Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่ม 12 ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่ม 12 ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Published by Reading Room, 2022-01-13 07:38:14

Description: กลุ่ม 12 ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Search

Read the Text Version

ก รายงานการวจิ ัย เรอื่ ง ความสมั พนั ธ์ระหว่างผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและการรบั รแู้ หลง่ สนบั สนนุ กับความพงึ พอใจ ในการเรยี นออนไลน์ ของนสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร The relationships between academic achievement, information technology facilities, and students’ satisfaction toward e-learning infrastructure among nursing students, Naresuan University นางสาวพชั รนิ ทร์ คณะผู้วิจยั รหสั นสิ ิต 61560794 นางสาวกนกพร แดงพัด รหัสนิสติ 61560015 นางสาวกนกวรรณ บุญธรรม รหสั นิสติ 61560022 นางสาวณัฐนนั ท์ จรสั แผ้ว รหสั นิสติ 61560374 นางสาวปาตมิ า มาลาทอง รหัสนสิ ติ 61560695 นางสาวร่งุ รัศมี คนสูง รหัสนสิ ิต 61560954 นางสาวลกั ษิกา ร่ืนลม รหัสนสิ ติ 61560961 นางสาวอรปรียา มาลี รหัสนิสติ 61561395 สวยงาม อาจารยท์ ีป่ รึกษา ดร. แสงเดือน อภิรตั นวงศ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร

ข กติ ติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทั้งนี้เนื่องจากได้รับความกรุณาเป็นอย่างยิ่งจาก คณาจารย์หลายท่าน คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ ดร. แสงเดือน อภิรัตนวงศ์ อาจารย์ที่ปรึกษารายงาน การวิจัย ดร. ขวัญแก้ว วงษ์เจริญ ดร. ปวงกมล กฤษณบุตร และดร. มาณิกา เพชรรัตน์ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบเครือ่ งมอื วจิ ยั ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่าง นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้ความร่วมมือในการเข้า รว่ มการดำเนนิ การวิจยั เป็นอย่างดี สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่และทุกคนในครอบครัวที่ให้กำลังใจและสนับสนุน ทุก ๆ ด้านตลอดมา ขอขอบคุณเพื่อนนิสิตปริญญาตรี พยาบาลศาสตร์บัณฑิตที่ให้การสนับสนุนช่วยเหลือ และใหก้ ำลงั ใจเสมอมา และขอขอบพระคุณผู้ทคี่ ณะผู้วิจยั ไดข้ อความรว่ มมือ แตไ่ ม่ได้กลา่ วนามมา ณ ทน่ี ี้ด้วย พชั รนิ ทร์ แดงพดั 23 มนี าคม 2564

ค ชือ่ เรื่อง ความสมั พันธร์ ะหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและการรบั รูแ้ หล่งสนับสนนุ กบั ความพึงพอใจ ในการเรียนออนไลน์ ของนสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร คณะผู้วจิ ัย นางสาวพัชรินทร์ แดงพัด รหสั นิสิต 61560794 นางสาวกนกพร บุญธรรม รหสั นสิ ติ 61560015 นางสาวกนกวรรณ จรสั แผ้ว รหสั นิสติ 61560022 นางสาวณัฐนนั ท์ มาลาทอง รหสั นสิ ิต 61560374 นางสาวปาติมา คนสงู รหสั นิสติ 61560695 นางสาวร่งุ รัศมี รน่ื ลม รหสั นสิ ติ 61560954 นางสาวลกั ษิกา มาลี รหัสนิสติ 61560961 นางสาวอรปรียา สวยงาม รหสั นสิ ิต 61561395 อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา ดร. แสงเดอื น อภิรตั นวงศ์ คำสำคัญ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, แหลง่ สนบั สนุน, ความพงึ พอใจ, การเรียนออนไลน์ บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์และศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียน ออนไลน์ ของนสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร กลุ่มตวั อย่างท่ีศึกษาเปน็ นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ลงทะเบียนเข้าเรียน ปีการศึกษา 2560 และปีการศึกษา 2561 ในช่วงภาคฤดูรอ้ น จำนวน 157 คน รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ แหล่งสนบั สนุน และแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใช้สถติ ิ ความถี่ ร้อย ละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและการรบั รู้ แหล่งสนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ โดยการใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์สเปียรแ์ มน (Spearman rank Correlation Coefficient หรือ Spearman’s rho) ผลการวิจัยพบว่า นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความพึงพอใจในการ เรียนออนไลน์ อยู่ในระดับมาก (������̅ = 3.55, S.D. = 0.91) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไม่มีความสัมพันธ์กับ ความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ (rs= -.001) และการรับรู้แหล่งสนบั สนุน มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ ในการเรยี นออนไลน์ (rs = .757) ท่รี ะดบั นัยสำคญั 0.05 ผลการศึกษาครั้งนี้เสนอแนะในเร่ืองการสนบั สนุนด้านอุปกรณ์ และการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ตให้ เพียงพอ เพอ่ื ใหก้ ารจดั การเรียนแบบออนไลน์มีประสทิ ธิภาพและผ้เู รยี นเกิดความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ คำสำคญั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน, แหลง่ สนบั สนุน, ความพึงพอใจ, การเรยี นออนไลน์

ง Title The relationships between academic achievement, information technology facilities, and students’ satisfaction toward e-learning infrastructure among nursing students, Naresuan University The researchers Ms. Patcharin Daengpat student ID 61560794 Ms. Kanokporn Boontham student ID 61560015 Ms. Kanokwan Charatphaeo student ID 61560022 Ms. Nattanan Malathong student ID 61560374 Ms. Patima Konsoong student ID 61560695 Ms. Rungrassamee Rueanlom student ID 61560954 Ms. Laksika Malee student ID 61560961 Ms. Ornpreeya Suayngam student ID 61561395 The research advisor Dr. Sangduan Apiratanawong Keywords Academic Achievement, Supportive Perception, Satisfaction, Online Learning, Online Studying. Abstract This research aimed to study the level of satisfaction with online learning and to examine the relationship among academic achievement, supportive perception, and satisfaction of online learning of nursing students, Faculty of Nursing, Naresuan University. The sample group of the studied was nursing students, studying in the faculty of Nursing at Naresuan University, in the 2017 academic year and the 2018 academic year during the summer semester of 157 people. Collecting information method by using personal information questionnaires, Resource supporting Recognition Questionnaire, and the online learning satisfaction questionnaire. The data were analyzed and using frequency, percentage, mean, and standard deviation statistics to show the outcome of the results. These groups of numbers were used to analyze the relationship between academic achievement, perception of support resources, the satisfaction of online learning. By using data analysis with Spearman rank Correlation Coefficient or Spearman’s rho. The result of the research found that nursing students of Faculty of Nursing, Naresuan University, have a high level of online learning satisfaction ( ������̅ = 3.55, S.D. = 0.91) about academic achievement there wasn't relate with online learning satisfaction (rs = -.001) and recognition of supporting sources was associated with online learning satisfaction (rs = .757) at a significant level of 0.05.

จ The results of this study suggest that there should have a supporting device and sufficient internet system to provide effective online learning management and caused learners to feel satisfied in online learning. Keywords Academic Achievement, Supportive Perception, Satisfaction, Online Learning, Online Studying.

สารบัญ ง กติ ติกรรมประกาศ หนา้ บทคัดยอ่ ภาษาไทย ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข สารบัญ ค สารบญั ตาราง ง บทที่ 1 บทนำ จ ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา 1 คำถามการวิจยั 3 วัตถุประสงค์การวจิ ัย 3 สมมตฐิ านการวิจัย 3 ขอบเขตการวจิ ัย 4 นิยามศพั ท์เฉพาะ 4 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 5 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษานี้ 5 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง การเรียนออนไลน์ 6 อุบัตกิ ารณก์ ารเรียนออนไลน์ 6 ความหมายของการเรียนออนไลน์ 7 ความสำคัญของการเรยี นออนไลน์ 8 ปจั จยั ที่มีความสัมพันธก์ บั ความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลน์ 10 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 11 การรับรแู้ หล่งสนับสนุน 18 ความพึงพอใจในการเรยี นออนไลน์ 22 กรอบแนวคิดและทฤษฎี 26 บทท่ี 3 ระเบียบการวิจัย ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 27 เครอื่ งมอื วจิ ยั 29 การทดสอบคณุ ภาพเครื่องมือ 30 การพทิ ักษส์ ทิ ธิ์กลุ่มตวั อยา่ ง 31 ขน้ั ตอนการเกบ็ รวบรวม 32

สารบญั (ต่อ) ง การวเิ คราะห์ข้อมลู หน้า บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 32 ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ในนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ 35 ลงทะเบียนเข้าเรยี นในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร 37 ตอนที่ 2 ขอ้ มลู ตวั แปรท่ีทำการศึกษา ประกอบดว้ ย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การรับรู้ แหล่งสนับสนุน และความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาล 40 ศาสตร์ ทล่ี งทะเบยี นเขา้ เรียนในปกี ารศกึ ษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลยั นเรศวร 42 ตอนที่ 3 การวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและ 43 การรับรู้แหล่งสนบั สนนุ กับความพงึ พอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ 46 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 46 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ 47 50 สรุปผลการวิจัย 51 อภปิ รายผล 53 ขอ้ เสนอแนะ 60 ข้อจำกดั บรรณานกุ รม ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ประวัตผิ ู้วิจยั

สารบัญตาราง จ ตารางท่ี 1 จำนวนคนและร้อยละ ในนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ทล่ี งทะเบยี นเข้าเรียน หน้า ในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 35 ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน การรบั รแู้ หลง่ สนบั สนุน และความพึงพอใจ 37 ตอ่ การเรียนออนไลนข์ องนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ 38 ตารางท่ี 3 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนิสติ พยาบาล 38 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 39 ตารางท่ี 4 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับการรบั รู้แหล่งสนบั สนนุ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 40 ตารางท่ี 5 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดบั ความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลน์ ของนิสติ พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ตารางท่ี 6 ค่าสถิตสิ ัมประสทิ ธ์ิสหสมั พันธข์ องสเปียรแ์ มน ระหวา่ งผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น และการรับรู้แหล่งสนบั สนุนกับความพงึ พอใจในการเรียนออนไลน์ ของนสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

1 บทท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา ในสถานการณ์ปัจจุบัน ประชากรโลก ปี พ.ศ. 2563 เกิดปัญหาวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโค รานาสายพันธุ์ใหม่ หรือที่เรียกกันว่า COVID-19 ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศองค์การอนามัยโลกได้ ประกาศให้โรค COVID-19 เป็นโรคระบาดร้ายแรง เนื่องจากมีการแพร่เชื้ออย่างรวดเร็วในหลายประเทศ ซ่ึงบางประเทศเกดิ การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสนี้อยา่ งรุนแรง ในแตล่ ะประเทศจึงมกี ารปรับตัวเพอ่ื ป้องกันการ แพร่ระบาดของไวรัสในทุก ๆ ดา้ น เช่น ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นการคมนาคม ดา้ นการสอื่ สารและท่องเที่ยว ตลอด จนถึงด้านการศึกษาที่มีผลสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต และในประเทศไทย ณ ปัจจุบันนี้ได้รับ ผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของไวรัสชนิดนี้เช่นกัน ทำให้ทุกภาคส่วนมีการปรับตัวเพื่อต่อสู้กับการแพร่ ระบาดของไวรัสนี้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนของภาครัฐหรือเอกชน ในส่วนของประเทศไทยนั้นได้มีมาตรการป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อ COVID-19 หลาย ๆ รูปแบบ อาทิเช่น ให้สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือและมาตรการ Social distance หรือการเพิ่มระยะห่างระหว่างกันในสังคม เป็นหนึ่งในวิธีการรับมือกับการระบาดจากคนสู่ คน รวมทั้งประเทศไทยที่ใช้มาตรการ “กึ่งปิดเมือง” (semi-lockdown) นี้ได้ส่งผลกระทบอย่างมหาศาลกับ ทุกภาคส่วน ในด้านการศึกษานั้นมหาวิทยาลัยหลายแห่งได้มีมติงดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย แล้ว จดั การเรียนการสอนรปู แบบออนไลน์ เพ่ือหลกี เล่ียงการเดนิ ทางมาเรียนหรือการรวมตัวกนั ของกลุ่มคนจำนวน มากเพอ่ื ยับยงั้ การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 (กระทรวงสาธารณสขุ , 2563) ซึ่งการปรับตัวด้านการศึกษาเป็นส่วนสำคัญในการผลักดันและพัฒนาบุคลากรภายในประเทศให้เกิด การพัฒนามากยิ่งขึ้น การปรับตัวทางด้านการศึกษาในประเทศไทยมีการปรับตัวอย่างรวดเร็ว โดยนำระบบ E-Learning หรือการเรียนออนไลน์ อาทิเช่น การเรียนการสอนสดผ่าน แอพลิเคชั่น ZOOM, Google meet หรือ Microsoft Teams มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนของทุกระดับชั้นการศึกษาได้แม้ต้องอยู่บ้าน เนื่องจากเวลาที่เร่งรัดและเนื้อหาที่มีจำนวนมากเกินไป ทำให้การจัดการเรียนการสอนไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จึงดำเนินการเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤตโรคระบาดนี้ ซึ่งนักเรียน นิสติ นกั ศกึ ษาสามารถมปี ฏิสัมพันธก์ ับผสู้ อนได้ทันที คอื เห็นหนา้ เหน็ ตาโต้ตอบสอบถามถึงปญั หาและข้อสงสัย ในการเรียนได้ และการสอนแบบวิดีโอที่ผู้สอนสามารถอัดบันทึกล่วงหน้าและผู้เรียนสามารถมาติดตาม ภายหลังสำหรับผทู้ ่ีมีข้อจำกัดเร่ืองการเรยี นการสอนออนไลน์แบบสดเพื่อใหน้ ักเรยี นนักศึกษาได้เรียนครบตาม หลกั สตู รและเวลาที่กำหนด และการเปลีย่ นผา่ นให้นกั ศกึ ษามาเรียนออนไลน์ไม่ใช่เรื่องง่ายในประเทศไทย โดย การเรียนออนไลน์ส่งผลกระทบทางการศกึ ษาเปน็ อย่างมาก เพราะยงั มนี กั ศกึ ษาจำนวนมากท่ียงั ขาดแคลนด้าน อุปกรณ์สารสนเทศ ในที่น้ีรวมถึงคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา แท็บเล็ต iPad โทรศัพท์มือถือ และอินเทอร์เน็ตสำหรับใช้เรียนออนไลน์ที่บ้านหรือ Wi-Fi ซึ่งมักจะมาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย และเป็น กลุ่มที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการเปลี่ยนการเรียนในห้องเรียนมาเป็นแบบออนไลน์ ( พงศ์ทัศ วนิ

2 ชานันท์, 2563) ทั้งเครือข่ายการเช่ือมต่อในการเรียน หรือกระทั่งตัวผู้เรยี นและผูส้ อนเอง ล้วนแต่มผี ลกระทบ โดยตรงทั้งสิ้น จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าการแพร่ระบาดของไวรัสมีผลโดยตรงต่อการปรับตัวด้าน การศึกษาของประเทศไทยเป็นอย่างมาก การใช้การเรียนการสอนผ่านระบบ E-Learning หรือ การเรียน ออนไลน์ มีผลต่อกลุ่มประชากรที่เกี่ยวข้องในระบบการศึกษาโดยตรง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2562) โดยการ เรียนออนไลน์ หมายถึง การศึกษาทางไกลรูปแบบหนึ่งซึ่งผู้เรียนไม่จำเป็นต้องไปยังสถานศึกษาด้วยตนเอง สามารถเรียนได้ตามช่วงเวลาที่สะดวก เรียนได้ตามความถนัด และความสนใจ แต่ต้องอาศัยเรียนเนื้อหาสาระ แบบฝึกหัด ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต สามารถโต้ตอบกับผู้สอน แลกเปลี่ยนความรู้ หรือ แนวคิดกับผู้เรียนจากสถานที่อื่นผ่านระบบเครือข่ายเช่นกัน รวมทั้งมีระบบการวัดและประเมินผลเพื่อให้ได้ คุณภาพและมาตรฐานตามที่สถาบนั หรือหนว่ ยจดั การศกึ ษากำหนด (สำนักงานราชบัณฑติ ยสภา, 2558) จากทกี่ ลา่ วมาข้างต้น จะเหน็ ไดว้ ่าปจั จัยทางด้านอุปกรณส์ ารสนเทศ เปน็ ปัจจยั ทีม่ คี วามสำคัญกับการ เรียนออนไลนเ์ ปน็ อย่างยิ่ง ซึ่งอุปกรณ์สารสนเทศ หมายถึง เครื่องมือ เครื่องใช้วัสดุ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ช่วย แก้ปัญหาและส่งเสริมการทำงานด้านข้อมูล ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม ร่วมกับกระบวนการดำเนินสารสนเทศ ตั้งแต่การ แสวงหา การประมวลผล การจัดเก็บ การเรียกใช้ การแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ สารสนเทศด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ซึ่ง อาจอยู่ในรูปของ ภาพ เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในต้น ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความสะดวกรวดเร็ว ทันต่อการนำมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งสร้างเครือข่ายที่มี การเชื่อมต่อสารสนเทศถึงกันได้ (พิชิต โคตรมา, 2551) ล้วนมีผลกับความพึงพอใจในการเรียนการสอนผ่าน ระบบออนไลน์ ซึ่งสะท้อนถึงความสำเรจ็ และประสทิ ธผิ ลของการเรียนออนไลน์ ความพึงพอใจของมนุษย์ หมายถึง คุณลักษณะทางจิต หรือทางอารมณ์ความรู้สึก หรือทัศนคติของ บคุ คลที่มใี นเชิงบวก อันเน่อื งมาจากสิ่งเร้า และแรงจูงใจต่อกิจกรรมท่ีทำ ซง่ึ ปรากฏออกมาทางพฤติกรรมและ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของบุคคล (ทวีศิลป์ สารแสน, 2543) โดยความพึงพอใจ เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของนักศกึ ษาที่มีต่อการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ ความรู้สึกภายในจติ ใจหรอื ทศั นคตทิ ดี่ ใี นเชิงบวก อนั เนื่องมาจากสิ่งเรา้ และแรงจูงใจต่อกจิ กรรมท่ที ำของบุคคลไม่เหมือนกนั ขึ้นอยู่กบั แต่ ละบุคคลว่าจะคาดหวังกับการเรียนมากหรือน้อย ท้ังน้ีตามแนวคิดของเฮอร์เบอร์ก และคณะ (1959) ความพึง พอใจที่จะเกิดขึ้นประกอบด้วยปัจจัยที่สำคัญ 2 ปัจจัยได้แก่ ปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุน ซึ่งจากการทบทวน วรรณกรรมในงานวิจยั นี้ ปัจจยั จูงใจคอื ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงและปัจจัยค้ำจุนท่ีมีต่อความพึงพอใจของการ จัดการเรยี นการสอนออนไลนม์ ีหลายปจั จัยท่ีเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึง่ จากการทบทวนวรรณกรรมในคร้ังน้ีพบว่าการ รับรู้แหล่งสนับสนุนทางด้านอุปกรณ์สารสนเทศ ซึ่งจะทำให้บุคคลมีความตั้งใจเรียนมากและได้รับการ ตอบสนองหรอื บรรลุจุดมุ่งหมายในระดบั หน่งึ ดว้ ยดี กจ็ ะมีความพึงพอใจมาก แตใ่ นทางตรงกันข้ามอาจผิดหวัง หรือไม่พึงพอใจเป็นอย่างยิ่งเมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ อาจเกิดความตึงเครียด กระวน กระวาย ไม่มสี มาธใิ นการเรยี นก็จะส่งผลตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน คือผลการเรียนเฉล่ยี ต่ำลง

3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนหรือเกรดเฉลี่ยสะสมของผู้เรียนในทุกรายวิชาท่ีเรียนตลอด หลกั สูตรของแต่ละช่วงชั้นการเรียน ซ่งึ จะชว่ ยสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงระดบั ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ ทักษะ ทางด้านวิชาการ ความสำเรจ็ และสมรรถภาพดา้ นตา่ ง ๆ ของผู้เรยี นทไ่ี ด้จากการเรยี น การสอน การฝกึ ฝนหรือ ประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคลซึ่งสามารถวัดได้จากการทดสอบด้วยวธิ ีการต่าง ๆ (สมพร เชือ่ พันธ์, 2547 ) โดย พบว่า ผู้ทดสอบที่ทำคะแนนได้สูงมีแนวโน้มที่จะกำหนดพฤติกรรมเกี่ยวกับความสำเร็จค่อนข้างสูง และการ แบ่งกลุ่มลักษณะผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ต่างกัน จะมีผลการเรียนที่ดีขึ้น (McClelland, 1961 ; สุภวรรณ พันธุจันทร, 2534 ; อารมณ์ สนานภ์, 2539) ดังนั้นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนน่าจะมีความสัมพันธ์กับ ความพึงพอใจตอ่ รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนระบบออนไลน์ จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ ยังมีงานวิจัยทีศ่ ึกษาความสัมพันธร์ ะหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการรับรู้แหล่งสนันสนุน กับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์จำนวนน้อย ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุน กับความพึงพอใจในการเรียน ออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ว่ามีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจใน การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์อย่างไร ผู้ศึกษาหวังว่าผลการศึกษาจะสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การพัฒนารูปแบบการเรียนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยนเรศวร และเสริมสร้างความพึงพอใจในการในการ เรียนรแู้ บบออนไลน์ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยนเรศวรให้ดียิง่ ขน้ึ ต่อไป 1.2 คำถามการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นอยา่ งไร 2. การรับรู้แหล่งสนับสนุนมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรเปน็ อยา่ งไร 1.3 วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุน กับความพึง พอใจในการเรยี นออนไลน์ ของนสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 1.4 สมมตฐิ านการวิจัย 1. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนที่มีความสมั พนั ธ์กบั ความพึงพอใจในการเรยี นออนไลน์ 2. การรบั รู้แหลง่ สนับสนนุ มีความสัมพันธ์กบั ความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลน์

4 1.5 ขอบเขตการวจิ ยั 1.5.1. ขอบเขตดา้ นประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียน ปี การศึกษา 2560 และปีการศกึ ษา 2561 มหาวทิ ยาลยั นเรศวรทม่ี กี ารเรียนออนไลน์ในชว่ งภาคฤดูร้อน จำนวน 242 คน โดยใช้วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 1.5.2. ขอบเขตดา้ นตวั แปร 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น, การรับรแู้ หล่งสนบั สนนุ 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ ความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลน์ 1.5.3. ขอบเขตด้านระยะเวลาการทำวจิ ัย การเก็บขอ้ มลู จะเร่ิมตัง้ แต่ เดอื นธนั วาคม 2563 ถงึ เดอื นมกราคม 2564 1.5.4. ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา การศึกษาครั้งนี้ใช้แนวคิดของเฮอร์เบอร์ก และคณะ (1959) เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุน กับความพึงพอใจในการเรียน ออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจใน สถานการณ์ที่เป็นการเปลี่ยนแปลงในชีวิต ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ หมายถึง การเรียนออนไลน์ ประเมินโดย แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ พฒั นาโดยผู้วิจัย 1.6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลคะแนนการเรียนเฉลี่ยสะสมของผู้เรียนในทุกรายวิชาที่เรียน ตลอดหลักสูตรของแต่ละช่วงชั้นการเรียนท่ีนำมาคำนวณหาค่าเฉลี่ยเพื่อแสดงภาพรวมตลอดหลักสูตรของผล การเรียนอันเปน็ ผลผลติ ของหลกั สูตรว่าอยู่ในระดับใด ซึ่งจะช่วยสะท้อนให้เห็นถึงระดับความรู้ ความสามารถ และความสนใจในการศึกษาในภาพรวมของแต่ละคนในการเรียน ประเมินโดย คะแนน Grade Point Average (GPA) หรือ เกรดเฉล่ีย การรับรู้แหล่งสนับสนุน หมายถึง ความรู้สึกที่มีต่อการใช้อุปกรณ์ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการ เรียนออนไลน์ ประกอบไปด้วย ด้านอุปกรณ์การเรียนออนไลน์ และดา้ นการใช้ระบบอินเทอรเ์ น็ต ประเมินโดย แบบสอบถามการรับรู้แหล่งสนับสนุนของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งพัฒนา โดยผวู้ ิจัย ความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ หมายถึง อารมณ์ความรู้สึกทางบวกและทางลบ หรือทัศนคติ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่มีผลมาจากความสนใจ เจตคติ และระดับ

5 ความสำเร็จที่เป็นไปตามความต้องการในการเรียนออนไลน์ ประเมินโดย แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการ เรียนออนไลน์ซ่ึงประกอบด้วย ความพรอ้ มในการเรยี นออนไลน์ ด้านการใชง้ านระบบอินเทอร์เน็ต ด้านเนื้อหา การเรยี น ดา้ นความร้แู ละประสบการณ์ ด้านสภาพแวดล้อมในการเรียน และดา้ นทศั นคติ ซ่ึงพัฒนาโดยผวู้ จิ ัย นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ หมายถึง นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้า เรยี นปกี ารศึกษา 2560 และปกี ารศกึ ษา 2561 ทเ่ี รียนผา่ นระบบออนไลน์ 1.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรตน้ ปจั จัยจูงใจ ความพึงพอใจในการเรียน -ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน GPA ผ่านระบบออนไลน์ (E-Learning) ปจั จยั ค้ำจนุ -การรบั รแู้ หล่งสนับสนนุ รปู ท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั 1.8 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั จากการศึกษาน้ี ได้ข้อมูลพื้นฐานในการนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และ การจดั การเรยี นรู้ไดส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของผู้เรียนออนไลน์

6 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง งานวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุน กับความพึง พอใจในการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในครั้งนี้ผู้วิจัยได้นำ แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาศึกษา เพื่อให้สามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และขอบเขต ของงานท่ีกำหนดไว้ โดยมีรายละเอียดของเอกสารและผลงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง ดงั น้ี 1. การเรียนออนไลน์ 1.1 อุบัตกิ ารณ์การเรียนออนไลน์ 1.2 ความหมายของการเรียนออนไลน์ 1.3 ความสำคญั ของการเรยี นออนไลน์ 2. ปัจจยั ทีม่ คี วามสัมพนั ธ์กับความพงึ พอใจในการเรียนออนไลน์ 2.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 2.2 การรับรู้แหลง่ สนบั สนนุ 1. การเรยี นออนไลน์ 1.1 อุบัตกิ ารณก์ ารเรียนออนไลน์ ในช่วงที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 รุนแรง ได้ส่งผลกระทบภาคการศึกษาและ นักเรียนทั่วโลก โดยนักเรียนทั่วโลกจำนวนกว่า 1.6 พันล้านคน ใน 194 ประเทศ หรือคิดเป็นร้อยละ 91.3 ของผู้เรียนจากทั่วโลกต้องหยุดการเรียนในระบบโรงเรียนและหันไปสู่การศึกษาในรูปแบบนอ กห้องเรียนแบบ ตา่ ง ๆ ร้อยละ 0.1-0.3 และการทนี่ กั เรยี นต้องอยบู่ า้ นเปน็ ระยะเวลานานทำให้ลืมส่ิงที่เคยเรยี นมาต้องทบทวน ซ้ำอกี ครง้ั หรอื เรยี กว่าปรากฏการณ์ความรู้ท่ีถดถอยไปหลังจากปิดเทอมใหญ่ (Summer Slide) และพบว่าการ ที่เด็กไม่ได้ไปโรงเรียนประมาณ 6 สัปดาห์ อาจทำให้ความรู้หายไปถึงครึ่งปีการศึกษา ซึ่งจะส่งผลกระทบที่ สำคัญอย่างมากตอ่ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมในระยะยาวของกลุ่มเด็กดังกล่าว ขณะที่ประเทศไทยมีประชากรวัยเรียนในทุกระดับชั้นได้รับผลกระทบประมาณ 14 ล้านคน โดยกลุ่ม นักเรียนที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานประมาณ 11.47 ล้านคน จาก ข้อมูลการสำรวจของ OECD ปี 2018 พบว่า ในประเทศไทยนักเรียนอายุ 15 ปี มากกว่าร้อยละ 30 ไม่มีห้อง ส่วนตัวหรือพื้นที่เงียบ ๆ ในการเรียนหรือทำการบ้าน โดยเฉพาะเด็กนักเรียนในกลุ่มเศรษฐฐานะยากจนที่สุด (ร้อยละ 20 ล่าง) มีเพียงร้อยละ 55 ที่มีพื้นที่ส่วนตัวในการทำการบ้าน อุปกรณ์ในการเรียนรู้โทรทัศน์ ในการเรียนครัวเรือนที่ยากจนมีแนวโน้มที่ต้องรับภาระจากการดำเนินนโยบายดังกล่าว เนื่องจากในกลุ่ม ครัวเรือนที่ยากจนมีประชากรวัยเรียนอายุน้อยกว่า 15 ปีมากกว่ากลุ่มครัวเรือนที่ร่ำรวย โดยกลุ่มครัวเรือนท่ี ยากจนที่สุดร้อยละ 10 ล่าง มีประชากรวัยเรียนอายุน้อยกว่า 15 ปี ประมาณ 1.12 คนต่อครัวเรือน โดยมี

7 ครัวเรือนที่มีเด็ก 3 คนขึ้นไปมากถึง 182,904 ครัวเรือน และยิ่งมากขึ้นในครัวเรือนที่จนขึ้น อาทิ ครัวเรือนท่ี ยากจนที่สุดร้อยละ 1 มีประชากรวัยเรียนอายุน้อยกว่า 15 ปี เฉลี่ย 1.47 คน และมีครัวเรือนที่มีเด็ก 3 คน ขึ้นไปมากถึง 26,205 ครัวเรือน ขณะที่ค่าเฉลี่ยทั้งประเทศมีเพียง 0.47 คนต่อครัวเรือน และกลุ่มครัวเรือนท่ี รวยที่สุดร้อยละ 10 มปี ระชากรวยั เรียนอายุน้อยกวา่ 15 ปี เฉลยี่ 0.13 คน และมคี รัวเรอื นท่ีมเี ด็ก 3 คนข้ึนไป เพียง 6,384 ครัวเรือน มีนักเรียนไทยเพียงร้อยละ 59 มีเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในบ้าน ขณะที่เด็ก นักเรียนในกลุ่มเศรษฐฐานะยากจนที่สุด (ร้อยละ 20 ล่าง) มีคอมพิวเตอร์เพียงร้อยละ 17 โทรศัพท์ สมาร์ท โฟน นักเรียนไทยมีโทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่เข้าถึงการเรียนได้ประมาณร้อยละ 86 โดยกลุ่มเด็กนักเรียนในกลุ่ม เศรษฐฐานะยากจนที่สุดมีโทรศัพท์สมาร์ทโฟนร้อยละ 79 และการเข้าถึงสัญญาณอินเทอร์เน็ตของครัวเรือน นกั เรยี นไทยมปี ระมาณร้อยละ 81.6 ท่สี ามารถเข้าถงึ สัญญาณอนิ เทอร์เนต็ ได้ โดยนกั เรียนในกลุ่มเศรษฐฐานะ ยากจนท่สี ุดมีการเขา้ ถึงอนิ เทอร์เน็ตเพียงร้อยละ 57 อาจเปน็ เพราะครัวเรือนจำนวนมากไม่มีเงินสำหรับสมัคร สมาชิก หรอื อยูใ่ นพื้นที่หา่ งไกลกว่าท่จี ะมีสัญญาณอินเทอรเ์ น็ตเข้าถงึ รวมถึงยังคงมีปญั หาเร่ืองเสถียรภาพและ ความเร็วของอินเทอร์เน็ตในการเข้าการเรียนโดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล (กองพัฒนาข้อมูลและตัวชี้วัดสังคม , 2563) 1.2 ความหมายของการเรียนออนไลน์ การเรียนออนไลน์ คอื การศึกษาเรยี นรผู้ ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต (Internet) ดว้ ยตวั เอง ผู้เรียนจะได้ เรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียน ประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ และมัลติมีเดียอื่น ๆ โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชัน้ เรยี นทุกคนสามารถติดต่อปรึกษา แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนตามปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ ทันสมัย เช่น E-mail, Web-board, Chat และ Social Network การเรียนรู้แบบออนไลน์จึงเป็นการเรียน สำหรบั ทุกคน เรียนไดท้ กุ เวลา และทกุ สถานท่ี (ปัทมา นพรตั น์, 2548. อา้ งอิงใน ชนินทร์ ตั้งพานทอง, 2560) การเรียนออนไลน์ คือ รูปแบบการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน (Technology-based Learning) โดยสามารถผ่านสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ทกุ ประเภท เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถเขา้ ถึงองค์ความรู้โดยไม่จำกัด เวลาและสถานท่ี (Anywhere and Anytime Learning) ทั้งนี้รูปแบบการเรียนอาจมีโครงสร้างหรือไม่มี โครงสร้างก็ได้ที่เป็นสื่อกลางการสอนของผู้สอน (สันติ วิจักขณาลัญฉ์, 2547 อ้างอิงใน ชนินทร์ ตั้งพานทอง, 2560) การเรียนออนไลน์ คือ การเรียนออนไลน์เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เข้าถึงผ่านระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งแตกต่างจากการเรียนตามปกติในชั้นเรียนที่ต้องเข้าห้องเรียนเพื่อเรียนตาม เวลาและสถานที่ที่กำหนดไว้ ผู้สอนจะเป็นคนกำหนดกระบวนการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยเตรียมเนื้อหาสาระแล้วบรรยาย กล่าวคือ พูด บอกเล่า อธิบาย เนื้อหา สาระหรือส่ิงที่ตอ้ งการสอนแก่ผู้เรียน และประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนดว้ ยวิธีใดวิธหี นึ่ง ซึ่งมีวัตถุประสงค์

8 คอื วธิ ีการบรรยายเปน็ วธิ ีการที่มุ่งช่วยใหผ้ เู้ รยี นจำนวนมากได้เรียนรู้เน้ือหาสาระพร้อม ๆ กันไดใ้ นเวลาท่ีจำกัด (ทิศนา แขมมณ,ี 2547 อา้ งอิงใน ชนนิ ทร์ ตงั้ พานทอง, 2560) การเรียนออนไลน์ คือ การเรียนการสอนผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไม่ว่าจะเป็นวิทยุกระจายเสียง (Radio Broadcast) โทรทัศน์ (Television) ซีดีรอม/ดีวีดีรอม (CD-ROM/DVD-ROM) เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ดาวเทียม (Satellite Broadcast) โทรศัพท์มือถือ (Mobile Phone) เครื่องพีดีเอ (PDA) หรืออุปกรณ์ไร้สายต่าง ๆ โดยที่ผู้เรียน สามารถเข้าเรียนร้เู พื่อพฒั นาตนเองได้ตามอัธยาศัยได้ทุกทท่ี ุกเวลา ผา่ นทางเวบ็ ไซตใ์ นรปู แบบมลั ติมีเดีย ไม่ว่า จะเป็นข้อความ เสียง ภาพเคลอ่ื นไหว และวดี โี อ อีกทั้งผู้ใช้งานสามารถทำการโต้ตอบได้เสมือนการน่ังเรียนใน ห้องเรยี นปกติ นบั เปน็ การลดช่องว่างทางการศึกษาอย่างแทจ้ ริงทำให้ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้เท่าเทียมกัน 24 ช่ัวโมง (อาณัติ รตั นถริกลุ , 2553 อา้ งองิ ใน ประภาพิทย์ อนิ ทรชัย, 2555) สรุปได้วา่ การเรยี นออนไลน์ คอื การเรยี นบนอนิ เทอรเ์ น็ตดว้ ยตนเอง มเี ทคโนโลยเี ข้ามาเกยี่ วข้องโดย เรียนผา่ นส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นการเรยี นทสี่ ามารถเขา้ ถงึ ได้อยา่ งสะดวกและรวดเรว็ ไมจ่ ำกัดเวลาและสถานที่ 1.3 ความสำคัญของการเรยี นออนไลน์ การเรียนออนไลน์เป็นการเรียนที่ผู้สอนสามารถออกแบบโดยใช้สื่อที่หลากหลาย เช่น ข้อความ ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว เชื่อมโยงแหล่งความรู้เข้ามาในบทเรียนทำให้การเรียนมีความน่าสนใจมากขึ้น และผู้เรยี นสามารถเข้าเรียนได้ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ อกี ท้งั ยังสามารถเลอื กวชิ าเรียนไดต้ ามความต้องการ ประโยชน์ของการเรยี นร้แู บบออนไลน์ 1. เพ่มิ ประสิทธิภาพการเรียนการสอน 2. สนับสนุนการเรียนการสอน 3. เกดิ เครือขา่ ยความรู้ 4. เนน้ การเรยี นแบบผ้เู รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง ตรงตามหวั ใจของการปฏริ ปู การศึกษา 5. ลดชอ่ งวา่ งการเรยี นร้รู ะหว่างเมอื งและท้องถิ่น ดังนั้นรูปแบบการเรียนรู้แบบออนไลน์จึงมีความยืดหยุ่นสูง ผู้เรียนจะต้องมีความรับผิดชอบ มีความ กระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หาความรู้ใหม่ ๆ ตรงกับระบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง โดยมีผู้สอนเป็นเพียงผู้แนะนำ ที่ปรึกษา และแนะนำแหล่งความรู้ใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เรียน ผู้เรียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียนรู้ความก้าวหน้าได้จาก E-Mail การประเมินผลควร แบ่งเป็น การประเมินย่อย โดยใช้เว็บไซต์เป็นที่สอบ และการประเมินผลรวม ที่ใช้การสอบแบบปกติใน ห้องเรยี น เพ่อื เป็นการยืนยนั วา่ ผู้เรยี นเรียนจรงิ และทำข้อสอบจริงได้หรอื ไม่ อยา่ งไร ข้อดีของการเรียนออนไลน์ ข้อดี ได้แก่ การศึกษาตามอัธยาศัย การเสนอบทเรียนในลักษณะ มัลติมีเดีย การมีปฏิสัมพันธ์ การ สบื คน้ ข้อมลู และความเสมอภาคทางการศึกษา

9 1) การศึกษาตามอัธยาศัย ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ โดยการศึกษาด้วยตนเอง ตามความต้องการ และความพร้อมโดยปราศจากข้อจำกัดทางด้านเวลา และสถานที่ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องทิ้ง งานประจำเนื่องจากสามารถเลือกเวลาที่สะดวกของตนเอง ลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยังสถานท่ี ศกึ ษา เน้นผูเ้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในกรณที ีผ่ เู้ รียนมีพน้ื ฐานความรู้ต่างกนั 2) การเสนอบทเรียนในลักษณะมัลติมีเดีย ถ้าบทเรียนออนไลน์ได้รับการออกแบบอย่างดีจะทำให้ ผู้เรียนสามารถเห็นภาพจากสื่อต่าง ๆ อาจเป็นภาพเคลื่อนไหวมีเสียงประกอบทำให้มีความเข้าใจได้มากขึ้น โดยเฉพาะส่งิ ที่ไมส่ ามารถเหน็ ได้ดว้ ยตาเปล่าเชน่ โมเลกุล เซลล์ การทำงานของเครื่องยนต์ ฯลฯ เปน็ ต้น 3) การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การเรียนออนไลน์เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนผู้สอนผู้บริการทางวิชาการผู้เรียนอื่น ๆ ได้ในหลายรูปแบบสามารถศึกษาได้ซ้ำแล้วซ้ำ อีก ฝึกสถานการณ์จำลองทำแบบทดสอบตรวจสอบส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ปรึกษาออนไลน์กับผู้สอนการ ทำงานเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เรียนอื่น ฯลฯ เป็นต้นโดยใช้ช่องทางต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้ ได้แก่ บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) การสนทนาแบบออนไลน์ (Chat Room) กระดานสนทนา (Web Board) (1) บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) เป็นบริการที่ให้ผู้เรียนใช้ส่ง และรับจดหมายผ่าน เครอื ข่ายถึงกันได้ โดยผู้ส่งสามารถส่งขอ้ ความจากเครือขา่ ย งานทตี่ นใช้ไปยังผูร้ บั ทม่ี ีทอี่ ยู่ไดท้ ว่ั โลก (2) การสนทนาแบบออนไลน์ (Chat Room) เป็นบริการที่ผู้สนทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกันด้วย วาจาเหมอื นการใช้โทรศพั ทห์ รือพิมพ์ขอ้ ความโต้ตอบกนั ได้ (3) กระดานสนทนา (Web Board) เป็นบริการกลุ่มสนทนาทางเครือข่าย (Newsgroup) เป็นบริการ เพ่ือแลกเปลีย่ นขา่ วสาร - ผู้ที่สนใจข่าวสารประเภทใดประเภทหนึ่ง จะรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารซึ่งกันและ กนั - ผู้สอนสามารถตั้งประเด็นคำถาม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอภิปรายในประเด็นที่กำหนดไว้ เพือ่ แลกเปล่ียนความรู้ และประสบการณ์โดยสง่ ขอ้ ความผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ น้ี 4) การสืบค้นข้อมูลบนเครือข่าย (Online Search) ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงเข้าสู่เว็บเพจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ เพื่อเป็นการขยายขอบเขตขององค์ความรู้ โดยใช้บริการสืบค้นข้อมูลเวิร์ลไวด์เว็บ (www) และบริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ (file transfer) โดยบริการสืบค้นข้อมูลเวิร์ลไวด์เว็บ (www) เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีข้อมูลอยู่เป็นจำนวนมากที่ถูกเก็บบันทึกไว้ในคลังข้อมูลของระบบที่เชื่อมต่อ เป็นเครือข่ายทั่วโลก ข้อมูลข่าวสารที่นำเสนออาจอยู่ในรูปแบบของข้อความธรรมดาภาพเคลื่อนไหว รวมท้ัง ข้อมูลที่เป็นเสียง ส่วนการบริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอร์ (file transfer) ผู้ใช้เครอื ข่าย

10 ทีไ่ ด้รบั อนุญาต สามารถถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ในเครือข่ายเดียวกันหรือต่อเครือข่ายกันก็ได้ มาไว้ในเครือ่ งของตนไม่วา่ คอมพวิ เตอรน์ ัน้ จะอยู่ท่ใี ดก็ตาม 5) ความเสมอภาคในการศึกษา สามารถทำให้การศึกษามีความเท่าเทียมกันท่ัวประเทศ หรือระหว่าง ประเทศ ในกรณีที่มีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้เท่าเทียมกัน ทำให้มีมาตรฐานเดียวกันไม่ขึ้นอยู่กับ ผสู้ อนซ่งึ อาจมีความรคู้ วามชำนาญต่างกัน (สนุ ีย์ ศลี พิพัฒน์ และคณะ, 2551) 2. ปัจจยั ทีม่ ีความสัมพันธ์กบั ความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ 2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ความหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ศิริชัย กาญจนวาสี ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า เป็นการเรียนรู้ตามแผนที่กำหนดไว้ ล่วงหนา้ อนั เกดิ จากกระบวนการเรียนการสอนในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหน่ึง (ศิริชยั กาญจนวาสี, 2544) มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช ไดใ้ ห้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นว่า เปน็ การวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเป็นการวัดความสำเร็จทางการเรียน หรือวัดประสบการณ์ทางการเรียนที่ผู้เรียนได้รับจากการ เรียนการสอน โดยวัดตามจุดมุ่งหมายของการสอนหรือวัดผลสำเร็จจากการศึกษาอบรมในโปรแกรมต่าง ๆ (มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2546) ไพโรจน์ คะเชนทร์ ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า คือคุณลักษณะ รวมถึงความรู้ ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน หรือ มวลประสบการณ์ทั้งปวงที่บุคคลได้รับจาก การเรียนการสอน ทำให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านต่าง ๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซึ่งมี จุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการตรวจสอบระดับความสามารถสมองของบุคคลว่าเรียนแล้วรู้อะไรบ้างและมี ความสามารถดา้ นใดมากน้อยเท่าไร ตลอดจนผลที่เกดิ ข้นึ จากการเรียนการฝึกฝนหรือประสบการณต์ ่าง ๆ ท้ัง ในโรงเรยี น ท่ีบ้าน และส่ิงแวดลอ้ มอน่ื ๆ รวมทั้งความร้สู กึ ค่านิยม จรยิ ธรรมต่าง ๆ ก็เปน็ ผลมาจากการฝึกฝน ดว้ ย (ไพโรจน์ คะเชนทร์, 2556) สมพร เชื้อพันธ์ ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ ความสำเรจ็ และสมรรถภาพด้านต่าง ๆ ของผู้เรยี นทีไ่ ดจ้ ากการเรียนรอู้ นั เปน็ ผลมาจากการเรียน การสอน การฝกึ ฝน หรอื ประสบการณข์ องแต่ละบุคคลซงึ่ สามารถวัดไดจ้ ากการทดสอบด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ (สมพร เช้ือพนั ธ์, 2547 หน้า 53) พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดีสุข ไดใ้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่า หมายถึง ขนาด ของความสำเร็จที่ได้จากกระบวนการเรียนการสอน (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข , 2548, หน้า 125)

11 ปราณี กองจินดา ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า หมายถึง ความสามารถหรือ ผลสำเร็จ ที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรียนรู้ ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จำแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตามลักษณะของ วัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นการสอนทแี่ ตกตา่ งกัน (ปราณี กองจนิ ดา, 2549) สรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร ได้มาตามหลักการวัดและประเมินผล ที่ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ความคิดหรือพุทธิพิสัย ด้านอารมณ์และความรู้สึกหรือจิตพิสัย และด้านทักษะ ปฏิบัติหรือทักษะพิสัยที่ผู้สอนกำหนดไว้ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง สำหรับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์ ภาษาอังกฤษในการวิจัยครั้งนี้ หมายถึงความรู้ความเข้าใจความหมายของคำศัพท์ในบทเรียนภาษาอังกฤษ เรื่อง Animal World เรื่อง Leisure Activities และ เรื่อง Jobs และ ความสามารถในการนำคำศัพท์ไปใช้ใน การอา่ น การพูด การเขยี น และการฟัง โดยทั่วไปการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะวัดความรู้ความสามารถตามสาระที่เรียน ซึ่งส่วนใหญ่จะ เป็นด้านพุทธิพิสัยหรือด้านความรู้ เครื่องมือที่ใช้วัดส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบ เรียกว่า แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่าผู้เรียนเมื่อผ่านกระบวนการเรียนการสอนแล้ว ผู้เรียนจะมคี วามรู้อยู่ในระดับใด เพื่อที่ผู้สอนจะได้หาทางปรับปรงุ แก้ไข พัฒนา และส่งเสริมให้ผูเ้ รียนไดพ้ ัฒนา ความรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ แตก่ ารจะสร้างแบบทดสอบให้มีคุณภาพ ผู้สอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะ ของแบบทดสอบ การวางแผนการสร้าง หลักการสร้าง การเลือกชนิดของแบบทดสอบให้เหมาะสมกับเนื้อหา และการนำผลจากการสอบไปใช้ปรับปรุงและสรุปผลการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น (achievement tests) สมบูรณ์ ตันยะ (2545 : 143) ได้ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเป็น แบบทดสอบที่ใช้สำหรับวัดพฤติกรรมทางสมองของผู้เรียนว่ามีความรู้ ความสามารถในเรื่องที่เรียนรู้มาแล้ว หรือได้รับการฝึกฝนอบรมมาแล้วมากน้อยเพียงใด ส่วนพิชิต ฤทธิ์จรญู (2544 : 98) กล่าวว่า แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็น แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการที่ผู้เรียนได้ เรยี นร้มู าแล้ว วา่ บรรลผุ ลสำเร็จตามจุดประสงคท์ ี่กำหนดไว้เพยี งใด ดังนั้นสรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ และ ทกั ษะความสามารถจากการเรียนรูใ้ นอดตี หรือในสภาพปัจจบุ ันของแตล่ ะบุคคล ประเภทของแบบทดสอบ ไพโรจน์ คะเชนทร์ ได้จัดประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือแบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Teacher made tests) และแบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) ซึ่งทั้ง 2 ประเภทจะถามเนื้อหาเหมือนกัน คือถามสิ่งที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนการสอนซึ่งจัดกลุ่ม

12 พฤติกรรมได้ 6 ประเภท คอื ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการ ประเมิน (ไพโรจน์ คะเชนทร์, 2556) 2.1.1 แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเป็นแบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเองเพื่อใช้ในการทดสอบผู้เรียนในชน้ั เรียน แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ 2.1.1.1 แบบทดสอบปรนยั (Objective tests) ไดแ้ ก่ แบบถูก – ผิด (True-false) แบบจับคู่ (Matching) แบบเติมคำให้สมบรู ณ์ (Completion) หรือแบบคำตอบส้นั (Short answer) และแบบ เลือกตอบ (Multiple choice) 2.1.1.2 แบบอัตนัย (Essay tests) ได้แก่ แบบจำกัดคำตอบ (Restricted response items) และแบบไม่จำกัดความตอบ หรือ ตอบอยา่ งเสรี (Extended response items) 2.1.2 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เป็นแบบทดสอบที่สร้าง โดยผู้เชี่ยวชาญที่มี ความรู้ในเนื้อหา และมีทักษะการสร้างแบบทดสอบ มีการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ มีคำชี้แจง เกี่ยวกับการดำเนินการสอบ การให้คะแนนและการแปลผล มีความเป็นปรนัย (Objective) มีความ เที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) แบบทดสอบมาตรฐาน ได้แก่ California Achievement Test, Iowa Test of Basic Skills, Standford Achievement Test และ the Metropolitan Achievement tests เป็นตน้ พวงรัตน์ ทวีรตั น์ (2543) ไดจ้ ดั ประเภทแบบทดสอบไว้ 3 ประเภท ดังนี้ 2.1.3 แบบปากเปล่า เป็นการทดสอบที่อาศัยการซักถามเป็นรายบุคคล ใช้ได้ผลดีถ้ามีผู้เข้าสอบ จำนวนนอ้ ย เพราะตอ้ งใชเ้ วลามาก ถามไดล้ ะเอียด เพราะสามารถโต้ตอบกันได้ 2.1.4 แบบเขียนตอบ เป็นการทดสอบท่ีเปลี่ยนแปลงมาจากการสอบแบบปากเปล่า เนื่องจาก จำนวนผเู้ ขา้ สอบมากและมีจำนวนจำกดั แบ่งไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ 2.1.4.1 แบบความเรียง หรืออัตนัย เป็นการสอบที่ให้ผู้ตอบได้รวบรวมเรียบเรียงคำพูดของ ตนเองในการแสดงทัศนคติ ความรู้สึก และความคิดได้อย่างอิสระภายใต้หัวเรื่องที่กำหนดให้ เป็นข้อสอบท่ี สามารถวัดพฤติกรรมด้านการสังเคราะห์ได้อย่างดี แต่มีข้อเสียที่การให้คะแนน ซึ่งอาจไม่เที่ยงตรง ทำให้มี ความเปน็ ปรนัยไดย้ าก 2.1.4.2 แบบจำกัดคำตอบ เป็นข้อสอบที่มีคำตอบถูกใต้เงื่อนไขที่กำหนดให้อย่างจำกัด ข้อสอบแบบนแ้ี บง่ ออกเปน็ 4 แบบ คือ แบบถกู ผิด แบบเติมคำ แบบจบั คู่ และแบบเลือกตอบ 2.1.5 แบบปฏิบัติ เป็นการทดสอบที่ผู้สอบได้แสดงพฤติกรรมออกมาโดยการกระทำหรือลงมือ ปฏบิ ตั ิจรงิ ๆ เช่น การทดสอบทางดนตรี ชา่ งกล พลศกึ ษา เปน็ ต้น สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ แบบทดสอบมาตรฐาน ซ่ึง สร้างจากผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านวัดผลการศกึ ษา มีการหาคุณภาพเป็นอย่างดี ส่วนอีกประเภทหน่ึง คือ

13 แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการทดสอบในชั้นเรียน ในการออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คำศัพทเ์ พอ่ื การสอ่ื สาร ผวู้ จิ ยั ไดเ้ ลอื กแบบทดสอบทีผ่ ู้วิจัยสร้างข้นึ แบบปฏบิ ตั ิ ในการวดั ความสามารถในการนำ คำศัพท์ไปใช้ในการสื่อสารด้านการพูดและการเขียน และเลือกแบบทดสอบแบบเขียนตอบที่จำกัดคำตอบโดย การเลือกตอบจากตัวเลือกที่กำหนดให้ในการวัดความรู้ความเข้าใจความหมายของคำศัพท์ และการนำคำศัพท์ ไปใช้ในการฟงั และการอ่าน งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง คณุ วุฒิ คนฉลาด ,สิทธพิ ร นยิ มศรีสมศักดิ์ และ Zhou Xiaoyan (2557) ไดศ้ กึ ษาเร่อื งความสัมพันธ์ ระหว่างความพึงพอใจและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตจีนวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า ความพึงพอใจในแต่ละด้านกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตจีน วิทยาลัยนานาชาติมหาวิทยาลัยบูรพา มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้านพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตจีน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบรู พาอยู่ในระดับมาก 1 ด้าน ซึ่งเป็นด้านการจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้อาจเน่ืองจากการจัดการ เรยี นการสอนมีผลต่อผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนโดยตรง และเจตคตขิ องนสิ ติ ทีม่ ีตอ่ การเรยี นเป็นอีกปัจจัยหนึ่งท่ีมี ผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์, ไพบูลย์ เกียรติโกมล และปยิ ะมาศ เจริญพนั ธวุ งค์ (2544) พบว่า เจตคตทิ ีม่ ีตอ่ การเรียนมีผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ ซึ่งพบว่าในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนพยายามทำความรู้จักกับผู้เรียน ส่งเสริมความ ต้องการและความสนใจช่วยใหผ้ เู้ รียนเรยี นดีขึ้น ชณทัต บุญชวู งศ์ (2561 : 48-50) ได้ศกึ ษาปัจจัยด้านการเรียนออนไลน์ซ่งึ สอดคล้องกนั ดังน้ี 1. ความสามารถทางการเรียน คอื พืน้ ฐานทางการเรยี นรทู้ ่ีผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ในการแลกเปล่ียน ความคิดเห็นได้อย่างชาญฉลาดและใช้ความรู้ในการแสดงแนวคิดของตนเองเพื่อเป็นผลป้อนกลับเชิงบวกแก่ ผู้อื่นในระหว่างการดำเนินกจิ กรรมผ่านการเรียนออนไลน์เป็นความสามารถท่ีเกดิ จากการเรียนรู้ด้วยการเรยี น ออนไลนใ์ นอดตี ท่ีสง่ ผลถงึ ปจั จุบนั ประกอบดว้ ย 1.1 ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน คือ ความรู้ความสามารถที่สะสมจากการเรียนออนไลน์ใน อดีตทสี่ ง่ ผลถึงปจั จุบันเป็นไดท้ ้ังประสบการณ์ตรงและประสบการณ์ทางอ้อมจนผสานกันเป็นประสบการณ์เดิม ของผู้เรียนเพ่ือเชื่อมโยงในการเรยี นออนไลน์ทำให้ผู้เรียนเข้าใจมากขึ้นและเรียนรู้ได้เร็วขึ้นที่กลายเป็นพื้นฐาน ในการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นต่อไป 1.2 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้เรียน คือ การที่ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างชาญ ฉลาดในการเรียนออนไลน์ทำให้ผเู้ รียนแลกเปล่ียนเรยี นรสู้ ามารถแสดงความคิดของตนเองและให้ผลป้อนกลับ เชิงบวกแกผ่ ู้อื่นมกี ระบวนการตดั สินใจร่วมกนั และพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองผา่ นการส่อื สาร

14 1.3 ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งผู้เรยี นและกจิ กรรม คือ การท่ผี เู้ รยี นได้พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของ ตนเองผ่านการทำกิจกรรมผา่ นการเรียนออนไลน์จากการใชค้ วามรู้ในการแก้ไขปัญหาโดยทผี่ ู้เรยี นมสี ่วนร่วมใน การอภิปรายและไดแ้ สดงความคิดเห็นของตนเอง 2. ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ คือ การเรียนออนไลน์ที่ผู้สอนใช้เน้นกระบวนการเฝ้าสังเกตและ การติดตามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และอำนวยความสะดวกผู้เรียนในระหว่างกา รทำกิจกรรม ออนไลน์เป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เน้นการบูรณาการให้เกิดการแก้ปัญหาและมีโต้ตอบในการ เรียนรู้ร่วมกัน เพื่อให้เข้าใจถึงสภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้สอนสามารถวิเคราะห์ประเมินเพื่อพัฒนาการ สอนได้ซึง่ เกดิ จากการสะสมความรคู้ วามสามารถของผสู้ อนประกอบดว้ ย 2.1 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน คือ การที่ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นจากผู้สอนให้เกิด การพัฒนาทางการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้สอนได้รู้ถึงพัฒนาการของผู้เรียนการสื่อสารผ่านทางการ เรยี นออนไลน์ 2.2 การเฝ้าสังเกตและการติดตาม คือ กระบวนการที่ผู้สอนคอยเฝ้าสังเกตและติดตามการ เรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อให้เข้าใจถึงสภาพการเรียนรู้และพฤติกรรมของผู้เรียนผ่านการเรียนออนไลน์เพื่อการ ประเมินและปรับปรงุ กระบวนการสอน 2.3 การอำนวยความสะดวก คอื ในระหว่างกิจกรรมการเรียนผา่ นการเรยี นออนไลนผ์ ู้สอนให้ ความช่วยเหลือผู้เรียนในเรื่องต่าง ๆ โดยเน้นการส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน เพ่ือให้เกดิ การส่ือสารในการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ผ่านการแกป้ ัญหาและผลกั ดันใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นางานของตนเอง หรืองานทางการเรียนออนไลน์ 2.4 ประสบการณ์การสอน คือ ความรู้ความสามารถของผู้สอนที่เกิดจากการสะสม ประสบการณ์การสอนเพื่อนำมาออกแบบกระบวนการจัดการเรียนออนไลน์ให้เหมาะสมกับระดับความรู้และ ความต้องการของผู้เรียนรวมถึงความสามารถในการไตร่ตรองและแก้ปัญหาในระหว่างกระบวนการการเรียน การสอนได้ 2.5 กระบวนการจัดการเรียนรู้ คือ กระบวนการที่ผู้สอนจัดกิจกรรมการสอนผ่านทางการ เรียนออนไลน์ขึ้นมาเพื่อให้ผ้เู รียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์อันจะทำให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ ทักษะการแก้ปญั หาร่วมกนั เจตคตแิ ละค่านิยมทีด่ ี 2.6 สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ คือ การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ด้วยการเรียน ออนไลน์ทเ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรยี นรใู้ ช้ความรู้เป็นศูนย์กลางเพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ได้ ดว้ ยตนเอง 3. การใช้อุปกรณ์สารสนเทศ คือ การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ผ่านการทำกิจกรรมด้วย อุปกรณ์สารสนเทศการใช้อุปกรณ์สารสนเทศ เพื่อแบ่งปันข้อมูลความรู้และการแก้ไขเนื้อหาออนไลน์ตาม ลักษณะกิจกรรมการเรียนและสภาพการใช้งานของผู้เรียนเพื่อเกิดการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือให้เกดิ องค์ความรูแ้ ละกระบวนการแกป้ ัญหา ประกอบดว้ ย

15 3.1 การสง่ เสริมปฏสิ มั พันธ์ทางสงั คม คือ เปน็ การสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นไดเ้ กิดการเรียนรู้ผ่านการ ทำกิจกรรมโดยใชอ้ ุปกรณ์สารสนเทศเปน็ ช่องทางให้ผู้เรียนทุกคนได้แลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มแสดงความคิดเห็นมี ปฏสิ มั พนั ธ์ทางสังคมท่ดี แี ละสง่ เสริมการทำงานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ 3.2 การใช้เครื่องมือสร้างเนื้อหา คือ การใช้อุปกรณ์สารสนเทศเป็นช่องทางของในการ ติดต่อสื่อสารเพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนด้วยการทำงานร่วมกันและนำความรู้ไปสร้างเป็นเนื้อหา ตามความตอ้ งการและสภาพการใชง้ านของผู้เรียนทีส่ อดคล้องกบั ลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอน 3.3 การแลกเปลี่ยนข้อมูล คือกระบวนการที่ผู้เรียนสามารถจัดการเนื้อหาและข้อมูลต่าง ๆ เพื่อพัฒนาผลงานตนเองและสมาชิกกลุ่มบนอุปกรณ์สารสนเทศต่าง ๆ จากการสร้างหรือการแก้ไขเนื้อหา ออนไลนผ์ า่ นอุปกรณ์สารสนเทศเพ่อื แบ่งปันให้กบั สมาชิกในกลุ่ม ชาครติ อนันตวฒั นวงศ์ (2549 : 80) ได้ศกึ ษาผลการใชบ้ ทเรียนออนไลนแ์ บบเวบ็ เควสท์ ตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี น และปฏิสัมพันธ์ในการเรยี นวิชาถ่ายภาพทางการศึกษา ของนกั ศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์แบบเว็บ เควสทแ์ ตกต่างกันทร่ี ะดับนัยสำคญั 0.01 และลกั ษณะปฏิสัมพันธ์ของผเู้ รียนเป็นแบบรว่ มมือคือ ด้านลักษณะ ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนอยู่ในระดับปานกลางนอกจากนี้เจต คติต่อบทเรียนออนไลน์แบบเว็บ เควสทอ์ ยูใ่ นระดบั คอ่ นข้างดี ณัฐสินี ภาณุศานต์ (2553) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจจากการเรียนการสอน ออนไลน์ในเวลาเดียวกัน วิชาพื้นฐานศิลปะ เรื่องทักษะการบรรเลงดนตรีประเภทขลุ่ยรีคอร์เดอร์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพื้นฐานศิลปะเรื่องทักษะการบรรเลงดนตรีประเภทขลุ่ยรี คอรเ์ ดอร์ ของนักเรยี นโดยวธิ ีการสอนออนไลนใ์ นเวลาเดยี วกัน ศกึ ษาความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนท่ี มีตอ่ การเรยี นออนไลน์ในเวลาเดียวกนั วิชาศิลปะเรื่องทักษะการบรรเลงดนตรปี ระเภทขลยุ่ รคี อรเ์ ดอร์ เป็นการ วิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนไทยรัฐ วิทยา 93 (บ้านลาดตะเคียน) จำนวน 15 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั คือ 1)บทเรียนทักษะการบรรเลงดนตรีขลุย่ รีคอร์เดอร์ ผา่ นการเรยี นการสอนออนไลน์ ในเวลาเดียวกัน 2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการบรรเลงดนตรีขลุ่ยรีคอร์เดอร์ผ่านการ เรียนการสอนออนไลน์ในเวลาเดียวกัน 3)แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนในเวลา เดียวกนั สถิติทใี่ ชค้ ือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเลีย่ งเบนมาตรฐาน และ Dependent Samples t-test ผลการศึกษาพบว่า 1)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนออนไลน์ในเวลาเดียวกันหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2)นักเรียนมีความพึง พอใจในการเรียนการสอนออนไลน์ในเวลาเดียวกัน วิชาพื้นฐานศิลปะเรื่องทักษะการบรรเลงดนตรีประเภท ขลุ่ยรีคอรเ์ ดอร์ อยู่ในระดับดมี าก นิตยา ศรีคง (2557) ได้ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการเปิดรับความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์จาก หนงั สอื พิมพ์ออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุม่ สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์ พบว่านักศึกษาที่อ่าน สง่ิ พิมพ์ออนไลนจ์ ะเลอื กอา่ น แต่เรือ่ งทีส่ นใจโดยนกั ศึกษาสว่ นใหญ่อา่ นหนังสือพิมพ์ออนไลน์ท่ีบ้านเฉพาะเร่ือง ที่สนใจโดยนยิ มอ่านข่าวบันเทิงมากทีส่ ดุ ในด้านความพึงพอใจพบว่าโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมากเมื่อพิจารณา

16 พบว่ามีความพึงพอใจในการประหยัดค่าใช้จ่ายสามารถย้อนกลับมา ดูได้ตามความต้องการและได้รับข้อมูล ข่าวสารที่มีความหลากหลายทั้งในและต่างประเทศและด้านความคาดหวังจากการใช้ประโยชน์และความพึง พอใจจากการอ่านหนังสือพิมพ์ออนไลน์พบว่าอยู่ในระดับมากโดยส่วนมากใช้เพื่อติดตามข่าวสารความ เคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในแต่ละวันให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอและเพื่อประโยชน์ในการแสวงหาข้อมูลข่าวส าร ย้อนหลงั และเพือ่ ความบนั เทิงผอ่ นคลายความตงึ เครียด นงลกั ษณ์ จิว๋ จู (2562) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นรายวิชาการบญั ชีต้นทนุ 1 โดยการสอนแบบ E-learning โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการบัญชีต้นทุน 1 โดยการสอน แบบ E-learning และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อสื่อการจัดการเรียนการสอนแบบ E-learning กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักศึกษา 23 คน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอด ที่ลงทะเบียน เรียนบทเรียน E-learning รายวิชาการบัญชีต้นทุน 1 ในปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การ จัดการเรยี นการสอนโดยใช้บทเรยี น E-learning แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบประเมิน ค่าประสิทธิภาพการเรียน และแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ ผลการศึกษาพบว่า คะแนนหลังเรียนมี คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน 86.30/41.60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนประสิทธิภาพมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 85.83/86.30 และความพึงพอใจที่มีต่อสื่อการจัดการเรียนการสอนแบบ E-learning อยู่ใน ระดบั มาก พัชรา คงเหมาะ (2560) ได้ทำวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาห้องเรียนออนไลน์สำหรับอาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีพบว่าปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นสำหรับผู้สอนในการใช้ห้องเรียน ออนไลน์คือการไม่มีเวลาในการจัดทำและการปรับปรุงเนื้อหาของบทเรียนมีจำนวนภาระงานสอนที่มากมีงาน อื่นทีส่ ำคัญกวา่ จะต้องกระทำขาดแรงจงู ใจในการใชง้ านรวมถงึ ความพร้อมของส่ิงอำนวยความสะดวกในการใช้ งานแนวทางในการพัฒนาห้องเรียนออนไลนค์ ือควรส่งเสริมการใชง้ านให้มากข้นึ ควรกำหนดนโยบายการใช้งาน ห้องเรียนออนไลน์ในการเรียนการสอนกำหนดตัวชี้วัดด้านการจัดการเรียนการสอนมีการจัดอบรมเชิง ปฏิบัติการเพอื่ สร้างใหเ้ กดิ ความเข้าใจและมีการตดิ ตามประเมนิ ผลการเข้าใช้งานห้องเรยี นออนไลน์ สวุ ลี บวั สุวรรณ์ พฒั นาพร ดอกไม้ และปญั ญาพร แสงสมพร (2556) ศึกษาปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นในรายวชิ าทใ่ี ช้ระบบอีเลิร์นนิงเติมเต็มการเรยี น มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านต่าง ๆ ที่สนับสนุนการใช้ระบบอีเลิร์นนิงเติมเต็มการเรียนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้ข้อมูลที่จะนำมาปรับปรุงการให้บริการระบบอีเลิร์นนิง แกน่ ักศึกษาในการใชร้ ะบบอีเลริ ์นนิงเตมิ เต็มการเรยี น มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร กล่มุ ตัวอย่าง เปน็ นกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จำนวน 169 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2556 ไดจ้ ากการใช้วธิ กี ารสุ่มกลุ่มตัวอยา่ งแบบง่าย (Sample Sampling) ผลการวจิ ยั พบวา่ 1)โครงสรา้ งพ้ืนฐานของ มหาวิทยาลัยมีความสำคัญต่อการเรียนการสอนด้วยระบบอีเลิร์นนิงมากที่สุด 2)ประโยชน์จากการใช้ระบบอี เลิร์นนิงต่อการเรียนการสอนมีความสำคัญต่อการเรยี นการสอนด้วยระบบอีเลิร์นนิงของนักศึกษาในระดับมาก 3)อาจารย์ บุคลากร และเจ้าหน้าที่สนับสนุนต่อการเรียนการสอนด้วยระบบอีเลิร์นนิงมีความสำคัญมาก

17 หากนักศึกษาได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสำเร็จ 4)ความพร้อม ของนักศึกษาต่อการเรยี นการเรียนการสอนด้วยระบบอเี ลิร์นนงิ มีความสำคญั ในระดับปานกลาง นักศึกษามอง ความพร้อมของตัวเองเป็นประเด็นรองลงมาที่จะทำให้การเรียนการสอนด้ วยระบบอีเลิร์นนิงประสบ ความสำเร็จ 5)ด้านระบบสนับสนุนอีเลิร์นนิงต่อการเรียนการสอนด้วยระบบอีเลิร์นนิง มีความสำคัญในระดับ ปานกลาง ความสะดวกในการเข้าใช้ระบบนั้นไม่ได้มีความสำคัญมากที่จะทำให้การเรียนการสอนด้วยระบบอี เลิร์นนิงประสบความสำเรจ็ จากข้อสรุปและการอภิปราย ทำให้ทราบว่ามหาวทิ ยาลัยควรปรับปรงุ โครงสร้าง พืน้ ฐานของมหาวิทยาลัย ท้ังในส่วนเทคโนโลยเี ครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ และอาคารสถานที่ท่สี ำคัญอีกประเด็นคือ การสนับสนุนให้อาจารย์ใช้ระบบอีเลิร์นนิงในกระบวนการเรียนการสอนเพื่อเติมเต็มให้นักศึกษาหาความรู้ เรยี นไดอ้ ยา่ งกว้างขวางและมีประสทิ ธิภาพข้นึ สุวิมล ระวัง (2554) ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ศึกษาปัจจัยด้านผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตมหาวิทยาลัย รามคำแหง ศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการอินเทอร์เน็ตในมหาวิทยาลัยรามคำแหง และวิเคราะห์ พฤติกรรมกบั ผู้ใหบ้ ริการอินเทอร์เน็ตมหาวทิ ยาลยั รามคำแหง กลุม่ ตัวอย่างที่ใชเ้ ป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2554 ของมหาวิทยาลยั รามคำแหง จำนวน 420 คน คำนวณจากสูตรการหาจำนวนกลุ่มตัวอย่าง แบบทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน (Finite Population) ใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ (Yamane, 1973 อ้าง ใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) กลุ่มตัวอยา่ งใชก้ ารสุม่ ตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภมู ิ (Stratified Random Sampling) และแบบสะดวก Convenience Sampling) เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาเพื่ออธิบายลักษณะทั่วไปของกลุ่มข้อมูล สถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบ สมมติฐาน คือการทดสอบ Independent Sample t-test กับกลุ่มตัวอย่างที่มี 2 กลุ่ม และวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) กับกล่มุ ตัวอย่างท่ีมีมากกวา่ 2 กลุ่ม ถา้ พบความแตกต่างจะทดสอบ ความแตกต่างเปน็ รายคู่ ดว้ ยวธิ ี Least Significant Difference (LSD) โดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางสถติ ิ ผล การศกึ ษาพบว่า 1)ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ของกล่มุ ตวั อยา่ ง ลกั ษณะประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ เป็นสิ่งที่ทำให้บุคคลแตกต่างกันและจะส่งผลต่อการศึกษาที่แตกต่างกัน 2)ปัจจัยด้าน พฤติกรรม พบว่าช่วงเวลาที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ตมากที่สุด คือ 12:01 ถึง 15:00 น สถานที่ใช้บริการ อนิ เทอรเ์ นต็ มากท่ีสุดคือ บา้ นและหอพัก 3)ปัจจัยด้านผู้ใหบ้ ริการ พบวา่ เจา้ หน้าที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้ บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็ โดยวธิ กี ารจดั โปรแกรมเพ่อื ชว่ ยในการสอนวิธกี ารเข้าใช้ ศันสนีย์ เลี้ยงพาณิชย์ (2555) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจจากการใช้เว็บเครือข่ายสังคม เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนจากการใช้เว็บ เครือข่ายสังคมเป็น เครอื่ งมือในการจัดการเรียนการสอน และศกึ ษาความพึงพอใจของนักศึกษาจากการจัดการเรียน การสอนโดย ใช้เว็บเครือข่ายสังคม โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาโปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ชั้นปีที่ 3 ที่

18 ลงทะเบียนเรียนในรายวชิ าการบริหารโครงการ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เว็บเครือข่าย สงั คม แผนการเรียนรแู้ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรู้ก่อนเรียนและหลงั เรยี นและแบบสอบถามความ พึงพอใจ ของนักศึกษาการวิเคราะห์ใช้ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าที (pairedsamplest-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนโดยใช้เว็บ เครือข่ายสังคมเป็นเครื่องมือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ความพึงพอใจของ นกั ศึกษาจากการเรียนโดยใช้เวบ็ เครือขา่ ยสังคมเป็นเคร่ืองมืออยู่ในระดบั มากท่ีสดุ 2.2 การรับรู้แหลง่ สนบั สนนุ ความหมายของอุปกรณส์ ารสนเทศ อุปกรณ์ หมายถงึ เครอื่ งมอื , เครือ่ งใช้, เคร่ืองช่วย, เคร่อื งประกอบ สารสนเทศ หมายถึง การนำความรู้ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตโดยผ่านกระบวนการ ประมวลผลเพ่ือให้สามารถสร้างสรรค์สงิ่ ต่าง ๆ มาใชแ้ กป้ ญั หาหรือตอบสนองความต้องการของมนุษยไ์ ด้ กิตติ ภักดีวัฒนะกุล (2546 : 281-282) ได้ให้ความหมายของระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง การรวบรวมองค์ประกอบต่าง ๆ (ข้อมูล การประมวลผล การ เชื่อมโยงเครือข่าย) เพ่ือ นำเข้า (Input) สู่รูปแบบใด ๆ แล้วนำมาผ่านกระบวนการบางอย่าง (Process) ที่อาจใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเพ่อื เรียบเรียงเปลี่ยนแปลงและจัดเก็บเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ (Output) คือ สารสนเทศที่สามารถใช้สนับสนุนการ ตดั สนิ ใจได้ สรุปได้ว่า อุปกรณ์สารสนเทศ หมายถึง เครื่องมือที่ผ่านกระบวนการประมวลผลเพื่อให้สามารถ สรา้ งสรรคส์ ่งิ ต่าง ๆ มาใช้แก้ปัญหาหรอื เป็นเครอ่ื งท่ีชว่ ยตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ ความสำคัญของสารสนเทศ ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทุกคนสามารถรับข่าวสารสืบค้นสารสนเทศและเผยแพร่สารสนเทศได้ อย่างรวดเร็วสารสนเทศเป็นสง่ิ ที่มคี วามสำคญั ต่อสังคมในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นการดำเนินชีวิตประจำวันของ คนทั่วไปต่อเศรษฐกิจและต่อสังคมหากบุคคลใดไม่ใช้หรือก้าวไม่ทันสารสนเทศอาจทำให้เสยี โอกาสหรือไม่ทัน เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ไดส้ ารสนเทศมคี วามสำคัญสามารถสรุปไดด้ ังนี้ (อาภากร ธาตุโลหะ, 2547: 23) 1. ด้านการเรียนการสอนในปัจจุบันสารสนเทศถูกเผยแพร่หลายรูปแบบเช่นสื่อที่เป็นสิ่งพิมพ์สื่อโสต ทัศน์วัสดุและสื่ออิเล็กทรอนิกส์สามารถค้นหาในเวลาอันรวดเร็วและมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนผู้เรียน และผู้สอนต้องเลือกสารสนเทศที่มีคุณค่าและตรงกับสาขาวิชาที่ต้องการให้มากที่สุดจะช่วยให้การเรียนการ สอนมปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน 2. ด้านการศึกษาคน้ คว้าวจิ ัยมดี งั น้ี 2.1 สามารถใชป้ ระโยชน์จากความรูแ้ ละวิธกี ารท่ีมีอยู่แลว้ ไปถา่ ยทอดในทอ่ี นื่ ๆ ได้ เช่น สอน บรรยายองค์ความรสู้ าธิตหรอื ปฏิบัตใิ ห้แกก่ ลมุ่ บุคคลและชมุ ชน

19 2.2 สามารถวางแผนและจัดระบบการวจิ ยั และพฒั นาโดยอาศัยองค์ความรู้ท่ีได้จากท่อี ืน่ มาใช้ ในหนว่ ยงานหรือองคก์ ร 2.3 ทำให้มฐี านความรูท้ ่ีกว้างขวางสามารถเลอื กสารสนเทศที่มีอยู่เพื่อนำมาแก้ไขและป้องกัน ปัญหาทั้งในปจั จุบนั และอนาคต 2.4 ช่วยในการวางแผนและตัดสินใจในการดำเนินงานต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล 3. ดา้ นสังคมจากการรบั รสู้ ารสนเทศของบคุ คลกอ่ ให้เกดิ ประโยชนค์ ือ 3.1 การตัดสินใจในชีวิตประจำวันในทุก ๆ เรื่องเช่นการตัดสินใจซื้อสินค้าต่าง ๆ การเลือก ค่คู รองการเดนิ ทางหลักการปฏิบัติตนในระบอบประชาธปิ ไตยลว้ นตอ้ งอาศยั สารสนเทศท่ีมคี ณุ คา่ ประกอบ 3.2 ความเข้าใจอันดีระหว่างกันในสังคมปัจจุบันบุคคลที่อยู่ร่วมกันในโลกซึ่งแตกต่างกันใน ด้านเช้ือชาติศาสนาขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวัฒนธรรมสามารถอยรู่ ว่ มกนั ได้โดยรับรสู้ ารสนเทศท่ีแตกต่าง กนั แล้วนำมาปรับเขา้ หากนั ทำใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและยังช่วยใหม้ ีโลกทศั นท์ ี่กวา้ งขวาง 3.3 การสร้างค่านิยมและทัศนคติที่ดตี ่อสังคมการที่ประชาชนในประเทศได้รับสารสนเทศใน ทกุ รปู แบบโดยไม่มขี ีดจำกดั สามารถสร้างคา่ นิยมและทัศนคติทดี่ ใี หเ้ กดิ ขึน้ ในสงั คมได้ 3.4 การเมืองสารสนเทศจำเป็นสำหรับประเทศที่กำลังพัฒนาซึ่งต้องพึ่งพาองค์ความรู้จาก ประเทศท่พี ฒั นาแล้วเน่ืองจากประเทศที่กำลังพฒั นายังไมม่ ีความพร้อมในการผลติ สารสนเทศบางประเภท 4. ด้านวัฒนธรรมสารสนเทศก่อให้เกิดการถ่ายทอดวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่องทำให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ วัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิหลังของประเทศชาติก่อให้เกิดความภูมิใจความรักความสามัคคีและความมั่นคงใน ชาติ 5. ด้านงบประมาณและเวลาสารสนเทศทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาเนื่องจากผู้ใช้สามารถนำ สารสนเทศหรือองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นมาใช้ต่อยอดได้แล้วทำให้เกิดข้อมูลในเชิงลึกทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและ เวลาในการเขา้ ถึงข้อมลู แต่ละเรื่อง 6. ด้านวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ ในยุคสังคมข่าวสารเทคโนโลยีถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ประกอบกบั การแสวงหาสารสนเทศอยู่เป็นประจำทำให้ทราบการพัฒนาทางวิทยาการและเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ได้ ทนั ทว่ งทีและเมื่อนำไปใชป้ ระโยชน์จะชว่ ยให้เกิดเป็นผลดตี ่อการพฒั นาประเทศ การใช้อปุ กรณ์สารสนเทศ 1. บนั ทกึ และจัดเกบ็ ข้อมูลเป็นการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อใช้ในการประมวลผลการรวบรวมข้อมูลจะ ใช้อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ เครื่องอ่านบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องอ่านบาร์โค้ด บัตรแถบ แมเ่ หล็ก 2. การประมวลผลข้อมูลที่รวบรวมจากอุปกรณ์รับข้อมูลและจากสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ เช่น แผ่น ดสิ เกตต์ แผน่ ซีดีและแผน่ ดวี ดี ี จะถกู นำมาประมวลผลตามโปรแกรมหรือคำสง่ั ท่ีกำหนด 3. การแสดงผลเป็นการนำผลลัพธ์ท่ีได้จากการประมวลผลไปแสดงยังอุปกรณท์ ่ีทำหนา้ ท่ีแสดงผลการ แสดงผลลพั ธ์อาจอยใู่ นรูปของตวั อกั ษรภาพเสยี งและสือ่ ประสมตา่ ง ๆ เช่นเคร่อื งพิมพ์

20 4. การสื่อสารและเครือข่ายเป็นการส่งขอ้ มูลและสารสนเทศที่หนึ่งไปยังอีกทีห่ นึ่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ และอปุ กรณ์สื่อสารสามารถทำงานได้หลากหลายมากขนึ้ โดยเฉพาะการใช้อุปกรณแ์ ละสารสนเทศร่วมกัน การ เชอื่ มต่ออาจผา่ นทางสายโทรศัพทท์ างอากาศและสายเคเบิล ประโยชนท์ ่ไี ด้จากการใช้อุปกรณ์สารสนเทศ 1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็วโดยใช้โทรศัพท์เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต 2. ชว่ ยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาลซ่ึงผลติ ออกมาในแตล่ ะวนั 3. ชว่ ยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปทสี่ ามารถเรยี กใชไ้ ดค้ รง้ั แล้วครั้งเลา่ อยา่ งสะดวก 4. เพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตสารนิเทศ เชน่ ช่วยนกั วทิ ยาศาสตร์วิศวกรในการคำนวณตวั เลขท่ียุ่งยาก ซบั ซ้อนซงึ่ ไม่สามารถทำให้สำเร็จได้ดว้ ยมือ 5. สามารถจัดระบบอัตโนมัตเิ พื่อการเก็บเรยี กใช้และประมวลผลสารนเิ ทศ 6. สามารถจำลองแบบระบบการวางแผนและทำนายเพือ่ ทดลองกับสงิ่ ที่ยังไมเ่ กดิ ข้นึ 7. อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศดีกว่าสมัยก่อนทำให้ผู้ใช้สารนิเทศมีทางเลือกที่ดีกว่ามี ประสิทธิภาพกว่าและสามารถแข่งขนั กับผู้อนื่ ได้ดีกว่า 8. ชว่ ยใหก้ ารตดั สินใจที่ดีข้ึนจากการมีสารสนเทศประกอบการตดั สนิ ใจและพิจารณาทางเลือกภายใต้ เง่ือนไขตา่ ง ๆ 9. ลดค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นผลมาจากการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ประหยัดเวลาการทำงานหรือลด ค่าใช้จ่ายในการทำงานลง 10. พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนโดยมีการค้นคว้าผ่านระบบเครือข่ายเพิ่มโอกาสให้นักศึกษา สามารถสืบคน้ ขอ้ มลู ได้จากสถานท่ีอืน่ นอกมหาวทิ ยาลัยเป็นการฝกึ ใหร้ จู้ ักเรยี นรดู้ ้วยตนเองมากขนึ้ 11. เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานทั้งในด้านความเที่ยงตรงความรวดเร็วในความต้องการใช้ข้อมูล ข้อมูลมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และสามารถตรวจสอบข้อมูลได้อย่าง ถกู ต้อง 12. ช่วยในการรื้อปรับระบบ (reengineering) และพัฒนาระบบสอดคล้องกับความต้องการของ องค์การได้อย่างต่อเนื่องโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือการปรับระบบและพัฒนาระบบให้ ทนั สมยั อย่เู สมอ งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง กฤษฎา แก้วผุดผ่อง (2558) ได้ศึกษาเกี่ยวกับสภาพการใช้ปัญหา และความต้องการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สภาพการใช้ ปัญหา และความต้องการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรหอสมุด และคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ผลการวิจัยพบว่าบุคลากรส่วนใหญ่ของหอส มุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดลมีวัตถุประสงค์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสืบค้นสารสนเทศผ่าน ระบบออนไลน์ (X= 4.22, SD=0.630) มีการใช้งานโปรแกรมประเภทระบบงานต่าง ๆ ภายในห้องสมุด เช่น

21 Millennium เป็นต้น (X= 3.89, SD=0.805) และมีการใช้งานเคร่ืองมือ อุปกรณ์ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น PC / Notebook เป็นต้น (X= 3.80, SD=0.953) รวมถึงการใช้งานผ่านระบบเครือข่ายไร้สายของ มหาวิทยาลัยมหิดล (MU-WiFi) (X= 3.47, SD=1.234) ปัญหาการใช้งานที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือการขาดแคลน เครื่องมือและอุปกรณ์สำรองสำหรับใช้งานเมื่อเครื่องมือและอุปกรณ์หลักเสียหาย (X= 3.57, SD=1.080) สำหรับความต้องการของบุคลากรที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือต้องการให้หน่วยงานมีการสนับสนุนให้บุคลากรมี เครื่องมือและอปุ กรณใ์ ช้ในการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งเพียงพอ (X= 4.37, SD=0.661) นิสัย จันทร์เกตุ (2558) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้งานสารสนเทศเพื่อการศึกษาที่มีผลต่อ ความสำเร็จในการเรียนของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคชัยนาทมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้ งานสารสนเทศเพื่อการศึกษา จำแนกตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคชัยนาท ผล การศึกษาพบว่า 1) นักเรยี นของวิทยาลยั เทคนิคชยั นาทมีการใช้งานสารสนเทศเรียงลำดับมากไปหาน้อยผ่าน ทางสมาร์ทโฟน (โทรศัพท์) คอมพิวเตอร์พกพา เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่พักอาศัย เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ โรงเรียนและทางเครื่องคอมพิวเตอร์ในร้านอินเทอร์เน็ต 2) ผลการวิเคราะห์การใช้งานสารสนเทศเพื่อ การศึกษาของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคชัยนาทจำแนกตามผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนพบวา่ ด้านการเรียนเนื้อหา แบบออนไลน์ การใช้งานสารสนเทศด้วยระบบสืบค้นเพื่อการศึกษา เช่น Google, Yahoo แตกต่างกันส่งผล ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 3) ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้ งานสารสนเทศของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคชัยนาทจำแนกตามผลสัมฤทธิ์การเรียนพบว่า ช่วงเวลาใช้งาน สารสนเทศ แตกต่างกันส่งผลตอ่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ 0.05 โปรดปราน พิตรสาธร (2545) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จทางการเรียนของพนักงาน ธนาคารกสิกรไทย ที่ได้รับการเรียนร้ผู ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) พบวา่ มีสว่ นประกอบหรือปัจจัยท่ีมี อิทธิพลหรือส่งผลต่อความสำเร็จทางการเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์สารสนเทศ ได้แก่ 1) ผู้เรียนและผู้ใช้ต้องมีความ พร้อมที่จะเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น มีทักษะในการวางแนวทางการเรียนรู้ของตน (Self- guided) รวมทั้งรู้จักควบคุมและตรวจสอบการเรียนของตน (Self-monitoring) นอกจากนี้การสร้างแรงจูงใจ ในการเรียนก็เป็นสิ่งสำคัญกล่าวคือหากผู้เรียนขาดแรงจูงใจในการเรียนซึ่งเกิดได้จากลักษณะของผู้เรียนเอง หรือเกิดจากการที่ผู้สอนไม่ได้ให้เวลาในการสอนหรือเกดิ จากการออกแบบการสอนท่ีไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพก็จะทำ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความวิตกกังวลและไม่ได้ผลตามวัตถุประสงคท์ ี่ได้ตั้งไว้ 2) ผู้สนับสนนุ จากสถาบัน ต้องมีบุคลากร ผู้ดูแลและใหค้ ำปรึกษาเพื่อให้เกิดการพัฒนาในการเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์สารสนเทศ โดยผู้บริหารเป็นปัจจยั แรก ทจี่ ะส่งผลต่อการเรียนออนไลน์ ประสบความสำเร็จน้ันมาจากตวั ผ้นู ำองค์กร หรอื ผบู้ ริหารสถานศึกษาที่ต้องมี วิสัยทัศน์เปิดกว้าง มีเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนและการให้ความสนับสนุนต่าง ๆ อีกทั้งกลุ่มผู้ออกแบบ และสรา้ งบทเรยี นเพื่อให้มีหลักสูตรที่เหมาะสมแกผ่ เู้ รยี น และเปน็ ไปตามท่ีกำหนดไว้ 3) สอ่ื การสอนเป็นความ เสมือนจรงิ ของบทเรยี น ความสามารถในการเปล่ยี นแปลงเนื้อหาและเรียนรูส้ ามารถในการมองเหน็ เน้ือหาเป็น รูปธรรมมากขึ้น ซึ่งรูปแบบที่เหมาะสมของบทเรียนเป็นรูปแบบการนำเสนอที่สามารถสื่อสารให้เข้าใจง่าย มี ความเหมาะสมกับผู้เรียนท่ตี ้องการเรยี นดว้ ยตนเอง บทเรียนทีด่ ีสามารถชว่ ยทำใหส้ ิ่งที่ซบั ซ้อนเข้าใจได้ง่ายขึ้น

22 ช่วยทำให้มองเห็นกระบวนการบางอย่างท่ีตอ้ งใชเ้ วลายาวนานแต่สามารถย่นยอ่ ระยะเวลาของกระบวนการนั้น ให้ใช้เวลาสั้นลงได้สามารถทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้กลายเป็นรูปธรรมเข้าใจได้ง่ายขึ้น 4) เทคโนโลยี เป็น เครื่องมือที่จะนำไปใช้การวางแผนในการพัฒนาและการถ่ายทอดการเรยี นออนไลน์เพื่อเตรียมสภาพแวดล้อม ให้รองรับการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนรู้ผ่านสื่ออุปกรณ์สารสนเทศ ความพร้อมของเครือข่ายการสื่อสาร ความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ความสะดวกในการใช้งานที่จุดใช้งาน (Access) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการ พัฒนาการเรยี นออนไลน์ ให้เกดิ ความเขา้ ใจระหวา่ งผู้เรียน ผู้สอน และผทู้ ำระบบ ให้มีความสอดคลอ้ งกนั พชร ลิ่มรัตนมงคล และจิรัชฌา วิเชียรปัญญา (2556) ได้ศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร็จของการเรียน ออนไลนข์ องผเู้ รียนโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไ์ ทย พบว่าปจั จยั แห่งความสำเรจ็ ของการเรยี นออนไลน์ ด้าน เทคโนโลยี ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x =3.89) เมื่อพิจารณารายละเอียด พบว่า อยู่ในระดับมากทุกเรื่องอาทิ ผู้ใช้สามารถแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้และถูกต้องตามความเป็นจริง ( x = 4.00) มีระบบการ ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนที่หลากหลาย เช่น ห้องสนทนา กระดาน ข่าวหรือเฟซบุ๊ค (x= 3.97) ซึ่งมีความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร ผลการศึกษาดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัย ของชม ภูมิภาค (2543) ที่สรุปว่า เทคโนโลยีที่ผสมผสานภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และข้อความเข้าด้วยกัน โดยใช้ระบบคอมพวิ เตอรช์ ่วยในการแสดงผล นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นการสอน เช่น คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน กิจกรรม เพื่อการศึกษาที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในปัจจุบันนี้ได้แก่วิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา วิทยุโรงเรียน โทรทศั น์เพ่ือการศกึ ษา การสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม ระบบประชมุ ทางไกล ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์และ อินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้ เวชวริ ิย พาณิชย์ (2544) ได้เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มทดลองเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับกลุ่มควบคุมเรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติและหาประสิทธิภาพบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปด้านกราฟิกกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิคลพบุรีจำนวน 30 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่มกลุ่มละ 15 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมผลการวิจัยพบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี ประสทิ ธภิ าพ 91.26 เปอร์เซ็นต์ซง่ึ อยใู่ นเกณฑ์ดผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการสอนดว้ ยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอนกับการสอนปกติแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ 0.05 โดยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ให้ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงกว่าการสอนแบบปกติ 3. ความพึงพอใจในการเรยี นออนไลน์ ความหมายของความพงึ พอใจ ความพงึ พอใจ ตรงกับคำในภาษาองั กฤษว่า Satisfaction ไดม้ ีผูใ้ หค้ วามหมายของ ความพึงพอใจ ไวห้ ลาย ความหมายดังน้ี ฉตั รชัย คงสุขม, (2535 หนา้ 21 อ้างอิงใน Oskamps. n.d.) พบว่าความพงึ พอใจมีความหมาย ดังนี้ 1. ความพงึ พอใจ คอื สภาพการณ์ผลการปฏิบตั จิ ริงได้เปน็ ไปตามบุคคลทีไ่ ด้คาดหวงั ไว้

23 2. ความพึงพอใจ คือ ระดบั ความสำเรจ็ ทีเ่ ป็นไปตามความต้องการ 3. ความพึงพอใจ คอื การที่งานได้เปน็ ไปตามความสนองต่อคุณค่าของบคุ คล ชริณี เดชจินดา (2536) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจหมายถึง “ความรู้สึกหรือทัศนคติที่มีต่อสิ่งใดส่ิง หนึ่งหรือปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการของบุคคลได้รับการตอบสนอง หรอื ลดลงหากความตอ้ งการนัน้ ไมไ่ ด้รับการตอบสนอง” ชวลิต เหล่ารุ่งกาญจน์ (2538 หน้า 9) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความรู้สึกทางบวก ความรู้สึกทางลบ และความสุขที่มีความสัมพันธ์กันอย่างสลับซับซ้อน โดยความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อ ความรสู้ กึ ทางบวกมากกว่าความรู้สกึ ทางลบ ทวีศิลป์ สารแสน (2543 : 164) กล่าวว่า ความพึงพอใจของมนุษย์ หมายถึงคุณลักษณะทางจิต หรือ ทางอารมณ์ความรู้สึก หรือทัศนคติของบุคคลที่มีในเชิงบวก อันเนื่องมาจากสิ่งเร้า และแรงจูงใจต่อกิจกรรมที่ ทำซึ่งปรากฏออกมาทางพฤติกรรมและเปน็ องค์ประกอบทส่ี ำคัญในการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของบคุ คล ประสาท อิศรปรีดา (2547 : 321) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบหรือพอใจที่มีต่อ องค์ประกอบหรือส่ิงจงู ใจในดา้ นต่าง ๆ ของงาน และเขาได้รับการตอบสนองความตอ้ งการของเขาได้ พิสุทธา อารีราษฎร์ (2550 : 176) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อส่ิง หน่งึ ส่ิงใดโดยเฉพาะ ความร้สู กึ นั้นทำให้บุคคลเอาใจใสแ่ ละบรรลถุ ึงความมงุ่ หมายทบี่ คุ คลมีตอ่ ส่ิงนัน้ มนต์ชัย เทียนทอง (2548 : 318 - 319) ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพความรู้สึกของบุคคลที่มี ความสุข ความอิ่มเอมใจ ความยินดี เมื่อความต้องการหรือแรงจูงใจของตนได้รับการตอบสนอง ความหมาย ทางด้านจิตวิทยา หมายถึง ความรู้สึกในขั้นแรกเมื่อบรรลุวัตถุประสงค์และความรู้สึกขั้นสุดท้ายเมื่อบรรลุถึง จดุ มงุ่ หมายโดยมีแรงกระตุ้น และความหมายทัว่ ๆ ไปหมายถงึ ความชื่นชม ความนยิ ม หรอื ความรู้สึกยอมรับ ในสงิ่ ท่ีเห็นหรือไดส้ ัมผัส วิรุฬ พรรณเทวี (2542 : 111) ความพอใจ หมายถึง ความรู้สึกภายในจิตใจของมนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะคาดหวังกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและได้รับการ ตอบสนองด้วยดีจะมีความพงึ พอใจมาก แตใ่ นทางตรงกนั ข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจเปน็ อย่างยิ่งเมื่อไม่ได้ รบั การตอบสนองตามท่คี าดหวงั ไว้ ทง้ั นขี้ ึ้นอยกู่ บั ส่งิ ท่ตี นตัง้ ใจไม่ว่าจะมีมากหรอื น้อย อเนก สุวรรณบณั ฑติ และคณะ (2548 : 145) กลา่ วว่า ความพึงพอใจ หมายถึง กระบวนการท่ีกระตุ้น ใหบ้ คุ คลเคล่อื นไหวหรือแสดงพฤตกิ รรมไปยังจุดหมายหรอื เป้าหมายท่ีกำหนดไว้ โดยมีแรงจงู ใจเป็นตัวผลักดัน ซ่ึงมคี วามตอ้ งการสิ่งจูงใจและแรงขับเข้ามาเกีย่ วข้องโดยมีกระบวนการในการจงู ใจอย่างเปน็ ลำดบั ขัน้ Applewhite. (1965. P. 6) กลา่ วว่า ความพงึ พอใจเปน็ ความร้สู กึ สว่ นตัวของ บคุ คลในการปฏิบตั ิงาน ซ่ึงรวมไปถงึ ความพึงพอใจในสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้วยการมี ความสขุ ทท่ี ำงานรว่ มกับคนอน่ื ทเ่ี ข้ากันได้

24 มีทัศนคติที่ดีต่องานด้วย และกูด (Good. 1973, P. 161) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจ อาจหมายถึง สภาพหรือระดับความพงึ พอใจทเ่ี ปน็ ผลมาจากความสนใจ และเจตคติของบคุ คลท่มี ตี อ่ งาน Elia; & Partrick. (1972, PP. 283-302) กล่าวว่า ความพึงพอใจ คือเป็นความรู้สึกของบุคคลในด้าน ความพึงพอใจ หรือสภาพจิตใจของบุคคลว่าชอบมากน้อยแค่ไหน จากความหมายต่าง ๆ ข้างต้นสรุปได้ว่า ความพงึ พอใจหมายถึงอารมณ์ ความรูส้ กึ และทัศนคตทิ ่ีดีของบุคคลเปน็ เรื่องท่ีเกี่ยวขอ้ งกับสง่ิ ใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงเกิด จากการตอบสนองความต้องการ ของบุคคลอันเนื่องมาจากสิ่งเร้า และแรงจูงใจ ที่ปรากฏออกมาทาง พฤติกรรม ความพึงพอใจเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีผลต่อความสำเร็จของงานให้ บรรลุเป้าหมายท่ีวางไวอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ วรูม (1964) ได้กล่าวว่า “ทัศนคติและความพึงพอใจในสิ่งหนึง่ สามารถใช้แทนกันได้ เพราะทั้งสองคำ นห้ี มายถึง ผลที่ไดจ้ ากการท่ีบคุ คลเข้าไปมีสว่ นรว่ มในสิง่ นัน้ ทัศนคตดิ า้ นบวกจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ สภาพ ความพึง พอใจในสิง่ น้ันและทศั นคตดิ ้านลบจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงสภาพความไม่พงึ พอใจ” โวลแมน (1973) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ หมายถึง “ความรู้สึก (Feeling) มีความสุข เมื่อ ได้รบั ผลสำเร็จตามความม่งุ หมายทต่ี ้องการหรอื ตามแรงจูงใจ” สรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดี หรือทัศนคติที่ดีของบุคคล ซึ่งมักเกิดจากการได้รับ การตอบสนองที่ตนต้องการ ก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีได้ ตรงกันข้ามหากความต้องการไม่ได้รับการต อบสนอง ความไมพ่ ึงพอใจก็จะเกดิ ขน้ึ ความพงึ พอใจท่ีมีตอ่ การใชบ้ ริการจะเกิดขึน้ หรือไม่นั้นจะต้องพิจารณาถึงลักษณะ ของการใชบ้ รกิ ารขององค์กรประกอบกบั ระดบั ความรู้สึกของผมู้ ารับบริการในมติ ิต่าง ๆ ของแตล่ ะบคุ คล งานวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง กรธนวัฒน์ วุฒิญาณ (2556) ได้ศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจการเรียนภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ผ่าน ทางโปรแกรม Skype ของนักเรียนในสถาบันสอนภาษา ECC โดยมีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจ ของผู้เรียน ต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ผ่านทางโปรแกรมSkype ของนักเรียน ภายในสถาบันสอนภาษา ECC (2) จำแนกความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ ผา่ นทางโปรแกรม Skype โดยรวมและเป็นรายด้านจำแนกตามปจั จัยต่าง ๆ กลมุ่ ตัวอย่างทีใ่ ชใ้ นการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักเรียนทีเ่ ขา้ เรยี นวิชาภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ในทุกระดับของสถาบันกวดวิชา ECC จำนวน 200 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ ผ่านทางโปรแกรม Skype อยู่ในระดับมาก ที่เหลือเป็นไปในระดับปานกลางคือ ด้านครูผู้สอน โดยที่นักเรียนส่วนใหญ่มีความพึง พอใจในการเรียนภาษาอังกฤษแบบออนไลน์ผ่านทางโปรแกรม Skype ด้านรูปแบบและเนื้อหามากที่สุด 2) ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลด้านเพศที่ต่างกัน มีผลต่อความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษผ่านการใช้ โปรแกรม Skype แตกต่างกัน โดยกลุ่มผู้ใช้บริการเพศหญิงจะมีความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ผ่านการใช้โปรแกรม Skype สงู กวา่ กลมุ่ ผู้ใชบ้ ริการเพศชายอย่างมีระดับนยั สำคญั ทางสถิติที่ 0.05

25 3) ปจั จยั ลกั ษณะสว่ นบุคคล ด้านอายุทตี่ ่างกัน มีผลตอ่ ความพึงพอใจท่ีมีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ ผ่านการใช้ โปรแกรม Skype ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 4) ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ด้านระดับ การศึกษาที่ต่างกัน มีผลต่อความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษผ่านการใช้โปรแกรม Skype แตกต่าง กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยกลุ่มนักเรียนระดับการศึกษามัธยมปลาย จะมีความพึงพอใจที่มีต่อ การเรียนภาษาอังกฤษผ่านการใช้โปรแกรม Skype ในภาพรวมต่ำกว่านักเรียนในระดับการศึกษาปริญญาตรี และกลุ่มผู้ใช้บริการระดับการศึกษาปริญญาตรี จะมีความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษผ่านการใช้ โปรแกรม Skype ในภาพรวมสงู กว่ากลุม่ ผู้ใช้ ที่มรี ะดบั การศกึ ษาสงู กว่าปริญญาตรี ประสาท อิศรปรีดา (2547 : 177) กล่าวถึง องคป์ ระกอบที่ทำใหเ้ กิดความพึงพอใจมีดังน้ี 1. องค์ประกอบด้านความรู้ ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาข้อเท็จจริงหรือสังเขปเกี่ยวกับ สิ่งน้นั 2. องค์ประกอบดา้ นอารมณ์ ได้แก่ ความรู้สึกพอใจ ไม่พอใจ รูส้ ึกชอบ ไม่ชอบ 3. องค์ประกอบด้านแนวโน้มการกระทำ เป็นความพร้อมที่จะตอบสนองต่อสิ่งนั้นในทางใดทางหน่ึง คอื พร้อมที่จะช่วยเหลือหรอื ทำลายขดั ขวาง เปน็ ต้น จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบที่ทำให้เกิดความพึงพอใจของประสาท อิศรปรีดา ได้กล่าวถึงความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา ซึ่งอาจจะวัดได้โดยใช้เกรดเฉลี่ย คนที่มีเกรดเฉลี่ยสูงอาจจะมีความรู้ ความเข้าใจที่ดีทำ ให้เกดิ ความพึงพอใจมาก ปราณี ทองคำ (2548) ไดศ้ กึ ษาเรือ่ ง สภาพการใชง้ านและความพงึ พอใจของนักศึกษาท่มี ีต่อการเรียน การสอนในห้องเรียนเสมือน : กรณีศึกษารายวิชา 266-416 การวิจัยสำหรับครู ผลการวิจัยพบว่านักศึกษามี ความพึงพอใจในการใช้ห้องเรียนเสมือนโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ประเด็นที่พึงพอใจมากที่สุด คือ การใช้ ห้องเรียนเสมือนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ไม่จำกัดเวลา ประเด็นที่พึงพอใจน้อยที่สุด คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ใน การใชห้ ้องเรยี นเสมือนไม่เพียงพอ และความเร็วของระบบเครอื ข่าย สุเนตร สบื คา้ (2552) ไดศ้ กึ ษาเก่ียวกบั ความพงึ พอใจของนักศึกษาตอ่ การเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย โปรแกรมมูเดิ้ล (Moodle E-Learning) พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอน ผ่าน Moodle พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในทุกข้อคำถามในระดับมาก ยกเว้นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดความ เข้าใจในบทเรียนมากขึ้น และการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้น่าสนใจ ซึ่งมีความพึงพอใจในระดับปาน กลาง สุภาณี เล็งศรี (2543) ได้ศกึ ษาโดยทดลองใช้ระบบการเรยี นการสอนทางไกลท่ีพัฒนาแล้วกับนิสิตชั้น ปีที่ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวรผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .01 กลุม่ ตวั อยา่ งเหน็ ว่าแผนการเรียนเอกสารคำสอนและกรอบแนวคิดช่วยให้ศึกษา อย่างมีเป้าหมายและทำให้มีวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองผู้สอนพึงพอใจในกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมและการมี ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้เรียนกบั ผเู้ รยี นและระหวา่ งผู้เรยี นกับผู้สอน

26 4. กรอบแนวคดิ และทฤษฎี แนวคิดของเฮอร์เบอร์ก และคณะ (Herzberg et al., 1959) ศึกษาเก่ียวกับแนวคิดทฤษฎีสองปัจจัย ขององค์ประกอบที่ทำให้เกิดความพึงพอใจในการทำงานหรือบริบทต่าง ๆ ซึ่งในที่นี้คือการเรียนออนไลน์ องค์ประกอบที่สำคญั ที่ทำให้เกดิ ความพงึ พอใจ มอี ยู่ 2 องคป์ ระกอบคอื 1. ปจั จยั คำ้ จนุ (Maintenance Factor) เปน็ ปจั จยั ท่ีมอี ทิ ธพิ ลในการสร้างความพึงพอใจในงาน เป็นองค์ประกอบทจ่ี ะชว่ ยป้องกันความ ไมพ่ งึ พอใจในงาน ซึง่ ในงานวจิ ัยนี้องค์ประกอบทีท่ ำให้เกิดความพึงพอใจคือ สภาพการทำงาน ซึ่งเป็นการรับรู้ แหลง่ สนับสนนุ 2. ปัจจยั จูงใจ (Motivation Factor) เป็นปัจจัยกระตุ้นให้คนทำงาน ซึ่งในงานวิจัยนี้องค์ประกอบที่ทำให้เกิดการกระตุ้นให้คนทำงาน คือความสำเร็จในการทำงาน (achievement) การที่บุคคลสามารถทำได้สำเร็จเสร็จสิ้น ในงานวิจัยนี้คือการ ไดร้ ับผลคะแนนการศึกษาทีด่ ี หรอื (GPA)

27 บทท่ี 3 ระเบียบวธิ วี จิ ัย การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนนุ กับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร โดยมีรายละเอยี ดของวธิ กี ารดำเนนิ การวิจยั ดังนี้ ประชากรทีจ่ ะศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปี การศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร อ. เมอื ง จ. พิษณโุ ลก จำนวน 242 คน กลมุ่ ตัวอย่าง นิสิตที่กำลังศึกษาอยู่ในคณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 คณะพยาบาลศาสตร์ อ. เมือง จ. พษิ ณโุ ลก เกณฑก์ ารคัดเขา้ การศึกษา (Inclusion criteria) มดี ังต่อไปนี้ 1. นิสิตเพศชาย และหญิง ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 3 และ 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2. สามารถอา่ น เขียน และส่ือสารภาษาไทยได้ 3. มคี วามยนิ ดีท่ีจะเขา้ รว่ มในการศึกษาครัง้ น้ี เกณฑก์ ารคดั ออกจากการศกึ ษา (Exclusion criteria) มีดังต่อไปน้ี เป็นนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลยั นเรศวร ทีพ่ ้นสภาพการเป็นนสิ ิต ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่าง โดยใช้เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยทำการเก็บข้อมูล ตัวอยา่ งจากการกำหนดกลุ่มตวั อยา่ งโดยใชส้ ูตร Taro Yamane (1973) ������ ������ = 1 + ������(������)2 ������ หมายถึง กล่มุ ตัวอย่าง ������ หมายถงึ จำนวนประชากร ������ หมายถึง ความคลาดเคลอ่ื น (ในการวิจัยครง้ั นี้กำหนดให้ 0.05)

28 การคำนวณหาขนาดกลมุ่ ตัวอย่างโดยใชส้ ูตร Yamane ได้ดงั น้ี แทนคา่ ในสูตร 242 ������ = 1 + 242(0.05)2 ������ = 150.77 จากสูตรการคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane (1973) จะได้กลุ่มตัวอย่าง 151 คน โดยประมาณ ทงั้ นเ้ี พ่ือป้องกนั การสูญหายของข้อมลู จึงเพมิ่ จำนวนกลุ่มตวั อยา่ งข้ึนอกี รอ้ ยละ 20 (พรรณี ปิติ สุทธิธรรม และ ชยันต์ พิเชียรสุนทร, 2554) ของกลุ่มตัวอย่างข้างต้น จะได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา ทงั้ หมด 181 คน เทคนิคการคัดเลือกตัวอย่าง : กลุ่มตัวอย่างจะถูกคัดเลือกโดยวิธีสุ่มแบบใช้ความน่าจะเป็น (Probability Sampling) เพื่อเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากร โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สุ่มจนได้จำนวนของกลุ่มตัวอย่างครบถ้วน 181 คน จากน้ันจะแบง่ กลุ่มตวั อยา่ งออกเปน็ กลุ่มย่อยตามปจั จยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ การศกึ ษาในครงั้ นี้ ได้แก่ 1. กลุ่มตัวอย่างที่เกิดจากการแบง่ เป็นกลุม่ กลุ่มย่อย ตามคะแนน GPA ที่แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคะแนน ดงั นี้ ช่วงคะแนน GPA จำนวนกลุ่มย่อยของกลมุ่ ตวั อย่าง(ราย) 3.01 – 4.00 106 2.00 – 3.00 51 รวม 157 2. กลุ่มตัวอย่างที่เกิดจากการแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ตามอุปกรณ์สารสนเทศที่กลุ่มตัวอย่างใช้งาน แบ่งออกเปน็ 6 กลมุ่ ดังน้ี อปุ กรณส์ ารสนเทศ จำนวนกล่มุ ยอ่ ยของกลุม่ ตัวอย่าง(ราย) คอมพิวเตอรส์ ่วนบุคคล (PC) 18 คอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บุ๊ก (Notebook) 138 แท็บเลต็ (Tablet) 4 ไอแพด (iPad) 98 สมารท์ โฟน (Smart Phone) 138 สมาร์ททวี ี (Smart TV) 2 รวม 157

29 เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั ครงั้ น้ี ประกอบไปด้วยแบบประเมิน 3 ส่วน ดงั น้ี สว่ นที่ 1 แบบสอบถามข้อมลู สว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน คา่ ใช้จ่ายต่อเดือน อาชีพผู้ปกครอง อปุ กรณ์สารสนเทศที่ใช้ในการเรยี นออนไลน์ และเครอื ข่ายอินเตอรเ์ นต็ ลกั ษณะแบบสอบถาม เปน็ แบบเลอื กตอบ พฒั นาข้นึ โดยผูว้ ิจัย ส่วนที่ 2 แบบสอบถามการรับรู้แหล่งสนับสนุนของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียน เข้าเรียนในปกี ารศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร พัฒนาขึ้นโดยผู้วิจัย ลักษณะข้อคำถามแบบมี ตัวเลือกให้ตอบและมีมาตราวัด 5 ระดับ โดยให้ผู้ตอบเลือกได้เพียงคำตอบเดียว เป็นตัวเลือกแบบมาตรา ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดบั จำนวน 14 ข้อ ประกอบไปด้วย 1. ดา้ นอุปกรณใ์ นการเรยี นออนไลน์ จำนวน 7 ข้อ 2. ดา้ นการใชง้ านระบบอินเทอรเ์ น็ต จำนวน 7 ข้อ โดยกำหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดังน้ี 5 หมายถงึ การรบั รู้แหล่งสนับสนนุ มากทสี่ ุด 4 หมายถงึ การรับรแู้ หลง่ สนับสนุนมาก 3 หมายถงึ การรับรู้แหลง่ สนับสนนุ ปานกลาง 2 หมายถงึ การรับรแู้ หล่งสนับสนุนนอ้ ย 1 หมายถึง การรบั รู้แหลง่ สนบั สนนุ น้อยทสี่ ดุ กำหนดเกณฑ์การแปลผลระดับการรับรู้แหล่งสนับสนุนในการเรียนออนไลน์ ในการทำวิจัยของนิสิต พยาบาลคณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 จากคะแนนเฉลี่ย เปน็ 5 ระดบั โดยใช้คา่ พิสัยหารด้วยจำนวนช้ัน = (ขีดจำกัดบนของคะแนนสูงสุด – ขีดจำกัดล่างของคะแนนต่ำสดุ ) หาร 5 (บญุ ใจ ศรีสถติ นรากรู , 2553) การรับรู้แหล่งสนับสนุนมากที่สุด หมายถงึ มคี ะแนนระหวา่ ง 4.21 - 5.00 การรบั รแู้ หลง่ สนับสนุนมาก หมายถึง มีคะแนนระหว่าง 3.41 - 4.20 การรบั รู้แหลง่ สนบั สนุนปานกลาง หมายถึง มคี ะแนนระหว่าง 2.61 - 3.40 การรบั รแู้ หล่งสนับสนุนน้อย หมายถงึ มคี ะแนนระหว่าง 1.81 - 2.60 การรับรูแ้ หล่งสนบั สนุนน้อยที่สดุ หมายถึง มีคะแนนระหวา่ ง 1.00 - 1.80 ส่วนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร พัฒนาขึ้นโดยผู้วิจัย เป็นตัวเลือก แบบมาตรประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ ประกอบไปดว้ ย 1. ด้านความพรอ้ มในการเรียนระบบออนไลน์ จำนวน 7 ข้อ 2. ด้านการใชง้ านระบบอินเตอรเ์ นต็ จำนวน 4 ขอ้ 3. ดา้ นเนื้อหาการเรยี น จำนวน 6 ข้อ

30 4. ดา้ นความรูแ้ ละประสบการณ์ จำนวน 7 ข้อ 5. ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในการเรียน จำนวน 2 ขอ้ 6. ดา้ นทศั นคติ จำนวน 4 ขอ้ โดยกำหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี 5 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด 4 หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจมาก 3 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง ระดับความพงึ พอใจนอ้ ย 1 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ยทสี่ ดุ กำหนดเกณฑ์การแปลผลระดับความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ ในการทำวิจัยของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ท่ีลงทะเบียนเขา้ เรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 จากคะแนนเฉล่ยี เป็น 5 ระดับ โดยใช้คา่ พิสยั หารด้วยจำนวนชั้น = (ขีดจำกัดบนของคะแนนสงู สุด – ขีดจำกัดล่างของคะแนนต่ำสดุ ) หาร 5 (บุญใจ ศรสี ถิตนรากูร, 2553) ความพึงพอใจมากทีส่ ดุ หมายถงึ มีคะแนนระหวา่ ง 4.21 - 5.00 ความพงึ พอใจมาก หมายถึง มคี ะแนนระหว่าง 3.41 - 4.20 ความพึงพอใจปานกลาง หมายถงึ มคี ะแนนระหวา่ ง 2.61 - 3.40 ความพงึ พอใจนอ้ ย หมายถงึ มีคะแนนระหวา่ ง 1.81 - 2.60 ความพึงพอใจนอ้ ยที่สุด หมายถงึ มีคะแนนระหว่าง 1.00 - 1.80 การทดสอบคุณภาพเคร่ืองมอื 1.ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) คณะผู้วิจัยนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไป หาความตรงของเนื้อหา โดยนำไปเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน พิจารณาตรวจสอบความถูกต้องของ เนื้อหาและรายละเอียดข้อคำถามมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยและได้รวบ รวมความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าดัชนี โดยใช้ดัชนีความสอดคล้อง IOC (Item Objective Congruence Index) ซงึ่ ประเมินดว้ ยคะแนน 3 ระดับ คือ +1 = สอดคล้องหรอื แน่ใจวา่ ข้อคำถามนั้นหรือข้อสอบข้อน้ันวดั จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมท่ีระบุไวจ้ ริง 0 = ไม่แน่ใจวา่ ขอ้ คำถามนัน้ หรือข้อสอบข้อน้ันวดั จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมท่รี ะบุไว้ -1 = ไม่สอดคลอ้ งหรอื แน่ใจว่าข้อคำถามนน้ั หรือข้อสอบข้อนัน้ วัดจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ระบุไว้ โดยใชส้ ูตร IOC = ∑ ������ ������

31 IOC หมายถงึ ค่าดชั นีความสอดคล้อง R หมายถงึ คะแนนของผู้เชีย่ วชาญ ∑ R หมายถงึ ผลรวมของคะแนนผู้เชีย่ วชาญ N หมายถงึ จำนวนผ้เู ช่ียวชาญ โดยค่า IOC ที่มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.50 - 1.00 คะแนน ถือว่าแบบสอบถามข้อนั้น สามารถวัด ได้ตรงกับวัตถุประสงค์ ถ้าได้คะแนนเฉลี่ยตำ่ กว่า 0.50 คะแนน ถือว่าแบบสอบถามข้อนั้นไม่มีความสอดคล้อง กบั เน้อื หาหรอื วตั ถุประสงค์จะต้องตัดแบบสอบถามข้อนน้ั ออกหรือทำการปรับปรงุ ข้อน้ันใหม่ (วนิ ิจ เทือกทอง, 2555) ทั้งนี้ผู้วิจัยได้พิจารณาตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถามเป็นรายข้อ พบว่า แบบสอบถามการรับรู้แหลง่ สนับสนุนและแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรยี นออนไลน์ พบมีค่า 0.50 และ 0.72 ตามลำดับ หลังจาก นัน้ ผวู้ ิจัยปรับปรงุ แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะและข้อคดิ เหน็ ของผทู้ รงคุณวุฒิ 2. ตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้ดำเนินการวิจัยนำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับกลุ่ม อาสาสมคั รท่ีมีคณุ สมบัติใกล้เคยี งกับกลุ่มตวั อย่าง (Try Out) จำนวน 30 คน จากนั้นจึงมาคำนวณหาความ เชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยวิธีของ Cronbach’s Alpha ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป จากการวิเคราะห์หาค่า ความเทย่ี งตรงของแบบสอบถามการรับรแู้ หล่งสนับสนุนและแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ มคี ่า Cronbach’s Alpha เท่ากบั 0.82 และ 0.94 ตามลำดับ การพิทักษส์ ทิ ธ์กิ ลมุ่ ตวั อย่าง ขั้นตอนทุกอย่างของการวิจัยครั้งนี้ปฏิบัติตามวิธีการของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อย่างเคร่งครัด โดยนักวิจัยชี้แจงข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาในการตอบ แบบสอบถาม ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย การปกปิดข้อมูลเป็นความลับ กลุ่มตัวอย่างมีสิทธิในการที่จะ ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมการวิจัย และสามารถถอนตัวออกจากการวิจัยได้ทุกช่วงเวลาของการดำเนินการวิจัย โดย จะไมม่ ผี ลกระทบใด ๆ ตอ่ กลมุ่ ตวั อย่าง หากกลมุ่ ตัวอย่างที่ยินดเี ข้าร่วมการวิจัย จงึ ได้รบั การขอให้เซ็นยินยอม เข้าร่วมการวิจัย และเพื่อให้เกิดความมั่นใจในเรื่องของการไม่ระบุบุคคล และการปกปิดข้อมูลเป็นความลับ และขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากผู้เขา้ ร่วมวิจยั ถูกนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอในภาพรวมเทา่ นั้น การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ภายหลังได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้วิจัยเก็บรวบรวม ขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถาม ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ผู้วิจัยส่งหนังสือขออนุญาตเก็บขอ้ มูลถึงคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อขอ อนุญาตเก็บข้อมูลจากนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561

32 2. ภายหลังจากที่ได้รับอนุญาตจากคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรแล้ว ผู้วิจัยส่ง แบบสอบถามในรูปแบบของ Google form ผ่านทาง Facebook พร้อมแนะนำตัว เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ใน การศึกษา ขั้นตอนการวิจัย ประโยชน์ที่จะได้จากการศึกษา และความเสี่ยง หากนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 จะเข้าร่วมการศึกษา นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปกี ารศึกษา 2560 และ 2561 จะไดร้ ับแบบฟอร์ม การขอแสดงความยนิ ยอมในการเข้ารว่ มการศึกษาครั้งนี้ หากนิสติ พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียน เข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมการศกึ ษา นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ท่ี ลงทะเบียนเข้าเรยี นในปีการศกึ ษา 2560 และ 2561 จะไม่ได้รับผลกระทบใด ๆ 3. ภายหลังจากที่นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 ยินยอมเข้าร่วมการศึกษาแล้ว ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการให้กลุ่มตัวอย่างทำ แบบสอบถามผ่าน Google form ได้แก่ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบคุ คล ได้แก่ เพศ อายุ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ค่าใช้จ่ายต่อเดือน อาชีพผู้ปกครอง อุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้ในการเรียนออนไลน์ และเครือข่าย อินเตอร์เน็ต เป็นข้อคำถามแบบเลือกตอบจำนวน 7 ข้อ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามการรับรู้แหล่งสนับสนุน ประกอบด้วย ด้านอุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์ ด้านการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต จำนวน 14 ข้อ เป็น ตวั เลอื กเป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ สว่ นท่ี 3 แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียน ออนไลน์ ประกอบไปด้วย ดา้ นความพร้อมในการเรียนระบบออนไลน์ ด้านการใชง้ านระบบอินเตอร์เน็ต ด้าน เนอ้ื หาการเรียน ดา้ นความรู้ ประสบการณ์ ดา้ นสภาพแวดล้อมในการเรียน และดา้ นทัศนคติ เปน็ ตวั เลือกเป็น แบบมาตรประมาณคา่ (Rating scale) 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ ซ่งึ พัฒนาขึน้ โดยผู้วิจัย 4. ภายหลังจากกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว ให้กลุ่มตัวอย่าง Submit ส่งคืนกลับสู่ผู้วิจัย ผู้วิจัยรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล นำแบบสอบถามมาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนด และนำข้อมูลท่ี ไดม้ าวิเคราะห์ตอ่ ไป การวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้ทำวิจัยตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม และนำ ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าจัดระเบยี บ นำมาวิเคราะหข์ ้อมลู โดยจะใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปในการช่วยคำนวณ ดงั นี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย เพศ อายุ ค่าใช้จ่ายต่อเดือน อาชีพ ผู้ปกครอง และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Average) ค่าต่ำสุด (Min) ค่าสูงสุด (Max) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) 2. การวิเคราะห์ระดับการรับรู้แหล่งสนับสนุนและระดับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ของนิสิต พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ทลี่ งทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 วเิ คราะหโ์ ดยใช้สถิติเชิง

33 พรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Average) ค่าต่ำสุด (Min) ค่าสูงสุด (Max) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) 3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุนกับความ พึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ลงทะเบียน เขา้ เรียนในปกี ารศึกษา 2560 และ 2561 ใชก้ ารคำนวณสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียรแ์ มน (Spearman rank Correlation Coefficient หรอื Spearman’s rho) ในการวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ของปจั จัยดังกลา่ ว เน่ืองจาก มกี ารแจกแจงความถ่ีไม่เป็นโคง้ ปกติ

34 บทท่ี 4 ผลการศึกษา การวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุน กับความ พึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นการวิจัยเชิง พรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิต พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ แหล่งสนับสนุน แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งน้ี คือ การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจในการเรียน ออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่ง สนบั สนนุ กับความพงึ พอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ลงทะเบยี นเข้าเรียน ในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยใช้การคำนวณสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สเปียร์แมน (Spearman rank Correlation Coefficient) เนื่องจากมีการแจกแจงความถี่ไม่เป็นโค้งปกติ นอกจากนี้ยังมีสถิติชั้นรองในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าต่ำสุด (Min) คา่ สูงสดุ (Max) คา่ เฉลย่ี (Average) และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอในรูปของตารางประกอบคำอธิบาย โดยแบ่งผลการวิจัย ออกเป็น 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนบุคคลของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ทล่ี งทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลยั นเรศวร ส่วนที่ 2 ข้อมูลตัวแปรที่ทำการศึกษา ประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การรับรู้แหล่งสนับสนุน และความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปี การศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่ง สนบั สนนุ กับความพึงพอใจในการเรยี นออนไลน์ ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

35 ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ท่ีลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ตารางที่ 1 จำนวนคนและร้อยละ ในนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนใน ปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร จำแนกตาม เพศ อายุ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าใช้จา่ ย ตอ่ เดอื น อาชีพผปู้ กครอง อปุ กรณ์สารสนเทศท่ใี ช้ในการเรยี นออนไลน์ และเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ (N=157) ลกั ษณะทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ 1. เพศ ชาย 11 7.00 หญงิ 146 93.00 2. ระดับชั้นปี ชนั้ ปีที่ 3 83 52.86 ชนั้ ปีที่ 4 74 47.14 3. อายุ ต่ำกวา่ 20 ปี 0 0.00 20-22 ปี 132 84.08 23-25 ปี 24 15.29 มากกวา่ 25 ปี ขนึ้ ไป 1 0.63 4. คา่ ใชจ้ ่ายตอ่ เดือน คา่ อาหาร เพียงพอ 143 91.08 ไม่เพยี งพอ 14 8.92 ค่าเดินทาง เพียงพอ 151 96.18 ไม่เพียงพอ 6 3.82 คา่ ที่พัก เพยี งพอ 146 92.99 ไม่เพยี งพอ 11 7.01 คา่ วสั ดอุ ปุ กรณก์ ารเรยี น เพยี งพอ 143 91.08 ไมเ่ พียงพอ 14 8.92 ค่าของใชส้ ว่ นตัว เพียงพอ 128 81.53 ไมเ่ พยี งพอ 29 18.47

36 ลักษณะท่ัวไป จำนวน (คน) ร้อยละ 5. อาชีพผปู้ กครอง 26 16.57 ขา้ ราชการ/พนักงานรฐั วิสาหกิจ 10 6.37 พนกั งานบริษัท 34 21.65 คา้ ขาย/ทำธรุ กิจส่วนตัว 50 31.85 เกษตรกรรม 34 21.65 รับจ้างทว่ั ไป 3 1.91 แม่บา้ น/พ่อบา้ น 6. อปุ กรณ์สารสนเทศทใ่ี ชใ้ นการเรยี นออนไลน์ (เลอื กได้มากกว่า 1 ข้อ) 18 11.46 คอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คล (PC) 138 87.89 คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook) 4 2.54 แทบ็ เลต็ (Tablet) 98 62.42 ไอแพด (iPad) 138 87.89 สมารท์ โฟน (Smart Phone) 2 1.27 สมาร์ททวี ี (Smart TV) 7. เครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ (เลือกได้มากกวา่ 1 ข้อ) 142 90.44 Wi-Fi 2 1.27 Cable 0 0.00 ADSL 12 7.64 สาย LAN 142 90.44 เน็ตจากมือถือ จากตารางท่ี 1 พบวา่ นสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ทลี่ งทะเบียนเขา้ เรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร สว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญงิ รอ้ ยละ 93 ระดบั ช้นั ปีท่ี 3 ร้อยละ 52.86 และชั้นปีที่ 4 ร้อยละ 47.14 ช่วงอายุ 20-22 ปี มากที่สุด ร้อยละ 84.08 รองลงมา คือ ช่วงอายุ 23-25 ปี ร้อยละ 15.29 และช่วงอายุ 25 ปีขึ้นไป ร้อยละ 0.63 ค่าใช้จ่ายต่อเดือนส่วนใหญ่เพียงพอ อาชีพผู้ปกครองส่วนใหญ่คือ เกษตรกรรม ร้อยละ 31.85 อุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้ในการเรียนออนไลน์ส่วนใหญ่คือ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) และคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook) ร้อยละ 87.89 เครือข่ายอินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ คือ Wi-Fi และเน็ตจากมอื ถือ ร้อยละ 90.44

37 ส่วนที่ 2 ข้อมูลตวั แปรที่ทำการศึกษา ประกอบด้วย ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน การรบั ร้แู หลง่ สนับสนุน และ ความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปี การศกึ ษา 2560 และ 2561 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การรับรู้แหล่งสนบั สนุน และความพึงพอใจต่อ การเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร (N=157) ปัจจัย จำนวน (คน) รอ้ ยละ 1. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ช้นั ปที ่ี 3 (n=83) 2.00-3.00 35 42.17 3.01-4.00 48 57.83 ชั้นปที ี่ 4 (n=74) 2.00-3.00 16 21.62 3.01-4.00 58 78.38 2. การรับร้แู หล่งสนับสนนุ ด้านอปุ กรณ์ในการเรียนออนไลน์ มากท่สี ดุ 23 14.65 มาก 58 36.94 ปานกลาง 53 33.76 น้อย 17 10.83 นอ้ ยท่ีสุด 6 3.82 ดา้ นการใช้งานระบบอินเทอรเ์ น็ต มากทส่ี ุด 27 17.20 มาก 56 35.67 ปานกลาง 57 36.30 นอ้ ย 12 7.64 น้อยที่สุด 5 3.19 3. ความพึงพอใจต่อการเรยี นออนไลน์ มากทสี่ ดุ 19 12.10 มาก 74 47.13 ปานกลาง 55 35.03 น้อย 8 5.10 นอ้ ยทีส่ ุด 1 0.64

38 จากตารางที่ 2 พบว่า นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ท่ีลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นปีที่ 3 อยู่ในช่วง 3.01-4.00 มากที่สุด มีจำนวน 48 คน คิดเปน็ ร้อยละ 57.83 และมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นช้นั ปที ่ี 4 อย่ใู นชว่ ง 3.01-4.00 มากทีส่ ุด มจี ำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 78.38 มีการรับรู้แหล่งสนับสนุนด้านอุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์ส่วนใหญ่อยู่ใน ระดับมาก มีจำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 36.94 ด้านการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับปานกลาง มีจำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 36.30 และความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์อยู่ในระดับมาก มีจำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 47.13 ตารางที่ 3 คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ของนสิ ติ พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (N=157) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน Min-Max ������̅ S.D. 2.00-4.00 2.00-3.91 3.14 0.28 จากตารางที่ 3 พบว่า นสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ทล่ี งทะเบียนเข้าเรยี นในปีการศกึ ษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลยั นเรศวรมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นอยู่ในชว่ ง Min-Max = 2.00-3.91 ������̅ = 3.14 และ S.D. = 0.28 ตารางท่ี 4 คา่ เฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั การรับรแู้ หลง่ สนบั สนนุ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (N=157) การรับรแู้ หลง่ สนับสนุน Min-Max ������̅ S.D. แปลผลระดบั การรับรู้ แหล่งสนบั สนุน ดา้ นอุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์ 3.14-3.59 3.43 1.51 มาก ดา้ นการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต 3.29-3.66 3.47 0.97 มาก โดยรวม 3.14-3.66 3.45 1.24 มาก จากตารางที่ 4 พบว่า นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีระดับการรับรู้แหลง่ สนับสนนุ โดยรวม Min-Max= 3.14-3.66 ������̅ = 3.45 S.D. = 1.24 มีระดับการรับรู้แหล่งสนับสนุนอยู่ในระดับ มาก มีการรับรู้แหล่งสนับสนุนด้านอุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์ อยู่ในช่วง Min-Max=3.14-3.59 ������̅ = 3.43 S.D. = 1.51 มีระดับการรับรู้แหล่งสนับสนุนด้านอุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์อยู่ในระดับมาก และด้านการ

39 ใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต อยู่ในช่วง Min-Max= 3.29-3.66 ������̅ = 3.47 S.D. = 0.97 มีระดับการรับรู้แหล่ง สนบั สนุนดา้ นการใชง้ านระบบอินเทอรเ์ น็ตอยูใ่ นระดบั มาก ตารางที่ 5 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิต พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร (N=157) ความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลน์ Min-Max ������̅ S.D. แปลผลระดับความพึง พอใจในการเรยี นออนไลน์ ดา้ นความพร้อมในการเรียนระบบ 3.00-3.67 3.47 0.96 มาก ออนไลน์ ดา้ นการใชง้ านระบบอนิ เตอร์เน็ต 3.59-3.73 3.65 0.85 มาก ดา้ นเนื้อหาการเรยี น 3.37-3.80 3.58 0.82 มาก ดา้ นความร้แู ละประสบการณ์ 3.48-3.96 3.75 0.83 มาก ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในการเรยี น 3.29-3.59 3.44 1.00 มาก ดา้ นทศั นคติ 3.17-4.01 3.46 0.99 มาก โดยรวม 3.00-4.01 3.55 0.91 มาก จากตารางที่ 5 พบว่า นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีระดับความพึงพอใจ ในการเรียนออนไลน์ โดยรวม Min-Max= 3.00-4.01 ������̅ = 3.55 S.D. = 0.91 มีระดับความพึงพอใจในการ เรียนออนไลน์อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีความพึงพอใจมากที่สุด ได้แก่ ด้านความรู้และประสบการณ์ ������̅ = 3.75 S.D. = 0.83 มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และด้านที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุด ไดแ้ ก่ ด้านสภาพแวดล้อมในการเรียน ������̅ = 3.44 S.D. = 1.00 มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก

40 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่ง สนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร ตารางที่ 6 ค่าสถิตสิ มั ประสิทธส์ิ หสัมพนั ธข์ องสเปยี รแ์ มน ระหว่างผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและการรับรู้แหล่ง สนบั สนนุ กบั ความพึงพอใจในการเรยี นออนไลน์ ของนสิ ติ พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร (N=157) ตวั แปร ความพึงพอใจในการเรียนผา่ นระบบ p-value ออนไลน์ (E-Learning) คา่ สัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์ (r) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน GPA -0.001 0.922 การรบั รู้แหลง่ สนับสนนุ 0.757 0.000 จากตารางที่ 6 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการเรียน ออนไลน์ และการรับรู้แหล่งสนับสนุน มคี วามสัมพนั ธ์กบั ความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลน์ ของนสิ ิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ระดบั นัยสำคัญ 0.05

41 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึง พอใจต่อการเรียนออนไลน์ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่ง สนับสนุน กับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร ประชากร คือ นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร อ. เมือง จ. พิษณุโลก จำนวน 242 คน จากสูตรการคำนวณกลุ่มตัวอย่าง ของ Taro Yamane (1973) จะได้กล่มุ ตัวอย่าง 151 รายโดยประมาณ ท้ังนี้เพอื่ ป้องกนั การสูญหายของข้อมูล จึงเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างขึน้ อีก ร้อยละ 20 (พรรณี ปิติสุทธธิ รรม และชยันต์ พิเชียรสนุ ทร, 2554) ของกลุ่ม ตัวอย่างข้างต้น จะได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาทั้งหมด 181 คน ทำการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สุ่ม สำหรับในงานวิจัยครั้งน้ีมีผู้ตอบแบบสอบถามและ ยนิ ยอมเข้ารว่ มการวจิ ยั จำนวน 157 คน เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัยเปน็ แบบสอบถาม (Questionnaires) โดยแบง่ เป็น 3 ส่วน ดงั น้ี ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ค่าใช้จ่ายต่อเดือน อาชีพผูป้ กครอง อปุ กรณ์สารสนเทศท่ใี ชใ้ นการเรียนออนไลน์ และเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต ลักษณะแบบสอบถาม เปน็ แบบเลอื กตอบ พัฒนาขึ้นโดยผูว้ ิจัย ส่วนที่ 2 แบบสอบถามการรับรู้แหล่งสนับสนุนของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียน เข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกอบด้วย ด้านอุปกรณ์ในการเรียน ออนไลน์ ดา้ นการใชง้ านระบบอนิ เทอร์เนต็ พัฒนาขึ้นโดยผู้วจิ ยั ส่วนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ท่ี ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกอบไปด้วย ด้านความพร้อม ในการเรียนระบบออนไลน์ ด้านการใช้งานระบบอินเตอร์เน็ต ดา้ นเนือ้ หาการเรยี น ดา้ นความรู้ ประสบการณ์ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในการเรียน และดา้ นทัศนคติ พัฒนาข้ึนโดยผู้วิจยั การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ พิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและนำมาหาค่าความ ตรงด้วยวิธี Item Objective Congruence Index : IOC โดยนำเฉพาะข้อที่มีค่า IOC ระหว่าง 0.50-1.00 คะแนน มาพิจารณาเป็นข้อคำถาม จากนน้ั ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวฒุ ิ พบว่า แบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อการใช้อุปกรณ์สารสนเทศและแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ มี ค่า 0.50 และ 0.72 ตามลำดบั และนำแบบสอบถามทไี่ ดผ้ ่านการหาความเท่ยี งตรงของเนื้อหาแล้วไปทดลองใช้

42 กับกลุ่มอาสาสมัครทีม่ ีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง (Try Out) จำนวน 30 คน จากนั้นจึงมาคำนวณหา ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยวิธีของ Cronbach’s Alpha จากการวิเคราะห์หาค่าความเที่ยงตรงของ แบบสอบถามการรับรู้แหล่งสนับสนุน และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนออนไลน์ มี ค่า Cronbach’s Alpha เทา่ กบั 0.82 และ 0.94 ตามลำดับ การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ โดยผู้วิจัยส่งหนังสือขออนุญาตเก็บข้อมูลถึงคณบดีคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อขออนุญาตเก็บข้อมูลจากนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ท่ี ลงทะเบียนเขา้ เรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 ภายหลังจากที่ไดร้ บั อนุญาตจากคณะกรรมการจริยธรรม การวจิ ยั แลว้ ผ้วู ิจัยส่งแบบสอบถามในรปู แบบ Google form ผา่ นทาง Facebook เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ แหล่งสนับสนุน และแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลระหว่าง วันที่ 9 -15 มีนาคม 2564 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยจะใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ คือ การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างด้วยค่าสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถ่ี (Frequency) ร้อย ละ (Percentage) การวิเคราะห์ระดับการรับรู้แหล่งสนับสนุนและระดับความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์ ของนิสิตพยาบาลคณะพยาบาลศาสตร์ที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปกี ารศึกษา 2560 และ 2561 ด้วยค่าสถิติเชิง พรรณนา ได้แก่ ความเฉลี่ย (Average) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการรับรู้แหล่งสนับสนุนกับความพึงพอใจในการเรียน ออนไลน์ ของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 ด้วยค่าสถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Spearman rank Correlation Coefficient หรือ Spearman’s rho) เนื่องจากมีการแจกแจงความถี่ไม่เป็นโค้งปกติ ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัย ดงั กลา่ ว สรุปผลการวิจัย 1. นิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ท่ีลงทะเบียนเข้าเรียนในปีการศึกษา 2560 และ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 93 ระดับชั้นปีที่ 3 ร้อยละ 52.86 และชั้นปีที่ 4 ร้อยละ 47.14 ช่วงอายุ 20-22 ปี มากที่สุด ร้อยละ 84.08 รองลงมา คือ ช่วงอายุ 23-25 ปี ร้อยละ 15.29 และช่วง อายุ 25 ปีขึ้นไป ร้อยละ 0.63 ค่าใช้จ่ายต่อเดือนส่วนใหญ่เพียงพอ อาชีพผู้ปกครองส่วนใหญ่คือเกษตรกรรม ร้อยละ 31.85 อุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้ในการเรียนออนไลน์ส่วนใหญ่คือ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) และ