต็ เครื่องมือวัดพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง สามารถวัดได้จาก แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนผ่าน อี เลิร์นนงิ ทีด่ ัดแปลงมาจากแบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนผา่ นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ของปยิ ะ บูชา ทใ่ี ช้กบั นิสิตปริญญา ตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบวัดพฤติกรรมโดยการประมาณค่า 6 ระดับ (Rating Scale) ประกอบด้วย 1) การใช้ประโยชน์จากการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2) การมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียนผ่านส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ 3) เวลา/ความถี่ในการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากแบบทดสอบมีความน่าเชื่อถือ และ สอดคล้องกับการศึกษาของวจิ ัยฉบบั นี้ 5) งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง งานวิจัยที่ได้ศึกษาถึง พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง อาทิ งานวิจัยของ วรวุฒิ ม่ัน สุขผล และปุณเชษฐ์ จินางศุกะ (2558) ได้ทำการศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ในกลุ่มนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต ชน้ั ปีที่ 1-2 ทลี่ งทะเบียนเรียนใน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 จำนวน 183 คน เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ผู้วิจัยได้สำรวจพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ไว้ทงั้ หมด 6 ด้าน อนั ประกอบไปดว้ ย 1) ดา้ นการใชง้ านระบบอเี ลิรน์ นิง 2) ดา้ นการใชอ้ ุปกรณ์ทีเ่ ข้าถงึ ระบบอีเลิร์นนิง 3) ด้านความถีจ่ ำนวนคร้ังในการใช้งานระบบอีเลิร์นนงิ ต่อสัปดาห์ 4) ด้านความถีร่ ะยะเวลาในการใช้งานอีเลิรน์ นิงต่อ ครั้ง 5) ด้านความถี่ระยะเวลาการเข้าใช้งานระบบอีเลิร์นนิงในแต่ละครั้ง 6) ด้านวัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอี เลิร์นนิง ซึ่งผลการสำรวจพบว่า พฤติกรรมการใช้งานอีเลิร์นนิงของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ โดยเฉลี่ยจะมี พฤติกรรมการเข้าใช้งานระบบอีเลิร์นนิง 1-2 ครั้ง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 61.90 ส่วนใหญ่มีการใช้งานในช่วงเวลา 18.01 – 21.00 น. คิดเป็นร้อยละ 34.43 เวลาในการใช้งานแต่ละครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 1-2 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 52.69 โดยมีการใช้งานผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก อยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 42.11 รองลงมา มีการใช้งาน ผ่าน คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ร้อยละ 32.16 วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ส่วนใหญ่มีการใช้งานเพื่อศึกษา บทเรียน/ทบทวนบทเรียน มากที่สุด ร้อยละ 35.81 รองลงมา เพื่อดาวน์โหลดเอกสารประกอบการเรียน ร้อยละ 30.70 งานวิจัยของ ปิยะ บูชา (2561) ได้ทำการศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของเจตนาเชิงพฤติกรรมที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยประยุกต์ใช้ปัจจัยทาง 16

จติ ตามทฤษฎพี ฤติกรรมตามแผน (Theory of Planned Behavior) ของ ไอเซน (Ajzen. 1991) ในกลุ่มตวั อย่าง นิสติ ระดบั ปริญญาตรีชั้นปีท่ี 3 และ ชน้ั ปที ่ี 4 ตามสดั ส่วนประชากรให้ครบทงั้ 9 คณะ จำนวน 380 คน โมเดลท่ีสร้างข้ึนมี ความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และจากการศึกษาปัจจัยคุณลักษณะทางจิตที่ส่งผลต่อพฤติกร รม พบว่า พฤติกรรมการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้รับอิทธิพลทางตรง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการ ควบคมุ ตน การรบั รู้การควบคุมพฤติกรรม และความรู้เก่ยี วกับการเรียนผ่านสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ (ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล ทางตรง เทา่ กบั 0.12, 0.11, 0.06 ตามลำดับ) ไดร้ ับอทิ ธิพลทางอ้อมจาก แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธ์ิ (ค่าสัมประสิทธ์ิอิทธิพล เท่ากับ 0.54) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรม พบว่า พฤติกรรมการเรียนผ่านสื่อ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ไดร้ ับอิทธิพลทางตรงจาก การสนับสนนุ ทางสังคม (ค่าสมั ประสิทธ์ิอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.30) ได้รับ อิทธิพลทางออ้ มจาก การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (คา่ สัมประสทิ ธ์ิอิทธพิ ล เทา่ กบั 0.13) และพฤตกิ รรมการเรียนผ่านส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ยังได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรคั่นกลาง คือ เจตนาเชิงพฤติกรรม (ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.52) ได้รับอิทธิผลทางอ้อมจาก เจตคติต่อการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล เท่ากับ 0.25) งานวิจัยของ กุศิรา เจริญสุข (2555) ได้ศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้งานเทคโนโลยี e-Learning ของ นักศึกษา Pre-degree มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) ทั้งชายและหญิง อายุ ระหว่าง 15-18 ปีที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานครเป็นผู้ที่ลงทะเบียนเรียนเป็นรายวิชาเพื่อ เตรยี มศกึ ษาระดับปริญญาตรีปีการศึกษา 2552-2554 โดยเก็บข้อมลู และวิเคราะหใ์ นชว่ งปีการศึกษา 2555 ซึ่งผู้วิจัย ใช้การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็นด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็น แบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างรวมทั้งสิ้น 30 ชุด เพื่อทดสอบค่า pre-test และ post-test เพื่อตรวจสอบ คำถามว่าเนื้อหาถูกต้อง แล้วจึงนำมาทดสอบหาค่าความน่าเชื่อถือด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for windows version 12.0 ของแบบสอบถามที่เป็นเฉพาะส่วนที่กำหนดอัตราส่วนประมาณค่าโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Coefficient alpha) ของครอนบาค (Cronbach) มีความเที่ยงตรง น่าเชื่อถือได้ (reliability) โดยผลการทดสอบได้ ค่าแอลฟา 0.888 ซึ่งเป็นค่าในระดับสูง ผลของการวิจัยนี้ปรากฎว่า ลักษณะประชากรของนักศึกษา Pre-degree มหาวิทยาลัยรามคำแหง ส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง อายุ 17 ปกี ำลงั ศึกษาช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเป็นประจำ ทบ่ี า้ นมากกวา่ 3 ปีและใชค้ รงั้ ละ 1-2 ช่วั โมงต่อวนั เข้าใช้เทคโนโลยี e-Learning มากทส่ี ุด งานวิจัยของชนนิ ทร์ ต้งั พานทอง (2554) ไดศ้ กึ ษา ปจั จัยทีม่ ตี อ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนออนไลน์เพ่ือเสริมการ เรียนการสอน ในนักศึกษาปริญญาตรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบรุ ี จำนวน 300 คน โดยใช้วธิ ีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขนั้ (Multistage Sampling) ผลการวิจยั พบวา่ ปัจจัย คุณภาพ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพของระบบ (System Quality) ด้านคุณภาพสารสนเทศ (Information Quality) และด้านคุณภาพการบริการ (Service Quality ) มีอิทธิพลต่อการใช้งาน (Use) บทเรียนออนไลน์เพื่อเสริมการเรียน การสอนผ่านหลักสูตรออนไลน์แบบเปิดเพื่อมหาชนโดยเรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านคุณภาพการบริการ (Service Quality) ด้านคุณภาพของระบบ (System Quality) และด้านคุณภาพสารสนเทศ (Information Quality) ที่ระดับ 17

นยั สำคัญ 0.05 และมีอิทธพิ ลต่อความพึงพอใจของผ้ใู ชง้ าน บทเรยี นออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนการสอนผ่านหลักสูตร ออนไลน์แบบเปิดเพื่อมหาชนโดยเรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ด้านคุณภาพการบริการ (Service Quality) ด้านคุณภาพ สารสนเทศ (Information Quality) และด้านคุณภาพของระบบ (System Quality) ทร่ี ะดับนยั สำคัญ0.05 นอกจากน้ี การใช้งานและความพึงพอใจของผู้ใช้งานมีความสัมพันธ์กันเชิงบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้ใช้งานบทเรียน ออนไลน์แต่มีความสัมพันธ์น้อย และยังพบอีกว่าความพึงพอใจของผู้ใช้งานเท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผใู้ ชง้ านบทเรียนออนไลน์ แต่การใชง้ านไม่มีอิทธิพลต่อผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผใู้ ช้งานบทเรียนออนไลน์ งานวิจัยของธนพรรณ ทรัพย์ธนาดล (2554) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน บทเรียนออนไลน์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในกลุ่มตัวอย่างที่สนใจ คือ ผู้บริหารจำนวน 21 คนอาจารย์ จำนวน 192 คนและนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรภาคปกติในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 500 คน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้คือแบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามกรอบ วัตถุประสงค์แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นที่ระดับมากกว่า 0.7 และนํามาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้ โปรแกรม SPSS for Window เพื่อหาค่าสถิติพื้นฐานได้แก่ค่าร้อยละค่าความถี่ค่าเฉลี่ย (������̅) ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านผูบ้ รหิ ารไมม่ ีผลการจดั การเรียนการสอนบทเรียนออนไลนใ์ น ด้านเนื้อหาบทเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ปัจจัยด้านผู้สอน และปัจจัยด้านผู้เรียนมีผลการจัดการ เรียนการสอนบทเรียนออนไลน์อยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติที่ระดับ 0.01 งานวิจัยของระพีพรรณ ฉลองสุข, นฤภร สำราญรัตน์, พัทธมน กอกอบลาภ, พิรญาณ์ ใจชื้น และวิภาวี พุก จนิ ดา (2557) ได้ศกึ ษาพฤติกรรมและทัศนคติของนักศึกษาคณะเภสชั ศาสตรม์ หาวิทยาลัยศลิ ปากรต่อการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ในการเรียน ในกลุ่มนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากรชั้นปีที่ 1–5 มหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 270 คน เป็นการวจิ ัยเชงิ เปรียบเทียบ ผลการวิจยั พบว่า นกั ศึกษาแตล่ ะชน้ั ปีมีประสบการณใ์ นการใช้สื่อสังคม ออนไลน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p= 0.001) ทดสอบด้วย Tukey HSD พบว่า โดยคู่ที่มีความแตกต่างกันใน ประสบการณ์การใช้ในการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ได้แก่ ปี 5-ปี 3 (p=0. 021) ปี 5-ปี 1 (p < 0. 001) ปี 2-ปี 3 (p =0. 021) นักศึกษาเภสัชศาสตร์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อศึกษาหาความรู้ ค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการเรียน คิดเป็ นร้อย ละ 92.4 ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเรียนติดตามข้อมูลการเปล่ียนแปลงตารางเรียน คิดเป็นร้อยละ 85.9 และใช้เพื่อ ทบทวนความรู้ คิดเป็นร้อยละ 65.4 ซึ่งต่างจาก พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในกลุ่มอายุ 6-24 ปี ใช้อินเทอร์เน็ตใน กิจกรรมห้องสนทนา (Blog Web 2.0/chat/instant message) คิดเป็นร้อยละ 44.9 การรับ-ส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) คิดเป็นร้อยละ 36.5 และกิจกรรมติดตามข้อมูลข่าวสาร คิดเป็นร้อยละ 35.7 ดังนั้นคณะ เภสัชศาสตร์จึงควรที่จะพิจารณานโยบายในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเรียนการเรียนให้ชัดเจน เพื่อให้ กระบวนการเรียนรนู้ ่าสนใจ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการและพฤติกรรมของนกั ศกึ ษา การวิจัยของพรรณิการ์ พุ่มจันทร์, บุษจรย์ หงษ์เหลี่ยม และพัชดาพรรณ อุดมเพ็ชร (2558) ได้ทำการศึกษา พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาแพทย์ระดับพรีคลินิกของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลโดยใช้ 18

กล่มุ ตวั อย่างคือ นักศกึ ษาแพทย์ระดับพรีคลินิก คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล จำนวน 280 คน ผลการวิจยั พบว่า นกั ศึกษาแพทยส์ ว่ นใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 52.3 มพี ฤตกิ รรมการใช้ส่ือสังคมออนไลน์โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.40 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.53 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักศึกษาแพทย์มี พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในด้านการติดต่อสื่อสารมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.61 เมื่อทดสอบสมมติฐานที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ทางด้านการศึกษา พบว่า ชั้นปีที่ ต่างกันมีพฤติกรรมการใชส้ ื่อสังคมออนไลน์ทางด้านการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดย นักศึกษาแพทย์ชั้นปที ี่ 3 มีพฤติกรรมการใช้สือ่ สังคมออนไลนด์ ้านการศึกษาท่ีดีกว่านักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 2 เล็กน้อย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากนักศึกษาแพทย์แต่ละช้ันปีมีบริบทการศึกษาไม่เหมือนกัน บางชั้นปีอาจต้องใช้สื่อสังคมในการ ทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื ทำงานหรือทำการบ้านทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ค้นควา้ หาตำราวิชาการ เป็นตน้ งานวิจัยของวัฒนพร จตุรานนท์,โสภี ชาญเชิงยุทธชัย,ศศิชญา แก่นสาร และรัฐพร ปานมณี (2563) ได้ ทำการศึกษาพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ และความพึงพอใจที่มตี อ่ การจัดการเรียนรูภ้ าษาจีนผ่านระบบออนไลน์ของ นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาภาษาจีน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ภาคการศึกษาฤดูร้อน ปี การศึกษา 2562 ตามมาตรการและการเฝา้ ระวังการระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 กลุ่มตวั อยา่ งคือ นสิ ิตหลังสูตร การศึกษาบัณฑิต สาขาภาษาจีน จำนวน 28 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการเรียนออนไลน์ ร้อยละ100 ใช้ สมาร์โฟนในการเรียนภาจีนผ่านระบบออนไลน์ และมีความพร้อมอยู่ในระดับมาก และมีพฤติกรรมการเรียนแบบ เรียลไทม์ตามตารางเรียนผ่าน Google Meet มากที่สุด 2. ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาจีน ผา่ นระบบออนไลน์ ในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ค่าเฉลย่ี =3.86 (S.D. =0.77) 3. ปัญหาและ อุปสรรคข์ องนสิ ิตท่ีมี ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ภาษาจนี ผ่านระบบออนไลน์ ไดแ้ ก่ อินเทอรเ์ น็ต สภาพแวดลอ้ มในการเรยี น และระยะเวลาในการ สง่ งานและขอ้ สอบ งานวิจัยของวีนัส แก้วประเสริฐ (2557) ทำการศึกษาผลการคิดวิเคราะห์และสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการ เรียนแบบอีเลิร์นนิงโดยใช้การเรียนการสอนแบบกรณีศึกษา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์/ ศึกษาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรชั้นปีที่ 2 ท่ี ลงทะเบียนเรียนในวิชา 468201 สื่อการศึกษา แหล่งเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 จ านวน 81 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนความสามารถในการคิด วิเคราะห์ของนักศึกษากลุม่ เก่งท่ีจดั การเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิงโดยการสอนแบบกรณศี ึกษาก่อนเรียนสูงกว่าหลัง เรียน คะแนนความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ของนักศึกษากลุ่มปานกลางและกลุ่มออ่ นที่จัดการเรียนการสอนด้วยอี เลิร์นนิงโดยการสอนแบบกรณีศึกษา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นวชิ าสือ่ การศึกษา แหล่งเรยี นรแู้ ละส่งิ แวดล้อมเพ่ือการเรียนรู้ของนกั ศึกษากล่มุ เกง่ ทจี่ ัดการเรียนการสอน ด้วยอีเลิร์นนิงโดยการสอนแบบกรณีศึกษา ก่อนเรียนสูงกว่าหลังเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าสื่อการศึกษา แหล่ง เรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษากลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อนที่จัดการเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิง โดยการสอนแบบกรณีศึกษาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. พฤติกรรมการเรียน 19

ของนกั ศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นการสอนด้วยอเี ลิรน์ นงิ โดยการสอนแบบกรณีศกึ ษาอยู่ในระดบั ดี (X=24.61, S.D.=1.24) 4. ความคิดเห็นต่อการเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิงโดยการสอนแบบกรณีศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง ( X=3.38, S.D.=0.85) งานวจิ ัยของเสถียร พูลผล และปฏพิ ล อรรณพบรบิ รู ณ์ (2563) ได้ศกึ ษาการสำรวจความคดิ เหน็ ของนักศึกษา เภสัชศาสตร์ที่มีต่อการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงโควิท 19 เพื่อออกแบบแนวทางงการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม เปน็ วจิ ยั เชิงสำรวจ กลุ่มตัวอยา่ ง คือ นกั ศึกษาเภสัช-ศาสตร์ ช้ันปีท่ี 1-5 จำนวน 180 คน ผลการศึกษาพบวา่ นกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่เปน็ เพศหญงิ (ร้อยละ 77.2) ทุกคนมีอินเทอรเ์ นต็ ในการใช้งาน ส่วนใหญ่เคยเรียนและเคยสอบในรูปแบบออนไลน์ (ร้อยละ 95.6, 91.1 ตามลำดับ) อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนและการ สอบออนไลน์ คือ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ การเรียน และการพูดคุยทางออนไลน์ (ร้อยละ 93.29, 92.2 ตามลำดับ)และใช้บ้าน และหอพักเป็นสถานที่เรียน ออนไลน์ (ร้อยละ 96.1, 34.4 ตามลำดับ) รูปแบบการเรยี นท่ีนักศึกษาชอบมากที่สดุ คือ เรียนในชัน้ เรียน รองลงมาคือ การเรียนออนไลน์แบบคลิปสอน (ร้อยละ 46.7, 31.1 ตามลำดับ) อุปสรรคที่เกิดขึ้นในการเรียนออนไลน์คือ มีปัญหา เรื่องอนิ เทอรเ์ นต็ จำนวน 37 คน ไมม่ ีสมาธใิ นการเรยี นจำนวน 15 คน สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเรียนจำนวน 11 คน งานวจิ ัยของเสกสรร สายสีสด (2556) ไดศ้ ึกษาพฤตกิ รรมและความพึงพอใจต่อการใช้สื่อใหม่เสริมการเรียนรู้ ของนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ในกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะ วิทยาลัยจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่เรียนด้วยการใช้สื่อใหม่ และ E-Learning เสริมการเรียนรู้ จำนวน 131 คน ผลการศึกษาพบว่า สถานที่ทนี่ ักศึกษาใช้อินเตอร์เน็ตมากทสี่ ุด ไดแ้ ก่ ทบี่ า้ น รองลงมา คือ ที่หอพักนักศึกษา เชื่อมต่อจากโน๊ตบุ๊คมากที่สุด รองลงมาเชื่อมต่อจากโทรศัพท์มือถือสำหรับช่วงเวลาที่นักศึกษาออนไลน์มากที่สุดคือ เวลา 13.01-16.00 น. รองลงมาคือ 06.00-09.00 น. นักศึกษาออนไลน์ในแต่ละวันอยู่ในช่วง 2-5 ชั่วโมง มากที่สุด รองลงมาออนไลน์ 1-2 ชั่วโมง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าบริการอินเทอร์เน็ตที่นักศึกษาใช้ไปในแต่ละเดือนอยู่ในช่วง 201- 500 บาท มากที่สุด รองลงมาคือ 501-1,000 บาท นักศึกษาชอบใช้บริการของ Facebook มากที่สุด รองลงมาใช้ YouTube นักศึกษาใช้อินเทอร์เน็ตในด้านการสนทนาพูดคุย และค้นคว้าข้อมูลมากที่สุด รองลงมาคือ การศึกษา ความรู้ประกอบการเรียน และนกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่เคยเขา้ ใช้บทเรยี น E-Learning โดยมีผเู้ คยเขา้ ใช้คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.5 นักศึกษาใช้ E-Learning ด้านทำแบบฝึกหัดมากที่สุด โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามคิดเป็นร้อยละ 58.6 รองลงมาใช้ ทบทวนเนื้อหาวชิ า และเตรียมคิดเป็นร้อยละ 58.6 สืบค้นบทเรียนเพิ่มเติมคิดเป็นร้อยละ 27.9 อื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 3.6 นอกจากนี้ยังพบว่านักศึกษาใช้บทเรียน E-Learning ในช่วงหลังเวลาเรียนมากท่ีสุดลักษณะการใช้บทเรียน E- Learning ของนักศึกษานิยมดาวน์โหลดบทเรียนมากที่สุดนักศึกษาคิดว่าบทเรียน E-Learning มีประโยชน์ด้าน สามารถอ่านเนือ้ หาย้อนหลังไดร้ องลงมาคือทบทวนบทเรียนที่ผ่านมานักศึกษามคี วามต้องการให้ปรับปรุงบทเรียน E- Learning ดา้ นใหม้ ีการตวิ ขอ้ สอบให้นักศึกษาก่อนสอบมากท่สี ดุ รองลงมา คอื สามารถส่งการบ้านยอ้ นหลงั ได้ 20

บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวิจยั 1. รปู แบบการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนาแบบเปรียบเทียบ (Retrospective Comparative Descriptive Research) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรช้นั ปที ่ี 2 และ 3 ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 ในชว่ งสถานการณโ์ รค COVID-19 โดย การใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และแบบสอบถามการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง เป็นเครื่องมือในการเก็บ ขอ้ มลู 2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนิสิตระดับปรญิ ญาตรี ชั้นปีท่ี 2 จำนวน 125 คนและชั้นปีที่ 3 จำนวน 125 คน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ภาคเรยี นที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562 จำนวน 250 คน (ฝา่ ยเวช-ระเบียน คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, 2563) กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั กลุ่มตัวอยา่ งการวิจัยคร้ังนี้ คือ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2-3 ภาคเรียนท่ี 3 ปี การศึกษา 2562 จำนวณ 125 คน และ 125 คน ตามลำดับ ซึ่งชั้นปีที่ 2 ไม่นับรวมผู้วิจัย 8 คน และไม่นับรวมกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้วิเคราะห์ความเชื่อมั่น (Reliability) จำนวน 30 คน ทำให้กลุ่มประชากรที่ใช้สำหรับกลุ่มตัวอย่างท้ังสอง ชั้นปีมีจำนวน 212 คน ใช้การกำหนดกลุ่มตวั อย่าง ในกรณีนี้ผู้วิจัยทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึงใช้สูตรคำนวน ของ Yamane ดงั น้ี ������ ������ = 1 + ������ⅇ2 เม่ือ N = ขนาดของประชากร (Study Population = 212 - ผู้วิจยั 8 คน – กลุ่มที่ใช้วิเคราะห์ ความเชอ่ื มน่ั 30 คน) e = ความคลาดเคลื่อนท่ียอมรบั ได้ n = ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างท่ีต้องการ จากสูตร ผู้วิจัยทราบว่า จำนวนประชาการทั้งหมดคือ 212 คน และยอมให้เกิดความคาดเคลื่อนจากการ ประมาณคา่ เฉล่ียประชากรท้งั หมด 5% กำหนดค่าความเชื่อม่ัน 95% หรือคา่ ความคลาดเคลอื่ นเทา่ กบั .05 แทนค่า ดังน้ี ������ ������ = 1 + ������ⅇ2 21

212 ������ = 1 + 212(0.05)2 212 ������ = 1.53 = 138.56 หรือประมาณ 139 คน ดังนน้ั จงึ ได้ขนาดกล่มุ ตัวอยา่ งจำนวน 139 คน คัดเลือกตัวอย่างโดยใช้สัดส่วนในแต่ละชั้นปี ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified random sampling) เป็นการสุ่มตวั อย่างชนิดท่แี บ่งกลุ่มประชากรออกเป็นกลุ่มชน้ั ย่อย ๆ (Strata) โดยแต่ละช้ันจะมีความเป็น เอกพันธ์ (Homogeneity) หรือมีความเหมือนกันให้มากที่สุด แต่ระหว่างชั้นภูมิให้มีความเป็นวิวิธพัน ธ์ุ (Heterogeneity) หรือมีความแตกต่างกันให้มากที่สุด (รุ่งทิวา บุญประคม, 2563) แล้วจึงสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ตามสัดส่วนของขนาดกลมุ่ ตวั อย่างและกลมุ่ ประชากร ดังน้ี 1. นำประชากรมาแบง่ ออกเป็นกลมุ่ ยอ่ ย นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ช้นั ปที ่ี 2 จำนวน 117 คน (125 - ผู้วิจัย 8 คน) นิสิตคณะพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปีที่ 3 จำนวน 125 คน 2. เลือกสุ่มตัวอย่างจากแต่ละกลุ่มตามสัดส่วนประชากรจำนวน 242 คน และได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างตาม สัดส่วนของจำนวนนิสติ แต่ละชั้นปี ตามตารางต่อไปนี้ จากสตู รคำนวณสดั ส่วนตอ่ ขนาด ������������ × ������ⅇ ������ = ������ Ni = Ne = ประชากรกลุม่ ย่อย N= จำนวนกลุ่มตัวอยา่ งท่ีต้องการ ประชากรทงั้ หมด ตารางที่ 1 แทนตามสตู รเพือ่ ใหไ้ ด้มาซง่ึ นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปที ่ี 2 และชนั้ ปีที่ 3 ที่ มี ลกั ษณะใกลเ้ คยี งกบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง จำนวน 30 คน เพอ่ื นำมาวเิ คราะหค์ วามเท่ียง (Reliability) ของ เครื่องมือที่ ใช้ในการวจิ ยั รายการ ระดบั ชนั้ ปี รวม ชน้ั ปที ี่ 2 ชั้นปที ่ี 3 จำนวนประชากร 125 125 250 จำนวนกลุม่ ตัวอยา่ งในแตล่ ะชั้นปี 117 × 30 125 × 30 242 242 30 15 15 22

ดังนั้น นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ที่จะนำมาวิเคราะห์ความเที่ยง มีจำนวน 30 คน ประกอบด้วย นิสิตชั้นปีที่ 2 จำนวน 15 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 15 คน ตารางที่ 2 แทนคา่ ตามสตู รเพื่อแบ่งกลุ่มตวั อยา่ งจำนวน 139 คน ในแตล่ ะช้นั ปีการศึกษา เพ่ือเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล รายการ ระดับชน้ั ปี รวม ชน้ั ปที ี่ 2 ชัน้ ปที ่ี 3 จำนวนประชากร 125-8-15 125-15 212 102 × 139 110 × 139 จำนวนกลุม่ ตัวอย่างในแต่ละชน้ั ปี 212 212 67 72 139 ดังนั้น กลุ่มตัวอย่าง 139 คน ประกอบด้วยนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัย นเรศวร ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 จำนวน 67 คน และ 72 คน ตามลำดับ หลังจากคำนวณกลมุ่ ตวั อย่างแตล่ ะชั้นปี เลือกใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูป SPSS ในการส่มุ รายช่ือของกลุ่มตัวอย่าง จากรายช่อื ประชากรของทั้งสองกลุ่มตามจำนวนกลุม่ ตวั อยา่ งในแตล่ ะชัน้ ปี (ปวงกมล กฤษณบุตร, 2563) 3. เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือแบบสอบถามชนิดตอบเอง ประกอบด้วย แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ อี เลิร์นนิงประกอบด้วย ข้อคำถามจำนวน 8 ข้อ ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม และดัดแปลงมาจาก งานแบบสอบถามพฤติกรรมและความต้องการใช้อีเลิร์นนิงของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร (วรวุฒิ ม่นั สุขผล และปณุ เชษฐ์ จินางศุกะ, 2558) และแบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนผ่านอี เลิร์นนิง ซึ่งได้ดัดแปลงมาจากแบบวัดพฤติกรรมการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนิสิตระดับปริญญาตรี (ปิยะ บูชา, 2561) ประกอบด้วยขอ้ คำถามจำนวน 9 ขอ้ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วยคำถามปลายปิด ได้แก่ เพศ ระดบั ชัน้ ปกี ารศึกษา และคำถามปลายเปิด ได้แก่ อายุ รายได้จากผปู้ กครอง ส่วนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้อีเลิรน์ นงิ ประกอบด้วย อปุ กรณ์ท่ใี ช้เขา้ ถึงอีเลริ ์นนิง ระบบเครือข่าย ที่ใช้งาน สถานที่ที่เข้าใช้งาน จำนวนวันในการเข้าใช้งานต่อสัปดาห์ ช่วงเวลาในการเข้าใช้งานต่อครั้ง ระยะเวลาการ เข้าใช้งานในแต่ละครั้ง วัตถุประสงค์ในการใช้งาน และปัญหาและอุปสรรคในการใช้อีเลิร์นนิง ในแบบสอบถามมี จำนวนข้อคำถามทั้งหมด 8 ข้อลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบ (Check list) นำแบบสอบถาม ฉบับนีไ้ ปตรวจสอบความตรงตามเนอ้ื หากับผูท้ รงคุณวฒุ ิ 3 ท่าน ประกอบดว้ ย อาจารยศ์ รสี ภุ า ใจโสภา อาจารย์ ดร.กัญญาณัฏฐ์ สาธกธรณธ์ ันย์ อาจารย์ ดร.กมลรจน์ วงษ์จันทร์หาญ 23

โดยการให้ข้อเสนอแนะที่เป็นอัตนัย (Subjective Opinion of experts) ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ ผทู้ รงคณุ วุฒิ จากน้นั นำไปทดลองใช้กบั นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 และชน้ั ปที ี่ 3 ที่ไมใ่ ช่กลมุ่ ตวั อย่าง จำนวน 30 คน จากนน้ั นำมาหาความเทยี่ งดว้ ยวธิ ที ดสอบซ้ำ (Test-retest reliability) ส่วนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมการเรยี นผ่านอีเลิร์นนิง ประกอบด้วย ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ด้าน ประโยชน์ของอีเลิร์นนิง และด้านความพร้อมในการเรียน มีข้อคำถามจำนวน 9 ข้อ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบ มาตรวดั (Likert scale) แตล่ ะขอ้ คำถามมีคำตอบให้เลอื ก 6 ระดบั โดยมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี ไม่เคยปฏบิ ัตเิ ลย 0 คะแนน ปฏิบตั นิ ้อยมาก 1 คะแนน ปฏิบตั ิค่อนขา้ งนอ้ ย 2 คะแนน ปฏบิ ัติบา้ ง 3 คะแนน ปฏิบตั ิค่อนข้างบอ่ ย 4 คะแนน ปฏบิ ตั บิ ่อยคร้ัง 5 คะแนน และแบง่ เกณฑก์ ารให้คะแนนแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คอื กรณีเป็นคำถามทางบวก ใหค้ ะแนนจาก 5,4,3,2,1 และ 0 จากปฏิบตั บิ อ่ ยครงั้ ถงึ ไม่เคยปฏบิ ตั เิ ลย และกรณเี ป็นคำถามทางลบ ให้คะแนนจาก 0,1,2,3,4 และ 5 จากไม่ เคยปฏิบัติ ถึง ปฏิบัติบ่อยครั้ง นำแบบสอบถามฉบับนี้ไปตรวจสอบความตรงตามเนื้อหากับผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน โดย คัดเลือกข้อคำถามที่ได้ค่า Index of Item-Objection Congruence (IOC) มากกว่าหรือเท่ากับ 0.7 จากนั้นนำไป ทดลองใชก้ ับนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ช้ันปที ่ี 2 และชั้นปที ี่ 3 ท่ไี ม่ใชก่ ลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน และนำมาหาคา่ ความเทย่ี งโดยวธิ ีหาค่าสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค (กญั ญาณฏั ฐ์ สาธกธรณ์ธนั ย์, 2563) การพทิ กั ษส์ ทิ ธิข์ องกลุ่มตวั อย่าง ผู้วิจัยพบกลุ่มตัวอย่างและแนะนำตนเอง แจ้งวัตถุประสงค์การทำวิจัยและขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูล พร้อมทง้ั ขอความร่วมมือจากกลุ่มตวั อย่างในการให้ข้อมลู ท่ีตรงตามความเป็นจรงิ และชี้แจงใหท้ ราบว่าข้อมูลทุกอย่าง ผู้วิจัยจะเก็บเป็นความลับไม่มีการระบุชื่อและรายงานการวิจัยจะนำเสนอผลของการวิจัยโดยรวม เมื่อกลุ่มตัวอย่าง ยนิ ยอมเข้าร่วมการวจิ ยั ในกรณกี ลุ่มตัวอยา่ งอายุไม่ถงึ 20 ปีบรบิ รู ณผ์ ู้วิจัยต้องให้ผ้ปู กครองของกลุ่มตวั อย่างลงนามใน ใบยนิ ยอมเข้าร่วมวจิ ยั และกลุ่มตวั อยา่ งมสี ทิ ธ์ิในการปฏิเสธเขา้ รว่ มการวจิ ยั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจยั ดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลตามขัน้ ตอน ดังน้ี 1. ผู้วิจัยดำเนินการขอหนังสือแนะนำตัว และจดหมายขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูลจากคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อติดต่อขอความร่วมมือกับบุคลากรในการเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะทำการเก็บรวบรวมด้วยตนเอง ระหว่างวันที่ 17 พฤศจิกายน - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 24

2. นำหนังสือจากมหาวิทยาลัยนเรศวร ยื่นต่อเจ้าหน้าที่สำนักงานเลขานุการฯ ฝ่ายงานวิจัย คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อประสานขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แจกแบบสอบถาม และนัดหมายวัน เวลา สถานที่ ในการมารับแบบสอบถามกลับ รวมทั้งประสานงานเพื่อหาผู้ประสาน รวบรวมแบบสอบถามของแต่ละชั้นปี ทเ่ี ปน็ กลมุ่ ตวั อย่างในการติดต่อประสานงานการรวบรวมข้อมูลของ การวิจัยในคร้ังน้ี การประมวลผลข้อมูล เมื่อรวบรวมแบบสอบถาม และได้รับการเอกสารกลับครบตามจำนวนที่ต้องการ จึงจะนำข้อมูลที่ได้ไป ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Science) เพื่อใช้ในการ ประมวลผล และวเิ คราะหข์ ้อมูลตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารศกึ ษาและสมมตฐิ านที่ต้ังไว้ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถติ ิทีใ่ ช้ การวจิ ัยในครั้งนี้ มกี ารวิเคราะห์ข้อมูลดังน้ี 1. วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา(Descriptive Statistics) ในรูปจำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร ชน้ั ปที ่ี 2 กบั ชัน้ ปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 โดยใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square Test) 3. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ชนั้ ปที ่ี 2 กับชั้นปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 โดยใชก้ ารทดสอบค่าที (t-test) ในกรณี ท่มี กี ารแจกแจงปกติ และใช้การทดสอบแมนทว์ ิทนยี ์ ยเู ทส (Mann-Whitney U test) ในกรณที มี่ ีการแจกแจงไมป่ กติ 25

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของ นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 ผ้วู จิ ยั ได้นำข้อมูลจากแบบสอบถาม ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 139 ชุด และได้แบบสอบถามกลับคืนมา จำนวน 139 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ของ แบบสอบถามทั้งหมด เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย วิธีการทางสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตารางประกอบคำ บรรยายโดยแบง่ เปน็ 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นท่ี 1 การวเิ คราะหข์ ้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ชัน้ ปีที่ 2 และชั้นปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562 ส่วนท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เกยี่ วกบั พฤติกรรมการเรยี นผา่ นอีเลริ น์ นงิ ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ชนั้ ปีท่ี 2 และช้นั ปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะ พยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ช้ันปีท่ี 2 กับ ช้นั ปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันในการแปลความหมาย จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้ทำการกำหนด สัญลกั ษณท์ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี n หมายถึง ขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง x̄ หมายถึง คา่ เฉล่ียเลขคณิตของขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากกลุ่มตวั อยา่ ง S.D. หมายถึง ค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของกลุ่มตวั อย่าง P-value หมายถึง ระดบั นยั สำคัญ (Significance) t หมายถงึ ค่าสถิติทใ่ี ชใ้ นการเปรยี บเทียบค่าฉล่ยี ระหว่างกลุ่มตัวอยา่ ง 2 กลุม่ Sig หมายถงึ ระดับความมีนยั สำคญั ทางสถิติ * หมายถึง มนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 26

สว่ นที่ 1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่วั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 139 คน ซึ่งเป็นนิสิตคณะพยาบาลศ าสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 67 คน และชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 72 คน ปรากฏดงั ตารางที่ 3.1-3.2 ตารางท่ี 3.1 แสดงจำนวน และร้อยละของข้อมูลทวั่ ไปของกลมุ่ ตัวอย่าง จำแนกตามเพศ เพศ ช้ันปีท่ี 2 ช้นั ปีท่ี 3 จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ชาย 3 4.48 8 11.11 หญิง 64 95.52 64 88.89 รวม 67 100 72 100 จากตารางที่ 3.1 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามในครั้งนี้ เป็นนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ ร้อยละ 95.52 และ 88.89 ตามลำดับ ตารางที่ 3.2 แสดงการเปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของข้อมลู ทั่วไปของกลุม่ ตัวอย่าง ขอ้ มูลทั่วไป ช้นั ปที ่ี 2 ช้ันปที ่ี 3 P-value x̄ S.D. x̄ S.D. Sig. t อายุ 21.00 0.97 22.33 1.15 .064 7.361 แหลง่ รายได้ จากผู้ปกครอง 6456.72 2955.80 6802.78 3716.24 .543 .610 จากแหลง่ อน่ื 856.72 2327.65 1116.67 2664.27 .542 .611 จากตารางที่ 3.2 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่าง ที่เป็นนิสิตชั้นปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยอายุเท่ากับ 21.00 ปี (S.D.= 0.97) นสิ ติ ช้ันปที ่ี 3 มีค่าเฉลี่ยอายเุ ท่ากบั 22.33 (S.D.=1.15) พบว่าไมแ่ ตกตา่ งกันทางสถิติ เมอ่ื พจิ ารณารายได้ท่ีแยก ตามแหล่งรายได้ของนิสิตต่อเดือนพบว่า นิสิตชั้นปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยของจำนวนรายได้จากผู้ปกครองเท่ากับ 6,456.72 บาทต่อเดือน มีค่าเฉล่ียของจำนวนรายได้จากแหล่งอ่นื เทา่ กับ 857 บาทตอ่ เดือน นิสิตชนั้ ปีที่ 3 มีค่าเฉล่ียของจำนวน รายได้จากผู้ปกครองเท่ากับ 6,802.78 บาทตอ่ เดือน มีคา่ เฉลยี่ ของจำนวนรายได้จากแหล่งอืน่ เท่ากับ 1,116.67 บาท ตอ่ เดือน การศกึ ษาคร้งั น้ี พบว่ารายไดข้ องนิสติ ต่อเดอื นทงั้ 2 ช้ันปี ไมม่ ีความแตกต่างกันทางสถติ ิ 27

ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ชนั้ ปที ่ี 2 และช้นั ปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ปรากฏดังตาราง ตารางที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบจำนวน และร้อยละ ของพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปที ี่ 2 กบั ชนั้ ปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 พฤติกรรมการใช้อเี ลิรน์ นิง ชัน้ ปีที่ 2 ชัน้ ปที ี่ 3 P-value จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) ร้อยละ เรยี นผ่านอปุ กรณ์ คอมพวิ เตอร์ (PC) 12 17.9 11 15.3 .241 คอมพวิ เตอร์โนต้ บุก๊ (Notebook) 54 80.6 65 90.3 แทบ็ เลตหรอื iPad 45 67.2 40 55.6 โทรศัพท์มือถือ 50 74.6 58 80.6 อ่นื ๆ 0 0 0 0 ระบบเครอื ข่ายท่ีใชง้ าน อินเทอร์เนต็ บ้าน (Wi-Fi) 46 68.7 44 61.1 .036* อินเทอรเ์ น็ตวิทยาลัย (NU Wi-Fi) 8 11.9 16 22.2 อินเทอร์เนต็ สาธารณะ/เน็ตประชารฐั 0 0 8 11.1 (Public Wi-Fi) อนิ เทอรเ์ น็ตมือถือรายเดือน 55 82.1 58 80.6 อนิ เทอรเ์ น็ตมอื ถือรายวนั 5 7.5 4 5.6 อืน่ ๆ 0 0 2 2.8 สถานท่ที ใ่ี ช้เขา้ ถงึ การเรยี นผ่านอีเลิรน์ นงิ บ้าน 61 91.0 57 79.2 .276 หอพักภายในมหาวิทยาลัย 8 11.9 9 12.5 หอพักภายนอกมหาวิทยาลยั 31 46.3 42 58.3 ร้านคา้ /รา้ นกาแฟ 7 10.4 11 15.3 ร้านอนิ เทอรเ์ นต็ 1 1.5 1 1.4 อืน่ ๆ 0 0 1 1.4 จำนวนวันในการใชง้ านอเี ลริ ์นนงิ ตอ่ สปั ดาห์ 1-2 วนั /สัปดาห์ 2 33.3 4 66.7 .420 3-4 วนั /สัปดาห์ 5 31.3 11 68.8 5-6 วัน/สัปดาห์ 33 51.6 31 48.1 7 วัน/สัปดาห์ 27 50.9 26 49.1 28

พฤตกิ รรมการใช้อีเลริ น์ นงิ ชน้ั ปที ี่ 2 ชน้ั ปที ่ี 3 P-value จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวนวนั ในการใชง้ านอีเลิร์นนงิ ต่อสัปดาห์ 1-2 วนั /สัปดาห์ 2 33.3 4 66.7 .420 3-4 วัน/สปั ดาห์ 5 31.3 11 68.8 5-6 วัน/สัปดาห์ 33 51.6 31 48.1 7 วนั /สปั ดาห์ 27 50.9 26 49.1 ช่วงเวลาในการเขา้ ใชง้ านอีเลิร์นนงิ ต่อครง้ั 55 82.1 45 62.5 .059 เวลา 08.00-12.00 น. 58 86.6 55 76.4 เวลา 12.01-16.00 น. 40 59.7 42 58.3 เวลา 16.01-20.00 น. 30 44.8 34 47.2 เวลา 20.01-24.00 น. 0000 อื่น ๆ 16 34.0 31 66.0 .021* ระยะเวลาการเข้าใชง้ านอเี ลิร์นนงิ ในแตล่ ะคร้ัง 29 52.7 26 47.3 1-3 ชัว่ โมงต่อครง้ั 9 45.0 11 55.0 4-6 ชว่ั โมงต่อครั้ง 13 76.5 4 23.5 7-8 ช่วั โมงตอ่ ครง้ั นานกวา่ 8 ชว่ั โมงตอ่ คร้ัง 66 98.5 70 97.2 .021* 65 97.0 63 87.5 วัตถปุ ระสงคใ์ นการเขา้ ใชง้ านอเี ลิรน์ นงิ 64 95.5 63 87.5 เพอ่ื ศกึ ษาบทเรียน/ทบทวนบทเรยี น 63 94.0 60 83.3 เพื่อดาวนโ์ หลดเอกสารประกอบการเรยี น 37 55.2 29 40.3 เพอ่ื ทำแบบทดสอบ เพอื่ สง่ การบา้ นและทำแบบฝึกหดั 16 23.9 21 29.2 เพ่ือตดิ ตอ่ สือ่ สารผ่านกระดานสนทนาหรอื 0000 หอ้ งแชท เพื่อติดต่ออาจารยผ์ ้สู อน 44 65.7 43 59.7 .073 อน่ื ๆ 27 40.3 30 41.7 20 29.9 10 13.9 ปญั หาและอปุ สรรคในการใชง้ านอเี ลิรน์ นิง 39 58.2 30 41.7 ดา้ นอุปกรณ/์ เครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ 35 52.2 34 47.2 ด้านการเขา้ ใช้งาน 19 28.4 18 25.0 ดา้ นท่ีอยู่อาศัย 0 0 3 4.2 ด้านส่ิงแวดลอ้ ม ด้านขอ้ จำกดั เรอ่ื งเวลา ด้านการเงิน/คา่ ใช้จา่ ย อนื่ ๆ 29

พฤตกิ รรมการใชอ้ เี ลริ ์นนิง ชัน้ ปที ี่ 2 ชัน้ ปีที่ 3 P-value จำนวน (คน) รอ้ ยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ปัญหาและอปุ สรรคในการใชง้ านอเี ลริ ์นนิง ดา้ นอุปกรณ/์ เครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ 44 65.7 43 59.7 .073 ด้านการเขา้ ใชง้ าน 27 40.3 30 41.7 ดา้ นท่ีอยอู่ าศัย 20 29.9 10 13.9 ด้านสงิ่ แวดล้อม 39 58.2 30 41.7 ดา้ นข้อจำกดั เรอ่ื งเวลา 35 52.2 34 47.2 ดา้ นการเงนิ /คา่ ใชจ้ า่ ย 19 28.4 18 25.0 อื่น ๆ 0 0 3 4.2 * มนี ัยสำคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .05 จากตารางท่ี 4 พฤตกิ รรมการใชอ้ ีเลริ ์นนิง ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปที ่ี 2 และ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามในครั้งนี้ นิสิตชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่เรียน ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook) จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 80.6 รองลงมาคือ โทรศัพท์มือถือ จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 74.6 ส่วนนิสติ ชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่เรียนผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook) จำนวน 65 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.3 รองลงมาคอื โทรศพั ท์มอื ถือ จำนวน 58 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.6 การศึกษาครั้งน้ี พบวา่ พฤตกิ รรมการใชอ้ ีเลิรน์ นิง โดยจำแนกตามอุปกรณ์ ไม่แตกตา่ งกนั ทางสถิติ ระบบเครือข่ายที่ใช้งาน นิสิตชั้นปีที่ 3 มีพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงโดยอาศัยระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัย (NU Wi-Fi) อินเทอร์เน็ตสาธารณะ/เน็ตประชารัฐ (Public Wi-Fi) และอื่น ๆ จำนวน 16 คน คิดเป็น ร้อยละ 22.2, จำนวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 11.1 และจำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.8 ตามลำดับ ซ่ึงมากกว่านิสิตช้ัน ปีที่ 2 ที่มีพฤติกรรมการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัย (NU Wi-Fi) จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 โดยไม่มีการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาธารณะ/เนต็ ประชารัฐ (Public Wi-Fi) และอื่น ๆ การศึกษาครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง จำแนกตามระบบเครือข่ายที่ใช้งาน มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานทที่ ใ่ี ชเ้ ขา้ ถึงการเรียนผา่ นอีเลริ น์ นิง ของนสิ ติ ชัน้ ปีท่ี 2 พบว่าส่วนใหญ่ คือ บ้าน จำนวน 61 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.0 รองลงมาคือ หอพักภายนอกมหาวิทยาลัย จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 46.3 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 สถานท่ที ใี่ ช้เข้าถึงการเรียนผ่านอีเลริ น์ นิงสว่ นใหญ่ คอื บา้ น จำนวน 57 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 79.2 รองลงมาคือ หอพัก ภายนอกมหาวิทยาลัย จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 58.3 การศึกษาครั้งนี้พบว่าพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง โดย จำแนกตามสถานทที่ ่ใี ชเ้ ข้าถงึ การเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ไม่แตกตา่ งกนั ทางสถิติ จำนวนวันในการเขา้ ใช้งานอีเลิรน์ นิงต่อสปั ดาห์ ของนิสติ ช้ันปที ่ี 2 ส่วนใหญ่ คือ 5-6 วัน/สัปดาห์ จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 51.6 รองลงมาคือ 7 วัน/สัปดาห์ จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 50.9 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 จำนวน วนั ในการเข้าใชง้ านอีเลิร์นนงิ ต่อสัปดาห์ส่วนใหญ่ คอื 5-6 วัน/สปั ดาห์ จำนวน 31 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 48.1 รองลงมา 30

คือ 7 วัน/สัปดาห์ จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 49.1 การศึกษาครั้งนี้พบว่าพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง โดยจำแนก ตามจำนวนวันในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงตอ่ สัปดาห์ ไมแ่ ตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ ช่วงเวลาในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง นิสิตชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่ คือ เวลา เวลา 12.01-16.00 น. จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 86.6 รองลงมาคอื เวลา 08.00-12.00 น. จำนวน 55 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 82.1 ส่วนนิสิตชั้นปีท่ี 3 ชว่ งเวลาในการเข้าใช้งานอเี ลิร์นนิงต่อคร้ังส่วนใหญ่ คือ เวลา 12.01-16.00 น. จำนวน 55 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.4 รองลงมาคือ เวลา 08.00-12.00 น. จำนวน 45 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 62.5 การศกึ ษาครั้งนี้พบวา่ พฤติกรรมการใช้อีเลิร์ นนิง โดยจำแนกตามชว่ งเวลาในการเขา้ ใช้งานอเี ลริ น์ นิงต่อครงั้ ไม่แตกต่างกนั ทางสถติ ิ ระยะเวลาการเข้าใช้งานอีเลริ ์นนิงตอ่ ครั้ง ของนิสิตช้ันปีท่ี 2 มีระยะเวลาในการเขา้ ใช้งานอีเลิร์นนิง นานกวา่ 8 ชั่วโมงต่อครั้ง มากกว่านิสิตชั้นปีที่ 3 ซึ่งมีจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 76.5 และจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5 ตามลำดับ ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงในระยะสั้น 1-3 ชั่วโมงต่อครั้ง นิสิตชั้นปีที่ 3 มีการเข้าใช้งานในระยะ ดังกล่าวมากกว่านิสิตชั้นปีที่ 2 ซึ่งมีจำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 66.0 และ 16 คน คิดเป็นร้อยละ 34.0ตามลำดับ การศึกษาครั้งนี้พบว่าพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง จำแนกตามระยะเวลาการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง แตกต่างกัน อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่ คือ เพื่อศึกษาบทเรียน/ ทบทวนบทเรียน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 98.5 และจำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 97.2 ตามลำดับ เห็นได้ว่า จำนวนนิสติ ชน้ั ปีท่ี 3 มีวัตถปุ ระสงค์ในการเขา้ ใชง้ านอเี ลริ น์ นิง เพ่อื ศกึ ษาบทเรยี น/ทบทวนบทเรียน มากกวา่ นิสติ ชั้นปี ท่ี 2 นอกจากน้วี ตั ถุประสงค์เพื่อตดิ ต่ออาจารย์ผู้สอนของนิสิตชนั้ ปีท่ี 3 มากกว่านิสิตช้นั ปีที่ 2 จำนวน 21 คน คิดเป็น ร้อยละ 29.2 และจำนวน 16 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16 ตามลำดับ ทั้งนี้วัตถุประสงค์ในการเข้าใชง้ าน อีเลิร์นนิงเพอื่ ติดต่อสื่อสารผ่านกระดานสนทนาหรือห้องแชท นิสิตชั้นปีที่ 2 มีพฤติกรรมการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงในวัตถุประสงค์ ดังกล่าวมากกว่านิสิตชั้นปีที่ 3 จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 และ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 4.03 ตามลำดับ การศกึ ษาครัง้ นี้พบวา่ พฤติกรรมการใช้อเี ลิรน์ นิง จำแนกตามวตั ถปุ ระสงคใ์ นการเข้าใชง้ านอีเลิรน์ นิง แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่ คือ ด้านอุปกรณ์/เครือข่าย อินเทอร์เน็ต จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 65.7 รองลงมาคือ ด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 58.2 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงส่วนใหญ่ คือ ด้านอุปกรณ์/เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 59.7 รองลงมาคือ ด้านข้อจำกัดเรื่องเวลา จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 47.2 การศกึ ษาคร้ังนี้พบว่าพฤติกรรมการใช้อีเลริ ์นนิง โดยจำแนกตามปญั หาและอปุ สรรคในการเข้าใช้งาน อีเลิร์นนิง ไม่ แตกต่างกนั ทางสถติ ิ 31

สว่ นท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเกย่ี วกบั พฤติกรรมการเรียนผ่านอเี ลิร์นนิง ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชัน้ ปีท่ี 2 และชนั้ ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 ปรากฏดงั ตาราง ตารางที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ของนิสิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปีท่ี 2 และช้นั ปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 รายละเอียดคำถาม ชั้นปที ่ี 2 ชัน้ ปีท่ี 3 t Sig. x̄ S.D. x̄ S.D. 1. ฉนั ไดท้ บทวนเน้ือหาในบทเรยี นทไี่ ด้เรยี นมาแล้วผ่าน 3.34 1.095 3.11 1.228 1.173 .580 ทาง e-Learning 2. ฉันได้ศึกษาเนื้อหาบทเรียนลว่ งหนา้ ผา่ นทาง 2.51 1.223 2.57 1.362 -1.473 .141 e-Learning กอ่ นเข้าเรียนในคร้งั ตอ่ ไป 3. หากฉันมีข้อสงสยั เก่ียวกบั เน้อื หาที่เรยี น หรือไม่ 3.33 1.106 3.13 1.210 1.032 .725 เข้าใจเนอ้ื หาท่เี รียน ฉันจะกลับมาศกึ ษาโดยการ กลบั มาเรยี นซ้ำผ่านทาง e-Learning 4. ฉนั ทำแบบทดสอบ หรอื ข้อสอบออนไลน์ เพื่อเปน็ 3.63 1.071 3.51 1.363 .541 .070 การทบทวนและทดสอบความรผู้ า่ นทาง e-Learning 5. ฉันคน้ หาเนอื้ หาเก่ียวกบั รายวิชาทเี่ รียนเพิ่มเติมผ่าน 3.00 1.206 2.85 1.318 .711 .260 ทาง e-Learning 6. หากมีข้อสงสยั เกีย่ วกับบทเรียน ฉันจะสอบถาม 2.70 1.115 2.32 1.490 -.452 .652 อาจารย์ผ้สู อนผ่านทาง e-Learning ที่ใช้ในระบบ การเรยี นการสอน 7. ฉันสง่ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหอ้ าจารย์ผู้สอนผ่านทาง 4.27 0.963 3.90 1.365 1.814 .041* e-Learning 8. ฉนั ร่วมแลกเปลีย่ นความรู้ทไ่ี ด้จากการเรยี นผ่าน 3.18 1.180 2.76 1.358 1.918 .119 e-Learning กับเพ่ือนรว่ มชั้นเรยี น และอาจารย์ ผู้สอน ผ่านกระดานแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ 9. ฉันสามารถแบ่งเวลาเพ่ือศึกษาบทเรยี นในรายวิชา 3.10 1.169 3.11 1.317 -.031 .404 ต่าง ๆ ผา่ นทาง e-Learning ได้ พฤติกรรมการเรยี นผา่ นอเี ลริ ์นนิงรวม 3.23 1.125 3.03 1.334 1.016 .332 * มนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05 32

จากตารางท่ี 5 แสดงใหเ้ หน็ วา่ กลุ่มตัวอย่างทต่ี อบแบบสอบถามคร้งั นี้ พฤตกิ รรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ของ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 โดยรวม พบวา่ ไมแ่ ตกต่างกนั ทางสถติ ิ เมื่อพิจารณารายข้อพบว่านิสิต ชั้นปีที่ 2 มีพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงในข้อ 7 ฉันส่งงานที่ได้รับ มอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนผ่านทาง e-Learning มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นเท่ากับ 4.27 (S.D.= 0.963) ซึ่ง มากกว่านิสติ ช้ันปที ี่ 3 เท่ากับ 3.90 (S.D.= 1.365) แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั .05 ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง และการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชัน้ ปีท่ี 2 กบั ชัน้ ปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 1. พฤติกรรมการใช้อเี ลิร์นนิง 1.1 ดา้ นอปุ กรณ/์ เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ 1.1.1 ควรจัดทำคลิปวีดโี อการเรยี นการสอนท่มี ีความยาวของคลิปไมย่ าวเกินไป 1.1.2 ควรตรวจสอบคุณภาพของเสยี งในคลปิ วิดโี อการเรียนการสอนกอ่ นนำลงเขา้ สรู่ ะบบ 1.1.3 ควรใชร้ ูปแบบในการนำเสนอคลิปวดิ โี อในรูปแบบเดยี วกันและใหม้ คี วามนา่ สนใจ 1.1.4 ควรตรวจสอบคุณภาพของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้มีความเสถียรให้มากที่สุดก่อนเริ่มการเรียน การสอนผ่านระบบอินเทอรเ์ น็ตในกรณที ่มี ีการจดั การเรยี นการสอนแบบประสานเวลา 1.2 ด้านการเข้าใช้งาน 1.2.1 ควรปรบั ปรงุ ระบบอีเลิร์นนงิ ใหม้ ีความเสถียรมากขึน้ 1.2.2 ควรปรบั ปรุงระบบอีเลิร์นนงิ ใหส้ ามารถใชง้ านได้งา่ ยขึ้น 1.2.3 การเรียนในอีเลิร์นนิงควรปรับเป็นการเรียนการสอนแบบประสานเวลา ในลักษณะเชิงโต้ตอบ ระหว่างอาจารยก์ ับนิสิต (Interactive) ใหม้ ากขึน้ 1.2.4 ควรปรับปรุงระบบใหส้ ามารถสง่ งานที่ไม่จำกดั ขนาดไฟล์ 2. พฤติกรรมการเรยี นผ่านอีเลริ ์นนงิ เป็นการเรียนออนไลน์ครั้งแรก ทำให้ยังปรบั ตวั ในเร่อื งการเรียนและสิง่ ที่มารบกวนไม่ค่อยได้ 33

บทที่ 5 สรุปผลการศกึ ษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยครัง้ นเี้ ป็นการศึกษาย้อนหลังเชงิ พรรณนาแบบเปรียบเทียบ (Comparative Descriptive research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงและการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 139 คน จากนั้นทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified random sampling) เพื่อหาจำนวนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละชั้นปี ประกอบดว้ ยนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ้ันปีท่ี 2 และชั้นปีที่ 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ภาคเรียนท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 67 คน และ 72 คน ตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูล ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย คาํ ถามปลายปดิ ได้แก่ เพศ ระดบั ช้นั ปกี ารศึกษา คำถามปลายเปิด ได้แก่ อายุ รายไดจ้ ากผู้ปกครอง 2) แบบสอบถาม พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงประกอบด้วย อุปกรณ์ที่ใช้เข้าถึงอีเลิร์นนิง ระบบเครือข่ายที่ใช้งาน สถานที่ที่เข้าใช้งาน จำนวนวันในการเข้าใช้งานต่อสัปดาห์ ช่วงเวลาในการเข้าใช้งานต่อครั้ง ระยะเวลาการเข้าใช้งานในแต่ละคร้ัง วตั ถปุ ระสงคใ์ นการใชง้ าน และปัญหาและอุปสรรคในการใช้อเี ลิร์นนงิ 3) แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์ นนงิ ประกอบด้วย ด้านความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ดา้ นประโยชน์ของอเี ลิร์นนิง และด้านความพร้อมในการเรยี น วิธดี ำเนินการวจิ ัย ผู้วจิ ัยไดศ้ กึ ษา รวบรวมทฤษฎี ความรูเ้ กี่ยวกบั พฤติกรรมการใช้อเี ลิรน์ นงิ และการเรียนผ่าน อีเลิร์นนิง งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือแบบสอบถามชนิดตอบเอง ประกอบด้วยแบบสอบถาม พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ประกอบด้วย ข้อคำถามจำนวน 8 ข้อ และแบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนอีเลิร์นนิง ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 9 ข้อ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมด้วยตนเอง หลังจาก รวบรวมแบบสอบถามและได้รับเอกสารกลับครบตามจำนวนที่ต้องการ จึงนำข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมา ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วนำไปวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Science) ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้ อี เลิร์นนิง ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบ (Check list) ตรวจความตรงตามเนื้อหาและปรับปรุงตาม ข้อเสนอแนะ จากนั้นหาค่าความเท่ียงด้วยวิธที ดสอบซ้ำ (Test-retest reliability) ได้เท่ากับ 0.61 และแบบสอบถาม พฤติกรรมการเรยี นผา่ นอเี ลิรน์ นิง ลกั ษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตรวัด (Likert scale) แต่ละข้อคําถามมีคําตอบให้ เลอื ก 6 ระดับ โดยมเี กณฑ์การให้คะแนนแบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ เปน็ คําถามทางบวก ตรวจสอบความตรงตามเนอ้ื หา (Index of Item-Objection Congruence: IOC) ได้เท่ากับ 0.85 หลังจากนั้นหาค่าความเที่ยงโดยวิธีหาค่า สมั ประสทิ ธ์ิแอลฟาของครอนบาค ไดเ้ ท่ากับ 0.89 34

สรุปผลการวิจยั สว่ นท่ี 1 การวิเคราะหข์ ้อมลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 95.52 และ 88.89 ตามลำดับ นิสิตชั้นปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยอายุเท่ากับ 21.00 ปี (S.D.=0.97) นิสิตชั้นปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยอายุเท่ากับ 22.33 (S.D.=1.15) โดยรวมพบว่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ เม่ือ พิจารณารายได้ที่แยกตามแหล่งรายได้ของนิสิตต่อเดือนพบว่า นิสิตชั้นปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยของจำนวนรายได้จาก ผปู้ กครองเทา่ กบั 6,456.72 บาทตอ่ เดือน มีคา่ เฉลี่ยของจำนวนรายไดจ้ ากแหลง่ อ่นื เท่ากบั 857 บาทต่อเดือน นิสิตชั้น ปที ่ี 3 มคี า่ เฉลี่ยของจำนวนรายไดจ้ ากผ้ปู กครองเท่ากับ 6,802.78 บาทต่อเดือน มีค่าเฉลีย่ ของจำนวนรายได้จากแหล่ง อื่นเท่ากับ 1,116.67 บาทต่อเดือน การศึกษาครั้งนี้ พบว่ารายได้ของนิสิตต่อเดือนทั้ง 2 ชั้นปี ไม่มีความแตกต่างกัน ทางสถติ ิ ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ช้นั ปีที่ 2 และช้ันปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 การเรียนผ่านอปุ กรณ์ พบวา่ นสิ ิตช้ันปีที่ 2 ส่วนใหญใ่ ช้ คอมพวิ เตอรโ์ นต้ บุค๊ (Notebook) จำนวน 54 คน คิด เป็นร้อยละ 80.6 รองลงมาคือ โทรศัพท์มือถือ จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 74.6 ส่วนนสิ ติ ชั้นปที ี่ 3 ส่วนใหญ่เรยี น ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook) จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 90.3 รองลงมาคือ โทรศัพท์มือถือ จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 80.6 การศึกษาครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง โดยจำแนกตามอุปกรณ์ ทั้ง 2 ชน้ั ปี ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ระบบเครือข่ายที่ใช้งาน นิสิตชั้นปีที่ 3 มีพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงโดยอาศัยระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัย (NU Wi-Fi) อินเทอร์เน็ตสาธารณะ/เน็ตประชารัฐ (Public Wi-Fi) และอื่น ๆ จำนวน 16 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 22.2, จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.1 และจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.8 ตามลำดบั ซึ่งมากกว่านิสติ ช้ัน ปีที่ 2 ที่มีพฤติกรรมการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัย (NU Wi-Fi) จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 โดยไม่มีการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาธารณะ/เน็ตประชารฐั (Public Wi-Fi) และอื่น ๆ การศึกษาครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการใชอ้ ีเลิรน์ นิง จำแนกตามระบบเครือขา่ ยท่ใี ชง้ าน แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 สถานทีท่ ่ีใชเ้ ข้าถึงการเรียนผ่านอีเลริ ์นนงิ ของนิสติ ช้ันปีท่ี 2 พบว่าส่วนใหญ่ คอื บา้ น จำนวน 61 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.0 รองลงมาคือ หอพักภายนอกมหาวิทยาลัย จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 46.3 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 สถานที่ทีใ่ ช้เข้าถึงการเรียนผ่านอีเลิรน์ นิงส่วนใหญ่ คือ บ้าน จำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 79.2 รองลงมาคือ หอพัก ภายนอกมหาวิทยาลัย จำนวน 42 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 58.3 การศกึ ษาคร้ังนี้ พบว่าพฤติกรรมการใช้ อเี ลิรน์ นิง โดยจำแนกตามสถานทที่ ใ่ี ช้เข้าถงึ การเรียนผา่ นอเี ลิร์นนิง ไมแ่ ตกตา่ งกันทางสถติ ิ จำนวนวนั ในการเข้าใช้งานอีเลริ ์นนิงต่อสปั ดาห์ ของนิสิตชน้ั ปีที่ 2 สว่ นใหญ่ คือ 5-6 วัน/สปั ดาห์ จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 51.6 รองลงมาคือ 7 วัน/สัปดาห์ จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 50.9 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 จำนวน วันในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อสัปดาห์ส่วนใหญ่ คือ 5-6 วัน/สัปดาห์ จำนวน 31 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 48.1 รองลงมา 35

คือ 7 วัน/สัปดาห์ จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 49.1 การศึกษาครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง โดยจำแนก ตามจำนวนวนั ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนงิ ตอ่ สปั ดาห์ ไม่แตกตา่ งกันทางสถติ ิ ช่วงเวลาในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง นิสิตชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่ คือ เวลา เวลา 12.01-16.00 น. จำนวน 58 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 86.6 รองลงมา คอื เวลา 08.00-12.00 น. จำนวน 55 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.1 สว่ นนิสติ ชน้ั ปที ่ี 3 ชว่ งเวลาในการเข้าใช้งานอีเลิรน์ นิงต่อคร้ังส่วนใหญ่ คอื เวลา 12.01-16.00 น. จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 76.4 รองลงมาคือ เวลา 08.00-12.00 น. จำนวน 45 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 62.5 การศึกษาครัง้ นี้พบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์ นนงิ โดยจำแนกตามชว่ งเวลาในการเข้าใช้งานอีเลิรน์ นิงต่อครงั้ ไม่แตกตา่ งกนั ทางสถิติ ระยะเวลาการเขา้ ใชง้ านอีเลริ น์ นิงต่อครัง้ ของนสิ ติ ชนั้ ปีท่ี 2 มรี ะยะเวลาในการเขา้ ใชง้ านอเี ลริ น์ นิงนานกวา่ 8 ช่ัวโมงต่อครั้ง มากกว่านิสิตช้นั ปีท่ี 3 ซึง่ มีจำนวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.5 และจำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 23.5 ตามลำดับ ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงในระยะสั้น 1-3 ชั่วโมงต่อครั้ง นิสิตชั้นปีที่ 3 มีการเข้าใช้งานในระยะดังกล่าว มากกว่านสิ ิตชนั้ ปีท่ี 2 ซ่งึ มจี ำนวน 31 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.0 และ 16 คน คิดเป็นร้อยละ 34.0 ตามลำดบั การศกึ ษา ครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง จำแนกตามระยะเวลาการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง แตกต่างกันอย่างมี นยั สำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่ คือ เพื่อศึกษาบทเรียน/ ทบทวนบทเรียน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 98.5 และจำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 97.2 ตามลำดับ จะเห็นได้ ว่าจำนวนนิสิตชัน้ ปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง เพื่อศึกษาบทเรียน/ทบทวนบทเรียน มากกว่านิสิต ชนั้ ปีท่ี 2 นอกจากนี้ วัตถปุ ระสงคเ์ พื่อติดต่ออาจารยผ์ ู้สอนของนสิ ติ ชนั้ ปีที่ 3 มากกวา่ นิสติ ชน้ั ปีท่ี 2 จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 29.2 และจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 16 ตามลำดับ ทั้งนี้วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งาน อีเลิร์นนงิ เพื่อติดต่อส่ือสารผ่านกระดานสนทนาหรือห้องแชท นสิ ติ ชั้นปีที่ 2 มพี ฤติกรรมการเข้าใชง้ านอีเลิรน์ นงิ ในวัตถุประสงค์ ดังกล่าว มากกว่านิสิตชั้นปีที่ 3 จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 และ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 4.03 ตามลำดับ การศกึ ษาคร้ังนพ้ี บว่า พฤติกรรมการใช้อีเลริ ์นนงิ จำแนกตามวัตถปุ ระสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลริ ์นนิง แตกต่างกันอย่าง มีนยั สำคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .05 ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่ คือ ด้านอุปกรณ์/เครือข่าย อินเทอร์เน็ต จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 65.7 รองลงมาคือ ด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 58.2 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงส่วนใหญ่ คือ ด้านอุปกรณ์/เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 59.7 รองลงมาคือ ด้านข้อจำกัดเรื่องเวลา จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 47.2 การศกึ ษาครั้งน้ีพบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิรน์ นิง โดยจำแนกตามปัญหาและอุปสรรคในการเขา้ ใช้งาน อีเลิร์นนิง ไม่ แตกต่างกันทางสถิติ 36

ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง ของนิสิตคณะพยาบาล- ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชัน้ ปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562 พฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนงิ ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 โดยรวมพบว่า ไม่แตกต่างกันทางสถติ ิ เมื่อพจิ ารณารายข้อพบว่า นิสิตชั้นปีท่ี 2 มี พฤตกิ รรมการเรยี นผ่านอีเลิร์นนิงในข้อ 7 ฉันส่งงานท่ีได้รบั มอบหมายให้อาจารยผ์ สู้ อนผ่านทางอีเลิร์นนิง นิสิตชั้นปีที่ 2 มีคา่ เฉล่ียของระดับความคิดเหน็ เท่ากบั 4.27 (S.D.= 0.963) ซ่งึ มากกวา่ นิสิตชั้นปที ่ี 3 เทา่ กับ 3.90 (S.D.= 1.365) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดบั .05 ผลการวิจัยครั้งนี้สรุปผลตามสมมติฐานข้อที่ 1 กล่าวว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาล- ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ระหว่างนิสิตชั้นปีที่ 2 กับชั้นปีที่ 3 แตกต่างกัน ผล การศึกษาเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่ยอมรบั สมมติฐาน ได้แก่ การเรียนผ่านอุปกรณ์, ระบบเครือข่ายท่ีใชง้ าน, ระยะเวลาการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง, ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ด้านที่ปฏิเสธสมมติฐาน ได้แก่ สถานที่ที่ใชเ้ ขา้ ถึงการเรียนผ่านอีเลิร์นนงิ , จำนวนวันในการเข้าใช้งานอีเลิรน์ นิงต่อสัปดาห์ และวัตถุประสงคใ์ น การเข้าใช้งานอเี ลริ ์นนิง สรุปผลตามสมมติฐานข้อที่ 2 กล่าวว่า พฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2562 ระหว่างนิสิตชั้นปีที่ 2 กับชั้นปีที่ 3 แตกต่างกัน ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาคเรี ยนที่ 3 ปี การศกึ ษา 2562 ระหวา่ งนสิ ิตชนั้ ปีที่ 2 กับ ชนั้ ปีท่ี 3 ไม่แตกตา่ งกันทางสถิติ สรปุ โดยรวมไดว้ า่ ปฏิเสธสมมติฐาน เมื่อ พิจารณารายข้อพบวา่ ขอ้ คำถามที่ 7 ฉันสง่ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมายให้อาจารยผ์ ู้สอนผา่ นทาง อีเลริ ์นนิง ของนสิ ติ ชัน้ ปที ่ี 2 กับช้ันปีท่ี 3 แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 อภิปรายผลการวจิ ัย จากการศึกษาการใช้อีเลริ ์นนงิ และการเรยี นผา่ นอีเลริ ์นนิงของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปที ี่ 2 และชั้นปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 ผวู้ จิ ัยสามารถอภปิ รายผลไดด้ ังนี้ 1. พฤตกิ รรมการใชอ้ เี ลริ น์ นงิ ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร การเรยี นผ่านอปุ กรณ์ พบวา่ นิสติ ชน้ั ปที ี่ 2 ส่วนใหญใ่ ช้ คอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊ค (Notebook) จำนวน 54 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 80.6 รองลงมาคือ โทรศัพทม์ ือถือ จำนวน 50 คน คดิ เปน็ ร้อยล ะ 74.6 ส่วนนิสติ ชัน้ ปที ่ี 3 ส่วนใหญ่เรียน ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook) จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 90.3 รองลงมาคือ โทรศัพท์มือถือ จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 80.6 การศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ วรวุฒิ มั่งสุขผล และปุณเชษฐ์ จินาง ศุกะ (2558) ที่ได้ทำการศึกษา พฤติกรรมและความต้องการใช้อีเลิร์นนิงของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษ า คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ใช้งานผ่านโน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์ (Notebook) จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 รองลงมาเป็นผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) จำนวน 55 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.16 ผทู้ ่ีใชง้ านผา่ นโทรศพั ท์มอื ถือสมาร์ทโฟน (Smartphone) จำนวน 28 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.37 37

และผู้ที่ใช้งานผ่านแทบ็ เลต็ (Tablet) จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 9.36 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของทั้ง 2 ชั้นปีพบว่าพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง โดยจำแนกตามอุปกรณ์ ของทั้ง 2 ชั้นปีไม่แตกต่างกันทางสถิติ ท้ังนี้ อาจอภิปรายได้ว่า การทนี่ สิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ชน้ั ปีที่ 2 และ ช้ันปที ่ี 3 มอี ปุ กรณ์ในการเข้า ใช้อเี ลริ ์นนงิ ไม่แตกตา่ งกนั เน่ืองจากนิสิตทัง้ 2 ช้ันปี อยใู่ นบรบิ ทเดยี วกนั ซงึ่ ในปจั จบุ นั เปน็ ยคุ แห่งโลกาภวิ ัฒน์ มีการ ติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดน มชี อ่ งทาง หรืออปุ กรณ์เข้าถึงส่ือการเรียนท่ีหลากหลาย เชน่ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ โนต้ บุค๊ แทบ็ เลต โทรศัพท์มือถือ (ภัทรพล ตนั ตระกูล, 2561) จากบรบิ ทที่ใกล้เคียงกันทำให้พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ ในการเรยี นไมต่ ่างกนั ระบบเครือข่ายที่ใช้งาน พบว่า นิสิตชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่มีการใช้อินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัย (NU Wi-Fi) อินเทอร์เนต็ สาธารณะ/เน็ตประชารัฐ (Public Wi-Fi) และอ่นื ๆ คือ อนิ เทอรเ์ นต็ ของหอพัก มีจำนวน 16 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 22.2 จำนวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 11.1 และจำนวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.8 ตามลำดบั ซึ่งมากกว่านิสิตชั้น ปีที่ 2 ที่มีพฤติกรรมการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัย (NU Wi-Fi) จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 โดยไม่มีการใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาธารณะ/เน็ตประชารัฐ (Public Wi-Fi) และอื่น ๆ คือ อินเทอร์เน็ตของ หอพกั การศกึ ษาคร้ังนส้ี อดคล้องกบั งานวจิ ยั ของวัฒนพร จตุรานนท์, โสภี ชาญเชงิ ยุทธชยั และคณะ (2563) ได้ศึกษา พฤติกรรมการเรยี นออนไลน์ของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑติ สาขาภาษาจีนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา ภาคการศึกษาฤดูร้อนปีการศกึ ษา 2562 ตามมาตรการและการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 พบวา่ นิสติ ใช้เครอื ขา่ ยโทรศัพท์มือถือ 4G/3G เปน็ หลักในการเชอ่ื มตอ่ อินเทอรเ์ น็ตมากทส่ี ดุ และรองลงมาเปน็ สญั ญาณ Wi- Fi ที่บ้าน และ Wi-Fi สาธารณะ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของทั้ง 2 ชั้นปี พบว่าพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง จำแนกตามระบบเครือข่ายที่ใช้งาน มีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 อภิปรายได้ว่า ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 ทำให้นิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่เดินทางกลับภูมิลำเนาของตนเอง ทำให้เกิดความหลากหลาย และความแตกต่างของระบบเครือข่ายที่ใช้งาน ส่งผลให้นิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 มีพฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิงผ่าน ระบบเครือขา่ ยท่แี ตกต่างกนั สถานท่ีทีใ่ ช้เข้าถึงการเรียนผา่ นอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปที ่ี 2 พบวา่ ส่วนใหญ่ คือ บ้าน จำนวน 61 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.0 รองลงมาคือ หอพักภายนอกมหาวิทยาลัย จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 46.3 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 สถานที่ท่ีใช้เข้าถึงการเรยี นผา่ นอเี ลิร์นนิงส่วนใหญ่ คือ บ้าน จำนวน 57 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 79.2 รองลงมาคือ หอพัก ภายนอกมหาวิทยาลัย จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 58.3 การศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับการวิจัยของเสกสรร สายสี สด (2556) ได้ศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจต่อการใช้สื่อใหม่เสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา สาขานิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานีพบว่า สถานทท่ี ี่นกั ศึกษาใช้อินเทอร์เน็ตมากท่สี ุดได้แก่ บ้าน รองลงมาคือท่ีหอพัก เมื่อ เปรยี บเทียบความแตกต่างของทง้ั 2 ช้ันปีพบว่าพฤติกรรมการใช้อเี ลิร์นนิง โดยจำแนกตามสถานที่ทีใ่ ช้เข้าถึงการเรียน ผ่านอีเลิร์นนิง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ทั้งนี้อาจอภิปรายได้ว่า ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 นิสิตชั้นปีที่ 2 และ ชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่มีการเดินทางกลับภูมิลำเนา ส่งผลให้สถานทีท่ ี่ใช้เข้าถงึ อีเลิร์นนิงส่วนใหญ่คือ บ้าน รองลงมา คือ หอพกั นอกมหาวิทยาลัย ซ่งึ สถานที่ดงั กล่าวเป็นสถานทสี่ ่วนบุคคล เนือ่ งจากมาตรการการเว้นระยะห่างทางสังคม 38

(Social distancing) ส่งผลให้การใช้ หรือการอาศัยในสถานที่ที่มีคนจำนวนมากลดลง ทำให้นิสิตทั้ง 2 ชั้นปี มีการใช้ สถานท่ีที่ใชเ้ ข้าถึงอีเลิรน์ นงิ ไมแ่ ตกตา่ งกัน จำนวนวนั ในการเข้าใช้งานอีเลริ ์นนิงต่อสปั ดาห์ ของนสิ ิตช้ันปีท่ี 2 ส่วนใหญ่ คอื 5-6 วัน/สัปดาห์ จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 51.6 รองลงมาคือ 7 วัน/สัปดาห์ จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 50.9 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 จำนวน วันในการเข้าใช้งานอเี ลิร์นนิงต่อสปั ดาหส์ ว่ นใหญ่ คือ 5-6 วัน/สัปดาห์ จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 48.1 รองลงมา คอื 7 วัน/สปั ดาห์ จำนวน 26 คน คดิ เป็นร้อยละ 49.1 ช่วงเวลาในการเข้าใช้งานอเี ลิรน์ นงิ ต่อคร้ัง นิสิตช้ันปีที่ 2 ส่วน ใหญ่ คือ เวลา 12.01-16.00 น. จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 86.6 รองลงมาคือ เวลา 08.00-12.00 น. จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 82.1 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 ช่วงเวลาในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้งส่วนใหญ่ คือ เวลา 12.01- 16.00 น. จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 76.4 รองลงมาคือ เวลา 08.00-12.00 น. จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 การศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ เสกสรร สายสีสด (2556) ได้ศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจต่อ การใช้สอื่ ใหมเ่ สรมิ การเรยี นรูข้ องนักศกึ ษา สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานพี บวา่ ชว่ งเวลาทีน่ กั ศึกษา ออนไลน์มากที่สุด คือ เวลา 13.01-16.00 น. รองลงมาคือ 06.00-09.00 น. เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของทั้ง 2 ชั้นปีพบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง โดยจำแนกตามช่วงเวลาในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง ไม่แตกต่างกันทาง สถิติ อาจอภิปรายได้ว่า ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 ส่งผลให้นิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ต้องใช้อีเลิร์นนิงเปน็ สื่อหลักในการเรียน (Comprehensive Replacement) และมีตารางเรียนเช่นเดียวกันกับสถานการณ์ปกติ ซึ่งอยู่ใน ชว่ งเวลา 08.00-16.00 น. ทำให้นิสติ ท้ัง 2 ช้ันปมี ชี ่วงเวลาในการเข้าใช้งานอเี ลริ ์นนิงไม่แตกต่างกนั ระยะเวลาการเข้าใช้งานอีเลริ น์ นงิ ต่อครั้ง ของนิสิตชน้ั ปีท่ี 2 มรี ะยะเวลาในการเขา้ ใชง้ านอเี ลริ น์ นงิ นานกว่า 8 ชว่ั โมงตอ่ ครั้ง มากกวา่ นิสิตช้ันปีที่ 3 ซึ่งมีจำนวน 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.5 และจำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 23.5 ตามลำดับ ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงในระยะสั้น 1-3 ชั่วโมงต่อครั้ง นิสิตชั้นปีที่ 3 มีการเข้าใช้งานในระยะดังกล่าว มากกวา่ นสิ ิตช้ันปที ่ี 2 ซ่งึ มจี ำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 66.0 และ 16 คน คดิ เป็นร้อยละ 34.0 ตามลำดบั การศึกษา ครัง้ น้ีสอดคล้องกับงานวิจยั ของ เสกสรร สายสีสด (2556) ได้ศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจต่อการใช้ส่ือใหม่เสริม การเรียนรู้ของนักศึกษา สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีพบว่า นักศึกษาออนไลน์ในแต่ละวันอยู่ ในช่วง 2-5 ชั่วโมง รองลงมาออนไลน์ 1-2 ชั่วโมง เมื่อเปรียบเทยี บความแตกต่างของทั้ง 2 ชั้นปีพบวา่ พฤติกรรมการ ใช้อีเลิร์นนิง จำแนกตามระยะเวลาการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงต่อครั้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ท้งั น้อี าจอภิปรายได้ว่า ในชว่ งสถานการณโ์ รค COVID-19 สง่ ผลใหน้ สิ ิตชน้ั ปที ่ี 2 และช้ันปที ่ี 3 ต้องใช้อีเลริ ์นนิงเป็นสื่อ หลักในการเรียน (Comprehensive Replacement) เพื่อไม่ให้กระทบกับการเรียนการสอนและลดการแพร่กระจาย เชื้อ นิสิตทั้ง 2 ชั้นปีจำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านทางระบบอีเลิร์นนิงทั้งหมด อีกทั้งมีตารางเรียน เชน่ เดยี วกันกับสถานการณป์ กติ ซึ่งในแตล่ ะรายวิชามีการเรยี นการสอนรายวิชาละ 1-2 ชัว่ โมง ทำใหน้ ิสติ ทง้ั 2 ชั้นปีมี ระยะเวลาการเขา้ ใชง้ านอเี ลริ ์นนิงตอ่ คร้ังไม่แตกต่างกัน วัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ส่วนใหญ่ คือ เพื่อศึกษาบทเรียน/ ทบทวนบทเรียน จำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 98.5 และจำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 97.2 ตามลำดับ เห็นได้ว่า 39

จำนวนนสิ ติ ช้นั ปที ่ี 3 มีวตั ถปุ ระสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลริ น์ นิง เพื่อศึกษาบทเรยี น/ทบทวนบทเรียน มากกว่านิสิตชั้นปี ที่ 2 นอกจากนี้วัตถุประสงค์เพื่อติดต่ออาจารย์ผู้สอนของนิสิตชั้นปีท่ี 3 มากกว่านิสิตชั้นปีที่ 2 จำนวน 21 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 29.2 และจำนวน 16 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16 ตามลำดบั ท้ังนีว้ ัตถปุ ระสงคใ์ นการเข้าใช้งาน อีเลิร์นนิงเพ่ือ ติดต่อสื่อสารผ่านกระดานสนทนาหรือห้องแชท นิสิตชั้นปีที่ 2 มีพฤติกรรมการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงในวัตถุประสงค์ ดังกล่าวมากกว่านิสิตชั้นปีที่ 3 จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 และ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 4.03 ตามลำดับ การศกึ ษาคร้ังนสี้ อดคลอ้ งกับการวิจยั ของ วรวฒุ ิ มงั่ สุขผล และปณุ เชษฐ์ จินางศกุ ะ (2558) ไดท้ ำการศึกษา พฤติกรรม และความต้องการใช้อีเลิร์นนิงของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์การใช้งานอีเลิร์นนิง เพื่อศึกษาบทเรียน/ทบทวนบทเรียนมากที่สุด ของจำนวน นักศึกษาทง้ั หมดทใ่ี ช้งานอเี ลิร์นนิง เม่ือเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งท้งั 2 ชนั้ ปพี บว่า พฤตกิ รรมการใชอ้ ีเลริ น์ นงิ จำแนก ตามวัตถุประสงค์ในการเขา้ ใช้งานอีเลิร์นนิง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจอภิปรายไดว้ า่ การที่นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ อยู่ในระดับชั้นปีที่แตกต่างกัน อาจส่งผลต่อวัตถุประสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง เนื่องจากนิสิตชั้นปีที่ 3 ได้เรียนรู้วิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรเพิ่มขึ้น และมีประสบการณ์กับรูปแบบการจัดการเรียนการ สอนทีห่ ลากหลาย (วงเดอื น สุวรรณคีรี และคณะ, 2562) สามารถตอ่ ยอดความรู้ในรายวชิ าต่อไป และทบทวนความรู้ ด้วยตนเองได้มากกว่าระดับชั้นปีที่ 2 ที่ได้เรียนรู้วิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรที่น้อยกว่า จึงมีการติดต่อสื่อสารกับอาจารย์ ผู้สอนที่มากขึ้นเพื่อเพิ่มความเข้าใจในบทเรียน แต่อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มีการเรียนการ สอนโดยใชอ้ เี ลิร์นนิงเป็นส่ือหลักในการเรียน (Comprehensive Replacement) นสิ ิตจึงต้องศึกษาบทเรียน/ทบทวน บทเรียนด้วยตนเอง ผ่านคลิปวีดโิ อการสอนผ่านระบบอีเลิร์นนิง และไม่มีสำเนาเอกสารประกอบการเรียนการสอนให้ เนื่องจากนิสิตส่วนใหญ่เดินทางกลับภูมิลำเนา และมาตรการการเว้นระยะห่างทางสังคม ส่งผลให้นิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มีความจำเป็นต้องดาวน์โหลดเอกสารการเรียนการสอนด้วยตนเอง ด้วยเหตุผลทั้งหมดอาจทำให้นิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์มีวตั ถปุ ระสงค์ในการเข้าใช้งานอีเลิรน์ นิงแตกตา่ งกัน ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ของนิสิตชั้นปีที่ 2 ส่วนใหญ่ คือ ด้านอุปกรณ์/เครือข่าย อินเทอร์เน็ต จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 65.7 รองลงมาคือ ด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 58.2 ส่วนนิสิตชั้นปีที่ 3 ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิงส่วนใหญ่ คือ ด้านอุปกรณ์/เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 59.7 รองลงมาคือ ด้านข้อจำกัดเรื่องเวลา จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 47.2 การศกึ ษาคร้งั นส้ี อดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของเสถียร พูลผล และปฏพิ ล อรรณพบรบิ ูรณ์ (2563) ได้ศกึ ษา การสำรวจความ คิดเห็นของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ที่มีต่อการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 เพื่อออกแบบแนว ทางการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม พบว่า อุปสรรคที่เกิดขึ้นในการเรียนการ สอน คือ มีปัญหาอินเตอร์เน็ตจำนวน37คน สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเรียนจำนวน 11 คน เมื่อเปรียบเทียบ ทั้ง 2 ชั้นปี พบว่า พฤติกรรมการใช้อีเลิร์นนิง โดยจำแนกตามปัญหาและอุปสรรคในการเข้าใช้งานอีเลิร์นนิง ไม่ แตกตา่ งกันทางสถิติ ทัง้ นีอ้ าจอภิปรายได้ว่า ในช่วงสถานการณ์โรค COVID-19 นิสติ พยาบาลชน้ั ทัง้ 2 ช้นั ปี ส่วนใหญ่ เดินทางกลับภูมิลำเนาของตนเอง และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ปรับการเรียนการสอนเป็นแบบ 40

การเรยี นผ่านอเี ลริ ์นนงิ เป็นสอ่ื หลัก ซ่งึ นิสติ ทง้ั 2 ชัน้ ปตี อ้ งปรบั ตัวต่อการเรยี นการสอนเป็นแบบออนไลน์แทนการเรียน บรรยายในห้องเรียน ซึ่งการเรียนการสอนผ่านอีเลิร์นนิงอาจมีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการรับรู้ และมีอุปสรรค เกี่ยวกับการเข้าถึงอุปกรณ์สำหรับการเรียนผ่านอีเลิร์นนิง อาทิเช่น คอมพิวเตอร์, แท็บเล็ต, โทรศัพท์มือถือ, หรือ สญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ตที่มีข้อจำกัด และสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสมกับการเรียน (ฐาปนีย์ ธรรมเมธา, 2557) ส่งผลให้ นิสิตทงั้ 2 ช้ันปี มปี ญั หาและอุปสรรคในการเข้าใชง้ านอเี ลิรน์ นิงทีไ่ ม่แตกตา่ งกนั 2. พฤติกรรมการเรยี นอีเลริ น์ นงิ ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร นสิ ิตชนั้ ปีที่ 2 มพี ฤตกิ รรมการเรยี นผ่านอเี ลริ น์ นิง เพ่อื สามารถสง่ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมายใหอ้ าจารย์ผู้สอนผ่าน ทางอีเลริ น์ นงิ มีความคิดเห็นอยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด (x̄ =4.27, S.D.= 0.963) รองลงมาคือ ทำแบบทดสอบ หรือข้อสอบ ออนไลน์ เพื่อเป็นการทบทวนและทดสอบความรู้ผ่านทางอีเลิร์นนิง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ =3.63, S.D.= 1.071) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ เพื่อศึกษาเนื้อหาบทเรียนล่วงหน้าผ่านทางอีเลิร์นนิงก่อนเข้าเรียนในครั้งต่อไป (x̄ =2.51, S.D.= 1.223) นิสิตชั้นปีที่ 3 มีพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงเพื่อส่งงานที่ได้รับมอบหมายใหอ้ าจารย์ผู้สอนผ่านทาง อี เลิร์นนิงมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ =3.90, S.D.= 1.365) รองลงมาคือ ทำแบบทดสอบหรือข้อสอบ ออนไลน์ เพื่อเป็นการทบทวนและทดสอบความรู้ผ่านทางอีเลิร์นนิงมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ =3.51, S.D.=1.363) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับบทเรียนจะสอบถามอาจารย์ผู้สอนผ่านทาง อี เลิร์นนงิ ทใ่ี ชใ้ นระบบการเรียนการสอน (x̄ = 2.32, S.D.=1.490) พฤติกรรมการเรยี นผา่ นอีเลิรน์ นงิ ของนสิ ติ ชั้นปที ่ี 2 และ ชน้ั ปีท่ี 3 ผลการศกึ ษา โดยรวมพบว่า ไม่แตกต่าง กนั ทางสถติ ิ ยกเวน้ พฤติกรรมการเรยี นผ่านอีเลริ น์ นงิ ในขอ้ 7 ฉันส่งงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนผ่านทางอี เลิร์นนิง ในนิสิตชั้นปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น (x̄ =4.27, S.D.=0.963) มากกว่านิสิตชั้นปีที่ 3 (x̄ =3.90, S.D.=1.365) สอดคล้องกับงานวิจัยของ วีนัส แก้วประเสริฐ (2557) ศึกษาผลการวิเคราะห์และสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการเรียนแบบอีเลิร์นนิงโดยใช้การเรียนการสอนแบบกรณีศึกษา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์/ ศึกษาศาสตร์ พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงเพื่อส่งงาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (x̄ =2.93) เม่ือ เปรียบเทียบความแตกต่างของทั้ง 2 ชั้นปี พบว่า พฤติกรรมการเรียนผ่านอีเลิร์นนิงในข้อ 7 ฉันส่งงานที่ได้รับ มอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนผ่านทางอีเลิร์นนิง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับ งานวจิ ัยของ ระพพี รรณ ฉลองสขุ และคณะ (2557) ไดท้ ำการศกึ ษาพฤติกรรม และทัศนคติของนกั ศกึ ษาคณะเภสัชศา สตรมหาวิทยาลัยศิลปากรต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเรียน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาแต่ละชั้นปีมี ประสบการณ์ในการใชส้ อื่ สงั คมออนไลนแ์ ตกต่างกันอยา่ งมนี ยั สำคญั โดยคู่ทม่ี ีความแตกต่างกันในประสบการณ์การใช้ ในการใชส้ ือ่ สงั คมออนไลนไ์ ดแ้ ก่ ปี2-ปี3 (p=0.021) ช้ันปีท่ี 2 มคี ่าเฉล่ียเท่ากับ 6.4 (S.D.=3.0) มากกวา่ ชัน้ ปที ่ี 3 ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.2 (S.D.=2.9) ทั้งนี้อาจอภิปรายได้ว่า ระดับชั้นปีที่แตกต่างกัน มีผลให้การเรียนการสอนในแต่ละ รายวิชาแตกต่างกัน โดยนิสิตชั้นปีที่ 2 เรียนทั้งหมดจำนวน 4 รายวิชา จำนวน 9 หน่วยกิต และนิสิตชั้นปีที่ 3 เรียน ทั้งหมดจำนวน 3 รายวิชา จำนวน 8 หน่วยกิต ส่งผลให้ภาระงานที่ได้รับมอบหมายแตกต่างกัน ซึ่งชั้นปีที่ 2 จะ 41