การศกึ ษาพฤติกรรมการดแู ลผู้รบั บริการอย่างเออื้ อาทรของนสิ ิตพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นเรศวร Exploring the Caring Behaviors of Nursing Student, Naresuan University นางสาวกนกรตั น์ วงษห์ บี ทอง นางสาวกทลี กล่อมอู่ นางสาวกนกวรรณ ดา่ นจติ ติศริ ิ นางสาวกมลรัชต์ เท่ยี งตรง นางสาวนิลวรรณ เท่ียงจนั ทร์ นางสาววราภรณ์ ทองดอนง้าว นางสาวอาภาภรณ์ เตมีย์เจรญิ ถาวร Ms.Yangden Kinzang โครงการวจิ ัยนเ้ี ป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา 501478 วจิ ยั เบ้อื งตน้ ทางการพยาบาล หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2562
ประกาศคุณปู การ การศึกษาคน้ คว้าฉบับนี้ สาเร็จลงได้ด้วยความกรุณา และความช่วยเหลืออย่างดียง่ิ จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วงเดือน สุวรรณคีรี อาจารยท์ ี่ปรึกษาวจิ ัย ซึ่งไดก้ รุณาให้ความรู้ ความคิดเห็น แนวคิด คาแนะนา ข้อช้ีแนะที่เป็นประโยชน์ในการทาวิจัยคร้ังน้ี ตลอดทั้งช่วยแก้ไข้ข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่อย่างสม่าเสมอ รวมท้ังได้สละเวลาส่วนตัวในการให้คาปรึกษาตลอดงานวิจัย จนการศึกษาค้นคว้าสาเร็จสมบูรณ์ได้ ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในพระคุณของอาจารย์เป็นอย่างย่ิง และขอ กราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภัสนันท์ ปิยะศิริภัณฑ์ อาจารย์พยาบาลกลุ่มวิชาการพยาบาลผใู้ หญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. จิรารตั น์ หรือตระกลู อาจารยพ์ ยาบาลกล่มุ สาขาการบริหารการพยาบาลและ การพัฒนาวิชาชีพ คณะพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร และศาสตราจารย์ ดร. คัทรียา รัตนวิมล อาจารย์พยาบาลกลุ่มวชิ าการพยาบาลผ้ใู หญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่กรุณาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็น แนวทางท่ีเป็นประโยชน์ต่อการวิจัย แก้ไขและตรวจสอบสอบ เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้ จนทาใหก้ ารศึกษาคน้ คว้าคร้ังนสี้ มบรูณ์และมีคณุ คา่ ขอขอบพระคณุ เจ้าหน้าที่ และบุคลากรประจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ ได้ให้ความช่วยเหลือ และอานวยความสะดวกในการเก็บข้อมูลตลอดการวิจัย และขอขอบคุณนิสิต พยาบาล ช้นั ปที ี่ 3 และชัน้ ที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ซ่ึงเป็นกลมุ่ ตัวอย่างในการ เก็บข้อมูลในการวิจัย และให้ความร่วมมือเป็นอย่างย่ิงในการเก็บข้อมูลและแบบสอบถามจนสาเร็จ ลลุ ่วงดว้ ยดี คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีจากการวิจัยฉบับน้ี คณะผู้วิจัยขออุทิศแด่ผู้มีพระคุณทุกๆท่าน คณะผ้วู ิจัยหวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่า จะมปี ระโยชนต์ ่อผู้ทเี่ กยี่ วข้องและผู้สนใจต่อไป คณะผู้จดั ทา
ชอ่ื เรือ่ ง การศึกษาพฤติกรรมการดูแลผูร้ บั บรกิ ารอย่างเอ้ืออาทรของนสิ ิตพยาบาล ผู้วิจยั มหาวิทยาลัยนเรศวร กนกรัตน์ วงษ์หบี ทอง ประธานทปี่ รึกษา กทลี กลอ่ มอู่ คาสาคัญ กนกวรรณ ด่านจิตตศิ ริ ิ กมลรัชต์ เทีย่ งตรง นิลวรรณ เที่ยงจันทร์ วราภรณ์ ทองดอนงา้ ว อาภาภรณ์ เตมียเ์ จรญิ ถาวร Yangden Kinzang ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วงเดอื น สุวรรณครี ี พฤติกรรม การดูแลผูร้ บั บรกิ ารอย่างเอ้ืออาทร นสิ ิตพยาบาล บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร 2) เพ่ือ เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่างชั้นปีที่ 3 และ ช้ันปีท่ี 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตพยาบาลช้ันปีที่ 3 และชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัย นเรศวร จานวน 146 คน จากการสุ่มอย่างง่ายโดยจับสลากแบบไม่แทนที่ เก็บรวมรวมข้อมูลโดยการ ใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทร ซ่ึงผ่านการตรวจสอบความตรงเชิง เนื้อหา จากผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา ได้ 0.91 และตรวจสอบความ เท่ียงของแบบสอบถาม โดยใช้กลุ่มที่ลกั ษณะใกล้เคียงกลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 30 คนได้ 0.912 สถิตทิ ่ีใช้ วิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ สถิติเชงิ พรรณนา สถิตกิ ารทดสอบค่าที และสถติ ินอนพาราเมตริก ผลการวจิ ยั พบว่า 1) ค่าเฉลยี่ พฤติกรรมการดูแลผ้รู บั บรกิ ารอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล อยใู่ นระดบั สงู (Mean = 2.75, SD = 0.39) โดยพฤติกรรมด้านท่ี 1 การปฎบิ ตั ิด้วยความรักและความ เมตตาต่อเพ่ือนมนุษยม์ คี ่าเฉลี่ยสงู สดุ (Mean = 2.78,SD = 0.26) และดา้ นท่ี 2 การสรา้ งความศรทั ธา และความหวังทีเ่ ปน็ ไปได้มีค่าเฉลย่ี ตา่ สุด (Mean = 2.36,SD = 0.42) และ 2) พฤติกรรมการดูแล ผรู้ ับบริการอย่างเอื้ออาทรโดยรวมของนสิ ิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวรระหว่างชนั้ ปที ี่ 3 และ ชน้ั ปี ท่ี 4 แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทรี่ ะดับ 0.05 โดยด้านทีแ่ ตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคญั คือ ด้านที่ 6 การ นากระบวนการทางวิทยาศาสตรม์ าใชใ้ นการแก้ไขปญั หาและตัดสินใจอย่างเปน็ ระบบ (p = .05) ดา้ นที่ 9 การช่วยให้ไดร้ ับการตอบสนองความต้องการ (p = .05) และด้านท่ี 10 การชว่ ยใหย้ อมรับสง่ิ เกิดข้นึ และดึงพลังทีม่ ีอยู่ออกมาใช้ได้ (p = .01)
Title Exploring the Caring Behaviors of Nursing Students, Naresuan University. Author Kanokrat Wonghipthong Advisor Kuttalee Khom-u Keywords Kanokwan Danjittisiri Ninlawan Thiangjan Apapron Thamicharoenthawon Waraporn Thongdonngow Yangden Kinzang Assist. Prof. Dr. Wongduan Suwannakeeree Caring Behavior, Nursing Student ABSTRACT This descriptive research aims to 1) explore the caring behaviors of nursing students, Naresuan University and 2) to compare the caring behaviors between 3rd and 4th year nursing students. The sample population of 146 nursing students was selected by using Simple Random Sampling. The research tool used was a set of questionnaires about the caring behavior of nursing students which passed the Content Validity Index (CVI) test from 3 experts with a CVI value of 0.91. A pre-test on the Reliability of the questionnaire was tested on a similar sample group of 30 students and obtained a value of 0.912. The statistics used to analyze the data were Descriptive Statistics, Independent t-test and Mann-Whitney test. The results showed 1) a high mean level of the caring behaviors of nursing students (Mean= 2.57, S.D= 0.39). Behavior 1, “practicing loving-kindness and equanimity for self and other” scored the highest mean value (Mean= 2.78, S.D= 0.26) while the 2nd behavior, “instillation of faith and hope” scored the lowest mean value (Mean= 2.36, S.D= 0.42). 2) The caring behavior between the 3rd and 4th year nursing students were found to be significantly different at a level of 0.05 with the behaviors: behavior 6, “systematic use of creative, scientific problem-solving caring process” (p= .05), behavior 9, “assistance with gratification of human need” (p= .05) and behavior 10, “allowance for existential-phenomenological-spiritual forces” (p= .01).
สารบญั บทที่ หน้า 1. บทนา………………..……………………………………………………………………………………..…….….………… 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา…………………………………………………………….…………….. 1 คาถามการวจิ ัย……………………………………………………………………………………………….…………….. 5 วตั ถุประสงค์ของการทาวจิ ยั ……………………………………………………………..……………….…………… 5 สมมติฐานการวิจัย………………………………………………………………..………………………….…….…….. 6 ขอบเขตการวิจยั ……………………………………………………………………………………………….….………. 6 นิยามศพั ท์………………………………………………………………………………………………………....……….. 6 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับจากการวจิ ัย………………………………………………………………..…..…….. 8 2. เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง…………………………………………………………………………………….. 9 พฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทร………………………………………………………………………………… 10 ทฤษฎกี ารดูแลของวตั สัน (Caring Theory)………………………………………………………………….. 14 หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร…………………….. 24 งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง…………………………………………………………………………………………………….. 33 กรอบแนวคิดการวจิ ยั …………………………………………………………………………………………………. 38 3. วธิ กี ารดาเนินการวิจยั ………………………………………………………………………………………………… 39 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง……………………………………………………………………………..……….…. 39 เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย……………………………………………………………………………..……………… 40 การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ยั …………………………………………………………….. 41 การพิทักษ์สิทธ์ิของกลุ่มตัวอย่าง…………………………………………………………………………..……... 42 การรวบรวมขอ้ มูล………………………………………………………………………………………….………….. 42 การวิเคราะห์ข้อมูล……………………………………………………………………………………….……………. 43
สารบญั (ตอ่ ) 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล……………..………..………………………………………………………..………………… 44 ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม…………………………………………………….…………….. 44 ตอนที่ 2 พฤติกรรมการดูแลผู้รบั บริการอยา่ งเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาลมหาวิทยาลยั - นเรศวร……………………………………………………………………………….................................................... 47 ตอนท่ี 3 เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผรู้ ับบริการอยางเออื้ อาทรของนสิ ิตพยาบาลมหาวทิ ยาลยั นเรศวรชน้ั ปท่ี 3 และช้ันปที ่ี 4………………………………………………………………………………………………49 5. สรุปผลการวิจยั การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ…………..………..………………………….…………. 51 สรปุ ผลการวจิ ัย………………….…………………………………………………………………………….…………… 52 การอภปิ รายผลการวิจยั …………………………………………………………………………………..…….………. 52 ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………….……………….……….. 56 บรรณานกุ รม………………………………………………………………..………………………………..….…………. 57 ภาคผนวก ประวัตผวู้ จิ ัย……………………………………………………………………………………………………..………….. 76
สารบญั ตาราง หนา้ 44 ตาราง 1. ตารางแสดงขอมูลทว่ั ไป จาแนกตามจานวนและร้อยละ 2. แสดงค่าเฉล่ยี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับของพฤตกิ รรมการดูแลผ้รู ับบริการอย่างเอ้ืออาทร ของนสิ ิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร 47 3. เปรียบเทียบพฤติกรรมการดแู ลผรู้ ับบรกิ ารอยางเอ้ืออาทรของนิสติ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชน้ั ปีท่ี 3 และชั้นปีที่ 4 48
1 บทที่1 บทนา ทม่ี าและความสาคัญ วชิ าชีพพยาบาลมีหน้าที่ให้บริการสังคมในการดูแลสุขภาพและการเจ็บป่วยของประชาชน ซงึ่ เป็น วิชาชีพที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นตลอดเวลาโดยเฉพาะกับผู้รับบริการและญาติที่มีความแตกต่าง หลากหลาย พยาบาลจะต้องตระหนักถึงความสาคัญของการทาหน้าท่ีนี้และให้บริการโดยคานึงถึง ความเป็นบุคคลของผรู้ ับบริการแตล่ ะคน เรียกว่าการบรกิ ารดว้ ยหัวใจของความเป็นมนษุ ย์ ซึ่งหมายถึง การบริการอย่างเอ้ืออาทร มีความรัก ความเมตตาเป็นที่ต้ัง การบริการนั้นจึงจะเกิดผลดีและมีคุณค่า ตอ่ ทัง้ ผู้รับบรกิ ารและผู้ให้บริการ(จินดามาศ โกศลช่ืนวิจติ ร, 2556) วิชาชีพพยาบาลยังมุ่งเน้นการดูแล บุคคลแบบองค์รวมครอบคลุมท้ังด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ(วรณุ ยุพา รอยกุล เจริญ, 2550 อ้างถึงใน รุ่งทิพย์ พรหมบุตร, วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ,วชิรศักดิ์ อภิพัฒน์กานต์ และธิติพร เกียรติกังวาน, 2552) ทาให้ในการปฏิบัติการพยาบาลจาเป็นต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ความ เอ้ืออาทร ความอดทน เสียสละและหลักจริยธรรมที่สาคัญ คือ ความมีเมตตากรุณา ความเข้าใจใน ความเป็นมนุษยแ์ ละการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ(วลิ ทณี นาคศรสี งั ข์, สพุ ัตรา ไตรอุดม ศรี และตรติ าภรณ์ สร้อยสังวาลย์, 2560) การดูแลอย่างเอ้ืออาทรจงึ เป็นคณุ ลักษณะเฉพาะทางวชิ าชีพ ท่ผี ู้รับบริการทุกคนคาดหวัง เป็นพันธะของวิชาชีพพยาบาลต่อสังคม เป็นแก่นแท้ของวิชาชีพพยาบาล และเป็นเหตุผลที่สังคมต้องมีวิชาชีพนี้พฤติกรรมความเอื้ออาทร (caring) เป็นศาสตร์และศิลป์ในการ กระทาและแสดงความรู้สึกอย่างจริงใจระหว่างบุคคลในกระบวนการดูแลเอ้ืออาทร ความเอ้ืออาทร นั้นเป็นการกระทาท่ีมนุษย์พึงให้ต่อมนุษย์ ซ่ึงเป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อบุคคลตาม บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบทางสังคม โดยมีความเมตตา ความเอาใจใส่เป็นพ้ืนฐาน เน้นความ เป็นมนุษย์โดยช้ีให้เห็นถึงองค์รวมของมนุษย์ท่ีประกอบด้วยกาย จิต จิตวิญญาณ เป็นแก่นของตัวตน เป้าหมายของทฤษฎีนี้คือ การช่วยเหลือให้บุคคลมีดุลยภาพทางกาย จิต จิตวิญญาณ จนกระท่ัง จิตวิญญาณของผู้ดูแลและผู้รับรู้การดูแลหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกันพยาบาลแต่ละคนจะสามารถ ปฏิบัติงานในหน้าท่ีด้วยความเอ้ืออาทรได้นั้น จะต้องได้รับการปลูกฝังและพัฒนาต้ังแต่เป็น นิสิตพยาบาล (Watson, 1999,1988อ้างถึงในรุ่งทิพย์ พรหมบุตร, วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ, วชิรศักด์ิ อภิพฒั น์กานต์,ธติ พิ ร เกยี รติกงั วาน, 2552) จากการศึกษาสถานการณ์พฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทรของพยาบาล พบว่า พฤติกรรมการ ดูแลแบบเอ้ืออาทรแก่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายของพยาบาลจบใหม่อยู่ในระดับปานกลาง โดยพฤติกรรม ความเอ้ืออาทร ด้านความประพฤติ ความเห็นอกเห็นใจ ความมุ่งมั่นท่ีจะทาและความสามารถอยู่ใน ระดับปานกลางเช่นกัน (เตชทัต อัครธนารักษ์,2557) ส่วนการศึกษาของอารีญา ด่านผาทอง (2552) พบว่า ผลพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ดา้ นการเสรมิ สร้างพลังจิต วิญญาณในการมีชีวิตอยู่ มีค่าเฉลี่ยในระดับปานกลาง นอกจากน้ีข้อมูลการฟ้องร้องทางการแพทย์ พบว่ามีการฟอ้ งร้องกรณีพฤตกิ รรมการบริการไม่ดแู ลเอาใจใสม่ ากเปน็ ลาดับ 3 พบในโรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลท่วั ไป 21 คดี สว่ น โรงพยาบาลชมุ ชนพบ 6 คดี(อิทธิพล สูงแขง็ , 2552)
2 การที่พยาบาลมีพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรไม่เหมาะสมย่อมส่งผลให้เกิดผล กระทบต่อผ้รู ับบริการทัง้ ทางด้านร่างกาย จติ ใจ สงั คม และจติ วิญญาณ โดยพบว่า ทาใหฟ้ น้ื หายจาก โรคช้าลงใช้เวลาในการรักษาตัวในหอผู้ป่วยนานข้ึนผู้รับบริการจะรู้สึกกลัว วิตกกังวลและเครียดมาก ข้ึน อารมณ์ไม่ม่ันคง ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จะรู้สึกว่ามีความห่างเหินกับมีความรู้สึกเสียเกียรติ ไร้คุณค่า สูญสิ้นความหวัง และจดจาประสบการณ์ท่ีไม่ด(ี Webb, Carlton & Geehan, 2000,Brown &Dooley, 1996,Hudak,Gallo&Morton, 1998,Swanson, 1999 อ้างถึงใน บุญตา สุขวดี, 2551) ผลกระทบต่อญาติผู้รับบริการ พบว่า สมาชิกในครอบครัวผู้รับบริการไม่ได้รับการตอบสนองความ ต้องการเท่าที่ควร อาจเน่ืองจากการมีเวลาไม่เพียงพอขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการ ของสมาชิกในครอบครัวผู้รับบริการเท่าที่ควรหรืออาจมองไม่เห็นความสาคัญของความต้องการของ สมาชิกในครอบครัวผู้รับบริการจึงทาให้ไม่สามารถรับรู้ถึงความต้องการท่ีแท้จริงของสมาชิกใน ครอบครัวผู้รับบริการ ส่งผลให้ไม่สามารถให้การพยาบาลเพ่ือตอบสนองความต้องการของสมาชิกใน ครอบครัวผู้รับบริการได้เท่าที่ควร ทาให้ญาติผู้รับบริการเกิดความเครียดและความวิตกกังวลมากข้ึน (Malleyet al, 1991 อ้างถึงใน วิไลลักษณ์ ประยูรพงษ์, 2543) ผลกระทบต่อหน่วยงานการบริการ ของโรงพยาบาลทาให้มีผลกระทบต่อความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ าร(เทพพิภพ พลม่วง, 2557) และยังมี ผลกระทบต่อวชิ าชพี การพยาบาล โดยพยาบาลจะถูกมองวา่ ไม่ทางานตามหน้าท่ี ทาใหว้ ิชาชพี มีคุณค่า ลดลง(Axon, 1992 อ้างถงึ ใน บญุ ตา สขุ วดี, 2551) การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาหรือผลกระทบดังกล่าว พยาบาลควรตระหนักถึงการดูแลผู้บริการ อย่างเอ้อื อาทร เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิการพยาบาล สือ่ ให้ผู้รับบรกิ ารรับร้วู ่าไดร้ ับการดแู ลอยา่ ง เอ้ืออาทรจากพยาบาล เพื่อลดผลกระทบดังกล่าวต้องเตรียมให้พยาบาลมีพฤติกรรมการดูแล ผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรท่ีเหมาะสม ซ่ึงต้องได้รับการปลูกฝังและพัฒนาตั้งแต่การเป็นนิสิตพยาบาล ซึ่งวิธีการพัฒนาพฤติกรรมดังกล่าวสามารถทาได้โดย หม่ันสารวจความคิด ความเชื่อของตนเอง มคี วามพึงพอใจในการเปน็ ผู้ใหค้ ณุ คา่ และศักดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์แก่กันและกนั มีความเมตตาและเห็น แกป่ ระโยชน์ของผู้อื่น ตระหนกั ว่าผู้รบั บรกิ ารแตล่ ะคนต่างก็มมี ุมมองของชีวติ ที่แตกต่างกัน มีปฏิกิรยิ า ตอบสนองต่อชีวิตและความเจ็บป่วยที่แตกต่างกัน มีความไวต่อความรู้สึกของตนและกล้าเปิดเผย ความรู้สึกนั้นออกมาเพ่ือทาให้รู้จักกันและปรับตนให้เข้ากันได้มากย่ิงข้ึน ฝึกในการรับสัมผัส กับโลก ภายในของผู้รับบริการเสมือนหนึ่งว่าเป็นโลกภายในของตน การรู้จักเอาใจผู้รับบริการมาใส่ในใจตน เพื่อจะรับรู้ว่าผู้รับบริการมีความรู้สึกอย่างไรเม่ือต้องประสบกับสถานการณ์ต่างๆ ท้ังความเจ็บป่วย ความทุกข์ ความสุขจะได้เข้าใจและตอบสนองต่อความรู้สึกของผู้รับบริการอย่างถูกต้องเหมาะสม ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์นามาแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและต่อเน่ืองในการดูแลผู้รับบริการ (Watson, 2008 อ้างถึงใน จุฬาวิทยานุกรม, 2554) ซ่ึงพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทร ตามแนวคิด 10 ประการของวัตสันประกอบด้วย โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือช่วยเหลือผู้รับบริการและ ผู้เกี่ยวข้องให้ได้รับการดูแลท่ีมีประสิทธิภาพ 1) การปฏิบัติด้วยความรักและความเมตตาต่อเพื่อน มนุษย์ 2) สร้างความหวังและศรัทธาที่เป็นไปได้ 3) การรู้จักความรู้สึกของตนเองและไวต่อความรู้สึก ของผู้อ่ืน 4) การสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการช่วยเหลือแบบไว้วางใจและจริงใจ 5) การยอมรับ การแสดงความรูส้ ึกด้านบวกและดา้ นลบ 6) การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใชใ้ นการแก้ปัญหา และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ 7) การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล 8) การเตรียมการเพ่ือสนับสนุน
3 ปกป้อง หรือแก้ไขภาวะทางกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณ 9) การช่วยให้ได้รับการตอบสนองความ ต้องการ 10) การช่วยให้ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้นและดึงพลังที่มีอยู่ออกมาใช้ได้(Watson, 1997 อ้างถึงใน จอนผะจง เพด็ จาด, 2553) การสร้างเสริมพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาลสามารถพัฒนาผ่าน หลักสูตรการเรียนการสอน ท้ังกิจกรรมในหลักสูตรและนอกหลักสูตร และจากการศึกษาของสุมาลี เอ่ียมสมัย, นีออน พิณประดิษฐ์ และกิ่งฟ้า สินธุวงษ์(2553) พบว่านักศึกษาพยาบาลหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต มพี ฤติกรรมดแู ลอย่างเออ้ื อาทรก่อนใช้รูปแบบการเรียนการสอนโดยบรู ณาการ หลักพุทธธรรมเพ่ือปลูกฝังพฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทรสูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการเรียนการสอน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยรูปแบบการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวประกอบด้วย มีจุดมุ่งหมาย 1).การส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอื้ออาทรให้แก่ผู้เรียนในด้านต่างๆ ได้แก่การสร้างระบบค่านิยมที่ เห็นแก่ประโยชน์ของคนอ่ืน การสร้างศรัทธาและความหวัง ไวต่อความรู้สึกของตนเองและผู้อ่ืนการ ดูแลอย่างเอ้ืออาทรที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ความเป็นกัลยาณมิตร และ2) ข้ันตอนการส่งเสริม พฤติกรรมดแู ลอย่างเอื้ออาทรมีท้ังหมด 7 ข้ันตอนดังนี้ ขัน้ ที่ 1 ฝกึ สมาธิมีสติ ข้นั ที่ 2 เรียนรู้พฤติกรรม ดูแลอย่างเอ้ืออาทรจากสถานการณ์ ข้ันที่ 3 วิเคราะห์สถานการณ์ด้วยหลักการดูแลอย่างเอ้ืออาทร ข้ันที่ 4 ร่วมสร้างความรู้อย่างเอื้ออาทร ข้ันที่ 5 กัลยาณมิตรแลกเปล่ียน ข้ันที่ 6 สรุปความรู้โดย หลักการดูแลอย่างเอ้ืออาทร ขั้นที่ 7 สะท้อนและเสริมแรงพฤติกรรมดูแลอย่างเอื้ออาทร ส่วน การศึกษาของรุ่งทิพย์พรหมบุตร, วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ, วชิรศักดิ์ อภิพัฒน์กานต์ และธิติพร เกียรติ กังวาน (2552) พบว่าการพยาบาลด้วยความเอ้ืออาทรของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีท่ี 3 วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น ในการเรียนการสอนวชิ าปฏิบัติการพยาบาลบุคคลทมี่ ีปัญหาสุขภาพ ชนั้ ปีท่ี 3 ตามการรับรู้ของผู้รับบริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับการจัดการศึกษา การพยาบาลด้วยความเอือ้ อาทรในหลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตของวทิ ยาลัยพยาบาล ซึง่ มนี โยบาย การจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและการคิดอย่างเป็นระบบตาม แนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และได้สอดแทรกคุณธรรมในทุกรายวิชาใน ภาคทฤษฎี โดยเฉพาะในรายวิชาทางการพยาบาล อีกท้ังได้บูรณาการเร่ืองความเอื้ออาทรผ่านทาง กิจกรรมพัฒนานักศึกษา เช่น อบรมคุณธรรมและจริยธรรม การออกค่ายอาสาพัฒนาชุมชน และการ ออกค่ายอาสาร่วมกับนักศกึ ษาสถาบันอดุ มศกึ ษาในเครอื ขา่ ยโครงการบัณฑิตอุดมคติไทย เปน็ ต้น และ จากการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรตามการรับรู้ของนักเรียน พยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 และชั้นปีท่ี 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ พบว่าพฤติกรรมการดูแล ผ้รู ับบรกิ ารอย่างเออื้ อาทรโดยรวมตามการรับรู้ของนักเรียนพยาบาลศาสตรช์ ้ันปีท่ี 3 และช้ันปีที่ 4 อยู่ ในระดับสูงมาก และไม่แตกตา่ งกนั (สินนี ุช ศิรวิ งศ์, มีคา่ มาดี, และคณะ,2560) นอกจากการเรียนรใู้ นหลักสูตรแลว้ การเรยี นรพู้ ฤตกิ รรมเอื้ออาทรของนิสติ พยาบาลถูกซมึ ซับ จากการรับรู้ว่าตนเองได้รับความเอื้ออาทรจากผู้อื่นโดยเฉพาะอาจารย์ผู้สอน ทาให้นิสิตพยาบาลนา ประสบการณ์ท่ีได้รับไปปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ซึ่งพฤติกรรมการสอนของอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา ภาคปฏิบัติมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการปรับตัว ความสามารถในการเรียนและการเป็นแบบอย่างของ พฤตกิ รรมทนี่ ิสติ พยาบาลจะจดจาและนาไปปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ให้การสอนพฤตกิ รรมการดูแลผูร้ ับบรกิ ารอยา่ ง เอ้ืออาทรมปี ระสิทธิภาพ สถาบันการศึกษาจงึ จาเปน็ ต้องมีแบบอย่างท่ีดแี ก่นสิ ิตพยาบาล ซึ่งการที่นิสิต
4 พยาบาลมีประสบการณ์ที่ดีได้รับการดูแลอย่างเอื้ออาทรจากอาจารย์ผู้สอนจะทาให้นิสิตพยาบาลเกิด การเรียนรู้ท่ีจะแสดงพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรต่อผู้รับบริการได้ดี ยิ่งข้ึน (นรากูล พดั ทอง, 2558) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเชื่อว่าการพยาบาลเป็นการบริการที่จาเป็น ต่อสังคมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัวและชุมชนท้ังในภาวะสุขภาพดีและเจ็บป่วย โดยใช้ศาสตรท์ างการพยาบาลและศาสตรท์ ีเ่ กี่ยวข้องโดยเน้นการพยาบาลอย่างเป็นองค์รวมครอบคลุม กาย จิต อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ เพ่ือให้ได้บัณฑิตท่ีมีความรู้และทักษะทางการพยาบาล พร้อมที่จะเป็นพยาบาลวิชาชีพท่ี ให้บริการอย่างมีคุณภาพ มีความเอ้ืออาทร ยึดม่ันในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ มีภาวะผู้นา ใฝ่รู้ สามารถคิดวิเคราะห์และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน นาผลการวิจัยมาใช้ใน การปฏิบัติงาน และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง มีทัศนคติท่ีดีต่อวิชาชีพ มีจิตสานึกใน การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยและดารงตนให้เป็นคนเก่งคิด เก่งงาน เก่งคน เก่งพิชิตปัญหาและดารงตนอยู่ในสังคมได้อย่างผาสุก(คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, 2559) โดยคณะพยาบาลศาสตรไ์ ด้จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในหลกั สูตรและ นอกหลักสูตรตลอดจนมีการพัฒนาอาจารย์ผู้สอน และส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือต่อการปลูกฝังและพัฒนา พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาลมาเป็นลาดับต้ังแต่ชั้นปีที่ 1 จนสาเร็จ การศึกษา เช่น การบูรณาการเน้ือหาที่เกย่ี วขอ้ งกบั พฤติกรรมเออื้ อาทรลง ในรายวชิ าจติ สาธารณะเพื่อ การบริการ มโนมติ ทฤษฎีและวิชาชีพการพยาบาลกฎหมายและจริยศาสตร์สาหรับวิชาชีพพยาบาล และมีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาชีพการพยาบาล เพ่ือให้นิสิตดูแลผู้รับบริการได้ทุกช่วงวัย ในทุกภาวะสุขภาพท้ังผู้ท่ีมีสุขภาพดีและเจ็บป่วย เน้นการดูแลสุขภาพเพื่อให้การดูแลผู้รับบริการได้ ครอบคลุมแบบองค์รวม(คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2559) นอกจากน้ียังมีการ ประเมินพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาลในทุกรายวิชาท่ีมีการฝึก ปฏิบัติการพยาบาลกับผู้รับบริการ การจัดกิจกรรมนอกหลักสูตรของมหาวิทยาลัยนเรศวร เช่น โครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ โครงการเปิดโลกกิจกรรม โครงการบายศรีสู่ขวัญนิสิตใหม่ โครงการไหว้ ครูมหาวิทยาลัย และโครงการตักบาตรพระต้อนรับนิสิตใหม่ เป็นต้น ยังช่วยบ่มเพาะให้นิสิตมี พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรมากข้ึนด้วย ซ่ึงยังไม่มีการศึกษาเพ่ือประเมินพฤติกรรม การดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาลโดยภาพรวม ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาพฤติกรรมการ ดูแลผู้รับบริการอย่าเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล ที่มีประสบการณ์ในการดูแลผู้รับบริการข้อมูลท่ีได้จะ ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับผู้บริหารและผู้ที่เก่ียวข้องในการจัดกิจกรรมและส่ิงแวดล้อมเพื่อพัฒนา พฤติกรรมการดแู ลผู้รับบริการอยา่ งเออื้ อาทรของนิสติ พยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวรในโอกาสตอ่ ไป คาถามการวจิ ยั 1. พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็น อย่างไร 2. พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปที ่ี 3 และช้ันปที ่ี 4 แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อย่างไร
5 วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัย นเรศวร 2. เพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวทิ ยาลัยนเรศวรระหว่างชน้ั ปีที่ 3 และ ช้ันปีท่ี 4 สมมติฐานการวิจัย พฤติกรรมการดูแลผรู้ บั บรกิ ารอยา่ งเอ้ืออาทรของนสิ ิตพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นเรศวรช้ันปีที่ 3 แตกตา่ งกบั ชนั้ ปที ี่ 4 ขอบเขตการวจิ ยั การวจิ ัยครง้ั น้เี ปน็ งานวจิ ยั เชิงพรรณนา โดยมขี อบเขตการวิจัยดังนี้ 1. ด้านเนือ้ หางานวิจัยนี้ได้ศกึ ษาเน้ือหาเกีย่ วกบั พฤติกรรมการดแู ลอยา่ งเออื้ อาทร ทฤษฏีการดูแลของวัตสัน และหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย- นเรศวร 2. ขอบเขตด้านประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 2.1 ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษา คือ นิสิตพยาบาลชั้นปีที่ 3 และช้ันปีที่ 4 ทีก่ าลัง ศึกษาในภาคเรียนต้น ปีการศึกษา 2562 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร จานวน 230 คน (โดยแบ่งเป็นชั้นปที ี่ 3 จานวน 117 คน, ชั้นปที ี่ 4 จานวน 113 คน) 2.2 กลุ่มตัวอยา่ งทใี่ ช้ในงานวิจยั การวจิ ยั นี้ทาการเลือกนสิ ติ หลกั สตู รพยาบาล- ศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 และชั้นปีท่ี 4 มหาวิทยาลัยนเรศวรท่ีกาลังศึกษาในภาคเรียนต้น ปีการศึกษา 2562กาหนดขนาดตัวอยา่ งได้จากการคานวณโดยใช้วิธีของทาโร่ ยามาเน่ (Yamane, 1970 อ้างถึงใน บุญใจ ศรีสถิตนรากูล, 2553) กาหนดขนาดความคลาดเคลื่อนที่ α = .05 ได้จานวนกลุ่มตัวอย่างใน แต่ละช้ันปี ดังน้ี ช้ันปีที่ 3 จานวน 74 คน และช้ันปีที่ 4 จานวน 72 คน รวมทั้งสิ้น 146 คน เพ่ือ ป้องกันการสูญหายของกลุ่มตัวอย่างการวิจัยคร้ังน้ีจึงเพ่ิมกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 10 (Polit, D.F. &Beck, 2004) คดิ เป็น 14 คน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิน้ 160 คน (ชัน้ ปีที่3 จานวน 81 คน และ ชน้ั ปีท่ี 4 จานวน 79คน) จากน้ันทาการสุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่ายโดยจับสลากแบบไม่แทนที่ (Sampling without replacement) เพื่อคดั เลอื กกลุ่มตัวอย่างในชนั้ ปที ่ี 3 และช้ันปที ี่ 4 3. ระยะเวลาในการศึกษา ต้งั แต่ เดือน กรกฎาคมถึง ตลุ าคม 2562 4. ตวั แปรทใี่ ชใ้ นการวิจัย พฤตกิ รรมการดูแลผู้รบั บรกิ ารอย่างเอ้ืออาทร
6 นิยามศัพท์ พฤติกรรมการดแู ลผู้รบั บริการอย่างเอ้ืออาทร หมายถึง การปฏบิ ัตแิ ละแสดงความรสู้ ึกอยา่ ง จรงิ ใจของนิสิตพยาบาลกับผู้รับบรกิ ารขณะข้นึ ฝึกปฏิบัตกิ ารพยาบาลรายวชิ าปฏบิ ัติการพยาบาลตา่ งๆ ของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต แบบแนวคิดของวัตสัน (Watson , 1997 อ้างถึงใน จอนผะจง เพ็ดจาด, 2553) ตามการรายงานของนสิ ติ พยาบาล ประกอบด้วย 10 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 การปฏิบัติด้วยความรักและความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ หมายถึง การปฏิบัติของ นิสิตพยาบาลที่แสดงถึงความเข้าใจ และยอมรับผู้รับบริการ โดยยอมรับความแตกต่างบุคคล ค่านิยม ความเชือ่ วฒั นธรรม และปรชั ญาชวี ิต เคารพในความเป็นบคุ คลของผรู้ ับบรกิ าร ด้านที่ 2 สร้างความหวังและศรัทธาท่ีเป็นไปได้ หมายถึง การปฏิบัติของนิสิตพยาบาลท่ีช่วย ให้ผู้รับบริการเกิดความเช่ือมั่น เกิดศรัทธาและความหวังท่ีเป็นรูปธรรม โดยการให้ข้อมูลที่ชัดเจน แสดงออกด้วยท่าทางเช่ือมั่น ปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีความรู้ ทักษะ และสามารถให้คาแนะนา ผู้รับบรกิ ารได้ ด้านท่ี 3 การรับรู้จักความรู้สึกของตนเองและไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น หมายถึง การปฏิบัติ ของนิสิตพยาบาลท่ีตระหนักรู้ตัวอยู่เสมอถึงความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนกับตนในขณะน้ัน รับรู้ถึงความรู้ของ ผูร้ ับบรกิ าร และความรู้สกึ ที่เปลีย่ นแปลงไปของผูร้ บั บริการ ด้านที่ 4 การสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการช่วยเหลือแบบไว้วางใจและจริงใจ หมายถึง การปฏิบัติของนิสิตพยาบาลที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้รับบริการอย่างจริงใจ เปิดเผยและซื่อสัตย์ ท้ังภาษา กาย การสัมผัสและน้าเสียง ด้านท่ี 5 การยอมรับการแสดงความรู้สึกด้านบวกและด้านลบ หมายถึง การปฏิบัติของนิสิต พยาบาลที่ยอมรับการแสดงออกของผู้รับบริการได้อย่างจริงใจ สามารถให้อภัยต่อการแสดงออกของ ผูร้ บั บรกิ าร และเขา้ ใจความรสู้ กึ ต่างๆทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ผรู้ ับบริการ ด้านที่ 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็น ระบบ หมายถึง การปฏิบัติของนิสิตพยาบาลที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อวินิจฉัยปัญหาที่เกิดข้ึน ค้นหาวิธดี แู ล วางแผนการพยาบาล นาไปปฏบิ ตั แิ ละประเมนิ ผลลพั ธ์ ด้านที่ 7 การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล หมายถึง การปฏิบัติของนิสิตพยาบาลที่สร้าง สัมพันธภาพนิสิตพยาบาล ผู้รับบริการและญาติ โดยการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการให้ข้อมูล การสอนที่ เป็นประโยชนต์ อ่ ผู้รับบรกิ าร หรอื การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้านท่ี 8 การเตรียมการเพ่ือสนับสนุน ปกป้อง หรือแก้ไขภาวะทางกาย จิตสังคม และจิต วญิ ญาณ หมายถึงการปฏิบัติของนิสิตพยาบาลท่ีประเมินการรับรู้ของผรู้ ับบรกิ ารและความสามารถใน การปรบั ตวั ตอ่ สถานการณน์ ัน้ เพื่อสามารถให้การสนับสนุนและชว่ ยเหลือให้ปรบั ตัวได้อยา่ งเหมาะสม ด้านที่ 9 การช่วยให้ได้รับการตอบสนองความต้องการ หมายถึง การปฏิบัติของนสิ ิตพยาบาล ท่ตี อบสนองความตอ้ งการผ้รู บั บรกิ ารอยา่ งครบถว้ น ด้านที่ 10 การช่วยให้ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้นและดึงพลังที่มีอยู่ออกมาใช้ได้ หมายถึง การปฏิบัติ ของนิสิตพยาบาลท่ีแนะนาและให้โอกาสผู้รับบริการแสดงออกซ่ึงความเช่ือทางศาสนา แสดงความรัก และมีสัมพันธภาพกับครอบครัวหรือผู้ที่เป็นแหล่งของความหวังและกาลังใจ นาผู้รับบริการให้ค้นพบ แหล่งพลงั จิตวญิ ญาณของตนและคน้ พบสัจธรรมของชวี ติ
7 นิสติ พยาบาล หมายถงึ ผู้เรยี นในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ท่ีกาลงั ศึกษาในระดับช้ันปี ท่ี 3 และ ช้ันปีท่ี 4 ภาคเรียนตน้ ปีการศึกษา 2562 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการวิจัย ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ในคร้ังนี้ สามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับคณะผู้บริหาร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในการพัฒนาการศึกษาท้ังในและนอกหลักสูตร รวมทั้งการจัดกิจกรรมเพ่ือ สง่ เสริมพฤตกิ รรมการดูแลอย่างเออื้ อาทรท่ีดีในนสิ ติ พยาบาลให้คงอยูต่ ลอดไป
8 บทท่ี 2 วรรณกรรมทเี่ กีย่ วข้อง การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่าง เอื้ออาทรของนสิ ิตพยาบาล มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ซง่ึ ผูว้ ิจัยไดศ้ ึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง โดยจะขอนาเสนอตามหวั ขอ้ ดังต่อไปนี้ 1.พฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทร 1.1 ความหมายของพฤติกรรมการดแู ลอย่างเอ้ืออาทร 1.2 ปัจจยั ทีผ่ ลตอ่ พฤตกิ รรมมนุษย์ดแู ลอย่างเออ้ื อาทร 2. ทฤษฎีการดูแลของวัตสนั (Caring Theory) 2.1 ความหมายของพฤติกรรมการดูแลผูร้ บั บรกิ ารอยา่ งเอ้ืออาทร 2.2 ความเช่ือพื้นฐานของทฤษฎีการดแู ลของวตั สนั 2.3 แกนหลกั ของทฤษฎกี ารดแู ลชองวตั สนั 2.4 ขอ้ ตกลงเบ้ืองต้นของทฤษฎกี ารดูของวัตสนั 2.5 องคป์ ระกอบพฤตกิ รรมการดูแลผรู้ บั บริการอย่างเออ้ื อาทร 10 ดา้ น 2.6 กระบวนการปฏิบตั กิ ารดแู ลผรู้ บั บรกิ ารอยา่ งเอ้ืออาทร 2.7 ประโยชนแ์ ละการนาไปใช้ทางการพยาบาล 3. หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3.1 ปรัชญา และวตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร 3.2 คาอธิบายรายวชิ าทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทร 3.3 แผนการศกึ ษา 4. งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง 5. กรอบแนวคดิ การวจิ ัย
9 1.พฤตกิ รรมการดแู ลอย่างเอือ้ อาทร 1.1 ความหมายของพฤตกิ รรมการดแู ลอยา่ งเอ้ืออาทร พฤติกรรมความเอ้ืออาทรหมายถึง การกระทาใดๆท่ชี ่วยเหลอื ประคับประคองและเอื้ออานวย ให้บุคคลสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขและมีคุณค่า(อารี ชีวเกษมสุข, 2542 อ้างถึงใน รุ่งทิพย์พรหมบุตร, วัชรีอมรโรจนว์ รวฒุ ิ, วชริ ศกั ดอิ์ ภิพฒั น์กานต์และธติ ิพรเกยี รตกิ ังวาน, 2552) การดูแลอย่างเอื้ออาทร หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อบุคคลหรือระหว่างบุคคลต่อ สัตว์และสรรพสิ่งต่างๆ ตามบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบทางสังคมโดยมีความรัก ความเมตตา กรุณา ความสนใจเอาใจใส่ เป็นพ้ืนฐานเพื่อการดารงอยู่ของชีวิตและสรรพสิ่งขณะเดียวกันมนุษย์ก็มี ความสามารถที่จะรักและเอ้ือเฟื้อต่อผู้อื่นแม้จะแตกต่างกันในเช้ือชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ ความสามารถน้ีเกดิ จากการที่จติ ใจมีความเมตตากรณุ า เห็นอกเห็นใจ และเหน็ ในคุณค่าของความเป็น มนุษยข์ องคนอืน่ อย่เู สมอ(Baner, 2548 อา้ งถงึ ใน จินดามาศ โกศลชนื่ วิจิตร, 2556) การดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทร หมายถึงการกระทาของพยาบาลที่ปฏิบัติต่อผู้ที่เจ็บป่วย หรือผู้รับบริการสุขภาพด้วยความมีเมตตากรุณาสนใจเอาใจใส่ใจต่ออารมณ์ ความรู้สึกและความ ตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ าร(สพุ ิตราเศลวตั นะกลุ และธดิ ารตั น์คณงึ เพยี ร, 2556) พัชรี พงษ์พานิช, จาลอง เมฆศรีสวรรค์และจิราพรรณ ปุ่นเอ้ือง(2558)กล่าวว่า การดูแล ผูร้ ับบริการอย่างเอื้ออาทร ทาใหผ้ ู้รบั บรกิ ารรูว้ ่าตนได้รบั การดูแลอย่างเอ้ืออาทร จะทาใหผ้ ้รู ับบริการมี ความผาสกุ ท้งั ด้านร่างกาย จิตใจ สงั คม และจติ วิญญาณโดยด้านรา่ งกาย จะทาให้ผรู้ ับบริการรสู้ ึกเป็น สขุ และฟื้นหายจากโรคเร็วข้ึนด้านจิตใจ ผู้รับบรกิ ารมีความรู้สึกปลอดภัยและรู้สึกว่าพยาบาลเขา้ ใจใน ความเจ็บป่วยของตนเองทางด้านสังคม การดูแลอย่างเอื้ออาทรจะทาให้ผู้รับบริการรู้สึกว่าตนเองมี ส่วนร่วมในการรักษาด้านจติ วิญญาณ ทาให้ผ้รู ับบริการมคี วามหวงั และกาลังใจ รู้สึกว่าตนมีคณุ คา่ และ มีความภาคภูมิใจ มีพลังอานาจ มีเกียรติและมีศักด์ิศรีในความเป็นมนุษย์มีความมั่นใจในความ ปลอดภัยของตนเอง พงึ พอใจกบั การดูแลทไ่ี ด้รบั ความเอื้ออาทรเป็นส่ิงสาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยความเอ้ืออาทร คล้ายคลึงกับการทาให้อบอุ่นใจแต่มีความหมายลึกซ้ึงกว่าซึ่งเกิดขึ้นจากการตระ หนักถึงคุณคาของ บุคคลความเข้าใจในชีวิตมนุษย์และก่อให้เกิดความปรารถนาท่ีดีต่อกันความรู้สึกเอ้ืออาทรต่อกัน ระหว่างบุคคลเป็นความรู้สึกที่ยากแก่การอธิบายและการแสดงออกของความเอ้ืออาทรคือ ความอ่อนโยนความเคารพต่อการเป็นตัวของตัวเองของผู้ป่วยความห่วงใยการปฏิบัติหน้า ท่ีด้วย ความเอ้ืออาทรก่อให้เกิดความรู้สึกคุ้นเคยเป็นกันเองและอบอุ่นใจแก่ผู้ป่วยส่วน(สิวลี,2553 อ้างถึงใน ปรศั นียาภรณ์ ฤกษดายุทธ์, 2556) การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลโดยมีความรทู้ ักษะปฏิบัตกิ ารดูแลและสร้างสมั พันธภาพระหว่างบคุ คล ควบคู่กันไปแสดงออกถึงความรักในเพ่ือนมนุษย์เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์และให้ความเคารพใน สิทธิมนุษยชนปฏิบัติการพยาบาลด้วยความเมตตาปราณีไม่ทอดทิ้งเหมือนผู้ไร้ค่า(ฟาริดา, 2541 อ้าง ถงึ ใน ปรัศนยี าภรณ์ ฤกษดายุทธ์ 2556) ดังน้นั พฤตกิ รรมการดแู ลผูร้ บั บริการอย่างเออ้ื อาทร หมายถึง การกระทาทีใ่ ชศ้ าสตร์และศลิ ป์ ในการปฏิบัติและแสดงความรู้สึกอย่างจริงใจระหว่างบุคคล ที่ต่างมีศักยภาพและได้รับประโยชน์ ร่วมกันในขบวนการดูแลอย่างเอื้ออาทร ซ่ึงเปน็ การดูแลที่ต่างฝ่ายต่างเขา้ ถึงความร้สู ึก และสัมผัสจิตใจ
10 ของกันและกันการกระทาของพยาบาลต่อผู้ท่ีเจ็บป่วยหรือผู้รับบริการด้านสุขภาพด้วยความมีความ เออื้ อาทร เมตตากรุณาสนใจเอาใจใส่ใจตอ่ อารมณ์ ความรสู้ ึก และความต้องการของผรู้ ับบริการ ซ่ึงวิชาชีพพยาบาลต้องมีความเอ้ืออาทรเป็นหลักการดูแลผู้รับบริการทุกคน และเป็น คุณส มบัติของพยาบาล ทุกคนท่ีพึ่งมีตามสภาการพย าบาลได้กาห นดไว้เป็น วิชาชีพพย าบาลกับ จริยธรรมมนุษย์ทพ่ี ยาบาลต้องปฏิบัติหน้าที่เกีย่ วข้องด้วยนั้นเป็นมนุษย์ท่ีอยู่ในความทกุ ข์ ไม่วา่ จะเป็น ผู้ป่วย ญาติพี่น้อง เพ่ือนฝูง บุคคลเหล่าน้ันนอกจากจะต้องการได้รับการบาบัดอาการของโรคแล้วยัง ต้องการความอบอุ่นทางจิตใจ ต้องการเพื่อน ต้องการท่ีปรึกษาต้องการความช่วยเหลือ และต้องการ ความเข้าใจจากแพทย์จากพยาบาลในฐานะที่เป็นมนุษย์ด้วยกัน ข้อเท็จจริงท่ีมักปรากฎให้เห็นเสมอก็ คือ ถ้าเกิดกรณีกระทบกระทั่งระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยหรือญาติมิตรแล้วจะเกิดการต่อว่าที่ค่อนข้าง รุนแรงข้อความที่มักจะได้ยินได้ฟังอย่เู สมอ ได้แก่ \"เป็นพยาบาลไมน่ า่ พดู จาอย่างนี้เลย\" “ทาเหมอื นเรา ไม่ใช่มนุษย์” “พยาบาลทางานเหมือนหุ่นยนต์\" ฯลฯ ปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นนั้นถ้าวิเคราะหใ์ ห้ละเอียด แล้วอาจมีสาเหตมุ าจากท้ังฝ่ายผู้ปว่ ยเอง และฝ่ายพยาบาลประการหนึ่ง มีสาเหตุมาจากความคาดหวัง ของสังคมผู้ป่วยท่ีมีต่อพยาบาลค่อนข้างสูง เม่ือพยาบาลปฏิบัติไม่ได้ตามท่ีคาดหวัง ก็ขุ่นเคือง และอีก สาเหตุหน่ึงท่ีสาคัญคือบุคคลผู้เป็นพยาบาลบางคนละเลยต่อเรื่องของจริยธรรม ขาดความข้าใจใน หนา้ ที่และปรชั ญาของวชิ าชพี มุ่งปฏิบตั ิงานแตด่ ้านรักษา (Curing) แต่ละเลยต่อการเอ้ืออาทรอันอบอุ่น (warm caring) การปฏิบัติงานของพยาบาลทีเ่ ป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลจะต้องอาศัย คุณค่ าขอ งกา รปฏิ บัติง านท างด้ านวิ ทยา ศา สต ร์ คว บ คู่ไป กับคุ ณค่า ทาง จริย ธ รม คื อ ความเมตตา ความออ่ นโยนความเอื้ออาทร และการตระหนักในคุณค่าความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย และ การรวู้ ่าอะไรควรทา อะไรไมค่ วรทาในบางสถานการณ์ 1.2 ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อพฤตกิ รรมเออ้ื อาทร การที่บุคคลแสดงพฤติกรรรมการเอ้ืออาทรออกมา มีผลมาจากส่ิงแวดล้อมภายใน และ สิ่งแวดล้อมภายนอก ท่ีอยู่บริเวณรอบตัวของแต่ละบุคคลรวมทั้งการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและ การศึกษาและจากการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ ปจั จยั ส่วนบคุ คล อายุ จากการทบทวนวรรณกรรมมีผู้ศึกษาวิจัยพบว่าอายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแล ผู้ปว่ ยแบบเอ้ืออาทรของพยาบาลวชิ าชีพดังจะเห็นได้จากการศึกษาของอารีญา (2552) เรื่องพฤติกรรม การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเอ้ืออาทรตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลแพร่พบว่า พยาบาลกลุ่มท่ีมีอายุแตกต่างกัน พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเอ้ืออาทรจะเพ่ิมข้ึนตาม อายุกลุ่มอายุ 41 ปีขึ้นไปมีการรับรู้พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเอ้ืออาทรสูงกว่ากลุ่ม อายุ 20-30 ปีแสดงว่าพยาบาลวิชาชีพท่ีมีอายุมากมีการรับรู้พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย อย่างเออ้ื อาทรสูงกวา่ พยาบาลวชิ าชพี ท่ีมอี ายุน้อยกวา่ ระดบั การศึกษา จากการทบวรรณกรรมผู้ศึกษาวิจัย พบว่าระดับการศึกษามีความสัมพนธ์กับพฤติกรรมการ ดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล งานวิจัยของ สินีนุช ศิริวงศ์ (2560) ได้ศึกษา เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผูป้ ่วยอยา่ งเออื้ อาทรตามการรบั ูร้ของนกั เรยี นพยาบาลศาสตร์ช้นั ปี่ท่ี 3
11 และช้ันปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือมีผลการวิจัยว่าพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่าง เออ้ื อาทรตามการรับรู้ของนักเรียนพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที ่ี 3 และชน้ั ปที ่ี 4 ไม่แตกต่าง ประสบการณก์ ารทางาน ประสบการณ์ทางาน หมายถึง การรอบรู้ หรือรู้รอบด้าน จากการการได้เห็น ได้สัมผัส ได้ลง มอื ปฏบิ ัติบ่อยๆ ไม่ใชม่ ีความรู้ด้านวิชาการแต่เพียงอย่างเดียว “ผู้มีชั่วโมงบินสูงในการทางาน” คือคน ที่ทางานมานานและชานาญในเรื่องน้ันๆเป็นอย่างมากคนเหล่าน้ีถือว่าเป็นผู้มีประสบการณ์สูง จะ ทางานผิดพลาดน้อย(สมพิศ สุขแสน,2556) และจากการศึกษางานวิจัยของเตชัต อัครธนารักษ์ (2557)ได้ศึกษาการเตรียมความพร้อม ความรู้ และพฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรแก่ผู้ป่วยระยะ สุดท้ายของพยาบาลจบใหม่พบว่าพยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานมีอายุงาน 6 เดือนถึง 12 เดือน มี พฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรต่อผู้รับบริการน้อยกว่าพยาบาลท่ีมีประสบการณ์ตรงในการดูแล ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซ่ึงสอดคล้องกบั งานวิจัยของ บวรลกั ษณ์ ทองทวี, เยาวรัตน์ มัชฌิม และศิริลักษณ์ แก้วศรีวงศ์ (2561) เรื่องทาการศึกษาพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรในการดูแลผู้รับบริการระยะ สุดท้ายของนักศกึ ษาพยาบาลและพยาบาลจบใหม่ พบวา่ พยาบาลจบใหม่ 1 ปมี คี ะแนนพฤติกรรมการ ดูแลอย่างเอื้ออาทรโดยรวมและรายด้านสูงกว่านักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ทุกด้านและงานวิจัยของ อารีญา ด่านผาทอง (2552) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเออ้ื อาทรตาม การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลแพร่ พบวา่ พยาบาลวชิ าชพี ท่ีมปี ระสบการณ์การทางานมาก มีการรับรู้พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเอื้ออาทรสูงกว่าพยาบาลวิชาชีพท่ีมีอายุและ ประสบการณ์การทางานน้อย ดังน้ัน พยาบาลท่ีมีประสบการณ์ทางานท่ีมากกวา่ และอายุการทางานท่ี มากกว่าจะมพี ฤติกรรมการดแู ลผรู้ บั บริการมากกว่าดว้ ยเชน่ กัน ปจั จัยทางภายนอกบุคคล จากการทบทวนวรรณกรรมพบปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการดูแล อย่างเอื้ออาทรในผู้ป่วย ระยะสุดท้ายดา้ นปัจจยั ภายนอกบุคคลสามารถแบ่งออกเป็น 3 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยทางด้านการจัดการ เรียนการสอนส่งผลต่อพฤติกรรมการเอ้ืออาทร ปัจจัยทางด้านการสอนของอาจารย์ผู้นิเทศนิสิ ต พยาบาลขณะขน้ึ ฝึก และปัจจยั ทางด้านกิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ พฤติกรรมการเอือ้ อาทร ปจั จัยทางด้านการจัดการเรยี นการสอนส่งผลต่อพฤติกรรมการเอ้ืออาทร การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจาก ประสบการณ์หรือการฝึกฝน มิใช่ผลจากการตอบสนองของสัญชาติญาณ อุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ โดยกระบวนการเรียนรู้จะเปน็ กระบวนการตอ่ เน่ืองเชอื่ มโยงจากการรบั รู้ จากการศกึ ษางานวิจยั ของสุมาลี เอ่ียมสมัย, นอี อน พิณประดษิ ฐ์ และก่ิงฟ้า สนิ ธวุ งษ์ (2553) ได้ศึกษาการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทรของนักศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท พบว่าการจัดการเรียน การสอนทั้ง 3 ระยะ คือ1) การศึกษาบริบท(context)การจัดการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมพฤติกรรม ดูแลอย่างเอ้ืออาทร2) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทร 3)การประเมนิ ประสิทธิผลรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทร โดยท้ัง 3ระยะ จะมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตพยาบาลพบว่า ในแต่ละแผนการสอนมีพฤติกรรมดูแลอย่าง เออ้ื อาทรสงู ข้นึ เป็นลาดับ ผเู้ รียนตระหนักรู้ถึงพฤตกิ รรมดแู ลอย่างเอ้ืออาทรในแตล่ ะข้นั การสอน
12 ปจั จยั ทางดา้ นพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของอาจารย์ พฤติกรรมของคนเราส่วนใหญ่เกิดจากการสังเกตตัวแบบแล้วลอกเลี ยนพฤติกรรม ของ ตัวแบบ เฉพาะท่ตี ัวแบบไดร้ บั การเสริมแรงเป็นรางวัล โดยท่ีไมจ่ าเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งทาตามแบบในทันที แต่ อาจจะเก็บจาไว้ไปคิด หรือทดสอบดูก่อนก็ได้ การที่ได้สังเกตตัวแบบเปน็ เวลานาน เช่น ลูกจะมีพ่อแม่ เป็นตัวแบบ การเรียนรู้และจะทาตามอย่างพ่อแม่โดยไม่รู้ตัว เพราะการเรียนรู้แบบนี้จะแฝงอยู่ใน ความคิดก่อนที่จะแสดงออกมาให้เด่นชัด พฤติกรรมของบุคคลหลายอย่างเกิดจาก การกระทาตามตัว แบบท่ีเขานิยมชมชอบ เช่น เพ่ือน ดาราภาพยนตร์ นักร้อง นักกีฬา บุคคลที่มีช่ือเสียง พฤติกรรมการ เรียนรู้ทางสังคม เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ ขั้นพื้นฐาน และส่วนใหญ่เกิดจากปัจจัยภายนอก การ เรียนรู้ทางสังคม จึงสามารถถูกปรับเปล่ียนไปได้ตามลักษณะของการเสริมแรง การสังเกตตัวแบบ พัฒนาการทส่ี งู ข้นึ ระดับความคาดหวัง ค่านยิ ม และรปู แบบการคดิ (วนิ ัย เพชรช่วย, 2543) จากการศึกษาวิจัยของ ศศิกาญจน์ สกุลปัญญวัฒน์(2557) พฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทร ของอาจารย์พยาบาล ที่สอนรายวิชาภาคปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน ตามการรับรู้ของอาจารย์ผู้สอน กับนักศึกษาสถาบันการศึกษาเอกชนผลการวิจัยพบว่าพฤติกรรมการดูแลท่ีเอื้ออาทร สามารถเป็น แบบอย่างของการเอื้ออาทรที่ดี ทาให้นักศึกษาลดความกลัว ความวิตกกังวล กล้าที่จะซักถาม เสนอความคิดเห็นมีพัฒนาการการเรียนรู้ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ นรากูล พัดทอง (2558) เรื่อง สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลืออย่างเอ้ืออาทรของอาจารย์นิเทศตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล และพฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทรของนักศึกษาพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการขณะฝึก ปฏิบัติการพยาบาลการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ พบว่านักศึกษาที่มีประสบการณ์พฤติกรรมการดูแลอย่าง เอ้ืออาทรท่ีดจี ากอาจารยน์ ิเทศจะทาให้นักศึกษาเกิดการเรียนร้ทู ่ีจะดูแลอย่างเอ้ืออาทรตอ่ ผู้รับบริการ ตอ่ ไป ปัจจัยทางด้านกจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมพฤตกิ รรมการเอื้ออาทร การทากิจกรรมตา่ งๆ ท่ีทางมหาวทิ ยาลัยจัดทาขึ้น หรือท่ีคณะมีกิจกรรมให้นิสติ ทุกคนร่วมทากิจกรรม ด้วยกันเพื่อท่ีจะปลูกฝังการเสียสละ ความมีน้าใจ ความเอื้ออาทร การทางานเป็นทีม ความสามัคคี การคน้ พบตัวเองทางด้านผู้นามากขึ้น และความสามารถในการทางานรว่ มกับผ้อู ่ืนไดเ้ ป็นอยา่ งดี ดังนั้น กิจกรรมจะมีผลต่อพฤติกรรมเอื้ออาทรด้วยเช่นกัน จากงานวิจัยของ รุ่งทิพย์ พรหมบุตร , วัชรี อมรโรจน์วรวฒุ ิ, วชริ ศักดิ์ อภิพฒั น์กานต์ และธติ ิพร เกียรตกิ ังวาน (2552) ได้ศกึ ษาการพยาบาล ด้วยความเอ้ืออาทรของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี3 วิทยาลัยพระยาบาลพระบรมราชชนนี ขอนแก่น พบว่ากิจกรรมของวิทยาลัยพระยาบาลพระบรมราชชนนี ขอนแก่นกิจกรรมของนักศึกษา ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น มีกิจกรรมที่หล่อหลอมและส่งเสริมพฤติกรรมการดูแล อย่างเอ้ืออาทรของนักศึกษา เช่น การเข้าค่ายอบรมคุณธรรมและจริยธรรม การออกค่ายอาสาพัฒนา ชุมชน การออกค่ายอาสาร่วมกับนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในเครือข่ายโครงการบัณฑิตอุดมคติไทย โครงการจัดงานวันเด็ก โครงการบริการวิชาการในกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ เช่น งานเทศกาลไหม งานลอยกระทง เป็นต้น กิจกรรมที่ส่งเสริมความสัมพันธ์เชิงการดูแลอย่างเอ้ืออาทรระหว่างนักศึกษา เช่น การเข้าร่วมทากิจกรรมในชมรมต่างๆ กิจกรรมทส่ี ่งเสริมความสัมพนั ธ์เชงิ การดูแลอยา่ งเอ้ืออาทร ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา เช่น ระบบครอบครัว อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ประจาชั้น อาจารย์เวร ประจาวันความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับส่ิงแวดล้อมในกระบวนการศึกษาเหล่าน้ี ล้วน
13 สนบั สนุนการรับรคู้ วามเอ้อื อาทรของนักศึกษาเชิงบวกท้ังสนิ้ ดังจะเห็นได้ว่า กิจกรรมมีผลตอ่ พฤตกิ รรม ของนิสติ พยาบาลเพอ่ื หลอมรวมและปลกู ฝงั ใหน้ ิสติ พยาบาลมีคุณสมบตั ิพยาบาลวชิ าชีพท่ีดีต่อไป 2. ทฤษฎกี ารดูแลของวตั สนั (Caring Theory) 2.1 ความหมายของพฤติกรรมการดแู ลผ้รู ับบริการอยา่ งเอื้ออาทร การดูแลอย่างเอื้ออาทร หมายถึงศาสตร์และศิลป์ในการปฏิบัติและแสดงความรู้สึกอย่าง จริงใจระหว่างบุคคลที่ต่างก็มีศักยภาพและได้รับประโยชน์ร่วมกันในขบวนการดูแล อย่างเอ้ืออาทร (Watson, 1999 อ้างถึงใน รุ่งทิพย์พรหมบุตร, วัชรีอมรโรจน์วรวุฒิ, วชิรศักด์ิอภิพัฒน์กานต์, ธิติพรเกียรติกังวาน, 2552)ทฤษฎีการดูแลมนุษย์ของวัตสัน (Theory of Human Caring) ได้อธิบาย ว่าการดูแล(Caring) เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์บนพื้นฐานด้านมนุษยธรรมระหว่างบุคคลคือ ผู้ดูแล (Caregiver) และผู้ได้รับการดูแล(Care recipient) ในวิชาชีพพยาบาล การดูแลเกิดจากคุณธรรมและ จริยธรรมทางการพยาบาลที่ถูกพัฒนาข้ึนจากความรู้ ทักษะ ความเช่ียวชาญ แนวคิดการดูแลแบบ องค์รวมความเข้าใจการสื่อสาร สมรรถนะทางคลินิก ความชานาญด้านเทคนิค และทักษะการสร้าง สมั พันธภาพในการปฏิบตั ิการดูแลของพยาบาล ดังน้ัน พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทร หมายถึง นิสิตพยาบาลที่ใช้ศาสตร์และ ศิลป์ในการปฏิบัติและแสดงความรู้สึกอย่างจริงใจระหว่างบุคคล ท่ีต่างมีศักยภาพและได้รับประโยชน์ ร่วมกันในขบวนการดูแลอยา่ งเอื้ออาทร ซ่ึงเปน็ การดแู ลที่ต่างฝ่ายต่างเขา้ ถึงความรสู้ ึก และสัมผสั จติ ใจ ของกันและกันการกระทาของนิสิตพยาบาลต่อผู้ท่ีเจ็บป่วยหรือผู้รับบริการด้านสุขภาพ ด้วยความ เออื้ อาทร เมตตากรุณาสนใจเอาใจใสใ่ จต่ออารมณ์ ความรู้สกึ และความตอ้ งการของผู้รับบรกิ าร 2.2 ความเชอื่ พื้นฐานของทฤษฎีการดูแลของวตั สัน แนวคิดการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรมีมากมายหลายแนวคิด ซ่ึงแต่ละแนวคิดแสดงให้ เหน็ ว่าการดูแลแบบเอ้อื อาทรเปน็ หัวใจหรือแกนกลางของการพยาบาล ความเช่ือพ้ืนฐานของทฤษฎีการดูแลของวัตสัน วัตสันเช่ือว่าการดูแลเป็นพื้นฐานของความ เป็นมนุษย์ และการพยาบาลคือศาสตร์แห่งการดูแลมนุษย์ เป้าหมายของการดูแลคือการช่วยเหลือ บุคคลให้ค้นพบภาวะดุลยภาพ ของร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ วัตสันให้ความสาคัญกับความเป็น มนุษย์ในแง่ของการเคารพในศักดิ์ศรีของทุกคน ให้ความสาคัญกับประสบการณ์ของบุคคล และเชื่อว่า การพยาบาลคือศิลปะและสุนทรียศาสตร์ ( Art & Aesthetic) (Watson, 2008อ้างถึงใน จุฬาวิทยานุกรม, 2554) ดังที่วัตสันกล่าวว่า “ความงามและศิลปะเป็นส่วนหน่ึงของการนาไปสู่การ พยาบาลท่ีเน้นรูปแบบการดูแลที่เข้าถึงจิตใจกันระหวา่ งคนสองคน (Transpersonal caring model)” (Watson, 1985, 2008 อ้างถึงใน จุฬาวิทยานุกรม, 2554) ทั้งนี้เพราะการเข้าถึงจิตใจกันระหว่างคน สองคน(พยาบาลกับผรู้ ับบรกิ าร) ตอ้ งอาศัยการขจดั เส้นแบง่ ของคนสองคนและลดอตั ตา (Ego) ของแต่ ละฝ่าย ให้ความสาคัญกับความรู้สึกของอีกฝ่าย มีการสร้างสัมพันธภาพ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงของ ประสบการณ์ชีวิตของทั้งสองฝ่ายจนหลอมรวมกันเป็นหน่ึงเดียว โดยใช้ทั้งการพยาบาล ศิลปะ สุนทรียศาสตร์ ไปจนถึง ความเมตตา (Compassion) สัมมาสติ (Mindfulness) การทาสมาธิ (Meditation) และการเดินจาริกแสวงบุญ (Pilgrimage) เพ่ือชี้นาการปฏิบัติการพยาบาลจนเกิดการ
14 เยียวยา (Healing) ซ่งึ นาไปสู่ความสมดลุ (Hamony) เป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ของร่างกาย จิตใจ และ จติ วิญาณ(Claire &Ryder, 2009; Sitzman, 2002อา้ งถงึ ใน จุฬาวิทยานกุ รม, 2554) วัตสนั อธิบายกระบวนทัศน์ทางการพยาบาลท่ีเกี่ยวกับมนุษย์ สุขภาพ การพยาบาล และสิ่งแวดล้อมไว้ ดังนี้ การพยาบาล (Nursing)วัตสันเชื่อว่าการพยาบาลเป็นการปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันการเจ็บป่วย การดูแลเม่ือเจ็บป่วย และการฟื้นฟูสุขภาพ พยาบาลควรมีความเข้าใจ เก่ียวกับภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วย และประสบการณ์ของบุคคล การพยาบาลมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วย ใ ห้ บุ ค ค ล มี ภ า ว ะ ส ม ดุ ล ใ น ตั ว เ อ ง ใ น ร ะ ดั บ สู ง สุ ด เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ต น เ อ ง (Self-knowledge) และการรักษาเยียวยาตนเอง (Self healing) หรือการเข้าใจความหมายของชีวิต ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง พ ย า บ า ล แ ล ะ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ค ว ร อ ยู่ บ น พ้ื น ฐ า น ข อ ง ค ว า ม ค า ด ห วั ง ร ว ม กั น (Mutual expectation) โดยผู้รับบริการคาดหวังให้พยาบาลปฏิบัติตามแผนการรักษาและคาดหวังที่ จะได้รับการดูแลที่คานึงถงึ ความเป็นมนษุ ย์ มนุษย์ (Human being)เป็นบุคคลที่มีศักดิ์ศรีมีคุณค่าใน ตนเองที่ควรแก่การได้รับการดูแล เคารพ นับถือ เล้ียงดู เข้าใจ และสนับสนุนช่วยเหลือให้สามารถ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีไดอ้ ย่างเต็มความสามารถ บุคคลมคี วามเป็นหน่งึ เดียวเปน็ องค์รวมไม่สามารถทดแทนด้วย บางส่วนหรือส่วนใดส่วนหน่ึงของบุคคลน้ัน สุขภาพ (Health)ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 3 ส่วนคือ การทาหน้าที่สงู สุดของร่างกาย จิตใจ และสังคม การปรบั ตัวในการทาหน้าท่ีตามกิจวัตรประจาวันและ ภาวะท่ีปราศจากการเจ็บป่วย การมีสุขภาพดี คือ ภาวะท่ีเกิดดุลยภาพระหว่างร่างกายจิตใจและ จิตวิญญาณมีความสอดคล้องกันระหว่างการรับรู้ของบุคคลและสภาพการณ์จรงิ ปัจจัยสาคัญทมี่ ีผลต่อ สขุ ภาพ คือความเครียดและกิจกรรมที่ทาให้เกิดความเครียด ซ่ึงเก่ียวข้องกับแบบแผนการดาเนินชีวิต สภาพทางสงั คมและสิ่งแวดลอ้ มการเจ็บป่วยไม่ได้มีสาเหตุจากโรคเท่าน้ันแต่อาจเกิดจากภาวะไม่สมดุล ระหว่าง กาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ซึ่งทาให้เกิดความเครียด วัตสันเชื่อว่าการประเมินภาวะสุขภาพ ควรประเมินจากการรับรู้ของบุคคลโดยบุคคลควรจะเป็นผู้ให้คาจากัดความของภาวะสุขภาพของ ตนเองตามการรับรขู้ องตนเอง สิ่งแวดล้อม / สงั คม (Environment / Society)สงั คมเป็นตัวกาหนด ค่านิยมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของบุคคลท่ีอยู่ในสังคมค่านิยมมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของบุคคล และเป็น ปจั จัยหนึ่งทอี่ าจก่อใหเ้ กิดความเครยี ดหากบคุ คลไมส่ ามารถปฏิบัติตามหรอื ไมไ่ ด้รบั ในสิ่งทต่ี อ้ งการตาม ค่านิยมบุคคลมีความต้องการเป็นเจ้าของเป็นที่รักของบุคคลอื่น และเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคม ความเครียด และการเจ็บป่วยเป็นสาเหตุที่ขัดขวางบุคคลไม่ให้ได้รับสิ่งที่ตนเองต้องการพยาบาลมี หน้าที่ให้การดูแลบุคคลเพื่อให้ได้รับสิ่งท่ีต้องการ(Watson, 1997 อ้างถึงใน จอนผะจง เพ็ดจาด, 2553) 2.3 แกนหลกั ของทฤษฎีการดแู ลของวัตสัน ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน เน้นการดูแลอันเป็นคุณธรรมที่ดารงค์ไว้ซึ่งศักด์ิศรีของความเป็น มนษุ ย์ โดยอาศัยการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้การดแู ลกบั ผู้ได้รับการดูแล ภายใตค้ วามรักในความ เป็นเพ่ือนมนุษย์ ท่ีให้ความสาคัญท้ังร่างกายและจิตใจอย่างไม่แยกออกจากกัน จนผู้ให้การดูแลสัมผัส ถึงพลังแห่งการดูแล อันเป็นความรู้สึกตระหนักถึงการดูแลว่าได้เกิดข้ึน และส่งให้เกิดความรักความ เข้าใจผ้อู ื่น ซ่ึงวัตสันเรียกว่า “caring occasion” และนาไปสูก่ ารเรียนรู้และแลกเปลยี่ นประสบการณ์ ระหว่างคนสองคนภายใต้สนามปรากฏการณ์ (Phenomenal field) ของแต่ละบุคคลท่ีหลอมรวมกัน จนเกิดความเข้าถึงจิตใจระหว่างคนสองคน (Transpersonal) ทาให้คนท้ังสองคนค้นพบความหมาย
15 ของสิ่งต่างๆ ท่ีเป็นสาระสาคัญของชีวิต ได้แก่ ความเจ็บป่วย ความทุกข์ทรมาน และความตาย ตามสภาพความเป็นจริงของชีวิต เพ่ือให้เกิดยอมรับในตนเอง และยอมรับผู้อ่ืน เกิดสัมพันธภาพท่ี นาไปสู่การฟื้นหาย(Healing relationship) ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพลังในการคงไว้ซึ่งภาวะ สุขภาพ คือ ภาวะที่บุคคลมีความกลมกลืนของร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ แม้ในผู้ป่วยที่หมดหวัง จากการรกั ษาแลว้ ก็ตาม(Watson, 2008 อ้างถงึ ใน จฬุ าวิทยานุกรม, 2554) 2.4 ข้อตกลงเบอ้ื งตน้ ของทฤษฎกี ารดแู ลของวัตสัน ขอ้ ตกลงเบื้องตน้ ของทฤษฎีในการดูแลมนุษย์ของวัตสัน มดี งั น้ี 1. การดูแลและความรกั เปน็ พลังอันลกึ ลบั ยง่ิ ใหญแ่ ละเปน็ สากล เป็นพลังจิตอย่างหนึ่ง 2. ความต้องการการดูแลและความรักเปน็ ส่ิงสาคัญท่ีถูกมองข้าม บคุ คลมกั ลมื ท่ีจะปฏบิ ตั ิต่อ กันความรกั และดูแลซ่ึงกันและกนั การท่มี นุษยชาติจะดารงอยู่ไดจ้ าเปน็ ตอ้ งมีการดูแลและความรัก อัน จะนาไปสกู่ ารพฒั นาอารยธรรมและการอยรู่ ว่ มกนั 3. การพยาบาลเป็นวชิ าชีพแห่งการดูแลการท่พี ยาบาลมีอดุ มการณ์ของการดูแล จะก่อให้เกิด การพัฒนาการดูแลและการมีส่วนรว่ มในการพฒั นาสงั คม 4. การท่ีบุคคลจะให้การดูแลผู้อ่ืนได้นั้นบุคคลน้ันต้องมีความเอ้ืออาทร และให้เกียรติตนเอง กอ่ น จึงจะสามารถใหก้ ารดูแลผอู้ ื่นได้ 5 การพยาบาลมุ่งเนน้ การดูแลบคุ คลในเร่ืองสุขภาพและความเจ็บป่วย 6. การดูแลเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งในการพยาบาล เป็นศูนย์กลางและจุดเน้นของการปฏิบัติ การพยาบาล 7. สงิ่ สาคญั ในระบบบรกิ ารสขุ ภาพคือการดแู ลมนษุ ยไ์ มว่ ่าจะเปน็ บุคคลหรอื กลุ่มบุคคล 8. คุณค่าของการดูแลของพยาบาลถูกบดบงั จากความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยีทางการแพทย์ ข้อบังคับและการบรหิ ารงานทซ่ี บั ซ้อน 9. ประเด็นและแนวโน้มที่สาคัญสาหรับวิชาชีพพยาบาลในปัจจุบันและอนาค ต คือ การธารงรกั ษาคุณคา่ ของการดูแลและการพัฒนาความก้าวหนา้ ของการดแู ล 10. การดูแลท่ีมปี ระสิทธิภาพเกิดจากการมปี ฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างบุคคล 11. การที่พยาบาลจะสามารถช่วยเหลือมนุษยชาติและสังคมได้น้ัน พยาบาลต้องมีความ รบั ผิดชอบในการพัฒนาการดูแลทงั้ ด้านทฤษฎี การปฏิบัติ และการวิจยั 2.5 องคป์ ระกอบพฤตกิ รรมการดูแลผ้รู บั บริการอย่างเออื้ อาทร ทฤษฎกี ารดูแลมนษุ ยข์ องวตั สันประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 3 สว่ นคือ 1. กระบวนการดูแล ซึง่ ประกอบดว้ ย 1.1 ปัจจัยในการดูแล ประกอบด้วยความรู้และทักษะเกี่ยวกับการดูแลในปัจจุบันได้มีการ ปรับปรุงคานิยามปัจจัยการดูแลใหม่โดยเพิ่มแนวคิด Caritas คือการให้ความสนใจความรักความ ปรารถนาดีในการดูแลเปน็ การให้การดูแลรว่ มกับการใหค้ วามรัก 1.2 แนวคิดด้านคุณธรรม ในเรื่องการปกป้อง ส่งเสริม และคงไว้ซ่ึงศักด์ิศรีของความเป็น มนษุ ย์ 1.3 แนวคิดด้านปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคล โดยพยาบาลเปน็ ผู้ให้การดูแลเพอื่ ตอบสนองความ ต้องการของผูร้ ับบริการ
16 2. ระยะปฏสิ มั พันธ์ เป็นขัน้ ตอนตอ่ จากกระบวนการดูแลประกอบด้วย 2.1 สถานการณ์การดูแลที่เกิดขึ้นจรงิ เป็นช่วงเวลาทีพ่ ยาบาลและผู้รับบริการมาพบกนั และมี การดแู ลเกิดข้ึนจรงิ 2.2 ปฏิสัมพันธ์การดูแล เป็นเวลาท่ีพยาบาลและผู้รับบริการมีปฏิสัมพันธ์การดูแลเกิดข้ึนเกิด การแลกเปลี่ยนความรูส้ ึกของกนั และกัน 2.3 การดูแล คือชว่ งเวลาที่พยาบาลและผู้รับบรกิ ารเกดิ ความเขา้ ใจสัมผสั จิตใจของกันและกัน เข้าใจความร้สู ึกหรอื ความทกุ ขท์ รมานท่เี กิดข้ึนกบั ผู้รบั บริการท้งั ด้านร่างกายจิตใจจิตวิญญาณ 3. ผลลัพธข์ องการดูแล หมายถึง ผลท่เี กดิ จากการดูแลตนเอง การรกั ษาเยียวยาตนเอง (Self healing) และการมสี ขุ ภาวะ (Watson, 1997 อา้ งถึงใน จอนผะจง เพง็ จาด, 2553 ) 2.6 กระบวนการปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผูร้ บั บรกิ ารอย่างเอ้ืออาทร พฤติกรรมการดแู ลผู้รบั บรกิ ารอยา่ งเออ้ื อาทร 10 ประการตอ่ ไปนี้ 1. การปฏิบัติด้วยความรักและความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ (Practice of loving-kindness and equanimity with context of caring consciousness) เปน็ ปัจจยั ประการแรกที่สาคัญท่ีสดุ ซ่ึง เน้นการให้คุณค่าและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์แก่กันและกัน มีความเมตตาและเห็นแก่ประโยชน์ของ ผู้อื่น พยาบาลควรมีพฤติกรรมท่แี สดงถึงความเข้าใจและยอมรับผรู้ ับบรกิ าร โดยยอมรับความแตกต่าง ของบุคคล ค่านยิ ม ความเชอื่ วัฒนธรรมและปรัชญาชวี ิต เคารพในความเป็นบุคคลของผู้รับบรกิ าร ไม่ ว่าผู้รับบริการจะอยู่ในสภาพน่ารังเกียจสักเพียงใด อดทน และรอคอยเวลาให้ผู้รับบริการได้ค้นพบ ตนเองและยอมรับต่อสภาพของตนตามที่เป็นจริง ไม่ทอดท้ิงผู้รับบริการ ช่วยให้ผู้รับบริการรู้สึกว่ามี ใครอยู่กับเขาเสมอ ดูแลเอาใจใส่ให้ความรักอย่างจริงใจเสียสละโดยไม่หวังผลตอบแทน ปฏิบัติส่ิงท่ีดี ท่ีสุดให้กับผู้รับบริการ และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการทันที โดยคานึงว่าผู้รับบริการคือ เพื่อนมนุษย์คนหนึ่งท่ีต้องการความช่วยเหลือ ความรักและความเมตตาอย่างมากจากพยาบาล (Watson, 1997 อ้างถึงใน จอนผะจง เพ็งจาด, 2553) พยาบาลต้องหม่ันสารวจความคิด ความเช่ือ ของตนเอง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในความเป็นคนท่ีไม่เห็นแก่ตัว พึงพอใจในการเป็นผู้ให้ เน้นการให้ คุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์แก่กันและกัน มีความเมตตาและเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่น พยาบาลต้องตระหนักว่าผู้รับบริการแต่ละคนต่างก็มีมุมมองของชีวิตท่ีแตกต่างกัน มีปฏิกิริยา ตอบสนองต่อชวี ติ และความเจ็บปว่ ยทแ่ี ตกตา่ งกนั (Watson, 2008 อา้ งถงึ ใน จฬุ าวทิ ยานุกรม, 2554) 2. การแสดงความเปน็ ตวั ตนท่แี ท้จริง สง่ เสรมิ และธารงความเช่ือของตนเองและผ้รู ับการดแู ล บุคคลย่อมต้องมีการรับรู้และความเช่ือในการดาเนินชีวิตในภาวะที่มีการเจ็บป่วย การรับรู้สภาพของ ตนเอง (Self-being) การได้ปฏิบัติตามความเช่ือ ช่วยเสริมสร้างใหบ้ ุคคลมีความศรัทธาและความหวัง ในการดารงชีวิตตามสภาพท่ีเป็นจริงของของตน พยาบาลใช้การรับรู้และความเชื่อของตนเอง ในการ ทาความเข้าใจผรู้ ับบริการ ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดความเช่ือมั่น เกิดศรัทธาและความหวังท่ีเป็นรูปธรรม โดยการให้ข้อมูลที่ชัดเจน แสดงออกด้วยท่าทางเช่ือม่ัน ปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีความรู้ ทักษะและ สามารถให้คาแนะนา ปรึกษาและเป็นท่ีพ่ึงของผู้รับบริการได้( Watson, 1997 อ้างถึงใน จอนผะจง เพ็งจาด, 2553)พยาบาลควรประเมินดูว่าผู้รับบริการมีความเชื่อเกี่ยวกับความการมีชีวิต อย่างไร สัมพันธ์กับความศรัทธาที่มีต่อศาสนาหรือไม่ พยาบาลจึงควรจะให้ผู้รับบริการมีสิทธิเลือก วธิ กี ารสร้างศรทั ธาและความหวังความเชื่อของเขา(Watson, 2008 อ้างถงึ ใน จฬุ าวทิ ยานกุ รม, 2554)
17 3. การสร้างทักษะในการรับรู้จิตวิญญาณของตนเองและผู้อ่ืน (The Cultivation of one 's own spiritual practice and transpersonal self, going beyond ego self, being sensitive self and other) การรู้เท่าทันความรู้สึกของตนเองทาให้พยาบาลอยู่กับความเป็นจริง มีความจริงใจกับ ความรู้สึกและการแสดงออกของตนเอง การจริงใจ ช่วยส่งเสริมการเติบโตด้านความคิดและพัฒนาสู่ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความต้องการด้านจิตวิญญาณ การรับรู้ตนเองและการรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นเป็น พฤตกิ รรมการดูแลท่ีสาคัญพยาบาลควรจะพัฒนาให้ตนเองมีพฤติกรรมที่ไวตอ่ ความรู้สึก ตระหนักรู้ตัว อยู่เสมอถึงความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนกับตนในขณะน้ัน ด้วยการทบทวนและมองเข้าไปในตนเอง ทาความ เข้าใจและรับรู้ตนเองตามสภาพท่ีเป็นจริง พยาบาลที่มีการพัฒนาตนเองให้ไวต่อการรับรู้ตนเอง จะไวต่อการรับรู้ผู้อ่ืนด้วยและเห็นโลกของผู้อ่ืนได้ชัดเจนทาให้เข้าใจวัฒนธรรม ความเช่ือ ภาษา และ ค่านิยมของผู้รบั บริการ 4. การสรา้ งและรกั ษาสมั พนั ธภาพในการชว่ ยเหลอื แบบไว้วางใจและจริงใจ (Development and sustaining a helping-trust, authentic caring relationship) สัมพันธภาพท่ีช่วยเหลือเก้ือกูล กันและกัน เป็นสัมพันธภาพบนพื้นฐานของความไว้วางใจ เกิดจากที่พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้รบั บรกิ ารดว้ ยความจริงใจ เปิดเผยและชื่อสัตย์ อาจแสดงออกด้วยภาษากาย การสมั ผสั และนา้ เสียง 4.1 การสื่อสารอยา่ งมีคณุ ภาพ (Effective communication) การส่อื สารระหวา่ ง พยาบาลและผู้รับบริการต้องมีความเหมาะสม การให้ข้อมูลที่มากหรือน้อยเกินไปจะทาให้เกิดปัญหา ข้ึนได้ในการเจ็บป่วยเร้ือรังหรือในระยะรุนแรงผู้รับบริการอาจเกิดความขัดแย้งระหว่างควา มต้องการ กาลังใจและความต้องการรับทราบข้อเท็จจริงเก่ียวกับการเจ็บป่วย การให้ข้อมูลเร็วเกินไปหรือ มากเกินไปอาจบั่นทอนกาลังใจของผู้รับบริการ แต่ถ้าช้าเกินไปผู้รับบริการอาจเกิดความไม่ไว้วางใจ และเม่ือรับรไู้ ด้เองจากอาการท่ีทรุดลงผู้รบั บริการอาจเขา้ ใจว่าพยาบาลไม่ใส่ใจกบั การเจบ็ ป่วยของตน พยาบาลควรใหข้ ้อมลู ทเ่ี ป็นจรงิ กับผ้รู ับบริการเป็นระยะๆ อยา่ งเหมาะสม การได้รบั ข้อมลู ทเ่ี พียงพอจะ ทาให้ผรู้ บั บรกิ ารกดิ การตอบสนองทเี่ หมาะสมมีความไวว้ างใจและมสี ัมพันธภาพที่ดกี ับพยาบาล 4.2 ความเขา้ กนั ได้กับผ้รู ับบริการ (Congruence) พยาบาลท่ไี วต่อความรสู้ กึ ของ ตนเองแลกล้าเปิดเผยความรู้สึกออกมา จะย่ิงกระชับสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการ ทาให้รู้จักกันและปรับตัวเข้าหากันได้มากย่ิงข้ึนพยาบาลซ่อนหรืออาพรางความรู้สึกไว้ภายใน โดยเฉพาะความรู้สึกกลัวเบื่อหน่ายหรือความรู้สึกทางด้านลบอ่ืนๆ ย่ิงเป็นอุปสรรคต่อสัมพันธภาพ ระหวา่ งพยาบาลและผู้รบั บริการเพราะพยาบาลจะถ่ายทอดความรู้สกึ เหล่านัน้ ออกมาในหลายรปู แบบ เชน่ หลกี เลยี่ งการเดนิ เขา้ ไปใกล้ หลีกเลย่ี งการสบตาเพ่อื เล่ยี งการมปี ฏิสัมพันธก์ บั ผรู้ ับบรกิ าร เปน็ ตน้ 4.3 ความเห็นอกเหน็ ใจ (Empathy) เป็นการรบั รู้และเข้าใจความรู้สึกของผู้อืน่ พยาบาลรู้จักเอาใจผู้รับบริการมาใส่ในใจตน เพื่อจะรับรู้ว่าผู้รับบริการนั้นมีความรู้สึกอย่างไรเมื่อต้อง เผชิญกับความเจ็บป่วยเพื่อเกิดความเข้าใจและสามารถ พูด หรือแสดงพฤติกรรมตอบสนองความรู้สึก และการแสดงของผู้รับบรกิ ารได้เหมาะสม 4.4 ความรู้สึกอบอุ่นใจ (Warmth) การมีปฏสิ ัมพนั ธท์ อี่ บอุน่ ระหว่างพยาบาลกับ ผู้รับบริการจะส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ของผู้รับบริการ การสร้างความรู้สึกอบอุ่น ทาได้โดยการ พูดด้วยน้าเสียงม่ันคงใช้ภาษาท่ีนุ่มนวลเป็นกันเอง ท่าท่ีเป็นมิตรให้เวลาและเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการ
18 ได้พูดคุยถึงความรู้สึก ได้ซักถาม รับฟัง สนับสนุนให้กาลังใจในสิ่งท่ีผู้รับบริการคิดและปฏิบัติท่ี เหมาะสม เปน็ ตน้ 5. การยอมรับการแสดงความรู้สึกด้านบวกและด้านลบ ( Being present to and supportive of the expression of positive and negative feelings as a connection with deeper spirit of self and one-being-cared-of) การแสดงความร้สู กึ เป็นวธิ หี นงึ่ ที่ชว่ ยใหบ้ คุ คลเกดิ การตระหนักรู้ถึงสัมพันธภาพในการดูแลอารมณ์หรือความรู้สึกเป็นตัวชี้นาการแสดงพฤติกรรมของ มนุษย์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อความคิดการตัดสินใจ และการแสดงพฤติกรรม พยาบาลควรให้โอกาสและ ยอมรับการแสดงความรู้สึกของผู้ป่วยทั้งทางบวกและทางลบท่ีเป็นความรู้สึกตามที่เป็นจริงการแสดง ความรู้สึกจะทาให้ผู้รับบริการรู้จักตนเอง และยอมรับตนเองตามทเ่ี ปน็ จริง เช่นเดยี วกันพยาบาลกค็ วร มีการแสดงความรู้สึกเพ่ือได้รู้จักตนเอง และไวต่อความรู้สึกของตนเพ่ือสามารถรับรู้ความรู้สึกของ ผรู้ ับบรกิ าร และยอมรบั การแสดงออกของผ้รู ับบริการไดอ้ ย่างจรงิ ใจ สามารถให้อภัยต่อการแสดงออก ของผู้รับบริการ และเข้าใจความรู้สึกต่างๆ ที่เกิดข้ึนกับผู้รับบริการยอมรับการระบายความรู้สึกของ ผู้รับบริการไม่ตาหนิติเตียน หรือตัดสินให้เวลาและโอกาสกับผู้รับบริการ อยู่เป็นเพ่ือนและไม่ทอดท้ิง ขณะท่ีผูร้ ับบริการแสดงอารมณ์หรือการมีพฤติกรรมก้าวรา้ วหรอื ไมเ่ หมาะสม 6. การใช้กระบวนการแก้ปัญหาทางสร้างวิทยาศาสตร์ในการตัดสินใจ (The systematic use of the Scientific problem-solving method for decision making) เป็นการท่ีพยาบาลใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบในส่งิ ทใี่ นการคน้ หาวธิ ีดแู ล เพอื่ ช่วยเหลือผูร้ ับบรกิ ารและ ผู้เก่ียวข้องให้ยอมรับการเจ็บป่วยหรือความตายอย่างสงบ กระบวนการแก้ปัญหาเร่ิมจากการประเมิน ผู้รับบรกิ ารท้งั ดา้ นร่างกาย จติ สังคม และจติ เป็นวิญญาณโดยการพูดคุยและการสังเกตพฤตกิ รรมของ ผูร้ ับบริการและญาติโดยเฉพาะข้อมูลด้านจิตสังคมความเช่ือ และผูกพันทางใจของผู้รับบริการ ซ่ึงเป็น แหล่งความหวังและกาลังใจสาหรับผู้รับบริการ เพ่ือให้ได้ข้อมูลครอบคลุม สามารถวินิจฉัยปัญหาท่ี เกิดขึน้ ไดถ้ ูกตอ้ ง และวางแผนการพยาบาล 7. การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในการเรียนการสอน (The promotion of inter personal teaching learning) การใหข้ ้อมูลเป็นวิธหี นึ่งท่ชี ว่ ยลดความกลัวและความวิตกกงั วลในการ ได้รับข้อมูลท่ีเพียงพอร่วมกับการดูแล จะทาให้เกิดการตอบสนองที่เหมาะสม การให้ข้อมูลข่าวสารจึง เป็นจุดเร่ิมต้นสาหรับพยาบาลในการกระตุ้นแผนให้ผู้รับบริการเกิดการเรียนรู้ และการเรียนการสอน ควรอยู่บนสัมพันธภาพแบบเข้าถึงจิตใจของผู้อื่นการเข้าใจการรับรู้ของผู้รับบริการและญาติจะช่วยให้ สามารถวางแผนการสอนหรือให้ข้อมูลได้เหมาะสมพยาบาลจึงต้ องสวมบทบาทเป็นทั้งผู้เรียนและ ผสู้ อนโดยการแลกเปล่ียนประสบการณ์กับผู้รับบริการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้รับบริการอย่างเปิดเผยเรียนรู้ ปญั หาของผรู้ บั บรกิ ารและการดาเนนิ ของโรคอยา่ งสม่าเสมอมีสว่ นรว่ มในประสบการณ์ของผู้รับบริการ ช่วยผู้รับบริการกาหนดเป้าหมายชีวิตตามสภาพที่เป็นจริงตอบคาถามของผู้รับบริการอย่างชัดเจนให้ ขอ้ มลู ท่เี ป็นประโยชน์ ในระดบั ทผ่ี ู้รับบริการสามารถเขา้ ใจและยอมรับได้ 8. การเตรียมการเพ่ือสนับสนุนปกป้องหรือแก้ไขภาวะสุขภาพ กาย จิตสังคม และจิต วิญญา ณ ( The provision of supportive, protective and (or) corrective mental, physical, sociocultural and spiritual environment) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1) ปัจจัยภายนอก เป็นปัจจัย ด้านรา่ งกาย ความปลอดภัย และสง่ิ แวดล้อม 2) ปจั จยั ภายในคือ สุขภาพจติ จิตวิญญาณ และกิจกรรม
19 ทางวัฒนธรรม ซึ่งปัจจัยที่พยาบาลเข้าไปจัดกระทาเพ่ือการสนับสนุนและป้องกัน เพ่ือให้บุคคลเกิด ความผาสุกในชีวติ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ปัจจยั ทงั้ สองอย่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกนั เพราะเป็น การรับรู้ของบุคคลต่อสิ่งแวดล้อมว่าเป็นภาวะคุกคามหรือไม่คุกคาม การรับรู้ภาวะคุกคามถือเป็น ความเครียดท่ีเกิดข้ึนกับบุคคลตัวอย่างของภาวะคุกคาม เช่น การต้องออกจากงาน การหย่า การเจ็บป่วย การสูญเสียบุคคลอันเป็นท่ีรัก พยาบาลควรประเมินการรับรู้ของผู้รับบริการและ ความสามารถในการปรับตัวต่อสถานการณ์นั้นเพ่ือสามารถให้การสนับสนุนและจะช่วยให้รับรู้ข้อมูล อย่างถกู ตอ้ ง หรอื ชว่ ยการสง่ เสรมิ ความเข็มแขง็ ในการปรับตวั ของผ้รู ับบริการ 9. การช่วยให้ได้รับการตอบสนองความต้องการ ( Assistance with gratification of human needs) ความต้องการของบุคคลมี 4 ระดับคือ สิ่งที่พยาบาลควรปฏิบัติในการตอบสนอง ความต้องการในภาวะที่มีการเจ็บป่วย ได้แก่ 1) ตอบสนองความต้องการทางด้านชีวภาพเพื่อให้ ผรู้ ับบรกิ ารสามารถดารงชีพอยู่ได้อยา่ งมีคุณภาพชีวติ 2) ตอบสนองความตอ้ งการทางด้านจิตใจเพ่ือให้ ผู้รับบริการสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ปกติช่วยเหลือและให้โอกาสผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ กิจกรรมตามท่ีต้องการ ดูแลให้ผู้รับบริการปลอดภัย 3) ตอบสนองความต้องการทางด้านจิตสังคม เพ่ือให้ผู้รับบริการรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ให้ครอบครัวและผู้เป็นท่ีรักมาดูแล เยี่ยมเยียน ช่วยเหลอื ครอบครัวหรอื บคุ คลสาคัญของผรู้ ับบรกิ ารทีก่ าลังโศกเศรา้ และเมื่อวาระสุดท้าย มาถึงดูแลช่วยเหลือให้ผู้รับบริการจากไปอย่างสงบ 4) ตอบสนองความต้องการภายในบุคคลและ ระหว่างบุคคลเปน็ การช่วยใหผ้ ู้รบั บรกิ ารมพี ลงั ภายในตน 10. การเปิดโอกาสให้ทาความเข้าใจเก่ียวกับบุคคลในภาวะที่เขาเป็นอยู่ (Allowance for existential phenomenological factors) เพอื่ ชว่ ยใหบ้ ุคคลคน้ หาความหมายของชีวติ ช่วยให้บุคคล สามารถเผชญิ กับการมีชีวติ อยู่หรอื ความตายได้ โดยเฉพาะผ้รู ับบริการระยะประคับประคองและระยะ สุดท้ายมักจะมีความสับสน ว้าวุ่นวิตกกังวลต่อสภาพการเจ็บป่วยการมีชีวิตอยู่ระหว่างความเป็นกับ ความตาย หากไม่ได้รับการดูแลที่ดีผู้รับบริการอาจคิดที่จะฆ่าตัวตายหรือปฏิเสธความตายจนถึงวาระ สุดท้ายของชีวิต ผู้รับบริการอาจต้องการค้นหาความหมายของชีวิต ผู้ให้การดูแลโดยเฉพาะพยาบาล ควรเป็นผู้ท่ีมีความเข้าใจในชีวิตและความเป็นไปของชีวิตมีพลังสติปัญญาพลังจิตและพลังกาย ท่ีเกิด พ้ืนฐานความเช่ือ สังคมวัฒนธรรม การศึกษา และประสบการณ์ชีวิตเพื่อสามารถช่วยผู้รับบริการให้ คน้ พบคุณค่าของตนเองในอดตี พยาบาลอาจช่วยแนะนาและใหโ้ อกาสผ้รู ับบริการแสดงออกตามความ เชื่อ แสดงความรักและมีสัมพันธภาพกับครอบครัวหรือผู้ที่เป็นแหล่งความหวังและกาลังใจ ความศรัทธาในศาสนาปรัชญาและส่ิงท่ีดีงามของผู้รับบริการ ช่วยช้ีนาให้ผู้รับบริการค้นหาแก่นของ ชีวิต เข้าใจชีวิต และกาหนดเป้าหมายชีวิตในระยะเวลาท่ีมีอยู่ นาให้ผู้รับบริการค้นพบแหล่ง พลังจิตวิญญาณของตน ค้นพบสจั ธรรมของชีวิต และใช้ระยะเวลาในช่วงสดุ ท้ายของชีวิตอย่างมีคุณค่า (จอนผะจง เพง็ จาด, 2553) ดังนั้น กระบวนการที่นิสิตพยาบาลปฏิบัติเพ่ือการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทร ปลูกฝังการ ปฏิบัติด้วยรักและความเมตตา มีจิตใจท่ีสงบ ม่ันคง ทั้งกับตนเองและผู้อื่น ให้เสมือนเป็นพื้นฐานของ ความรักที่มีสติ มีชีวิตอยู่กับความจริง สร้างความหวังและศรัทธาที่เป็นไปได้ และเช่ือในความเป็นไป ของชีวิตบนโลก ทั้งของตนเองและผู้อ่ืน ปลูกฝังการปฏิบัติทางจิตวิญญาณ และการหลอมรวมตนเอง สร้างสัมพันธภาพ และคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพการช่วยเหลืออย่างไว้วางใจเพ่ือการดูแล ส่งเสริมให้มี
20 การแสดงความรู้สึกออกมาท้ังทางบวก และทางลบ แลกเปลี่ยนความรู้สึก และเตรียมตัวเองเพ่ือรับ ความรู้สึกท้ังในทางบวกและลบ ใช้ทุกวิถีแห่งความรู้ให้เป็นเสมือนส่วนหน่ึงของกระบวนการดูแล เช่ือมต่อกับความสามารถทางศิลปะแห่งการพยาบาลด้วยความเอื้ออาทร ส่งเสรมิ การสอน การเรียนรู้ ประสบการณ์ ซ่ึงระหว่างกันของพยาบาลและผู้รับบริการ ให้ความสนใจกับความเป็นหน่ึงเดียวของ ชีวิตและความหมายแบบอัตวิสัย ให้ความใส่ใจ และอยู่กับกรอบอ้างอิงของผู้อื่น สร้างสรรค์ สภาพแวดล้อมแห่งการบาบัด ช่วยเหลือโดยมุ่งตอบสนองความต้องการของบุคคล โดยให้ความ เข้าใจความต้องการท้ังในด้านพยาบาล และผู้ป่วยเปิดรับพลังทางจิตวิญญาณ ส่ิงลึกลับและยังไม่มี คาอธิบายอันเกีย่ วกับการมีชวี ิต 2.7 ประโยชนแ์ ละการนาไปใช้ทางการพยาบาล ประโยชน์และการนาไปใช้ทางการพยาบาล ทฤษฎีการดูแลระหว่างบุคคลของวัตสัน ช้ีให้เห็นองค์รว มขอ งมนุษย์ที่มีคว ามเป็นหน่ึงเดียว (Watson, 2008;2009 อ้างถึงใน จุฬาวิทยานุกรม, 2554) ที่เกิดจากการหลอมรวมกันระหว่างร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ให้ความสาคัญอย่างมากในมิติจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทฤษฎีน้ี ทาให้ทฤษฎีน้ีมีความ เฉพาะต่อการบาบัดและเยียวยา (Therapeutic intervention) ความทุกข์ ความทรมาน การสร้าง ความหวัง และประคับประคองความโศกเศร้า นอกจากน้ันแนวคิดทฤษฎีน้ียังช่วยดารงค์ไว้ซึ่งบทบาท “การดูแล”ทฤษฎีการดูแลของวัตสัน สามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลได้ใน 2 ระดับคือ ระดับพ้นื ฐาน และการใช้ในการปฏบิ ัติการพยาบาลขั้นสงู ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ 1) การใช้ในระดับพื้นฐาน โดยพยาบาลใช้การดูแล10 ประการ (Ten carative factors) มาเป็นแนวคิดพื้นฐานเพ่ือการดูแลผู้รับบริการ ซึ่งก็คือการใช้เพ่ือชี้นาการปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือการ ดูแล เช่น พยาบาลคานึงถึงการดูแลผู้รับบริการในฐานะท่ีเป็นเพื่อนมนุษย์ ซ่ึงต้องคานึงถึงการ ตอบสนองความตอ้ งการทุกด้าน การคานึงถึงความหวังของผรู้ ับบรกิ าร ในบางองค์กรรบั แนวคดิ ทฤษฎี การดแู ลเปน็ ปรชั ญาสว่ นหนง่ึ ขององคก์ รในการจดั บริการทางการพยาบาล 2) การใช้เพ่ือการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง คือการนารูปแบบการดูแลที่เข้าถึงจิตใจกัน ระหวา่ งคนสองคน (Transpersonal caring) มาใช้ในการปฏบิ ัติการพยาบาลโดยมจี ุดม่งุ หมายเพ่ือการ ฟ้ืนหาย (Healing) โดยมีลักษณะการนาทฤษฎีการดูแลมาใช้ดังต่อไปน้ี(Quinn, 2009 อ้างถึงใน จฬุ าวิทยานกุ รม, 2554) ดังน้ัน พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทร หมายถึง นิสิตพยาบาลท่ีใช้ศาสตร์และ ศลิ ป์ในการกระทาและแสดงความรู้สึกอย่างจริงใจระหว่างบุคคล ทีต่ ่างมีศักยภาพและได้รับประโยชน์ ร่วมกันในขบวนการดูแลอย่างเอ้ืออาทร การปฏิบัติของนิสิตพยาบาลต่อผู้ที่เจ็บป่วยหรือผู้รับบริการ ด้านสุขภาพด้วยความเอ้ืออาทร เมตตากรุณา สนใจ เอาใจใส่ใจต่ออารมณ์ ความรู้สึก และความ ต้องการของผ้รู ับบริการ ซ่ึงเปน็ การดูแลทีต่ ่างฝ่ายต่างเขา้ ถงึ ความรู้สึก และสัมผัสจติ ใจของกนั และกนั ความเชื่อพื้นฐานของทฤษฎีการดูแลของวัตสัน วัตสันเชื่อว่าการดูแลเป็นพ้ืนฐานของความ เป็นมนุษย์ และการพยาบาล คือศาสตร์แห่งการดูแลมนุษย์ เป้าหมายของการดูแลคือการช่วยเหลือ บุคคลใหค้ ้นพบภาวะดลุ ยภาพ ของร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ เนน้ การดแู ลอันเปน็ คณุ ธรรมทีด่ ารงคไ์ ว้
21 ซึ่งศักดิ์ศรขี องความเป็นมนุษย์ โดยอาศยั การสร้างสัมพนั ธภาพระหว่างผ้ใู ห้การดูแลกับผู้ได้รับการดแู ล ภายใตค้ วามรักในความเป็นเพอ่ื นมนุษย์ ท่ใี หค้ วามสาคัญทงั้ ร่างกายและจติ ใจอย่างไม่แยกออกจากกัน ประโยชน์และการนาไปใช้ทางการพยาบาล ทฤษฎีการดูแลของวัตสันช้ีให้เห็นองค์รวมของ มนุษย์ที่มีความเป็นหน่ึงเดียว (Unitary) ท่ีเกิดจากการหลอมรวมกันระหว่างร่างกาย จิตใจ และจิต วญิ ญาณให้ความสาคัญอย่างมากในมิติจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทฤษฎนี ี้ ทาใหท้ ฤษฎีน้ีมี ความเฉพาะต่อการบาบัดและเยียวยา (Therapeutic intervention) ความทุกข์ ความทรมาน การสรา้ งความหวงั และประคับประคองความโศกเศรา้ 3. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559) (คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, 2559) 3.1 ปรชั ญา และวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร ปรัชญาของหลักสูตร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเช่ือว่าการพยาบาลเป็น บริการที่จาเปน็ ตอ่ สังคมในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของบุคคล ครอบครวั และชุมชนท้ังในภาวะสขุ ภาพดี และเจ็บป่วยโดยใช้ศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ท่ีเก่ียวข้อง โดยเน้นการพยาบาลอย่างเป็น องค์รวมครอบคลมุ กาย จิต อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ ผ่านกระบวนการจดั การเรยี นการสอน โดย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เรียนรู้โดยการกระทา และประสบการณ์ เพื่อให้ได้บัณฑิตท่ีมีความรู้และทักษะ ทางการพยาบาลพร้อมท่ีจะเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ใหบ้ ริการอย่างมีคุณภาพ มีความเอื้ออาทร ยึดมน่ั ใน คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณแห่งวชิ าชีพ มจี ิตสาธารณะ มีภาวะผ้นู า ใฝ่รู้ สามารถคดิ วิเคราะห์ และใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการปฏิบัติงาน นาผลการวจิ ัยมาใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน และพัฒนาตนเอง และวชิ าชีพอยา่ งต่อเนื่อง มที ัศนคติทด่ี ีตอ่ วชิ าชีพ มจี ิตสานกึ ในการอนุรกั ษ์ศิลปวฒั นธรรม ส่ิงแวดลอ้ ม ส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยและดารงตนให้เป็นคนเก่งคิด เก่งงาน เก่งคน เก่งพิชิตปัญหาและ ดารงตนอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างผาสกุ วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร เพ่อื ผลิตบณั ฑติ ให้มคี ณุ ลกั ษณะ ดังน้ี 1) สามารถประยุกต์ความรู้ในศาสตร์การพยาบาลและศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อการปฏิบัติการ พยาบาลตามบทบาทของพยาบาลวิชาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสมส่งผลต่อสุขภาวะทีด่ ขี องประชาชน 2) มีทักษะในการให้บริการแบบองค์รวมแก่บุคคล ครอบครัว และชุมชนโดยการใช้ กระบวนการพยาบาลและคานงึ ถงึ หลากหลายทางวัฒนธรรม ในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ ป้องกนั การเกิด โรคการรักษาพยาบาล รวมท้ังการรักษาโรคเบอ้ื งต้น และฟ้นื ฟสู ภาพ 3) มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิจัย การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และการนา ผลการวิจยั มาใชป้ รับปรงุ การพยาบาลโดยเน้นผใู้ ชบ้ ริการเป็นศูนย์กลาง 4) มีภาวะผนู้ า สามารถบรหิ ารจดั การทางการพยาบาลตามบทบาททีไ่ ด้รับมอบหมาย 5) มีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ การส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ รวมท้งั การสอนและใหก้ ารปรกึ ษาทางด้านสขุ ภาพ 6) มีทักษะในการสืบค้นความรู้และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาลในการพัฒนา ตนเองและวชิ าชพี อย่างต่อเนอื่ ง
22 7) มีระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมท้ังมีทัศนคติที่ดีต่อ วชิ าชพี การพยาบาล 8) สามารถปฏิบัติงานและดารงตนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และปฏิบัติตนอยู่ในกรอบ วัฒนธรรม สังคมและประเพณีไทย เคารพความเปน็ ประชาธิปไตย ความเสมอภาคทางความคดิ ตลอด ทง้ั มีจติ สาธารณะและจติ สานึกในการอนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม จากปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตรท่ีเน้นในเรื่องการพยาบาลอย่างเป็น องค์รวมครอบคลุมกาย จิต อารมณ์ สงั คมและจิตวิญญาณ ผ่านกระบวนการจดั การเรียนการสอน โดย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เรียนรู้โดยการกระทา และประสบการณ์ เพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีความรู้และทักษะ ทางการพยาบาลพร้อมที่จะเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการอย่างมีคุณภาพ มีความเอ้ืออาทร ยดึ มัน่ ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3.2 คาอธิบายรายวิชาที่เกย่ี วข้องกบั พฤติกรรมการดแู ลอย่างเอื้ออาทร รายวิชาท่ีมีลักษณะวิชาท่ีมีการกาหนดในเรื่องการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรจะอยู่ใน รายวิชาในหมวดวชิ าชีพ ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดังนี้ 1) 501171 การสรา้ งเสริมสุขภาพและป้องกนั ความเจบ็ ปว่ ย 2(2-0-4) แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันความเจ็บป่วยแบบองค์รวมแก่ บุคคลทุกชว่ งวัย กลวธิ กี ารสร้างเสรมิ สุขภาพ 2) 501184 จิตสาธารณะเพื่อการบรกิ าร 2(2-0-4) การมีจิตสาธารณะในการบริการ ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการของ ผู้รบั บริการครอบคลมุ กาย จติ สังคม จติ วิญญาณ ในทุกระยะของการเจบ็ ป่วย 3) 501231 การพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายุ1 3(3-0-6) แนวคิด และทฤษฎี ท่ีเก่ียวข้องกับการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มปี ัญหาสุขภาพ ในระยะ เฉียบพลัน ระยะเร้ือรัง และระยะสุดท้าย ครอบคลุมความผิดปกติเกี่ยวกับ การย่อย การดูดซึม และ การเผาผลาญ การขับถา่ ยอุจจาระ ตอ่ มไร้ท่อ ภูมิคุ้มกัน การพยาบาลผู้รบั บริการท่ีมภี าวะติดเชื้อ และ ผู้ท่ีได้รับการผ่าตัด การพยาบาลตามกระบวนการสูงอายุและการใช้ยาในผู้สูงอายุ ตามขั้นตอนของ กระบวนการพยาบาลครอบคลมุ ทกุ มติ ิทางการพยาบาลแบบองค์รวม 4) 501232 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายุ1 2(0-8-4) ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุท่ีมีปัญหาสุขภาพในระยะเฉียบพลัน ระยะเรื้อรัง และ ระยะสุดท้าย ครอบคลุมความผิดปกติเก่ียวกับ การย่อย การดูดซึม และการเผาผลาญ การขับถ่าย อุจจาระ ต่อมไร้ท่อ และภูมคิ มุ้ กัน การพยาบาลผู้รับบรกิ ารท่มี ภี าวะติดเชอ้ื และผรู้ บั บรกิ ารท่ีไดร้ บั การ ผ่าตัด การพยาบาลตามกระบวนการสูงอายุ และการใช้ยาในผู้สูงอายุ ตามข้ันตอนของกระบวนการ พยาบาลครอบคลมุ ทุกมติ ทิ างการพยาบาลแบบองค์รวม 5) 501251 การพยาบาลสขุ ภาพจิต 2(2-0-4) ววิ ัฒนาการสุขภาพจิตและจิตเวช แนวคิด หลกั การพ้ืนฐานและทฤษฎีสุขภาพจิต ที่เกี่ยวข้อง กับการพยาบาลสุขภาพจิต จิตวิทยาพัฒนาการตามวัยต่อการปรับตัว การส่งเสริมสุขภาพจิต และ ปอ้ งกนั ภาวะความเจ็บปว่ ยทางจิต การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัดเบื้องต้น บทบาทของ พยาบาล ในการสง่ เสริมสุขภาพจติ การพยาบาลผทู้ มี่ ปี ญั หาสขุ ภาพจิตและจิตสังคม
23 6) 501252 ปฏิบตั ิการพยาบาลสขุ ภาพจิต 1(0-4-2) ฝึกปฏิบัติการใช้กระบวนการพยาบาลในการจัดการปัญหาทางสุขภาพจิต การส่งเสริม สขุ ภาพจติ และปอ้ งกนั ภาวะความเจบ็ ป่วยทางจิตในคลนิ ิกและชมุ ชน 7) 501272 มโนมติ ทฤษฎี และวิชาชีพการพยาบาล 2(2-0-4) มโนมติ และทฤษฎีทางการพยาบาล พัฒนาการของวิชาชีพการพยาบาลท้ังในและ ต่างประเทศ องค์กรวิชาชีพการพยาบาล ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล หลักการเทคนิค การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารกับผู้รับบริการ การประยุกต์ใช้กระบวนการ พยาบาลในการดแู ล ผู้รับบรกิ ารแบบองคร์ วม โดยคานึงถึงสิทธผิ รู้ ับบริการ และจรรยาบรรณวชิ าชพี 8) 501274 การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ 2(1-2-3) หลักและเทคนิคการประเมินภาวะสุขภาพแบบผสมผสาน โดยการสัมภาษณ์ประวัติ สุขภาพ การตรวจร่างกาย และการแปลผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร การตรวจพิเศษ การฝกึ ทักษะ ประเมิน ภาวะสขุ ภาพทีจ่ าเป็นและอย่างเป็นองค์รวมสาหรบั พยาบาลวิชาชพี 9) 501311 การพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์1 3(3-0-6) แนวคิด ทฤษฏี และการพัฒนาการการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ การเจริญ พันธ์ุและการวางแผนครอบครัว การตั้งครรภ์ การพยาบาลมารดา ทารก และครอบครัวในระยะ ต้งั ครรภ์ทม่ี ีภาวะปกติ ภาวะเส่ยี ง และภาวะแทรกซอ้ น 10) 501275 หลกั การและเทคนิคการพยาบาล 3(2-2-5) หลักการและเทคนิคการปฏิบัติการพยาบาล การจัดการเพ่ือนช่วยเหลือและบรรเทาอาการ รบกวนตา่ งๆ 11) 501276 ปฏิบตั ิการหลกั การและเทคนคิ การพยาบาล 1(0-4-2) ฝกึ ปฏิบตั ิเทคนคิ การปฏิบัติการพยาบาล การจัดการเพื่อช่วยเหลือและบรรเทาอาการรบกวน ตา่ งๆ 12) 501312 ปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์1 2(0-8-4) ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารวางแผนครอบครัว การพยาบาลมารดาทารกและครอบครัวในระยะ ตงั้ ครรภ์ท่ีมี ภาวะปกติ ภาวะเส่ยี ง และภาวะแทรกซอ้ นโดยใชก้ ระบวนการพยาบาลและการบูรณาการงานวจิ ยั 13) 501413 การพยาบาลมารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์2 3(3-0-6) แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการคลอด การช่วยคลอดปกติ การพยาบาลมารดาทารกและ ครอบครัวในระยะคลอดและระยะหลังคลอดที่มีภาวะปกติ ภาวะเสย่ี งและภาวะแทรกซอ้ น 14) 501414 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลมารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์2 4(0-16-8) ฝึกปฏิบัติการทาคลอดปกติ การพยาบาลมารดา ทารกและครอบครัวในระยะคลอดและ ระยะหลังคลอดท่ีมีภาวะปกติ ภาวะเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อน โดยใช้กระบวนการพยาบาลและการ บรู ณาการงานวิจยั 15) 501321 การพยาบาลเด็ก 4 (4-0-8) แนวคิดเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก สิทธิเด็ก การพยาบาลแบบองค์ รวมและ ยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง การส่งเสริมภาวะโภชนาการ พัฒนาการ การดูแลด้านจิตสังคม สาหรับ เด็กและวัยรุ่นที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล หลักการพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก และ
24 วัยรุ่นท้ังในภาวะปกติและที่มีความเส่ียงหรือมีปัญหาด้านพัฒนาการ พฤติกรรมและสังคม และที่ เบย่ี งเบนทางสุขภาพในภาวะเจบ็ ปว่ ยเฉยี บพลนั เรอ้ื รัง วิกฤต และระยะสดุ ทา้ ย 16) 501322 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเดก็ 1 2 (0-8-4) ฝึกปฏิบัตกิ ารใชก้ ระบวนการพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและวยั รุ่นภายใต้บรบิ ทของ ครอบครัว ด้วยคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยบูรณาการความรู้ความ เข้าใจ เก่ียวกับหลักการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก การพยาบาลแบบองค์รวมและยึดครอบครัวเป็น ศนู ย์กลางเพ่ือคงไวซ้ ่ึงคุณภาพชวี ิตทด่ี ตี ามสิทธิเด็ก 17) 501323 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ 2 2(0-8-4) ฝกึ ปฏิบัตกิ ารใชก้ ระบวนการพยาบาลในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพเด็กและวัยรนุ่ ท่ีมีความเจบ็ ป่วย ในระยะเฉียบพลัน เรื้อรัง วิกฤติระยะสุดท้าย โดยใหค้ รอบครัวมีสว่ นร่วมในการดแู ลเด็ก อยา่ งต่อเนอื่ ง ดว้ ยคณุ ธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยบรู ณาการความรู้ความเข้าใจ เกีย่ วกับหลักการ เจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก การพยาบาลแบบองค์รวมและยึดครอบครัวเป็น ศูนย์กลาง เพ่ือคงไว้ ซ่ึงคุณภาพชีวติ ที่ดตี ามสทิ ธเิ ด็ก 18) 501361 การพยาบาลอนามยั ชุมชน1 2(2-0-4) แนวคิดสุขภาพชุมชน หลักการพยาบาลอนามัยชุมชน การสาธารณสุขของประเทศ แผนพัฒนาสุขภาพ นวัตกรรมทางสาธารณสุข บทบาทหน้าท่ีของพยาบาลอนามัยชุมชนในการ ให้บริการอนามัยครอบครัว อนามัยโรงเรียน อนามัยส่ิงแวดลอ้ ม และอาชีวอนามัย และกลยุทธ์ในการ พยาบาลอนามยั ชมุ ชน 19) 501464 การพยาบาลอนามยั ชุมชน2 2(2-0-4) แนวคิดเก่ียวกับวิถีชุมชน ระบาดวิทยา การเสริมสร้างพลังอานาจและการมีส่วนร่วมของ ชุมชน กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนเพื่อการดูแลสุขภาพของประชาชน ที่ครอบคลุมการส่งเสริม สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การรักษา และการฟื้นฟู 20) 501465 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลอนามัยชมุ ชน 3(0-12-6) ฝึกปฏิบัติกระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสตร์การ พยาบาลและศาสตร์ที่เกีย่ วขอ้ งในการพยาบาลครอบครัว โรงเรยี น สถานประกอบการ และชุมชน 21) 501463 ปฏบิ ตั กิ ารรักษาพยาบาลเบ้อื งต้น 1(0-4-2) ฝึกประเมินสุขภาพ เพ่ือการวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย ผู้ที่มี ภาวะฉุกเฉิน และผู้ประสบอุบัติเหตุ-อุบัติภัย ภายใต้ขอบเขตกฎหมายและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ พยาบาล 22) 501333 การพยาบาลผ้ใู หญ่และผ้สู ูงอายุ2 3(3-0-3) แนวคิด และทฤษฎี ที่เก่ียวข้องกับการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ในระยะเฉียบพลัน ระยะเรื้อรัง และระยะสุดท้าย ครอบคลุมความผิดปกติเกี่ยวกับการทางานของ ประสาทสัมผัส สติปัญญาและการรับรู้ โลหิตและน้าเหลือง กระดูก กล้ามเน้ือ และข้อ สมดุลของสาร น้าเกลือแร่และกรดด่าง การขับถ่ายปัสสาวะ นรีเวช และการพยาบาลผู้ป่วยที่มีเนื้องอก ตามขั้นตอน ของ กระบวนการพยาบาลครอบคลุมทกุ มิตทิ างการพยาบาลแบบองค์รวม 23) 501334 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผูส้ ูงอายุ2 3(0-12-6)
25 ปฏิบตั ิการพยาบาลผู้ใหญ่และผสู้ ูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพในระยะเฉียบพลนั ระยะ เรื้อรัง และ ระยะสุดท้าย ครอบคลุมความผิดปกติเกี่ยวกับการทางานของประสาทสัมผัส สติปัญญา และการรับรู้ ความผิดปกติของโลหิตและน้าเหลือง กระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ สมดุลของสารน้าเกลือแร่และ กรด ด่าง การขบั ถ่ายปสั สาวะ และนรีเวช และการพยาบาลผู้ปว่ ยท่มี ีเนื้องอก ตามขั้นตอนของ กระบวนการ พยาบาลครอบคลมุ ทุกมติ ทิ างการพยาบาลแบบองค์รวม 24) 501379 กฎหมายและจรยิ ศาสตร์สาหรบั วชิ าชพี พยาบาล 2(2-0-4) กฎหมายท่ัวไป กฎหมายสาธารณสุข พระราชบัญญัตกิ ารประกอบวิชาชีพ การพยาบาล และ การผดุงครรภ์ ระเบียบกระทรวงท่ีเก่ียวข้อง หลักเกณฑ์และทฤษฎีทางจริยศาสตร์ จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ สิทธิผปู้ ่วย ประเด็นปญั หาทางกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการประกอบ วชิ าชีพ และ การตัดสินใจเชิงจริยธรรม 25) 501435 การพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผู้สูงอายุ3 3(3-0-3) แนวคิด และทฤษฎี ท่ีเก่ียวข้องกับการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ใน ระยะวิกฤตทม่ี ีความผิดปกติของสมองและไขสนั หลัง การผันแปรของออกซิเจน การพยาบาลผู้ปว่ ยท่ีมี ภาวะช็อก บาดเจ็บหลายระบบ และอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ โดยใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และ การพยาบาล ตามขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลครอบคลมุ ทกุ มิติทางการพยาบาลแบบองคร์ วม 26) 501436 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผสู้ ูงอายุ3 1(0-4-2) ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุท่ีมีปัญหาสุขภาพในระยะวิกฤตที่มีความ ผิดปกติของ สมองและไขสันหลัง การผันแปรของออกซิเจน การพยาบาลผู้ป่วยทีม่ ีภาวะชอ็ ค บาดเจ็บ หลายระบบ และอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ โดยใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และการพยาบาลตามข้ันตอนของ กระบวนการพยาบาลครอบคลุมทกุ มติ ทิ างการพยาบาลแบบองค์รวม 27) 501481 ปฏิบตั ิการจัดการทางการพยาบาล 1(0-4-2) ฝึกบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการบริหารจัดการในหน้าที่หัวหน้าเวรหัวหน้าทีมและ สมาชิกทีม 28) 501483 ปฏิบตั ิการพยาบาลวิชาชีพในสาขาทเี่ ลอื กสรร 1(0-4-2) บูรณการศาสตร์ทางการพยาบาลและทเ่ี ก่ียวข้องในการฝึกปฏิบัตบิ ทบาทพยาบาล วิชาชพี เพ่ือ สร้างเสริมสุขภาพผู้ใช้บริการอย่างองค์รวมในสาขาที่เลือกสรร ภายใต้กรอบจรรยาบรรณ วิชาชีพและ หัวใจความเปน็ มนุษย์ 3.3 แผนการศึกษา แผนการศึกษา สาหรับกลุ่มวิชาชีพที่สนับสนุนพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทร เริ่มตั้งแต่ปีท่ี 1 ดังนี้ ชั้นปีท่ี 1 2(2-0-4) ภาคการศึกษาต้น 501184 จิตสาธารณะเพ่ือการบริการ ชน้ั ปีที่ 1
ภาคการศึกษาปลาย 26 501171 การสร้างเสรมิ สุขภาพและปอ้ งกนั ความเจบ็ ปว่ ย 2(2-0-4) ชน้ั ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาตน้ 2(2-0-4) 501272 มโนมติ ทฤษฎแี ละวิชาชีพการพยาบาล 2(1-2-3) 501274 การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ 3(3-0-6) ชั้นปที ี่ 2 2(2-0-4) ภาคการศกึ ษาปลาย 3(2-2-5) 501231 การพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผ้สู งู อายุ1 501251 การพยาบาลสขุ ภาพจติ 2(0-8-4) 501275 หลักการและเทคนิคการพยาบาล 1(0-4-2) 1(0-4-2) ชนั้ ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน 3(3-0-6) 501232 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลผูใ้ หญแ่ ละผู้สงู อายุ1 4(4-0-8) 501252 ปฏบิ ัติการพยาบาลสุขภาพจติ 3(3-0-6) 501276 ปฏบิ บิ ตั ิการหลกั การและเทคนิคการพยาบาล 2(2-0-4) 2(2-0-4) ชั้นปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาต้น 2(0-8-4) 501311การพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์1 3(0-12-6) 501321 การพยาบาลเด็ก 2(0-8-4) 501333 การพยาบาลผ้ใู หญ่และผู้สงู อายุ2 2(0-8-4) 501379 กฎหมายและจรยิ ศาสตร์สาหรับพยาบาล 501361 การพยาบาลอนามัยชมุ ชน1 ช้ันปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาปลาย 501322 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเดก็ 1 501334 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผู้สงู อายุ2 501312 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลมารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์1 501323 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ 2
27 ชนั้ ปีท่ี 4 3(3-0-6) ภาคการศึกษาต้น 1(0-4-2) 501435 การพยาบาลผใู้ หญ่และผู้สงู อายุ3 2(2-0-4) 501436 ปฏิบัติการพยาบาลผูใ้ หญ่และผสู้ งู อายุ3 1(0-4-2) 501464 การพยาบาลอนามัยชมุ ชน2 1(0-3-1) 501463 ปฏิบัตกิ ารรกั ษาพยาบาลเบื้องต้น 3(3-0-6) 501481 ปฏิบัติการการจัดการทางการพยาบาล 501413 การพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์2 ชัน้ ปที ่ี 4 1(0-4-2) ภาคการศึกษาปลาย 3(0-12-6) 501483 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลวชิ าชพี ในสาขาทเ่ี ลือกสรร 4(0-16-8) 501465 ปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน 501414 ปฏิบตั ิการพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์2 3.4 กิจกรรมนอกหลกั สูตร มหาวิทยาลัยนเรศวรได้จัดกิจกรรมนอกหลักสูตรเพ่ือให้นิสิตได้สานสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์กบั นสิ ติ และระหวา่ งนสิ ติ กับนิสิต มีกิจกรรมดงั น้ี 1. โครงการปฐมนเิ ทศนสิ ิตใหม่ (Beginning Camp) จัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้นิสิตได้รู้จัก และเข้าใจถึงการใช้ชีวิตในร้ัวมหาวิทยาลัย ปรับสภาพก่อนการศึกษาเล่าเรียน นิสิตใหม่ได้นาประสบการณ์จากรุ่นพี่มาประยุกต์ใช้กับการดาเนิน ชวี ติ ในมหาวทิ ยาลัย โดยทางองค์การนิสติ ดาเนินการจัดกิจกรรม สานความสัมพันธ์ที่ดีระหวา่ งรุ่นพี่สู่ รนุ่ นอ้ งผ่านการทากิจกรรมรว่ มกัน 2. โครงการเปิดโลกกิจกรรม การดาเนินชีวิตในมหาวิทยาลัยนั้น นิสิตต้องรู้จักการปรับตัว ทั้งในด้านการเรียนและการ ดาเนินชีวิตในสังคมท่ีกว้างขึ้น การเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมต่างๆ เป็นอีกสิ่งหน่ึงท่ีจะช่วยขัดเกลา และพัฒนาทักษะ เช่น ทกั ษะการทางานร่วมกับผูอ้ ่ืน ทกั ษะการวางแผน ทักษะการแก้ไขปญั หา ทักษะ การส่ือสาร เพ่ือให้นิสิตได้พัฒนาตนเองไปสู่การเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ การจัดโครงการเปิดโลก กิจกรรมจึงเป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้นิสิตใหม่ได้มาเก็บเก่ียวประสบการณ์ในมหาวิทยาลัย ใน รูปแบบการเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมตามความสนใจและความถนัด ซ่ึงมหาวิทยาลัยนเรศวรให้ ความสาคัญกับการพัฒนานิสิตให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพในวันข้างหน้า มีความพร้อมในการงานจริง มี ความอดทน มคี วามเสยี สละและจิตอาสา 3. โครงการบายศรสี ขู่ วญั นิสิตใหม่ เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่นิสิตใหม่อีกท้ังยังสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู อาจารย์กบั นิสติ และระหวา่ งนสิ ิตด้วยกันเอง 4. โครงการไหวค้ รมู หาวิทยาลัย
28 เพื่อให้ศิษย์ระลึกถึงพระคุณของครูที่มีต่อศิษย์และได้เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทิตา ไปจนถึงสร้างความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างนิสิตและคณาจารย์ และเพ่ือให้นิสิตได้สืบสานขนบธรรมเนียม และวฒั นธรรมประเพณีไทยทด่ี งี ามสืบไป 5. โครงการตักบาตรพระต้อนรบั นิสิตใหม่ การทาบุญตักบาตรเป็นประเพณีอย่างหน่ึงของชาวพุทธ ที่เป็นการอุปถัมภ์ค้าจุน พระพุทธศาสนา หล่อหลอมให้ชาวพุทธเป็นคนเอ้ืออารี มีน้าใจ รู้จักการเสียสละ อีกท้ังนิสิตใหม่ของ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ยงั ได้มีโอกาสทาบุญตักบาตรรว่ มกัน เตรียมความพร้อมทางดา้ นจิตใจ สร้างขวัญ กาลงั ใจในการศึกษาเล่าเรียนอกี ดว้ ย 6. โครงการรอ้ งเพลงมหาวทิ ยาลัยภาคภูมิใจนเรศวร (Power cheer) เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิตรุ่นพ่ีและรุ่นน้อง ให้นิสิตใหม่เกิดความรักและ ภาคภูมิใจในสถาบัน โดยมีกิจกรรมการแสดงละครกลางแจ้ง ประกอบแสง สี เสียง เรื่อง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช การแสดงประกอบจนิ ตลลี า จากนนั้ เป็นการร่วมกันรอ้ งเพลงมหาวิทยาลัย ประกอบการแปรอกั ษรอันแสดงถึงความสามัคคี และความภาคภูมใิ จในมหาวทิ ยาลัยนเรศวร สรุปได้ว่า การจัดการศึกษาของ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เช่ือว่าการ พยาบาลเป็นบริการที่จาเป็นต่อสังคม โดยเน้นการพยาบาลอย่างเป็นองค์รวมครอบคลุมกาย จิต อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ เพ่ือให้ได้บัณฑิตที่มีความรู้และทักษะทางการพยาบาลพร้อมที่จะ เป็นพยาบาลวิชาชีพทใ่ี หบ้ ริการอย่างมคี ณุ ภาพ และมีความเออ้ื อาทรโดยการนาทฤษฎีของวัตสันที่เน้น การดูแลอันเป็นคุณธรรมที่ดารงค์ไว้ซึ่งศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ โดยอาศัยการสร้างสัมพันธภาพ ระหว่างผู้ให้การดูแลกับผู้ได้รับการดูแล ภายใต้ความรักในความเป็นเพ่ือนมนุษย์ ทางคณะพยาบาล ศาสตร์ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้ัน ท้ังในหลักสูตรและนอกหลักสูตรตลอดจนมีคณาจารย์ผู้ส่ัง สอน และสิ่งแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการปลูกฝ่ังและพัฒนาพฤติกรรมการดูแลผ้รู ับบริการอย่างเอ้ืออาทรของ นิสิตพยาบาลมาเป็นลาดับต้ังแต่ชั้นป่ีที่ 1 จนจบการศึกษา เช่น การบูรณาการเน้ือหาเกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมเอื้ออาทรลงในรายวิชา 1. จิตสาธารณะเพ่ือการบริการ 2. มโนมติ ทฤษฎีและวิชาชีพการ พยาบาล และ3. กฎหมายและจริยศาสตร์สาหรับวิชาชีพพยาบาล และยังมีกจิ กรรมนอกหลักสูตรของ ทางมหาวิทยาลัยนเรศวรที่มีส่วนช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับนิสิตและระหว่างนิสิตกับ นิสิต ได้แก่ 1.โครงการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ (Beginning Camp) 2.โครงการเปิดโลกกิจกรรม 3.โครงการบายศรีสู่ขวัญ 4.โครงการไหว้ครูมหาวิทยาลัยนเรศวร 5.โครงการตักบาตรพระต้อนรับนิสิต ใหม่ และ6.โครงการรอ้ งเพลงมหาวทิ ยาลัยภาคภมู ิใจนเรศวร(Power cheer) 4. งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง สุมาลี เอ่ียมสมัย, นีออน พิณประดิษฐ์ และกิ่งฟ้า สินธุวงษ์ (2553) ได้ศึกษาการพัฒนา รปู แบบการเรยี นการสอนเพ่ือส่งเสริมพฤตกิ รรมดูแลอย่างเออ้ื อาทรของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศา- สตรบัณฑิตวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาทเป็นการวิจัยและพัฒนามี 3 ระยะ คือ 1) การศึกษาบริบท(context)การจดั การเรียนการสอนเพอื่ ส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทร โดย วิเคราะห์หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต 2545 สถาบันพระบรมราชชนกกระทรวงสาธารณสุข ศึกษา บริบทท่ีเก่ียวข้องกับรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอื้ออาทร จาก
29 ผู้เช่ียวชาญด้วยการสัมภาษณ์ อาจารย์ผู้สอนและพยาบาลพ่ีเล้ียงด้วยการสนทนากลุ่ม ศึกษาพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทร ของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ช้ันปีที่ 1 จานวน 55 คน ด้วยการสนทนากลุ่ม 2) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่าง เอ้ืออาทร โดยใช้กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2551 จานวน 30 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดพฤติกรรมดูแลอย่างเอื้ออาทร แบบสังเกต พฤติกรรมดูแลอย่างเออ้ื อาทร และแบบบันทึกการเรียนรู้ และ3) การประเมินประสิทธิผลรูปแบบการ เรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทรที่ใช้การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียวทดสอ บ ก่อนและหลังกับนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2551 จานวน 55 คน พบว่า รูปแบบการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทรมี7 ข้ันตอน ได้แก่ (1) ฝึกสมาธิ มีสติ (2) ข้ันเรียนร้พู ฤติกรรมดูแลอย่างเออื้ อาทรจากสถานการณ์ (3) ข้ันวิเคราะห์ความรู้ด้วยหลักการ ดแู ลอย่างเอื้ออาทร (4) ขั้นร่วมสรา้ งความรู้อยา่ งเอ้ืออาทร (5) ข้นั กลั ยาณมติ รแลกเปลี่ยน (6) ข้ันสรุป ความรู้โดยหลักการดูแลอย่างเอ้ืออาทร และ (7) ขั้นสะท้อนและเสริมแรงพฤติกรรมดูแลอย่าง เอ้อื อาทรและผู้เรียนมพี ฤตกิ รรมดูแลอย่างเอือ้ อาทรหลงั การใช้รปู แบบการเรียนการสอนสงู กวา่ ก่อนใช้ รูปแบบการเรียนการสอนผลการประเมินพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทรของผู้เรียนพบว่า ในแต่ละ แผนการสอน ผู้เรียนมีพฤติกรรมดูแลอย่างเอ้ืออาทรสูงขึ้นเป็นลาดับ ผู้เรียนตระหนักรู้ถึงพฤติกรรม ดแู ลอยา่ งเอื้ออาทรในแตล่ ะขั้นการสอน เตชัต อัครธนารักษ์ (2557)ได้ศึกษาการเตรียมความพร้อม ความรู้ และพฤติกรรมการดูแล แบบเออื้ อาทรแกผ่ ปู้ ่วยระยะสุดท้ายของพยาบาลจบใหม่ โดยใชแ้ นวคดิ ทฤษฎีพฤติกรรมการดแู ลอย่าง เอื้ออาทรของโรช กลุ่มตัวอย่างเป็น พยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานมีอายุงาน 6 เดือนถึง 12 เดือน จานวน 112 คน มีประสบการณ์ตรงในการดูแลผู้ป่วยสุดท้ายอย่างน้อย 1 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูลประกอบไปดว้ ย (1) แบบสอบถามข้อมูลทว่ั ไป (2) แบบสอบถามการเตรียมความพร้อม ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (3) แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรแก่ผู้ป่วยระยะ สุดท้าย และ(4) แบบประเมินความรู้ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายทดสอบพบว่า การเตรียม ความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายความรู้ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย และพฤติกรรมการ ดูแลแบบเอ้ืออาทรแก่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายอยู่ในระดับปานกลาง และการเตรียมความพร้อม มคี วามสมั พนั ธ์ทางบวกในระดับปานกลางกบั พฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรแกผ่ ปู้ ว่ ยระยะสดุ ท้าย สินีนุช ศิริวงศ์ (2560) ได้ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยอย่างเอ้ืออาทรตามการ รับูรข้ องนกั เรยี นพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที่ ่ี 3 และช้นั ปีท่ี 4 วทิ ยาลยั พยาบาลกองทพั เรอื โดยใช้นาแนวคิด ทฤษฏีพฤติกรรมการดแลอย่างเอื้ออาทรของโรชกลุ่มตัวอย่าง 92 คน เป็นนักเรยี นพยาบาลศาสตร์ชั้น ปีที่ 3 และช้ันปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2558 จานวน 46 คนเท่ากัน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถาม พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรตามการรับรู้ของนักเรียนพยาบาลศาสตร์ ผลการวิจัย พบว่าพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรโดยรวมตามการรับรู้ของนักเรียนพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีท่ี 3 และช้ันปที ี่ 4 อยูใ่ นระดับสูงมาก เม่ือจาแนกรายด้าน พบว่า คะแนนเฉลีย่ สูงสุด คือ ด้านการ มีจิตสานึกทางจริยธรรม รองลงมา คือ ด้านความเชื่อม่ัน และต่าสุด คือ ด้านความยึดมั่นผูกพัน พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรตามการรับรู้ของนักเรียนพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 และ ชั้นปีท่ี 4 ไม่แตกต่างกัน
30 บวรลักษณ์ ทองทวี, เยาวรัตน์ มัชฌิม และศิริลักษณ์ แก้วศรีวงศ์ (2561) ได้ทาการศึกษา พฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรในการดูแลผู้รับบริการระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลและพยา บาลจบใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษามีท้ังหมด 137 คน เป็นนกั ศึกษา พยาบาลช้ันปีท่ี 4 ท่ีกาลังจะจบการศึกษาจานวน 81 คนและพยาบาลจบใหม่ซ่ึงมีอายุการทางานไม่ เกิน1ปีจานวน56คนกรอบแนวคิดการวิจัยในคร้ังน้ีใช้กรอบแนวคิดการดูแลแบบเอื้ออาทรของโรช 6 ดา้ น ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลจบใหม่ 1 ปีมีคะแนนพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรโดยรวมและ รายด้านสูงกว่านักศึกษาพยาบาลชน้ั ปที ่ี 4 ทุกดา้ น อย่างไรก็ตาม นกั ศกึ ษาพยาบาลชั้นปที ่ี 4 มคี ะแนน รายข้อในบางประเด็นที่มีค่าเฉล่ียสูงกว่าพยาบาลจบใหม่ 1 ปี ได้แก่ ด้านความเห็นอก เห็นใจ ได้แก่ การให้เวลากับผู้ป่วยและครอบครัว(โดยในนักศึกษาพยาบาลชั้นปีท่ี 4 มีค่าเฉลี่ย 79.80 และพยาบาลจบใหม่ 1 ปี มีค่าเฉลี่ย 53.38) ด้านความสามารถ ได้แก่ ส่ือสารกับญาติและทีมสุขภาพ ขณะดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย(โดยในนักศึกษาพยาบาลช้ันปีที่ 4 มีค่าเฉล่ีย 81.35และพยาบาลจบใหม่ 1 ปี มคี า่ เฉลีย่ 51.13) ด้านความมีคุณธรรมจริยธรรม ไดแ้ ก่ ยดึ หลักจรยิ ศาสตร์และกฎหมายเสมอเม่ือ พบความขัดแย้ง(โดยในนักศึกษาพยาบาลช้ันปีท่ี 4 มีค่าเฉล่ีย 81.85 และพยาบาลจบใหม่ 1 ปี มีค่าเฉล่ีย 50.41) ด้านความมุ่งม่ัน ได้แก่ การไม่ย่อท้อเมื่อพบอุปสรรคในการดูแล(โดยในนักศึกษา พยาบาลช้ันปีท่ี 4 มีค่าเฉลี่ย 77.86 และพยาบาลจบใหม่ 1 ปี มีค่าเฉล่ีย 56.19) และการตอบสนอง ความต้องการอย่างรวดเร็วเม่ือได้รับการร้องขอ(โดยในนักศึกษาพยาบาลช้ันปีท่ี 4 มีค่าเฉล่ีย 83.06 และพยาบาลจบใหม่ 1 ปี มคี า่ เฉลี่ย 48.67) ศศิกาญจน์ สกุลปัญญวัฒน์ (2557) ศึกษาระดับพฤติกรรมการดแู ลแบบเอ้อื อาทรของอาจารย์ ผู้สอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานสถาบันการศึกษาเอกชนเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลแบบ เอื้ออาทรของอาจารย์ผู้สอนรายวิชาฝึกภาคปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานในสังกัดสถาบันการศึกษา เอกชนท่ีมีปจั จยั ส่วนบุคคลได้แก่ อายุ ประสบการณ์ในการปฏิบัตงิ าน ภูมิลาเนา ตาแหนง่ ทางวิชาการ ที่แตกต่างกันและเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของอาจารย์ผู้สอนวิชาปฏิบัติการ พยาบาลพื้นฐานตามการรับรู้ของอาจารย์ผู้สอนกับนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาพยาบาล ชนั้ ปีที่ 1 ที่ผ่านการศึกษารายวิชาฝึกปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานของสถาบันในสังกัดสถาบันการศึกษา เอกชนจานวน 320 คน อาจารย์ผู้สอนรายวิชาฝึกปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานของสถาบันในสังกัด สถาบันการศึกษาเอกชนจานวน 132 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลแบบ เอ้ืออาทรของอาจารย์ผสู้ อนวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน สถาบนั การศึกษาเอกชนตามการรับรู้ของ อาจารย์ผู้สอนอยู่ในระดับสูงและค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของอาจารย์ผู้สอนวิชา ปฏิบัติการพยาบาลพ้ืนฐานสถาบันการศึกษาเอกชนตามตามการรับรู้ของนักศึกษาอยู่ในระดับสูง เช่นกัน 2) อาจารย์นิเทศท่ีมีอายุประสบการณ์การสอนและภูมิลาเนาแตกต่างกันมีค่าเฉล่ียการรับรู้ พฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรท่ีแตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสาคัญท่ีระดับ 0.01 ส่วนอาจารยท์ ่ีมีตาแหน่ง ทางวิชาการแตกต่างกันมีค่าเฉลี่ยการรับรู้พฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของอาจารย์นิเทศรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลพ้ืนฐานสถาบันเอกชนไม่แตกต่างกันและ3) พฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรของ อาจารย์ผสู้ อนวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานสถาบันการศึกษาเอกชนตามการรับรขู้ องอาจารย์ผู้สอน และนักศึกษาแตกต่างกนั
31 รุ่งทิพย์ พรหมบุตร, วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ, วชิรศักด์ิ อภิพัฒน์กานต์ และธิติพร เกียรติกังวาน (2552) ได้ศึกษาการพยาบาลด้วยความเอ้ืออาทรของนักศึกษาพยาบาลช้ันปีที่3 วิทยาลัยพยาบาล พระบรมราชชนนี ขอนแก่น ในการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลท่ีมีปัญหาสุขภาพ ตามการรับรู้ของผู้รับบริการ โดยใช้แนวคิดทฤษฎีการดูแลเอื้ออาทรของวัตผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ย การพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรของนักศึกษาพยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉล่ีย สูงสุดอยู่ในระดับมากที่สุด3 ลาดับแรก คือ 1) ด้านไวต่อการรับรู้ของตนเองและผู้อ่ืน 2) ด้านการใช้ กระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ 3) ด้านการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ด้านอ่ืนๆ อีก 7 ด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก พิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่ ดูแลผู้รับบริการและครอบครัวเสมือนญาตสิ นิท, ดูแลผู้รับบริการโดยไม่แสดงท่าที รังเกียจ, แสดงความรู้สึกร่วมกับผู้รับบริการได้อย่างเหมาะสมท้ังคาพูดและการแสดงออก ข้ออ่ืนๆ มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ข้อค้นพบจากการวิจัย ผู้รับบริการรับรู้และซาบซ้ึงต่อการ พยาบาลด้วยความเอื้ออาทรท่ีได้รับ นักศึกษาเห็นคณุ ค่าในตนเองและวิชาชีพพยาบาล ภาคภูมิใจท่ีได้ เรียนพยาบาล ได้ทาประโยชน์ต่อผู้อ่ืนให้พ้นความทุกข์จากความ เจ็บป่วย และรับรู้ถึงความสุขจาก การทางานที่เกิดจากการเป็นผู้ให้แล้วทาให้ผู้อ่ืนมีความสุข และเมื่อพิจารณาการจัดกิจกรรมของ นักศึกษาของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น พบว่ามีกิจกรรมที่หล่อหลอมและ สง่ เสริมพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรของนักศึกษา เช่น การเข้าค่ายอบรมคุณธรรมและจริยธรรม การออกค่ายอาสาพัฒนาชุมชน การออกค่ายอาสาร่วมกับนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในเครือข่าย โครงการบัณฑิตอุดมคติไทย โครงการจัดงานวันเด็ก โครงการบริการวิชาการในกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ เช่น งานเทศกาลไหม งานลอยกระทง เป็นต้น กิจกรรมท่ีส่งเสริมความสัมพันธ์เชิงการดูแลอย่าง เอื้ออาทรระหว่างนักศึกษา เช่น การเข้าร่วมทากิจกรรมในชมรม ต่าง ๆ กิจกรรมท่ีส่งเสริม ความสัมพันธ์เชิงการดูแลอย่างเอ้ืออาทรระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา เช่น ระบบครอบครัว อาจารย์ ที่ปรึกษา อาจารย์ประจาชั้น อาจารย์เวรประจาวัน ความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับ ส่ิงแวดล้อมในกระบวนการศึกษาเหล่าน้ี ล้วนสนับสนุนการรับรู้ความเอ้ืออาทรของนักศึกษาเชิงบวก ท้งั สน้ิ พึงพิศ การงาม, รุ่งฤทัย บุญทศ และศศิวรรณ หอมแก้ว (2560) ได้ศึกษาพฤติกรรมการดูแล ผู้ป่วยอย่างเอื้ออาทรของนักศึกษาพยาบาลช้ันปีที่ 3 ท่ีผ่านการฝึกประสบการณ์ มหาวิทยาลัยเฉลิม กาญจนาจังหวัดศรีสะเกษ จานวน 52 คน การวิจัยพบว่า พฤติกรรมเอ้ืออาทรของนักศึกษาพยาบาล ต่อผู้รับบริการตามการรับรู้ของตนเองอยู่ในระดับดีมากทุกข้อ โดยมีค่าเฉลี่ยการรับรู้สูงสุดในด้านการ สร้างสัมพนั ธภาพ ปจั จยั ทีเ่ ป็นองคป์ ระกอบสาคัญท่ีทาใหค้ ะแนนของพฤติกรรมด้านน้ีสงู ได้แก่ เรียกช่ือ ผู้รับบริการด้วยคาสุภาพและให้เกียรติ, สนทนากับผู้รับบริการโดยไม่แสดงอาการเบื่อหน่ายราคาญ, ใช้น้าเสียงท่ีนุ่มนวลในการสนทนากับผู้รับบริการ,แสดงความเต็มใจเม่ือช่วยเหลือผู้รับบริการ, พูดทักทายผู้รบั บริการก่อน, พฤติกรรมการดแู ลอย่างเอ้ืออาทรท่ีมีคะแนนเฉลี่ยลาดับรองลงมาคือด้าน การใช้ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีทาให้คะแนนเฉล่ียของ พฤติกรรมด้านนี้สูงได้แก่ ตอบปัญหาตรงตามความต้องการของผู้รับบริการ, สามารถให้ข้อมูลและ อธิบายความผิดปกติที่เกิดข้ึนแก่ผู้รับบริการได้,ปฏิบัติการพยาบาลตามแผนที่วางไว้, ปัจจัยดังกล่าวนี้ อยู่ในระดับดีมากทุกข้อ พฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรท่ีมีค่าเฉลี่ยการรับรู้ต่าสุดคือ การสร้าง
32 สัมพันธภาพระหว่างบุคคล, ปัจจัยท่ีเป็นองค์ประกอบท่ีทาให้พฤติกรรมด้านน้ีมีคะแนนน้อยได้แก่ ช่วยให้คสู่ มรสหรอื ญาติของผรู้ บั บรกิ ารมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการปฏิบัติตัวของผ้รู บั บรกิ าร อารีญา ด่านผาทอง (2552) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่าง เอ้ืออาทรตามการรับรู้ของ พยาบาลวิชาชีพและปัจจัยด้านบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วย ระยะสุดท้ายอย่างเอ้ืออาทรของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพจานวน 217 คน ปฏิบัตงิ านมาแล้วไม่ต่ากว่า 2 ปีและมีประสบการณ์การดูแลผู้รับบริการระยะสุดท้ายอย่างน้อย 1 ราย ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีการรับรู้พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างเอ้ืออาทร โดยรวมและรายด้าน 9 ด้านอยู่ในระดับมากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือด้านที่ 1 การสร้างค่านิยมที่ เห็นแก่ประโยชน์ต่อผู้อื่นรองลงมาคือด้านท่ี 7 การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยการช้ีแนะและให้ ข้อมูลที่เหมาะสมในขณะที่ด้านที่ 10 การเสริมสร้างพลังจิตวิญญาณในการมีชีวิตอยู่มีค่าเฉล่ียอยู่ใน ระดับปานกลางเม่ือนาปัจจัยส่วนบุคคลมาพิจารณาพบว่า อายุ ประสบการณ์การทางานด้านการ พยาบาลและหอผู้ป่วยท่ีปฏิบัติงานมีผลต่อพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการระยะสุดท้ายอย่างเอื้ออาทร อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติโดยคะแนนเฉล่ียการรับรู้พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการระยะสุดท้ายอย่าง เอ้ืออาทรจะเพิ่มขึ้นตามอายุและประสบการณ์การทางานด้านการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพที่ ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยพิเศษมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการระยะสุดท้ายอย่าง เอ้อื อาทรสูงกวา่ หอผปู้ ่วยสามญั หอผู้ป่วยสามญั ก่งึ วกิ ฤตและหอผปู้ ว่ ยไอซียูอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ กุสมุ า ปิยะศริ ิภัณฑ์ (2556) ศกึ ษาพฤติกรรมการดูแลเอื้ออาทรของพยาบาลตามการรับรขู้ อง ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนักและหาความสัมพนั ธ์ระหว่าง อายุ เพศ ระดบั การศึกษาและรายไดต้ ่อพฤตกิ รรม การดูแลเอื้ออาทรของพยาบาลตามการรัยรู้ของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนัก โดยใช้แนวคิดของสแวนสัน ประกอบด้วย 5 ด้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รับบริการท้ังเพศชายและหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไป โรงพยาบาล สวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ จานวน 60 คน ผลการวิจัยพบว่าพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักมี พฤติกรรมการดูแลเอื้ออาทรในระดับสูง ปัจจัยทางด้านอายุมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่า ส่วนปัจจยั ทางด้าน เพศ ระดับการศึกษา และรายได้ ไม่มีความสมั พันธ์ต่อพฤติกรรมการดูแลเอื้ออาทร ของพยาบาลตามการรบั รู้ของผูป้ ว่ ยในหอผปู้ ว่ ยหนกั นรากูล พัดทอง (2558) ได้ศึกษาสัมพันธภาพเชิงช่วยเหลืออย่างเอื้ออาทรของอาจารย์นิเทศ ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลและพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรของนักศึกษาพยาบาลตาม การรบั ร้ขู องผู้รับบรกิ ารขณะฝกึ ปฏิบัติการพยาบาล โดยใชก้ รอบแนวคิดทฤษฎีการดูแลอยา่ งเอ้ืออาทร 10 ด้านของวัตสันและมีกลุ่มตวั อย่างท่คี ัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) 2 กลุ่มคือ นกั ศกึ ษาพยาบาลจานวน 81 คนและผรู้ บั บรกิ ารทน่ี กั ศกึ ษาพยาบาลได้ใหก้ ารดูแลในขณะขึ้นฝึกปฏบิ ัติ จานวน 81 คน ผลวิจัยพบว่าสัมพันธภาพเชิงช่วยเหลืออย่างเอื้ออาทรของอาจารย์นิเทศตามการรับรู้ ของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับดีพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรของนักศึกษาพยาบาล ตามการรับรู้ของผู้รับบริการขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับดีและสัมพันธภาพเชิง ช่วยเหลืออยา่ งเอื้ออาทรของอาจารยน์ ิเทศตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวก กับพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรของนักศึกษาพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการขณะ ฝกึ ปฏบิ ัติการพยาบาลอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ
33 ดังนั้น จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า การเตรียมความพร้อมในการดูแลผู้ป่วย ระยะสุดท้าย ความรู้ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย และพฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรแก่ผู้ป่วย ระยะสุดท้ายอยู่ในระดับปานกลาง (เตชัต อัครธนารักษ์, 2557) และพยาบาลจบใหม่ 1 ปีมีคะแนน พฤติกรรมการดูแลแบบเอ้ืออาทรโดยรวมและรายด้านสูงกว่านักศึกษาพยาบาลช้ันปีท่ี 4 (บวรลักษณ์ ทองทวี, เยาวรัตน์ มัชฌิม และศิริลักษณ์ แก้วศรีวงศ์, 2561) เป็นต้น บ่งช้ีว่าประสบการณ์ อายุ สิง่ แวดล้อม และการเรยี นการสอนล้วนเก่ยี วข้องกบั พฤติกรรมการดูแลผู้รับบรกิ ารอย่างเอื้ออาทรท่ีทา ให้ผลลัพธ์ของงานวิจยั นัน้ แตกต่างกัน ท้ังน้ผี ู้เรียนจะตระหนักรู้ถงึ พฤติกรรมการดูแลผ้รู บั บริการอย่าง เอือ้ อาทรในแตล่ ะขนั้ ของการเรยี นการสอน(สุมาลี เอ่ียมสมัย, นีออน พณิ ประดิษฐ์ และก่งิ ฟ้า สินธุวงษ์ , 2553) 5.กรอบแนวคิดการวิจยั การวิจัยคร้ังน้ีใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีการดูแลของวัตสัน (Watson, 1997 อ้างถึงใน จอนผะจง เพ็ดจาด, 2553) มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการของนิสิต พยาบาล โดยวัตสันเช่อื ว่า พฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทร เป็นการปฏิบัติและแสดงความรู้สึกอย่าง จริงใจระหว่างบุคคล ในกระบวนการดูแล 10 ด้าน ได้แก่1) การปฏิบัติด้วยความรักและความเมตตา ต่อเพื่อนมนุษย์ 2) สร้างความหวังและศรัทธาที่เป็นไปได้ 3) การรู้จักความรู้สึกของตนเองและไวต่อ ความรสู้ ึกของผู้อ่ืน 4) การสรา้ งและรกั ษาสัมพันธภาพในการชว่ ยเหลือแบบไว้วางใจและจริงใจ 5) การ ยอมรับการแสดงออกด้านบวกและด้านลบ6)การนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาและ ตัดสินใจอย่างเป็นระบบ 7) การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล 8) การเตรียมการเพื่อสนับสนุน ปกป้อง หรือแก้ไขภาวะทางกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณ 9) การช่วยให้ได้รับการตอบสนองความ ต้องการ 10) การช่วยยอมรับส่ิงท่ีเกิดขึ้นและดึงพลังที่มีอยู่ออกมาใช้ได้ ซึ่งพฤติกรรมน้ีสามารถเรียนรู้ และพัฒนาได้ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเชื่อว่านิสิตพยาบาลที่มีประสบการณ์ในการ เรยี นรูม้ ากกวา่ จะมีพฤตกิ รรมการดูแลผรู้ ับบริการอย่างเอ้ืออาทรท่ีดีข้นึ
34 บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั การวจิ ัยครงั้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชงิ พรรณนา (Descriptive research) มวี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และเปรยี บเทียบพฤติกรรมการดูแลผรู้ ับบริการอย่างเอื้ออาทรของนสิ ิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปที ่ี 3 และช้นั ปีที่ 4 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากร ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษา คือ นสิ ติ พยาบาล มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ช้ันปีท่ี 3 และช้นั ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ จานวน 230 คน โดยแบง่ เปน็ ชั้นปที ่ี 3 จานวน 117 คน และชน้ั ปีที่ 4 จานวน 113 คน กลุ่มตวั อย่าง การวจิ ัยน้ีทาการเลือกนสิ ติ หลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชนั้ ปที ี่ 3 และชัน้ ปที ่ี 4 มหาวิทยาลยั นเรศวรท่ีกาลงั ศึกษาในภาคเรียนตน้ ปกี ารศึกษา 2562 กาหนดขนาดตัวอยา่ งได้จากการคานวณโดยใช้ วธิ ขี องทาโร่ ยามาเน่ (Yamane, 1970 อา้ งถงึ ใน บุญใจ ศรสี ถติ นรากลู , 2553) กาหนดขนาด ความคลาดเคล่ือนที่ α = .05 ได้จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ งในแต่ละชั้นปี ดงั น้ี ชัน้ ปที ่ี 3 จานวน 74 คน และ ชัน้ ปที ี่ 4 จานวน 72 คน รวมทั้งสิ้น 146 คน เพ่ือป้องกันการสญู หายของกลมุ่ ตัวอย่างการวิจยั คร้งั นจ้ี ึง เพิม่ กลุ่มตัวอยา่ งอกี ร้อยละ 10 (Polit, D.F. &Beck, 2004) คิดเป็น 14 คน ได้กลุม่ ตวั อย่างทงั้ สิน้ 160 คน (ชน้ั ปีที่ 3 จานวน 81 คน และ ชั้นปที ่ี 4 จานวน 79 คน) จากนั้นทาการสมุ่ ตวั อย่างโดยการสมุ่ อย่างงา่ ยโดยจับสลากแบบไม่แทนท่ี (Sampling without replacement) เพ่ือคดั เลือกกลุ่มตัวอย่าง ในชั้นปีที่ 3 และช้ันปีท่ี 4 การคานวณตัวอย่างชนั้ ปีท่ี 3 และช้ันปีท่ี 4 N ������ = 1 + ������(������)2 เมอื่ n แทน ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่าง N แทน ขนาดของประชากร e แทน คาความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตวั อยา่ ง เมอ่ื N = 230 e = 0.05 เมอื่ แทนค่า จะได้ขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ ง ดังนี้ 230 ������ = 1 + 230(0.05)2 = 146.03 ผู้วจิ ัยขอเลอื กคานวณกลุ่มตวั อย่างจานวน 146 คน ดังน้ัน ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งของชัน้ ปที ี่ 3 และชน้ั ปีท่ี 4 ท่ใี ช้ในการวจิ ัย คือ 146 คน
35 โดยจะแบง่ เป็นนสิ ติ พยาบาลชน้ั ปที ี่ 3 จานวน 74 คนดงั น้ี จานวนประชากรท้ังหมด 230 คน กลุ่มตวั อย่างจานวน 146 คน จานวนประขากรชั้นปีที่ 3 จานวน 117 คน กลมุ่ ตวั อย่างชัน้ ปีท่ี 3 จานวน117×146= 74 คน 230 แบ่งเปน็ นิสติ พยาบาลชั้นปีที่ 4 จานวน 72 คนดงั นี้ จานวนประชากรทง้ั หมด 230 คน กลุ่มตวั อยา่ งจานวน 146 คน จานวนประขากรชน้ั ปีที่ 4 จานวน 113 คน กลมุ่ ตวั อยา่ งชน้ั ปีท่ี 4 จานวน 117×146 = 72 คน 230 เกณฑใ์ นการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเขา้ ในงานวจิ ัย มีดงั นี้ 1) มปี ระสบการณ์ในการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลกับผู้รบั บริการ 2) สามารถสื่อสารเปน็ ภาษาไทยไดเ้ ปน็ อย่างดี 3) มสี ติสมั ปชญั ญะสมบรู ณ์ สามารถจาเหตุการณท์ ี่ผ่านมาได้ 4) ยินดีให้ความร่วมมือในการวิจยั เกณฑ์การคัดเลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งออกจากงานวิจัย มีดังน้ี 1) ป่วยหรือมีเหตจุ าเปน็ ท่ีไมส่ ามารถทาแบบสอบถามได้ 2) ตอ้ งการยกเลกิ การเข้าร่วมวจิ ัยระหวา่ งดาเนนิ การการวิจยั เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั เครือ่ งมือที่ใช้วิจัย เปน็ แบบสอบถามประกอบด้วย 2 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อคาถามเลือกตอบ ให้เลือกตอบตามสภาพ ความเปน็ จริงของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 8 ข้อ ประกอบดว้ ย ระดับชั้นปที ่ีศกึ ษา เพศ อายุ เกรด เฉล่ียสะสม รายได้ครอบครัว ความเพียงพอของรายได้ต่อเดือน โรงพยาบาล/หอผู้ป่วยท่ีท่านมี ประสบการณใ์ นการขน้ึ ฝกึ ปฏบิ ัติการกบั ผรู้ ับบริการและกจิ กรรมนอกหลกั สูตรท่ีท่านได้เข้ารว่ ม ส่วนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวรซึ่งผู้วิจัยพัฒนามาจาก พฤติกรรมการการดูแลผู้ป่วยอย่างเอ้ืออาทรของนักศึกษา พยาบาล ของ พึงพิศ การงาม, รุ่งฤทัย บุญทศและศศิวรรณ หอมแก้ว(2560) และจากการทบทวน วรรณกรรม ประกอบด้วย 10 ด้าน มีท้ังหมด 55 ขอ้ ได้แก่ ด้านท่ี 1 การปฏบิ ัตดิ ว้ ยความรกั และความ เมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ จานวน 6 ข้อ ด้านท่ี 2 สร้างความหวังและศรัทธาที่เป็นไปได้ จานวน 7 ข้อ ด้านที่ 3 การรู้จักความรู้สึกของตนเองและไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น จานวน 5 ข้อ ด้านท่ี 4 การสร้าง และรักษาสมั พันธภาพในการชว่ ยเหลอื แบบไวว้ างใจและจริงใจ จานวน 5 ขอ้ ดา้ นที่ 5 การยอมรับการ แสดงออกด้านบวกและด้านลบจานวน 4 ข้อ ด้านท่ี 6 การนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ แก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ จานวน 8 ข้อ ด้านท่ี 7 การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล จานวน 4 ขอ้ ด้านที่ 8 การเตรียมการเพอ่ื สนับสนุน ปกปอ้ ง หรอื แกไ้ ขภาวะทางกาย จิตสงั คม และจิต วิญญาณ จานวน 7 ข้อ ด้านท่ี 9 การช่วยให้ได้รับการตอบสนองความต้องการ จานวน 4 ข้อ ด้านท่ี 10 การช่วยให้ยอมรับส่ิงท่ีเกิดขึ้นและดึงพลังท่ีมีอยู่ออกมาให้ได้ จานวน 5 ข้อ ข้อลักษณะ แบบสอบถามเปน็ แบบประเมนิ ค่า(Rating scale) 4 ระดับ โดย 0 หมายถึง ไม่เคยปฏบิ ตั ิพฤติกรรมนนั้ เลย 1 หมายถึง ปฏิบัตพิ ฤตกิ รรมนัน้ เป็นบางคร้ัง
36 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิพฤติกรรมน้ันบ่อยครัง้ 3 หมายถึง ปฏบิ ัติพฤตกิ รรมนัน้ เป็นประจา เกณฑ์การแปลความหมายพฤตกิ รรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทร มดี ังนี้ ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 2.01 – 3.00 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมเอื้ออาทรผ้รู บั บรกิ ารอยา่ งเอื้ออาทรใน ระดับสูง คา่ เฉล่ียตง้ั แต่ 1.01 – 2.00 หมายถึง มพี ฤติกรรมเอื้ออาทรผู้รับบรกิ ารอยา่ งเอื้ออาทรใน ระดบั ปานกลาง ค่าเฉลี่ยตัง้ แต่ 0.00 – 1.00 หมายถงึ มพี ฤติกรรมการดูแลผู้รบั บริการอย่างเอื้ออาทรใน ระดับทค่ี วรปรบั ปรุง การตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย 1. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาลให้ ผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงเป็นอาจารย์พยาบาลรวมทั้งหมด 3ท่าน ตรวจสอบความตรงตามเน้ือหาและให้ ข้อเสนอแนะและคานวณค่าดัชนีความตรงของเน้ือหา ( Content Validity Index:CVI) ของ แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทร ได้ค่าดัชนีความตรงตามเน้ือหาของ เครอ่ื งมอื คอื 0.91 โดยมีประเด็นเก่ียวกับความสอดคล้อง (Relevance) ซึ่งมีค่าดัชนีความเที่ยงตรงของเนื้อหา ดังน้ี 4 หมายถงึ คาถามมคี วามสอดคลอ้ งกบั คานยิ าม 3 หมายถึง คาถามจาเป็นต้องได้รับการพิจารณาทบทวนและปรับปรุงเล็กน้อย จึงจะมีความ สอดคลอ้ งกับคานยิ าม 2 หมายถึง คาถามจาเป็นต้องได้รับการพิจารณาทบทวนและปรับปรงุ อยา่ งมาก จงึ จะมีความ สอดคลอ้ งกบั คานยิ าม 1 หมายถึง คาถามไม่สอดคล้องกบั คานยิ ามเลย และนาค่าดัชนีความเท่ียงตรงของเนื้อหามาคานวณ เมื่อ CVI= ∑ R3,4 N เมือ่ R3,4 แทนจานวนขอ้ ที่ผู้เช่ยี วชาญใหค้ ะแนน 3 และ 4 และ N แทนจานวนผูเ้ ช่ยี วชาญ 2. การหาค่าความเท่ียง (Reliability) นาแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่าง เอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล ที่ได้ปรับแก้ตามข้องเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วไปทดลองใช้กับนิสิต พยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ท่ีมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง ช้ันปีท่ี 3 จานวน 15 คนและ ช้ันปีที่ 4 จานวน 15 คน จากนั้นนาไปหาค่าความเที่ยงโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Cofficient) ดว้ ยคอมพวิ เตอร์โปรแกรมสาเร็จรูป ได้ค่าความเท่ยี ง 0.91 การพทิ กั ษส์ ิทธ์ิของกลุ่มตวั อย่าง การศึกษาครั้งน้ีมีการพิทักษ์สิทธิ์ของกลุ่มตัวอย่างโดยนาโครงร่างวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยของมหาวิทยาลัยนเรศวร เมอื่ ได้รับอนญุ าตใหด้ าเนนิ การวจิ ัยจากคณะกรรมการแล้ว
37 ผู้วิจัยจัดทาเอกสารชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย วิธีการรวบรวมข้อมูล และ สิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธการเข้าร่วมวิจัย ซ่ึงจะไม่มีผลกระทบใดๆ ต่อกลุ่มตัวอย่างโดยให้กลุ่ม ตัวอย่างเซ็นยินยอมเข้าร่วมการวิจัย พร้อมท้ังมอบหนังสือเซ็นยินยอมให้กลุ่มตัวอย่าง และแจ้งให้ ทราบว่าขณะดาเนินการวิจยั หากกลุม่ ตวั อยา่ งไมต่ ้องการเขา้ ร่วมการวจิ ัย สามารถบอกเลกิ ได้ทันทโี ดย ไม่มีผลกระทบใดๆ ข้อมูลท่ีได้ในการวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยจะถือเป็นความลับ และนามาใช้เฉพาะการวิจัย คร้งั นเี้ ทา่ นั้นโดยจะนาเสนอข้อมลู ทีไ่ ดใ้ นภาพรวม หากมขี อ้ สงสัยเก่ียวกับการวจิ ยั กล่มุ ตัวอย่างสามารถ สอบถามผู้วิจัยได้ตลอดเวลา ภายหลังส้ินสุดการวิจัยผู้วิจัยจะนาข้อมูลที่ได้นาเสนอต่อผู้เกี่ยวข้อง เพื่อ สามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับคณะผู้บริหารและผู้ท่ีเก่ียวข้องของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร ในการพฒั นากิจกรรมการเรียนการสอนท้ังในและนอกหลกั สตู ร รวมทง้ั การจดั กิจกรรมเพ่อื พัฒนาพฤติกรรมการดแู ลผู้รับบรกิ ารอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาลต่อไป การรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลเก็บข้อมูลโดยทีมผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยตนเอง ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เริ่มต้ังแต่เดือนกันยายน ถึง ตุลาคม 2562 รวมเวลาท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลประมาณ 1 เดอื น โดยมีขนั้ ตอนดงั น้ี 1. ผู้วิจัยดาเนินการขอเอกสารรับรองโครงการวิจัยในมนุษย์จากคณะกรรมการจริยธรรม เกยี่ วกบั การวิจยั ในมนษุ ยม์ หาวทิ ยาลยั นเรศวร เพ่อื เปน็ การพทิ ักษ์กลุ่มตวั อย่าง 2. ผู้วิจัยทาหนังสือขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของการทาวิจัยขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูลกับ นิสิตพยาบาล หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีท่ี 3 และชั้นปีท่ี 4 3. เม่ือได้รับอนุญาตจากคณบดีแล้วผู้วิจัยนัดพบกลุ่มตัวอย่างพร้อมแนะนาตัวช้ีแจง วตั ถุประสงค์และรายละเอียดในการเข้าร่วมโครงการวิจยั วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ประโยชน์ทีจ่ ะได้รับ และสิทธ์ิในการตอบรับหรือปฏิเสธการนาเสนอผลการวิจัยจะเป็นในภาพรวมเพ่ือรักษาความ ลับตาม การพิทกั ษส์ ทิ ธขิ องกลุม่ ตัวอยา่ ง 4 เม่ือกลุ่มตัวอย่างยินดีเข้าร่วมโครงการผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างแสดงความยินยอมเข้าร่วม โครงการวจิ ยั โดยลงลายมอื ช่ือเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรพร้อมทงั้ แจกแบบสอบถามและผวู้ ิจัยอธบิ ายวิธีการ ทาอยา่ งชัดเจน และใหเ้ วลาในการตอบแบบสอบถามอยา่ งอสิ ระ 5. เกบ็ และตรวจสอบแบบสอบถามทลี่ ะฉบบั กอ่ นนาไปวเิ คราะห์ทางสถิติ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าเร็จรปู การวเิ คราะหแ์ บง่ เปน็ 2 สว่ น 1. วิเคราะห์ขอ้ มลู ทัว่ ไปของกลุม่ ตวั อยา่ ง โดยใชก้ ารแจกแจงความถี่ และคา่ ร้อยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมการดูแลอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยใช้ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
38 3. วิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวรระหว่างช้ันปีที่ 3 และ ช้ันปีท่ี 4 โดยใช้สถิติ Independent t-testและ Mann- Whitney Test
39 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพ่ือการศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแล ผู้รบั บริการอยางเอ้ืออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ผ้ใู หข้ ้อมูล คอื นิสิตพยาบาลชั้นปีท่ี 3 และชนั้ ปที ่ี 4 จานวน 146 คน ผูวิจยั ขอนาเสนอผลการศกึ ษาเรยี งตามลาดับ ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 พฤตกิ รรมการดูแลผรู้ บั บริการอยา่ งเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลยั นเรศวร ตอนที่ 3 เปรยี บเทยี บพฤติกรรมการดูแลผรู้ บั บรกิ ารอยางเอ้ืออาทรของนสิ ิตพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นเรศวรช้ันปท่ี 3 และชัน้ ปีที่ 4 ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน รอ้ ยละ ตารางที่ 1 แสดงขอมลู ท่วั ไป จาแนกตามจานวนและรอยละ 74 50.7 ข้อมูลท่ัวไป 72 49.3 1.ชนั้ ปีที่กาลังศึกษา 12 8.2 ชัน้ ปที ี่ 3 134 91.8 ชั้นปีที่ 4 95 65.1 2.เพศ 51 34.9 ชาย หญิง 2 1.4 50 34.2 3.อายุ 78 53.4 20 – 21 16 11.0 22 – 23 4.เกรดเฉลีย่ สะสม 2.00 – 2.50 2.51 – 3.00 3.01 – 3.50 3.51 – 4.00
40 ตารางที่ 1 แสดงขอมลู ท่วั ไป จาแนกตามจานวนและรอยละ(ตอ่ ) จานวน ร้อยละ ข้อมลู ทั่วไป 5.รายได้ครอบครัว น้อยกว่า 5,000 บาท 6 4.1 5,000 – 20,000 บาท 63 43.2 20,000 – 40,000 บาท 55 37.7 มากกว่า 40,000 บาท 22 15.0 6.ความเพียงพอของรายได้ต่อเดอื น เพยี งพอต่อการใชท้ ุกเดือน 114 78.1 เพยี งพอต่อการใชเ้ ปน็ บางเดือน 32 21.9 7.โรงพยาบาล/หอผปู้ ว่ ยทท่ี ่านมีประสบการณ์ในการข้นึ ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ กบั ผรู้ บั บริการ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล 49 33.6 โรงพยาบาลสวนปรงุ 70 47.9 ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ 69 47.3 แผนกฝากครรภ์ 68 46.6 แผนกผปู้ ว่ ยนอก 60 41.1 หอผู้ปว่ ยอายรุ กรรม 145 99.3 หอผูป้ ว่ ยศลั ยกรรม 141 96.6 หอผูป้ ่วยออรโ์ ธปิดกิ ส์ 91 62.3 อื่นๆ(สูตินรี เวช,กุมารเวชกรรม) 5 3.4 8.กจิ กรรมนอกหลกั สตู รที่ทา่ นไดเ้ ข้าร่วม โครงการปฐมนิเทศนสิ ติ ใหม(่ Beginning Camp) 144 98.6 โครงการเปิดโลกกจิ กรรม 145 99.3 โครงการบายศรสี ขู่ วญั นิสติ ใหม่ 144 98.6 โครงการไหว้ครมู หาวทิ ยาลัย 145 99.3 โครงการตกั บาตรพระต้อนรบั นสิ ิตใหม่ 136 93.2 โครงการร้องเพลงมหาวิทยาลัยภาคภมู ใิ จนเรศวร(Power cheer) 137 93.8 อ่นื ๆ(good think for good life,สภานิสติ ,เสลาเกมส,์ ค่ายชมรม 5 3.4 อนุรกั ษ์) จากตารางท่ี 1 พบว่า กลมุ่ ตัวอย่างเป็นนิสติ พยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปีท่ี 3 ร้อยละ 50.7 และช้ันปีที่ 4 ร้อยละ 49.3 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 91.8 มีอายุอยู่ในช่วง 20-21 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 65.1 เกรดเฉลี่ยสะสมอยใู่ นชว่ ง 3.01-3.50 คิดเป็นรอ้ ยละ 53.4 รายได้ครอบครวั อยู่ ในช่วง 5,000 – 20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 43.2 รายได้ต่อเดือนมีความเพียงพอทุกเดือน คิดเป็น ร้อยละ 78.1 โรงพยาบาล/หอผู้ป่วยท่ีขึ้นฝึกปฏิบัติการกับผู้รับบริการ ส่วนใหญ่ คือ หอผู้ป่วยอายุรก
41 รรมคิดเป็นร้อยละ 99.3 และหอผู้ป่วยศัลยกรรม คิดเป็นร้อยละ 96.6 และกิจกรรมนอกหลักสูตรท่ี นิสิตเข้าร่วมมากท่ีสุดคือ โครงการเปิดโลกกิจกรรมและโครงการไหว้ครูมหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 99.3
42 ตอนที่ 2 พฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของ และระดับนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลยั นเรศวร ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดับของพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่าง เอื้ออาทรของนิสติ พยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร พฤติกรรมการดูแลผรู้ ับบริการ ช้นั ปี 3 ชน้ั ปที ่ี 4 รวม อย่างเออื้ อาทร (N=74) (N=72) (N=146) ดา้ นท่ี 1 การปฏิบัติด้วยความรัก และความเมตตาตอ่ เพื่อนมนษุ ย์ Mean S.D ระดับ Mean S.D ระดบั Mean S.D ระดบั ด้านที่ 2 การสรา้ งความศรัทธา 2.76 0.26 สงู 2.79 0.26 สูง 2.78 0.26 สงู และความหวงั ท่ีเปน็ ไปได้ 2.30 0.42 สูง 2.41 0.42 สูง 2.36 0.42 สงู ด้านท่ี 3 การรู้จักความรู้สึกของ 2.50 0.39 สงู 2.56 0.43 สูง 2.53 0.41 สูง ตนเองและไวต่อความรู้สึกของ ผูอ้ ืน่ 2.75 0.28 สงู 2.76 0.32 สูง 2.76 0.30 สงู ด้านที่ 4 การสร้างและรักษา สัมพันธภาพในการช่วยเหลือ 2.71 0.38 สงู 2.71 0.39 สงู 2.71 0.38 สูง แบบไวว้ างใจและจริงใจ 2.28 0.43 สงู 2.46 0.42 สงู 2.37 0.43 สูง ด้านท่ี 5 การยอมรับการแสดง ออกด้านบวกและด้านลบ 2.63 0.39 สูง 2.64 0.41 สงู 2.63 0.40 สูง ดา้ นที่ 6 การนากระบวนการทาง 2.53 0.38 สงู 2.62 0.40 สงู 2.58 0.39 สูง วิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ไข ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็น ระบบ ด้านที่ 7 การสร้างสัมพันธภาพ ระหวา่ งบุคคล ด้ า น ที่ 8 ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร สนับสนุน ปกป้อง หรือแก้ไข ภาวะทางกาย จิตสังคม และจิต วญิ ญาณ
43 ตารางท่ี 2 แสดงค่าเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับของพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่าง เอ้อื อาทรของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร(ตอ่ ) ด้านที่ 9 การช่วยให้ได้รับการ 2.51 0.48 สูง 2.69 0.39 สงู 2.60 0.45 สงู ตอบสนองความต้องการ ด้านที่ 10 การช่วยให้ยอมรับ 2.30 0.56 สูง 2.54 0.51 สงู 2.41 0.55 สงู ส่ิงท่ีเกิดข้ึนและดึงพลังที่มีอยู่ ออกมาใชไ้ ด้ โดยรวม 2.53 0.30 สูง 2.62 0.30 สงู 2.57 0.39 สูง จากตารางท่ี 2 พบว่าคะแนนพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอื้ออาทรของนิสิตพยาบาล โดยรวม อยู่ในระดับสูง (Mean = 2.57, SD = 0.39) และเมื่อพิจารณาตามรายด้านพบว่า ด้านที่ 1 การปฏบิ ตั ดิ ้วยความรักและความเมตตาต่อเพ่อื นมนุษย์อยู่ในระดบั สูงและมคี า่ เฉลย่ี สงู ท่ีสดุ (Mean = 2.78, SD = 0.26) รองลงมาคือ ด้านท่ี 4 การสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการช่วยเหลือแบบ ไวว้ างใจและจริงใจซ่ึงอยูใ่ นระดับสูงเชน่ กัน (Mean = 2.76, SD = 0.30) ส่วนด้านทมี่ ีค่าเฉลยี่ ตา่ สุดคือ ด้านที่ 2 การสร้างความศรัทธาและความหวังท่ีเป็นไปได้ (Mean = 2.36, SD = 0.42) รองลงมาคือ ด้านที่ 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ (Mean = 2.37, SD = 0.43) เม่ือพิจารณานิสิตพยาบาลในชั้นปีที่ 3 พบว่าพฤติกรรมการดูแล ผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรโดยรวมอยู่ในระดับสูง (Mean = 2.53, S.D = 0.30) ซึ่งด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูง ท่สี ุด คือด้านท่ี 1 การปฏิบัตดิ ้วยความรักและความเมตตาต่อเพ่ือนมนุษย์ (Mean = 2.76, SD = 0.26) ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าท่ีสุดคือ ด้านท่ี 6 การนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ แก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ (Mean = 2.28, SD = 0.43) และนิสิตพยาบาลช้ันปีท่ี 4 มีพฤติกรรมการดูแลผู้รับบริการอย่างเอ้ืออาทรโดยรวมอยู่ในระดับสูงเช่นกัน (Mean = 2.62, SD = 0.30) ซ่ึงด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงที่สุด คือด้านท่ี 1 การปฏิบัติด้วยความรักและความเมตตาต่อเพ่ือน มนุษย์ (Mean = 2.79, SD = 0.26) และด้านท่มี ีค่าเฉลี่ยต่าท่สี ุดคือด้านที่ คือด้านที่ 2 การสร้างความ ศรทั ธาและความหวงั ทเี่ ป็นไปได้ (Mean= 2.41, SD = 0.42)
Search