Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลวงปู่มั่น ภูริทตฺตมหาเถร 150 ปี

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺตมหาเถร 150 ปี

Published by sonbalee, 2021-01-14 06:35:56

Description: หลวงปู่มั่น ภูริทตฺตมหาเถร 150 ปี

Search

Read the Text Version

ขอกราบนอบนอ้ มถวายเปน็ อาจารยิ บูชา แด่องคห์ ลวงปมู่ นั่ ภูรทิ ัตตมหาเถระ เนอ่ื งในวโรกาสเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๕๐ ปีชาตกาล และในโอกาสทไี่ ดร้ ับการยกยอ่ งเชิดชู ให้เป็นบุคคลสำ� คญั ของโลก สาขาสันติภาพ จากองค์การยูเนสโก ในวาระปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - พ.ศ. ๒๕๖๔







สมั โมทนยี กถา หนงั สอื “อนสุ รณค์ รบรอบวาระ ๑๕๐ ปชี าตกาลขององคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต” ฉบบั นถี้ อื เปน็ หนงั สอื ทกี่ ระทรวงวฒั นธรรม นำ� โดยทา่ นรฐั มนตรวี รี ะ โรจนพ์ จนรตั น์ และทา่ นผชู้ ว่ ยรฐั มนตรกี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร ศาสตราจารยน์ ายแพทยอ์ ดุ ม คชนิ ทร และคณะศษิ ยานศุ ษิ ยท์ เี่ คารพศรทั ธาในองคพ์ อ่ แมค่ รอู าจารยใ์ หญม่ น่ั ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ ไดห้ ารอื และมมี ตริ ว่ มกนั วา่ เหน็ สมควรทจี่ ะจดั ทำ� หนงั สอื ทปี่ ระกอบดว้ ยเนอ้ื หาเกยี่ วกบั ชวี ประวตั ิ ขอ้ วตั รปฏปิ ทา และขอ้ ปฏบิ ตั อิ นื่ ๆ ทอี่ งคห์ ลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตั โต พาดำ� เนนิ นอกจากนย้ี งั มเี นอ้ื หา ทร่ี วบรวมสถานทที่ อี่ งคท์ า่ นไดจ้ ารกิ ธดุ งคไ์ ปปฏบิ ตั ธิ รรม และรวบรวมคำ� สอนหรอื เทศนาขององคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต ซงึ่ จดจารกึ โดยพระหลวงตามหาบวั ญาณสมั ปนั โน และทมี่ เี พม่ิ เตมิ ขน้ึ มาเปน็ พเิ ศษ คอื ขอ้ วตั รปฏบิ ตั ิ ขององคห์ ลวงปมู่ น่ั ทค่ี ณะผจู้ ดั ทำ� ไดถ้ อดเนอื้ ความมาจากกณั ฑเ์ ทศนข์ ององคห์ ลวงปหู่ ลา้ เขมปตั โต ซงึ่ เปน็ พระอปุ ฎั ฐากใกลช้ ดิ ขององคห์ ลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตั โตชว่ งสมยั ยคุ วดั ปา่ บา้ นหนองผอื นาใน ซง่ึ มน่ั ใจไดว้ า่ เนอื้ หา ทนี่ ำ� มาลงในหนงั สอื เลม่ นม้ี ที ม่ี าทไี่ ปอยา่ งชดั เจน เพราะถอดออกมาจากคำ� เทศนข์ องพระวสิ ทุ ธบิ คุ คล และ เพ่ือความสมบูรณ์ของหนังสือ ทางคณะผู้จัดท�ำได้จัดเน้ือหาเพิ่มเป็น ๒ ภาษา ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ เพื่อความเป็นสากล โดยให้ความระมัดระวังในการแปลใจความธรรมะจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ อยา่ งมากทส่ี ดุ นอกจากนี้ เพอ่ื ความสมบรู ณข์ องเนอ้ื หาทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั องคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต ทางคณะผจู้ ดั ทำ� ไดร้ วบรวมบทประพนั ธช์ อื่ “ขนั ธะวมิ ตุ สิ ะมงั คธี รรมะ” ซง่ึ องคท์ า่ นไดป้ ระพนั ธข์ นึ้ เอง และรวบรวมผลงาน อนื่ ๆไวด้ ว้ ย เชน่ คณะศษิ ยานศุ ษิ ยข์ ององคท์ า่ น ซงึ่ ลว้ นแลว้ แตผ่ เู้ ปน็ เนอื้ นาบญุ โดยแท้ นอกจากนย้ี งั รวบรวม รายนามตวั อยา่ งวดั ปา่ สายหลวงปมู่ น่ั ทง้ั ในและตา่ งประเทศ เพอ่ื ใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชนไดร้ บั ทราบถงึ คณุ ปู การณ์ อันหาท่ีสุดมิได้ขององค์ท่าน ท่ีมีต่อเพ่ือนมนุษยชาติ ด้วยองค์ท่านได้อุทิศตนเพื่อปฏิบัติจนได้ผลส�ำเร็จ ตอ่ ตนเอง และเผอ่ื แผถ่ งึ เพอ่ื นมนษุ ยแ์ ละสตั วโ์ ลก โดยไมเ่ หน็ แกค่ วามเหนอ่ื ยยาก โดยเฉพาะชว่ งปจั ฉมิ วยั ขององคท์ า่ น ทไ่ี ดอ้ ทุ ศิ เวลาสว่ นตน สงั่ สอนลกู ศษิ ยท์ งั้ บรรพชติ และฆราวาส เพอื่ ทอดสะพานใหอ้ นชุ นรนุ่ หลงั ไดร้ บั ทราบถงึ ขอ้ ปฏบิ ตั อิ นั ถกู ตอ้ งเหมาะสมอยา่ งทสี่ ดุ จงึ ถอื ไดว้ า่ องคท์ า่ นไดป้ ระกอบหนา้ ทตี่ อ่ ตนเองและ ผอู้ น่ื โดยไมม่ ที ต่ี อ้ งตไิ ดเ้ ลย กอปรกับวาระอันเป็นมหามงคลน้ี องค์การยูเนสโก (UNESCO) ได้ประกาศยกย่องเชิดชู ใหอ้ งคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต ไดเ้ ปน็ บคุ คลสำ� คญั ของโลก ในวาระปี พ.ศ.๒๕๖๓ - พ.ศ.๒๕๖๔ ซง่ึ ถอื เปน็ เกยี รตปิ ระวตั อิ นั งดงามและนา่ ยกยอ่ งเชดิ ชู ตอ่ ทง้ั วงการพระพทุ ธศาสนา และเปน็ คตติ วั อยา่ งอนั ดี ตอ่ ปวงชน ชาวไทยทกุ หมเู่ หลา่ ตลอดจนตอ่ ประชาคมโลก ดว้ ยเพราะองคท์ า่ นไดป้ ระพฤตติ น เปน็ ตน้ แบบฉบบั อนั ดงี าม ในทกุ ๆ ดา้ น ทงั้ การพฒั นาตนเองและสงั คม ตลอดจนการสง่ั สอนใหม้ นษุ ยป์ กครองกนั อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ โดยการน�ำธรรมะค�ำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาเผยแผ่ อันจะยังประโยชน์ให้กับสังคม ทว่ั โลก ไดใ้ ชช้ วี ติ อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งผาสกุ รม่ เยน็ ตลอดไป ขอผลานิสงส์ผลบุญ ที่ปวงข้าพเจ้าทั้งหลายได้ร่วมแรงร่วมใจกัน เชิดชูคุณงามความดีของ พระมหาบรู พาจารยเ์ จา้ ในครงั้ นี้ จงสง่ ผลอำ� นวยพรใหป้ วงขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย ไดเ้ ขา้ ถงึ ซงึ่ พระนพิ พานในปจั จบุ นั จติ ปจั จบุ นั ธรรมนด้ี ว้ ยเทอญ ฯ หากเนอ้ื หาในเลม่ มขี อ้ ผดิ พลาดคลาดเคลอื่ นประการใดไปบา้ ง คณะผจู้ ดั ทำ� ขอนอ้ มรบั ไวท้ กุ ประการ คณะศษิ ยานศุ ษิ ยใ์ นองคพ์ อ่ แมค่ รบู าอาจารยใ์ หญม่ นั่ ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ และในองคพ์ ระหลวงตามหาบวั ญาณสมั ปนั โน (ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓)

สารบัญ ๓ ชีวประวัติโดยย่อ ๘ สถานที่จาริกธดุ งค์ ข้อวัตรปฏิปทาทีอ่ งค์ท่านพาดำ�เนิน ๑๕ ผลงานในด้านต่างๆ ๓๐ - ดา้ นการประพนั ธ์ - ดา้ นเทศนาสัง่ สอนศิษยานศุ ษิ ย์ ๓๑ - ด้านการเป็นผนู้ ำ�กองทพั ธรรมวิปสั สนากรรมฐาน ๓๗ - คณะศิษยานุศิษย์ ๔๑ - วดั ตา่ งๆ และสาขาท้งั ในและต่างประเทศ ๔๑ ๔๕ บทบาทและผลงานดา้ นอืน่ ๆ ๕๑ - ดา้ นทางโลก - ด้านทางธรรม ๕๒ ๕๕ หลวงปู่มัน่ ภูริทัตโต กับสันติภาพ ๕๖

ชีวประวัติ หลวงปมู่ ั่น ภรู ิทัตโต

ชีวประวัติ หลวงป่มู ัน่ ภูริทัตโต หลวงปูม่ น่ั ภูรทิ ตั โต เดิมชื่อ เดก็ ชาย มน่ั แกน่ แก้ว บดิ ามารดาช่อื นายคำ�ดว้ ง-นางจนั ทร์ แกน่ แก้ว เกดิ เม่อื วนั พฤหัสบดี ที่ ๒๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๑๓ ตรงกับวนั แรม ๔ คำ่ � เดอื นยี่ ปมี ะเมีย ณ บ้านคำ�บง ตำ�บลโขงเจียม อำ�เภอโขงเจียม จังหวัดอบุ ลราชธานี ในตระกูลชาวนา บดิ ามารดานับถอื ศาสนาพุทธ มีพ่นี อ้ งทัง้ หมด ๙ คน ได้เขา้ บวช เปน็ สามเณรตอนอายุ ๑๕ ปี และสกึ ออกมาตามคำ�ขอของบิดาตอนอายุ ๑๗ ปเี พอ่ื ช่วยงานทางบา้ น ตอ่ มาเมื่ออายุได้ ๒๒ ปี ทา่ นไดบ้ รรพชาอุปสมบทบวชเปน็ พระภิกษุ ณ วดั ศรที อง อำ�เภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี เมอ่ื วันที่ ๑๒ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ได้ฉายาวา่ “ภรู ทิ ตโฺ ต” หลงั อปุ สมบททา่ นไดศ้ กึ ษาในฝ่ายวิปสั สนากรรมฐาน (ธรรมยุต) กับ ท่านพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ณ วัดเลียบ จังหวัดอุบลราชธานี หลังจากนั้นองค์ท่านได้เข้ามาศึกษาพระปริยัติธรรม ณ วัดปทมุ วนาราม และไดศ้ กึ ษาอบรมกบั ท่านเจา้ คณุ อบุ าลคี ุณปู มาจารย์ (จันทร์ สริ ิจนโฺ ท) วัดบรมนวิ าส หลงั จากนัน้ องคท์ า่ นได้ออกฝกึ ปฏบิ ัติ “ธดุ งคกรรมฐาน” ดว้ ยองค์ทา่ นเองตามลำ�พัง โดยธุดงคไ์ ปตามสถานที่ทีเ่ ป็นปา่ เขา ถ้ำ� เง้ือม ผา ทางภาคเหนือ ภาคอีสาน บางคร้ังองค์ท่านก็ธุดงค์ไปยังประเทศพม่า ลาว หลวงพระบางเป็นต้น ซ่ึงในระหว่าง ธดุ งคไ์ ปนนั้ กม็ คี ณะศษิ ยานศุ ษิ ยท์ เ่ี ลอื่ มใสในขอ้ วตั รปฏบิ ตั ขิ ององคท์ า่ นไดต้ ดิ ตามไปแบบหา่ งๆ ดว้ ย จนตอ่ มาพระสงฆ์ เหล่านั้นได้เจริญงอกงามในธรรม จนกลายเป็นพระเกจิอาจารย์องค์สำ�คัญๆ ในเมืองไทย เป็นที่เคารพสักการะของ พระมหากษัตรยิ แ์ ละประชาชนชาวไทยและประเทศเพ่ือนบา้ นอย่างมากมาย ๔

พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ทา่ นเจ้าคุณอบุ าลคี ณุ ูปมาจารย์ (จันทร์ สริ จิ นฺโท) องคท์ า่ นไดอ้ าศยั อยตู่ ามปา่ ตามเขาตลอด ๕๗ ปขี องการบรรพชา ในชว่ งระยะ ๕ ปที ยี่ า่ งเขา้ วยั ชรา จงึ ไดพ้ ำ�นกั เปน็ หลกั แหลง่ ณ วดั ปา่ หนองผอื นาใน อำ�เภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร ซงึ่ ชว่ งนนั้ ทา่ นไดส้ ง่ั สอนอบรมศษิ ยานศุ ษิ ย์ เป็นจำ�นวนมาก ชื่อเสียงลำ่ �ลอื ไปทวั่ มปี ระชาชนนบั ถือท่ัวประเทศ จนกระท่งั องคท์ า่ นอาพาธหนกั เม่ือเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๒ และองคท์ ่านไดม้ รณภาพลงอย่างสงบ เมื่อวนั ท่ี ๑๑ เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ เวลา ๐๒ : ๒๓ น. และคณะศษิ ยไ์ ดร้ ว่ มจดั งานประชมุ เพลงิ ทา่ น ณ วดั ปา่ สทุ ธาวาส อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร เมอื่ วนั ท่ี ๓๐ เดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓ สริ ริ วมอายุได้ ๘๐ ปี กฏุ ิทท่ี ่านอาจารยม์ ัน่ ภูรทิ ตั โต พักอาศยั (ถ่ายเมอื่ ๒๖ ม.ค. ๑๔) ๕

กาลานกุ รมชีวประวัติ หลวงปู่มั่น ภรู ิทัตโต (พ.ศ. ๒๔๑๓ – พ.ศ. ๒๔๙๒) เนื่องด้วยหลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต องค์ท่านเป็นพระธุดงคกรรมฐานสมัยท่ีความเจริญของบ้านเมืองยังมีไม่มาก ปา่ เขายงั อดุ มสมบรู ณ์ องคท์ า่ นถอื เปน็ แบบอยา่ งอนั ดขี องลกู หลานในเรอื่ งการจรธดุ งคไ์ ปตามปา่ เขา ไมต่ ดิ ถนิ่ ทอ่ี ยอู่ าศยั และไปองค์เดียว ดังนั้น สถานท่ีต่างๆ ที่องค์ท่านธุดงค์ไปพักจำ�พรรษา จึงต้องอาศัยรวบรวมจากครูบาอาจารย์ผู้รู้ หลายๆ องค์ และจากพยานบุคคลและจากตำ�ราหลายๆ เล่มที่จดจารึกไว้ ดังนั้นอาจมีความคลาดเคล่ือนไปบ้าง แต่เท่าทีม่ ีบันทึกไว้ สามารถรวบรวมมาได้ดงั ตอ่ ไปน้ี พ.ศ. ๒๔๑๓ กำ�เนิด ณ บ้านคำ�บง อ.โขงเจียม จ.อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๔๒๘ บวชเป็นสามเณรตอนอายุ ๑๕ ปี ณ วัดบา้ นคำ�บง อ.โขงเจยี ม จ.อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๔๓๖ บวชพระภิกษุ ณ วัดเลยี บ จ.อบุ ลราชธานี และธุดงคไ์ ปทางลาวกบั หลวงปเู่ สาร์ กนั ตสโี ล พ.ศ. ๒๔๔๔ กลบั มาไทยทางวัดพระธาตุพนม พ.ศ. ๒๔๔๕ ธุดงคไ์ ปทางพมา่ พระธาตชุ เวดากองกบั เจา้ คณุ เทพมงคลปญั ญาจารย์ พ.ศ. ๒๔๔๗ เกิดสุบินนมิ ิต ณ วดั เลียบ จ.อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๔๕๕ ธุดงคแ์ ถวถำ้ �ไผข่ วาง ถำ้ �สาลิกา จ.นครนายก พ.ศ. ๒๔๕๗ เรยี นพระปริยัตแิ ละจำ�พรรษา ณ วดั สระปทมุ กรงุ เทพฯ และศึกษากบั เจา้ คุณอุบาลีคุณปู มาจารย์ ณ วัดบรมนิวาส กรงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๔๕๘ จำ�พรรษา ณ วดั บูรพา จ.อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๔๕๙ จำ�พรรษาทภี่ ผู ากูด อ.คำ�ชะอี จ.นครพนม (ปัจจบุ ันคอื จ.มกุ ดาหาร) พ.ศ. ๒๔๖๐ จำ�พรรษาที่บ้านดงปอ หว้ ยหลวง อ.เพญ็ จ.อุดรธานี พ.ศ. ๒๔๖๑ จำ�พรรษาทีถ่ ้ำ�ผาบิ้ง จ.เลย พ.ศ. ๒๔๖๒ จำ�พรรษาท่บี ้านค้อ อ.บา้ นผือ จ.อุดรธานี พ.ศ. ๒๔๖๓ จำ�พรรษาท่ี อ.ท่าบอ่ จ.หนองคาย พ.ศ. ๒๔๖๔ จำ�พรรษาทบ่ี ้านหว้ ยทราย อ.มกุ ดาหาร จ.นครพนม (สมัยนัน้ ) พ.ศ. ๒๔๖๕ จำ�พรรษาท่ี ต.หนองลาด อ.วารชิ ภมู ิ จ.สกลนคร พ.ศ. ๒๔๖๖ จำ�พรรษาทีว่ ดั มหาชัย อ.หนองบัวลำ�ภู จ.หนองบัวลำ�ภู ๖

พ.ศ. ๒๔๖๗ จำ�พรรษาทบี่ า้ นคอ้ อ.บา้ นผือ จ.อุดรธานี พ.ศ. ๒๔๖๘ จำ�พรรษาที่ อ.ทา่ บ่อ จ.หนองคาย (วัดอรญั ญวาสีในปัจจุบนั ) พ.ศ. ๒๔๖๙ จำ�พรรษาที่บ้านสามผง อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม พ.ศ. ๒๔๗๐ จำ�พรรษาท่ีบา้ นหนองขอน อ.หัวตะพาน จ.อำ�นาจเจริญ พ.ศ. ๒๔๗๑ จำ�พรรษาที่วดั ปทมุ วนาราม (หรอื วดั สระปทุม) กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๔๗๒ จำ�พรรษาถำ้ �เชียงดาว อ.เชยี งดาว จ.เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๓ จำ�พรรษาทด่ี อยจอมแตง อ.แม่รมิ จ.เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๔ จำ�พรรษาที่บา้ นโปง่ อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๕ จำ�พรรษาท่วี ัดเจดียห์ ลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ออกพรรษาแล้ว ออกธดุ งค์ไปทาง จ.เชยี งราย พ.ศ. ๒๔๗๗ จำ�พรรษาทีป่ า่ เมยี่ ง ดอยแมป่ ั๋ง อ.พร้าว จ.เชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๙ จำ�พรรษาท่ีบ้านมเู ซอ อ.เวยี งปา่ เป้า จ.เชยี งราย พ.ศ. ๒๔๘๐ จำ�พรรษาท่พี ระธาตจุ อมแจง้ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย พ.ศ. ๒๔๘๑ พำ�นักที่วดั เจดยี ห์ ลวง จ.เชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๔๘๒ จำ�พรรษาทบี่ ้านแม่กอย อ.พร้าว จ.เชยี งใหม่ (ปัจจุบันคือ วดั ปา่ อาจารยม์ ั่น) ออกพรรษาแล้ว เจา้ คณุ ธรรมเจดยี ์ (จูม พนฺธุโล) เดินทางมากราบนมิ นตท์ ่านกลับอสี าน พ.ศ. ๒๔๘๓ จำ�พรรษาทีว่ ดั ปา่ โนนนเิ วศน์ อ.เมือง จ.อุดรธานี พ.ศ. ๒๔๘๔ จำ�พรรษาท่ีวัดปา่ โนนนิเวศน์ อ.เมือง จ.อุดรธานี พ.ศ. ๒๔๘๕ จำ�พรรษาที่เสนาสนะปา่ บา้ นโคก อ.โคกศรสี พุ รรณ จ.สกลนคร (ปัจจบุ นั คือ วดั ปา่ วสิ ทุ ธิธรรม) พ.ศ. ๒๔๘๖ จำ�พรรษาทเ่ี สนาสนะป่าบา้ นนามน อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร (ปจั จบุ ัน คอื วัดป่านาคนิมิตต์) พ.ศ. ๒๔๘๗ จำ�พรรษาที่เสนาสนะป่าบา้ นโคก อ.โคกศรสี ุพรรณ จ.สกลนคร (ปัจจุบัน คอื วดั ปา่ วิสุทธิธรรม) พ.ศ. ๒๔๘๘ จำ�พรรษาท่บี า้ นหนองผือ ต.นาใน อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร (ปจั จุบันคือ วดั ป่าภรู ทิ ัตตถริ าวาท) องคท์ ่านจำ�พรรษาที่วัดแห่งนเี้ ป็นเวลา ๕ ปี จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ หลงั ออกพรรษาคณะศษิ ยานุศษิ ย์ไดก้ ราบนมสั การขอเมตตา นำ�องค์ทา่ นเพ่อื ไปรบั การรกั ษาต่อทว่ี ดั ปา่ สทุ ธาวาส โดยระหวา่ งทาง ไดแ้ วะพกั ที่วดั ป่ากลางโนนภู่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ประมาณ ๑๐ วัน ต่อจากนน้ั ไดน้ ำ�องค์ท่าน ไปพกั รกั ษาอาการอาพาธ ณ วัดป่าสทุ ธาวาสและไดม้ รณภาพลงทีว่ ดั ดงั กลา่ ว เมอื่ วนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๒ เวลา ๐๒.๒๓ น. รวมอายุได้ ๘๐ ปี ๕๘ พรรษา ๗

สถานที่จาริกธดุ งค์ของ องค์หลวงปูม่ ั่น ภรู ิทัตโต

สถานที่จาริกธุดงค์ของ องค์หลวงปู่มั่น ภรู ิทัตโต ๑. วัดเลียบ อ�ำ เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ท่านพระอาจารย์มั่นได้มาศึกษากัมมัฏฐานกับท่านพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล ท่ีวัดเลียบ จากน้ัน องค์ท่าน ได้ออกธุดงค์ไปสถานที่ต่างๆ หลายแห่ง จึงกลับมากราบนมัสการท่านพระอาจารย์เสาร์อีกครั้งที่วัดเลียบ องค์ท่านได้เพียรพยายามในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน จนปรากฏเกิดสุบินนิมิตและสมาธินิมิต ทำ�ให้ ๒ องคท์ า่ นเกิดกำ�ลังใจในการปฏิบัติธรรมมากย่ิงข้ึน . ภหู ล่น เทอื กเขาใกลห้ ม่บู ้านค�ำ บง ต�ำ บลสงยาง อ�ำ เภอศรเี มืองใหม่ จังหวัดอบุ ลราชธานี เป็นสถานที่บำ�เพ็ญสมณธรรมอีกแห่งหนึ่งในแดนมาตาปิตุภูมิของท่านพระอาจารย์ม่ัน องค์ท่านได้ปฏิญาณ ตนต่อหน้าพระอาจารย์เสาร์ว่า “ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ผมขอมอบกายถวายชีวิตต่อพรหมจรรย์ ขอให้ครูบา อาจารย์เสาร์เป็นพยานด้วย” วัดภูหล่น เป็นสถานท่ีท่ีหลวงปู่ม่ันท่านพำ�นักภาวนา หลังจากที่องค์ท่านบวช ๓ ใหม่ๆ อยู่ศกึ ษากบั หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล . พระธาตจุ อมพูสี หลวงพระบาง ทา่ นพระอาจารยเ์ สารไ์ ดพ้ าทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ออกเดนิ ธดุ งคข์ า้ มแมน่ �้ำ โขงไปยงั ฝง่ั ประเทศลาว เพอื่ แสวงหา สถานที่วิเวกจนถึงเมืองหลวงพระบาง สมัยต่อมาท่านพระอาจารย์มั่นได้เจริญสมณธรรมตามลำ�พังเพียง ๔ องคเ์ ดยี วตามแถบฝัง่ ซ้าย-ขวาของแมน่ ้ำ�โขง . พระธาตพุ นม อำ�เภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม พระธาตุพนม ปูชนียสถานอันศักด์ิสิทธิ์และสำ�คัญย่ิงในภาคอีสาน บรรจุพระอุรังคธาตุขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต้งั อย่ทู ่อี ำ�เภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ท่านพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล และท่าน พระอาจารย์ม่นั ภูริทตฺโต พระบูรพาจารย์ ได้เดินทางธุดงค์มาพำ�นักที่พระธาตุพนม ซึ่งขณะนั้นยังรกร้าง เตม็ ไปดว้ ยเถาวลั ยป์ กคลมุ เหลอื แตย่ อด องคท์ า่ นทง้ั สองไดเ้ ปน็ ผรู้ เิ รม่ิ ปฏสิ งั ขรณอ์ งคพ์ ระธาตพุ นม จนปจั จบุ นั ๕ กลายเป็นปูชนียสถานทีส่ �ำ คัญย่งิ ของประเทศ . พระธาตุชเวดากอง ประเทศพมา่ ท่านพระอาจารย์ม่ันพร้อมด้วยเพื่อนสหธรรมิก คือพระเทพมงคลปัญญาจารย์ พระเทพมงคลปัญญาจารย์ ไดเ้ ดนิ ธดุ งคไ์ ปจนถงึ เมอื งหลวง เขตพมา่ แลว้ เลยไปกราบนมสั การพระธาตชุ เวดากองทเี่ มอื งยา่ งกงุ้ องคท์ า่ น ๖ ท้งั สองไดอ้ ยู่จำ�พรรษาทีเ่ มืองมะละแหม่ง ๑ พรรษา . ถำ้ �ผาบิง้ อ�ำ เภอวงั สะพงุ จังหวัดเลย ในปี พ.ศ.๒๔๕๔ ท่านพระอาจารย์ม่ันได้เดินธุดงค์กัมมัฏฐานกลับจากพม่า มาพบถำ้�ผาบ้ิงและได้บำ�เพ็ญ ๗ สมณธรรม ณ ทน่ี ีอ้ งค์เดียว ต่อมาภายหลงั พ.ศ.๒๔๖๑ องคท์ ่านได้กลับมาจ�ำ พรรษาอกี เป็นครง้ั ท่ี ๒ . ถำ้ �สาริกา เขาใหญ่ อ�ำ เภอเมอื ง จังหวัดนครนายก ถ้ำ�สาริกาเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมที่ท่านพระอาจารย์ม่ันได้มาพักเจริญสมณธรรมจนพบแสงสว่างแห่งธรรม องค์ท่านได้ปฏิบัติและรู้เห็นความอัศจรรย์หลายอย่างจากการปฏิบัติธรรม โดยองค์ท่านพำ�นักที่ถ้ำ�สาริกา เป็นเวลา ๑ ปี ๙

๘. ถ้ำ�สิงห์โต วัดทงุ่ สิงห์โต บา้ นไผข่ วาง อ�ำ เภอเมือง จังหวัดลพบรุ ี ท่านพระอาจารย์ม่ันได้แสวงหาสถานท่ีวิเวกทางภาคกลาง ท่ีถำ้�สิงห์โต ขณะที่องค์ท่านบำ�เพ็ญความเพียร อยู่น้นั ปรากฏเห็นทา่ นเจ้าคณุ พระอุบาลคี ณุ ูปมาจารย์ ก�ำ ลงั พจิ ารณาปฏจิ จสมุปบาทอยู่ เม่อื มโี อกาสพบกัน ๙ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ไดเ้ รยี นถามทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี ซง่ึ ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลฯี ตอบวา่ “เปน็ อยา่ งนน้ั จรงิ ” . วัดสระปทมุ หรือวัดปทมุ วนาราม กรุงเทพมหานคร ทา่ นพระอาจารยม์ ่นั ได้จ�ำ พรรษาทีว่ ัดปทมุ วนาราม ๑ พรรษา ในวันธรรมสวนะ ท่านได้สดบั พระธรรมเทศนา จากท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ ณ วัดบรมนิวาสเป็นประจำ� ส่วนท่านเจ้าคุณพระอุบาลีฯ เมื่อเทศน์ เสร็จแล้ว มักจะสนทนาธรรมปฏิบตั จิ ากท่านพระอาจารย์มนั่ เสมอ ๑๐. วัดบรู พา อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธานี ท่านพระอาจารย์ม่ันได้มาพักจำ�พรรษาท่ีวัดบูรพา ๑ พรรษา และได้กล่าวความจริงแห่งการปฏิบัติธรรมที่ ถ�ำ้ สงิ หโ์ ตและถ�ำ้ สารกิ า ถวายพระกรรมวาจาจารย์ คอื ทา่ นพระครสู ที า ชยเสโน ดว้ ย นอกจากน้ี พระอาจารยส์ งิ ห์ ขนฺตยาคโม ได้มาขอรบั ฟังธรรมปฏิบัติ และถวายตวั เปน็ ศษิ ย์กับทา่ นพระอาจารย์มัน่ ณ วดั บรู พาดว้ ย ๑๑. วัดถำ้ �จำ�ปากันตสีลาวาส (ถำ้ �ภูผากูด) อำ�เภอค�ำ ชะอี จังหวดั นครพนม (ปจั จบุ นั คือ จังหวัดมุกดาหาร) พ.ศ. ๒๔๕๙ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ไดไ้ ปจ�ำ พรรษากบั ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ ทา่ นพระอาจารยท์ อ่ี งคท์ า่ นเคารพยง่ิ ซึ่งองค์ท่านได้ปฏบิ ัติ “อาจริยวัตร” ต้ังแต่ลา้ งบาตร ซักจีวร ตกั น้ำ� ฯลฯ ถวายทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ทกุ อย่าง เหมือนพระบวชใหม่ แม้ท่านจะมีอายุพรรษา ๒๐ กว่าแล้ว และ ณ ท่ีน้ี องค์ท่านได้ถวายความรู้แด่ท่าน พระอาจารยเ์ สาร์ เรอ่ื งท่ีท่านพระอาจารยเ์ สาร์ปรารถนาความเป็นพระปจั เจกพุทธเจา้ ด้วย ๑๒. บา้ นดอนปอ (ดงปอ) ต�ำ บลหว้ ยหลวง อำ�เภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. ๒๔๖๐ องคท์ ่านไดม้ าพกั ปฏิบตั ิธรรมอยูท่ บ่ี ้านดงปอแหง่ นี้ โดยองคท์ า่ นเริม่ อบรมพระภกิ ษุ สามเณร อย่างเด็ดเดี่ยวจริงจัง และมีศิษยานุศิษย์ที่เป็นพระภิกษุ สามเณรผู้เคยได้รับรสธรรมะจากองค์ท่านและ ผทู้ ไี่ ดเ้ คยสดบั กิตตศิ ัพท์ ก็ได้ติดตามปฏบิ ตั ิกับท่าน ณ ที่น้ี ๑๓. วัดป่าบ้านหนองกอง อำ�เภอบา้ นผอื จังหวัดอดุ รธานี ท่านพระอาจารย์ม่ันได้เดินธุดงค์มาพักช่ัวคราวท่ีวัดป่าหนองกอง ซึ่งขณะน้ันเป็นป่าอยู่ ระหว่างท่ีองค์ท่าน มาพกั รุกขมูลในสมัยน้ัน องค์ท่านไดอ้ ธษิ ฐานจิต “ขอไมใ่ ห้ลูกกระบกตกลงมาระหวา่ งท่านพักอยู่” ปรากฏว่า ปัจจุบันต้นกระบกต้นน้ีถึงแม้มีลูกดกมาก แต่ไม่ตกหล่นลงพ้ืนตามคำ�อธิษฐานขององค์ท่าน ต่างเหี่ยวแห้ง คาตน้ ไปเลย ๑๔. กฏุ ิของท่านพระอาจารย์มัน่ วัดปา่ สาระวารี อำ�เภอบ้านผอื จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. ๒๔๖๖ พรรษาที่ ๒๘ ทา่ นพระอาจารย์มน่ั ได้มาต้งั วดั ปา่ ดงมะไฟ (ปัจจุบนั คอื วัดป่าสาระวารี) บ้านค้อ ขึ้น ได้สรา้ งพระพุทธรูปหิน ๑ องค์ ท่านอยู่จำ�พรรษา ๒ พรรษา ชาวบ้านค้อไดบ้ ำ�รุงรักษากฏุ ิขององค์ทา่ น ไว้เพ่ือเป็นอนุสรณ์แก่สาธชุ นสืบมาจนถงึ ทกุ วันนี้ ๑๕. วัดป่าโนนสว่าง อ�ำ เภอนายูง จงั หวัดอุดรธานี วดั ปา่ โนนสวา่ ง เดมิ คอื เสนาสนะปา่ บา้ นนาหม-ี นายงู ทที่ า่ นพระอาจารยม์ น่ั ไดเ้ ดนิ ธดุ งคม์ าพกั ภาวนาตอ่ จาก วัดปา่ ดงมะไฟ ไดม้ ีศษิ ย์ตดิ ตามมา ขอรบั การอบรมทางธรรมปฏบิ ัติด้วยกับทา่ นคือ หลวงปูแ่ หวน สจุ ณิ ฺโณ หลวงป่ตู อื้ อจลธมฺโม เปน็ ตน้ ๑๐

๑๖. ถำ้ �ผาแดง นำ้ �ตกยูงทอง อำ�เภอนายงู จังหวัดอดุ รธานี ท่านพระอาจารย์ม่ันได้จาริกแสวงหาสถานที่วิเวกแถบอำ�เภอนายูง-นำ้�โสม ได้พบท่ีสงัด ซ่ึงมีลักษณะเป็น ภเู ขาสงู มหี นา้ ผาหนิ ทรายทส่ี งู ชนั เปน็ เงอ้ื มผา และชะโงกหนิ บรเิ วณผาแดง มหี ลบื ถ�ำ้ เลก็ ๆ ซง่ึ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั เลอื กเป็นสถานที่วปิ ัสสนากัมมฏั ฐาน ๑๗. อโุ บสถหลังเก่าวัดอรัญญวาสี อ�ำ เภอท่าบอ่ จังหวัดหนองคาย พ.ศ. ๒๔๖๓ ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ไดม้ าพักท่ีเสนาสนะปา่ แห่งนี้ ตอ่ มาไดก้ ลายเปน็ วดั ปา่ อรัญญวาสี อนั เป็น สถานที่บำ�เพ็ญสมณธรรมของพระธุดงค์กัมมัฏฐาน มีหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม หลวงป่เู ทสก์ เทสรังสี เป็นต้น พ.ศ. ๒๔๖๘ องคท์ า่ นได้กลับมาจำ�พรรษาอกี ครัง้ โดยมที า่ นพระอาจารย์เสาร์ มาจ�ำ พรรษาอยใู่ กล้ๆ กันทว่ี ดั พระงามศรีมงคล จงั หวดั หนองคาย ๑๘. เสนาสนะปา่ บา้ นหว้ ยทราย อ�ำ เภอค�ำ ชะอี จงั หวดั นครพนม (ปจั จบุ นั คอื จงั หวดั มกุ ดาหาร) พ.ศ. ๒๔๖๔ ท่านพระอาจารย์ม่ันได้มาจำ�พรรษาท่ีบ้านห้วยทราย องค์ท่านได้แก้ความเห็นผิดของชาวบ้าน โดยการแนะนำ�ให้ถึงพระไตรสรณคมน์เป็นประการสำ�คัญ และองค์ท่านได้เริ่มต้นวางระเบียบการบวช ตาผ้าขาวก่อนท่จี ะทำ�การบรรพชาอุปสมบท ระเบียบน้จี งึ ได้มีข้นึ ในคณะกมั มัฏฐานจนถงึ ปจั จบุ ัน ๑๙. เสนาสนะปา่ บ้านหนองลาด อ�ำ เภอสวา่ งแดนดิน จงั หวดั สกลนคร พ.ศ. ๒๔๖๔ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ไดว้ างรากฐานการปฏบิ ตั ธิ รรมใหก้ บั ศษิ ยานศุ ษิ ย์ โดยเตอื นสตใิ หพ้ ากเพยี ร อย่างจริงจัง เพ่ือผลที่ได้รับนั้นจะสมจริงตามท่ีปฏิบัติ และให้รักษาข้อวัตรปฏิบัติตามแนวทางท่ีท่าน พระอาจารยม์ ่นั พาดำ�เนินมา ๒๐. เสนาสนะป่าบ้านค้อ อ�ำ เภอบ้านผอื จงั หวัดอดุ รธานี ท่านพระอาจารย์ม่ันพร้อมด้วยท่านพระอาจารย์เสาร์ ได้กลับมาจำ�พรรษาร่วมกันอีกคร้ัง ณ เสนาสนะป่า บา้ นคอ้ ใน พ.ศ. ๒๔๖๖ โดยมพี ระภกิ ษุ สามเณรเขา้ มาศกึ ษาอบรมธรรมปฏบิ ตั กิ บั ทา่ นทง้ั สองจ�ำ นวนมาก เชน่ หลวงปสู่ ิงห์ หลวงปมู่ หาปน่ิ หลวงปูเ่ ทสก์ หลวงปูแ่ หวน หลวงปตู่ ือ้ หลวงปู่ออ่ น และหลวงปฝู่ ้นั เป็นตน้ ๒๑. วัดปา่ มหาชัย บ้านหนองบัวลำ�ภู อ�ำ เภอบ้านผอื จงั หวดั อุดรธานี (ปจั จุบันคอื จังหวดั หนองบวั ล�ำ ภู) พ.ศ. ๒๔๖๗ ท่านพระอาจารย์ม่ันได้พักจำ�พรรษา ณ ท่ีนี้ เพื่ออบรมธรรมปฏิบัติและข้อวัตรปฏิบัติแก่ พระภกิ ษุ สามเณรทเ่ี ปน็ ศษิ ย์ เชน่ หลวงปกู่ ู่ ธมมฺ ทนิ โฺ น หลวงปกู่ วา่ สมุ โน (เปน็ สามเณร) หลวงปเู่ ทสก์ เทสรงั สี หลวงปภู่ มู ี จติ ธมโฺ ม ซึ่งพกั อย่วู ัดบ้านเดื่อ ได้เขา้ มากราบนมสั การและรบั ฟังโอวาทธรรมจากองคท์ า่ นเสมอ ๒๒. เสนาสนะป่าบ้านสามผง อ�ำ เภอทา่ อุเทน จังหวดั นครพนม พ.ศ. ๒๔๖๙ หลงั ออกพรรษาแลว้ ทา่ นพระอาจารย์เสารแ์ ละทา่ นพระอาจารยม์ ั่นได้เรยี กบรรดาศษิ ยานุศิษย์ ให้มาประชุมพร้อมกันที่บ้านโนนแดง ณ เสนาสนะป่าบ้านสามผงนี้ องค์ท่านได้วางระเบียบการปฏิบัติ เก่ียวกับการอยู่ป่า การตั้งสำ�นัก และแนวทางการส่ังสอนปฏิบัติจิตตภาวนา เพื่อให้คณะศิษย์นำ�ไปปฏิบัติ ให้เป็นระเบียบเดยี วกนั ๒๓. บา้ นบ่อชะเนง อำ�เภอหวั ตะพาน จังหวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๔๗๐ ท่านพระอาจารย์มั่นได้พาภิกษุ สามเณรมาท่ีบ้านบ่อชะเนง แล้วปรึกษาหารือกันในอันท่ีจะ เดินทางเข้าเขตตัวเมืองอุบลราชธานี เพ่ือเทศนาส่ังสอนประชาชนระหว่างท่ีองค์ท่านพักอยู่วัดบูรพานั้น องคท์ า่ นไดพ้ าโยมมารดาจากเมอื งอบุ ลฯ ไปอยบู่ า้ นบอ่ ชะเนง ตามทอ่ี งคท์ า่ นตงั้ ใจไว้ และบา้ นบอ่ ชะเนงนเ้ี ปน็ บ้านเกิดของหลวงปู่ขาว อนาลโย พระเกจิอาจารย์ผู้มีช่ือเสียงองค์หนึ่ง ที่เป็นลูกศิษย์อีกองค์หนึ่งของ หลวงปู่มนั่ ภรู ทิ ตั โต ๑๑

๒๔. บ้านหนองขอน อำ�เภอหัวตะพาน จังหวดั อุบลราชธานี พ.ศ. ๒๔๗๐ เป็นปีท่ีท่านพระอาจารย์ม่ันเดินทางไปแสดงธรรมโปรดโยมมารดาขององค์ท่าน หลังจากนั้น องค์ท่านก็ได้มอบหน้าที่การปกครองคณะสงฆ์กัมมัฏฐานให้แก่พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม องค์ท่านจึงได้ ปลกี ตัวขององคท์ า่ นไปทางภาคเหนือ มจี ังหวัดเชยี งใหม่ เป็นต้น ๒๕. วัดเจดีย์หลวง อำ�เภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม่ ทา่ นพระอาจารยม์ ่ันได้มาพำ�นกั อย่ทู างภาคเหนือของไทยประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๓–๒๔๗๕ ได้รบั แต่งตงั้ เป็น พระครวู นิ ยั ธร ฐานานกุ รม ในทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ พ.ศ. ๒๔๗๕ ทา่ นเปน็ เจา้ อาวาสวดั เจดยี ห์ ลวง เพยี ง ๑ พรรษา พอออกพรรษา องคท์ ่านไดจ้ ารกิ ไปตามปา่ เขาทางภาคเหนอื หลายปีจึงกลับมาภาคอสี าน ๒๖. วัดโรงธรรมสามัคคี อำ�เภอสนั กำ�แพง จังหวัดเชยี งใหม่ ท่านพระอาจารย์ม่ันได้รับกิจนิมนต์จากศรัทธาญาติโยมอำ�เภอสันกำ�แพง องค์ท่านได้มาพักอยู่วัดโรงธรรม สามคั คีประมาณ ๒๐ กว่าวนั ซ่ึงองค์ท่านมาเพยี งลำ�พังองค์เดยี ว ต่อมาหลวงปกู่ ู่ ธมฺมทินโฺ น และหลวงปู่กว่า สมุ โน ไดเ้ คยมาพำ�นกั ทีว่ ดั โรงธรรมสามัคคดี ้วย ๒๗. วัดดอนมูล (สันโค้งใหม)่ อ�ำ เภอสันกำ�แพง จงั หวดั เชียงใหม่ จากนั้นท่านพระอาจารย์มั่นได้เดินธุดงค์ไปยังวัดดอนมูล อำ�เภอสันกำ�แพง ซ่ึงเดิมเป็นสำ�นักป่าช้าต่อมา หลวงปู่คำ�แสน คุณาลงฺกาโร ซึ่งเป็นศิษย์มหานิกายรูปหนึ่งของท่านพระอาจารย์มั่น ได้มาพักอยู่วัดดอนมูล และปฏิบตั ิตามหลักปฏปิ ทาของท่านพระอาจารยม์ ่นั เปน็ อย่างดี ๒๘. วัดป่าดาราภิรมย์ (เสนาสนะป่าแมร่ ิม) อ�ำ เภอแม่ริม จังหวดั เชียงใหม่ ท่านพระอาจารย์มั่นได้แวะพักช่ัวคราวที่เสนาสนะป่าแม่ริม (ปัจจุบันคือ วัดป่าดาราภิรมย์) ซึ่งมีท่านพ่อลี ธมฺมธโร มากราบนมัสการท่านท่ีนี้ด้วย ต่อมาหลวงปู่ต้ือ อจลธมฺโม ได้มาพักจำ�พรรษาอยู่วัดป่าดาราภิรมย์ ถึง ๙ ปี ๒๙. พระธาตุจอมแตง อ�ำ เภอแมร่ ิม จงั หวัดเชียงใหม่ พระธาตุจอมแตงน้ี ท่านพระอาจารย์มั่นได้พำ�นักอยู่ โดยมีศิษย์พระมหานิกายรูปหนึ่งท่ีคอยดูแลอุปัฏฐาก องคท์ ่าน คือ หลวงปู่ค�ำ ปัน สภุ ทโฺ ท ซึง่ องค์ท่านบอกว่าไม่จำ�เปน็ ต้องญัตตใิ หม่ หลวงปู่คำ�ปันมคี วามเคารพ องคท์ า่ นมาก และได้ถือแนวปฏบิ ัติตามปฏิปทาของทา่ นพระอาจารย์มนั่ ตลอดมา ๓๐. วัดป่าน้ำ�ริน (เสนาสนะป่าห้วยนำ้ �ริน) อำ�เภอแมร่ ิม จังหวัดเชียงใหม่ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ไดเ้ ดนิ ธดุ งคม์ าพ�ำ นกั ทเ่ี สนาสนะปา่ หว้ ยน�้ำ รนิ โดยศษิ ยานศุ ษิ ยท์ ต่ี ดิ ตามรอยบาทองคท์ า่ น ได้มาพำ�นักบำ�เพ็ญภาวนา ณ เสนาสนะป่าห้วยนำ้�ริน ปัจจุบันคือ วัดป่าน้ำ�ริน ซึ่งมีหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม หลวงปู่ชอบ ฐานสโม ได้เคยมาพักจ�ำ พรรษา ๓๑. วัดพระธาตจุ อมแจ้ง จงั หวัดเชยี งราย พระธาตุจอมแจ้งเป็นสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งครูบาศรีวิชัยเป็นผู้มาปฏิสังขรณ์ และบรู ณะพระธาตแุ ห่งนี้ ท่านพระอาจารยม์ ่ันได้เคยจาริกผา่ นมากราบนมสั การและบ�ำ เพ็ญธรรม ณ สถานที่ ๓๒. แหง่ นี้ (บา้ นปง) อำ�เภอแม่แตง จังหวดั เชยี งใหม่ วัดอรัญญวิเวก ท่านพระอาจารยม์ น่ั เป็นผกู้ ่อตัง้ ส�ำ นักสงฆ์อรญั ญวิเวก บ้านปง อ�ำ เภอแมแ่ ตง และเปน็ เจ้าอาวาสรูปแรกของ สำ�นัก ในพรรษาแรกท่ีองค์ท่านพำ�นักอยู่น้ัน มีศิษย์ที่มาบำ�เพ็ญสมณธรรมอยู่ด้วย คือ ๑. หลวงปู่แหวน ๒. หลวงปพู่ ร ๓. หลวงป่พู ัตร ๔. หลวงปู่วริ ัช และ ๕. หลวงป่บู ญุ ๑๒

๓๓. เทือกเขาภหู ลวง อำ�เภอเชียงดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ เทือกเขาภูหลวงเป็นเทือกเขาแห่งพระอริยเจ้าของทางภาคเหนือ ถือว่าเป็นขุนเขาศักดิ์สิทธิ์ หรือเรียกว่า “ดอยหลวงเชยี งดาว” ซง่ึ ประกอบดว้ ย ถ�ำ้ เชยี งดาว ถ�ำ้ ฤาษี ถ�ำ้ พระปจั เจก ถ�ำ้ ปากเปยี ง ถ�ำ้ ผาปลอ่ ง ซง่ึ ลว้ นเปน็ สถานท่ที ่ที า่ นพระอาจารย์ม่นั ได้เดินธดุ งค์และพกั บ�ำ เพญ็ เจริญสมณธรรมมาแล้วทงั้ ส้ิน ๓๔. ถ้ำ�เชียงดาว อำ�เภอเชยี งดาว จังหวดั เชยี งใหม่ ในสมัยก่อน ถ้ำ�เชียงดาวเป็นถ้ำ�ท่ีเคยมีพระปัจเจกพุทธเจ้ามาพัก และมีพระอรหันต์มานิพพาน คร้ัน ท่านพระอาจารย์มั่นมาพักบำ�เพ็ญสมณธรรมอยู่นั้น องค์ท่านได้กล่าวว่า “คร้ังแรกๆ เราก็พักอยู่ตีนเขาและ บำ�เพ็ญความเพียร ต่อไปก็ขยับมาอยู่ที่ปากถ้ำ�” ตรงปากถำ้�นั้นมีก้อนหินใหญ่ องค์ท่านใช้ก้อนหินนั้นเป็น ทน่ี งั่ สมาธิ มีความรู้สึกวา่ อยใู่ นโลกอีกโลกหนง่ึ มิใชโ่ ลกน้ี ไมว่ า่ จะในอริ ิยาบถเดินหรือนงั่ ๓๕. วัดถำ้ �ปากเปียง อ�ำ เภอเชยี งดาว จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อท่านพระอาจารย์มั่นได้พักบำ�เพ็ญธรรมที่ถำ้�เชียงดาวพอควรแล้ว องค์ท่านได้จาริกผ่านมาบริเวณ วัดถ้ำ�ปากเปียง ต่อมาองค์ทา่ นได้ปรารภกบั หลวงปู่แหวนวา่ “ถ้�ำ ปากเปยี งเป็นถ้ำ�ที่เป็นมงคล มีพระอรหันต์ มาดบั ขันธ์ ณ ท่นี ้”ี ๓๖. วัดปา่ อาจารย์มั่น (ภรู ิทัตโต) บา้ นแม่กอย อำ�เภอพร้าว จงั หวัดเชียงใหม่ สถานท่ีแห่งน้ีเป็นที่ตั้งกุฏิและทางเดินจงกรมเดิมของท่านพระอาจารย์ม่ัน ซึ่งองค์ท่านได้เคยจาริกผ่านมา บำ�เพ็ญเพียร เจริญสมณธรรมและพำ�นักจำ�พรรษา ๑ พรรษา มีหลวงปู่แหวน หลวงปู่ตื้อ หลวงปู่ขาว หลวงปเู่ จ๊ียะ ได้เคยมาพัก ณ ที่นี้ ภายหลงั หลวงปูส่ มิ ได้มาสรา้ งศาลาบ�ำ เพ็ญบุญไว้ ๑ หลัง ปัจจุบันได้สรา้ ง “พระมหามณฑปอนสุ รณ์ บรู พาจารย์ สายทา่ นพระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทตั โต” เพอ่ื น้อมร�ำ ลึกบูชาพระคุณครบู า อาจารย์ ๓๗. วัดถ้ำ�ดอกคำ� ต�ำ บลน้ำ�แพร่ อำ�เภอพร้าว จังหวัดเชยี งใหม่ ท่านพระอาจารย์มั่นได้มาพักบำ�เพ็ญความเพียรที่ถำ้�ดอกคำ� ต่อมาได้มีศิษย์จากภาคอีสานได้ติดตามมาพบ องค์ท่านเพอ่ื ขออบุ ายธรรมในการปฏิบัติ มีหลวงปูส่ าร หลวงปแู่ หวน หลวงปูเ่ ทสก์ หลวงปูอ่ ่อนสี มาพกั อยู่ ช่ัวคราว ๓๘. ปา่ เมี่ยง อำ�เภอพรา้ ว จงั หวัดเชียงใหม่ ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ไดก้ ลา่ ววา่ “ส�ำ หรบั อ�ำ เภอพรา้ วนี้ มภี มู ทิ �ำ เลเหมาะแกก่ ารบ�ำ เพญ็ เพยี รทางใจ” องคท์ า่ น ไดแ้ นะน�ำ ชาวบา้ นแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ และสอนใหเ้ ขา้ ใจในหลกั เหตผุ ลแหง่ ความจรงิ โดยองคท์ า่ นสอน เนน้ ถึงว่า “คณุ ธรรมนัน้ มีความส�ำ คัญยิง่ นัก” ๓๙. สำ�นักสงฆ์ป่าเมีย่ ง แมส่ ายตำ�บลโหล่งขอด อ�ำ เภอพร้าว จงั หวดั เชยี งใหม่ ท่านพระอาจารย์ม่ันได้เดินธุดงค์มาแสวงหาท่ีวิเวก ณ ที่น้ี พ.ศ.๒๔๗๖ โยมสมได้มีจิตศรัทธาถวายที่ดิน สวนเมี่ยงแด่ท่านพระอาจารย์มั่น มีหลวงปู่พรหม หลวงปู่แหวน หลวงปู่ขาว หลวงปู่เทสก์ เป็นคณะสงฆ์ รับถวายที่ดนิ หลวงปู่ขาวได้มาเจรญิ สมณธรรม ณ ปา่ เมย่ี ง โหลง่ ขอดทนี่ ด้ี ้วย ๔๐. บ้านทุ่งบวกขา้ ว ต�ำ บลแม่ปั๋ง อำ�เภอพร้าว จังหวดั เชยี งใหม่ ในทอ้ งทอี่ �ำ เภอพรา้ วน้ี มที วี่ เิ วกเหมาะสมกบั การบ�ำ เพญ็ ภาวนา มพี ระอาจารยท์ เี่ ปน็ ศษิ ยท์ า่ นพระอาจารยม์ นั่ จากภาคอสี านไดเ้ ดนิ ทางมาพบองคท์ า่ นทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม่ คอื ศษิ ยต์ อ้ งการพบองคท์ า่ นเพอ่ื จะไดศ้ กึ ษาธรรม ให้สงู ยง่ิ ขึ้น ส่วนองคท์ า่ นตอ้ งการพบศษิ ยเ์ พอ่ื จะแกไ้ ขปรบั ปรงุ แนวทางปฏบิ ัติและค�ำ สอนใหม้ ีความบรสิ ทุ ธิ์ ยิ่งข้นึ ๑๓

๔๑. วัดพระธาตุดอยนะโม (นำ้ �มัว) ต�ำ บลแม่ปง๋ั อ�ำ เภอพรา้ ว จังหวดั เชียงใหม่ สถานที่ที่มีพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่นั้น คือท่ีปักกลดธุดงค์กัมมัฏฐานของท่านพระอาจารย์มั่น ขณะที่ องค์ท่านมาพักบำ�เพ็ญสมณธรรมท่ีดอยนะโม ซึ่งต่อมามีหลวงปู่แหวน หลวงปู่ขาว หลวงปู่ฝ้ัน หลวงปู่พร ได้มาพักอยูว่ ัดพระธาตดุ อยนะโมแห่งนดี้ ว้ ย ๔๒. วัดพระธาตุจอมแจง้ อ�ำ เภอแมส่ รวย จังหวดั เชยี งราย พ.ศ. ๒๔๗๘ ทา่ นพระอาจารย์มนั่ เดินธดุ งค์ผ่านมาพักใตต้ ้นสารภี จ�ำ พรรษา ๑ พรรษา และเป็นเจา้ อาวาส รูปแรกของวัดพระธาตุจอมแจ้ง องค์ท่านได้ชักชวนชาวบ้านซ่อมเจดีย์พระธาตุ มีศิษย์ที่ติดตามมาพัก ภายหลงั ด้วย คอื หลวงปู่พรหม หลวงปขู่ าว หลวงปูห่ นู หลวงปูค่ �ำ และหลวงปมู่ หาทองสุก ๔๓. ดอยมูเซอ (หมบู่ า้ นปู่พญา) อ�ำ เภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชยี งราย พ.ศ. ๒๔๗๙ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ไดม้ าพกั จำ�พรรษาท่ีบ้านมูเซอ (บ้านปู่พญา) โดยมีหลวงปเู่ ทสก์ เทสรงั สี ได้ติดตามมาพักจำ�พรรษากับท่านพระอาจารย์มั่น และในปีนี้ท่านได้พยากรณ์อายุขององค์ท่านเองอย่าง ถกู ต้องด้วย ๔๔. วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ท่านพระอาจารยม์ น่ั กลบั มาจากภาคเหนือ ได้มาพ�ำ นกั อยู่วดั บรมนวิ าสชว่ั คราว กอ่ นเดินทางกลับภาคอสี าน องค์ท่านได้แนะนำ�ธรรมปฏิบัติแก่พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ที่มาถามปัญหาธรรมกับท่านเป็น จำ�นวนมาก นอกจากนี้พระมหาเถระได้นิมนต์องค์ทา่ นไปพบ เพอื่ สมั โมทนียกถาโดยเฉพาะในบางครง้ั ๔๕. วัดป่าโนนนิเวศน์ อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั อุดรธานี นบั แตท่ า่ นพระอาจารยม์ นั่ ได้ธดุ งค์บำ�เพ็ญสมณธรรมทางภาคเหนอื ถงึ ๑๑ ปี องคท์ า่ นได้กลับมาจำ�พรรษาท่ี ภาคอีสาน ณ วดั ปา่ โนนนิเวศน์ ๒ พรรษา โดยองค์ท่านไดอ้ บรมและใหโ้ อวาท แนะน�ำ แก้ไขปฏิปทาตา่ งๆ ทง้ั ภายนอกภายในแก่ภกิ ษุ สามเณรในธรรมปฏบิ ัติ ๔๖. เสนาสนะป่าบา้ นนามน หรือวัดปา่ นาคนิมิตต์ อ�ำ เภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ท่านพระอาจารย์ม่ันได้เลือกจำ�พรรษาท่ีเสนาสนะป่าบ้านนามน เพราะพระอาจารย์ทั้งหลายที่เป็นศิษย์ได้มา นมัสการฟังธรรมมากขึ้น เป็นปีที่องค์ท่านกล่ันกรองความเพียรของคณะศิษย์ โดยอุบายวิธีต่างๆ ทั้งเทศน์ อบรม ท้ังใชอ้ บุ ายขู่เขญ็ ไมใ่ ห้นอนใจในการท�ำ ความเพียร พร้อมทงั้ ให้อบุ ายในธรรมปฏบิ ัตดิ ว้ ย ๔๗. ศาลาหลวงปู่มั่น เสนาสนะป่าบ้านโคกนามน อ�ำ เภอโคกศรีสุพรรณ จงั หวดั สกลนคร เป็นศาลาที่ท่านพระอาจารย์มั่น ใช้เป็นท่ีแสดงธรรมเทศนา อบรมศิษยานุศิษย์และพุทธบริษัท รวมท้ังเป็น ท่ีประชุมสงฆ์เพ่ือวางระเบียบแบบแผนของคณะพระกรรมฐานให้ถูกต้อง ท่านจำ�พรรษา ณ เสนาสนะป่า แห่งนี้ ปจั จุบันสถานที่แหง่ น้ี คอื วดั ปา่ วิสทุ ธิธรรม อ�ำ เภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ๔๘. กุฏิท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ วัดป่าหนองผือนาใน อำ�เภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ท่านพระอาจารย์มั่นได้พำ�นักอยู่ ณ วัดป่าบ้านหนองผือนาใน ในช่วงปัจฉิมวัยขององค์ท่านเป็นระยะเวลา ๕ ปี ซง่ึ นบั เปน็ สถานทท่ี อ่ี งคท์ า่ นอยพู่ �ำ นกั นานทส่ี ดุ และถอื เปน็ สถานทท่ี ส่ี �ำ คญั เพราะองคท์ า่ นใชเ้ ปน็ สถานท่ี อบรมสัง่ สอนศษิ ยานุศิษย์ต่างๆ เปน็ จำ�นวนมาก จนต่อมาได้กลายเปน็ ครูบาอาจารยอ์ งคส์ �ำ คญั ๆ ทเี่ ปน็ ศษิ ย์ ของท่านพระอาจารยม์ ่ันมากมาย จึงถอื วา่ สถานทแี่ ห่งนี้ นับเปน็ มงคลสถานที่ส�ำ คัญยิง่ ๑๔

ข้อวัตรปฏิบัติ ในองค์พ่อแมค่ รอู าจารย์ใหญ่มั่น ภูริทัตตมหาเถระ

ขอ้ วัตรปฏิบัติ ในองค์พ่อแมค่ รูอาจารย์ใหญ่ มั่น ภรู ิทัตตมหาเถระ ในยคุ วัดป่าบ้านหนองผือนาใน อ�ำ เภอพรรณานคิ ม จังหวดั สกลนคร (ถอดจากหนงั สอื ชวี ประวตั หิ ลวงปหู่ ลา้ เขมปตั โต และกณั ฑเ์ ทศนข์ องหลวงปหู่ ลา้ เขมปตั โต วดั ภจู อ้ กอ้ อ�ำ เภอหนองสงู จงั หวดั มกุ ดาหาร) ๑๖

อุปนิสัยขององค์หลวงป่มู ั่น ภรู ิทัตตมหาเถระ โดยปกติแล้วองค์หลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต ด้วยองค์ท่านเป็นคนร่างเล็ก ปราดเปรียว คล่องแคลว่ วอ่ งไว ฉลาด หลักแหลม มนี สิ ัยเดด็ เดยี่ ว รักสันโดษ ชอบความสงบวิเวก ไม่เกล่ือนกล่นด้วยผู้คน ดังนั้น เกือบตลอดช่วงชีวิตของ องค์ท่านจึงถือได้ว่าองค์ท่านแสวงหาโมกขธรรมตามป่าตามเขาจาริกธุดงค์ไป เรอื่ ยๆ ไมอ่ ยตู่ ดิ ถน่ิ ทอ่ี ยู่ และชอบไปองคเ์ ดยี วไมม่ พี ระคอยตดิ ตามรบั ใชอ้ ปุ ฏั ฐาก ดงั นนั้ จะสงั เกตไดว้ า่ ไมว่ า่ องคท์ า่ นจะจรธดุ งคไ์ ปในทศิ ทางใด องคท์ า่ นจะไมส่ รา้ ง วัดเลยแม้แต่วัดเดียว หรือไม่สร้างถาวรวัตถุใดๆ เลย ด้วยเพราะองค์ท่านให้ ความส�ำ คัญกบั การสรา้ งจิตใจของคนเป็นหลกั เน้นการปฏบิ ัตลิ ะกเิ ลสเป็นสำ�คัญ หากสถานที่ใดท่ีองค์ท่านอยู่พักอาศัยไปสักระยะ และเริ่มมีญาติโยมเข้ามา เก่ียวพันมากข้ึน องค์ท่านจะมีอุบายเล่ียงและจรไปท่ีอื่น โดยไม่ให้เสียน้ำ�ใจ แกศ่ รัทธาญาตโิ ยม เวน้ ไวค้ อื ในชว่ งทา้ ยวยั ชราขององคท์ า่ น คอื ยคุ ทอ่ี งคท์ า่ นรบั นมิ นตจ์ าก ทา่ นเจา้ คณุ ธรรมเจดยี ์ ทา่ นเจ้าคุณธรรมเจดยี ์ (จูม พันธโุ ล)ใหก้ ลับมาพำ�นักอยูท่ างภาคอีสาน เพ่ือโปรด (จมู พนั ธโุ ล) ญาติโยมทางภาคอีสาน ด้วยว่าองค์ท่านได้อยู่พำ�นักที่แถบภาคเหนือก็ประมาณ ๑๑ เกือบ ๑๒ ปีแลว้ องค์ท่านจึงไดร้ บั นิมนต์และกลับลงมาพกั อาศัยอย่ทู างภาคอีสานอีกครง้ั หนงึ่ ช่วงแรกนั้น องค์ท่านมาพักจำ�พรรษาอยู่แถวจังหวัดอุดรธานี ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๓ ณ วัดป่าโนนนิเวศน์ ประมาณ ๒ ปี และหลังจากนั้นก็ไปจำ�พรรษาท่ีเสนาสนะป่าบ้านโคกนามน อำ�เภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ๑๗

หลวงปู่หลยุ จันทสาโร ศาลาหอฉันจงั หัน ณ วัดปา่ หนองผือนาใน จ.สกลนคร ในสมยั อดตี (ถา่ ยเมื่อ ๒๖ ม.ค. ๑๔) อย่ปู ระมาณ ๓ ปี แลว้ หลงั จากนน้ั องคท์ า่ นก็ยา้ ยมาพำ�นักอยู่ท่ีวัดปา่ บ้านหนองผอื นาใน อ�ำ เภอพรรณนานคิ ม จังหวดั สกลนคร ซึ่งเป็นวัดที่หลวงปู่หลุย จันทสาโร พร้อมชาวบ้านหนองผือนาใน สร้างไว้เพื่อถวายองค์ท่าน นับว่าองค์ท่าน อยู่พักที่สถานที่แห่งนี้เป็นเวลานานท่ีสุดในชีวิตสมณเพศขององค์ท่าน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๘–พ.ศ. ๒๔๙๒ (ช่วงวาระ ๕ ปี สุดท้ายของช่วงชีวิตในวัยชรา) ซึ่งสถานที่แห่งน้ีถือว่าเป็นสถานท่ีท่ีสำ�คัญสำ�หรับพระเณรในวงศ์กรรมฐานของ เมืองไทยก็ว่าได้ ด้วยว่าเป็นช่วงท่ีองค์ท่านได้ทอดสะพานให้กุลบุตรลูกหลานท้ังพระ เณรและฆราวาส ได้เข้ามาศึกษา อบรมถึงข้อวัตรปฏิบัติท่ีถูกต้องอย่างจริงจังกับองค์ท่าน และเป็นสถานท่ีท่ีองค์ท่านรับพระ เณรไว้ศึกษามากที่สุด (โดยปกติองค์ท่านจะรบั ไมเ่ กนิ ๗-๘ องค์ แตบ่ างปจี ะรับไวจ้ �ำ พรรษาด้วยราวๆ ๒๐ องค์) หลวงปมู่ ั่น ภรู ทิ ัตโต เรมิ่ อาพาธหนกั ในช่วงฤดูแล้งของปี พ.ศ. ๒๔๙๒ จนตลอดในพรรษาของปนี ้นั อาการ อาพาธก็ไม่ทเุ ลาลง แต่กลับเปน็ มากข้ึน องคท์ า่ นไดเ้ ปรยกบั คณะลูกศษิ ย์เสมอๆ ว่า การป่วยอาพาธคร้งั น้ีเปน็ การปว่ ย ๑๘

ภาพประวตั ิศาสตร์ : ภาพบรรยากาศในการเคลอ่ื นยา้ ยองค์หลวงปมู่ นั่ ภูรทิ ตั โต ของศษิ ยานศุ ษิ ย์ทง้ั บรรพชติ และฆราวาส ไปยังวดั ป่าสทุ ธาวาส โดยไดแ้ วะพกั ณ วัดป่ากลางโนนภู่ อ�ำ เภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ปลาย พ.ศ. ๒๔๙๒ อาพาธครงั้ สดุ ทา้ ยขององค์ทา่ น พอออกพรรษาในปนี ัน้ คณะศิษยานุศษิ ยจ์ งึ กราบอาราธนานิมนตใ์ หอ้ งคท์ ่านเขา้ ไปรบั การรกั ษาในตวั เมอื งจังหวัดสกลนคร เมอ่ื องคท์ ่านรับพิจารณาแล้วองค์ท่านกร็ ับอยา่ งฝืดๆ คณะศษิ ยานศุ ษิ ย์จงึ ได้ร่วม ปรกึ ษาหารอื กนั และวางแผนการเคลอื่ นยา้ ยองคท์ า่ นดว้ ยขบวนเกวยี นผา่ นบรเิ วณทงุ่ นาปา่ เขา จากวดั ปา่ หนองผอื นาใน ระหวา่ งทางได้แวะพกั ณ วดั ป่ากลางโนนภู่ประมาณ ๑๐ วนั อาการอาพาธขององค์ทา่ นทรดุ ลงมากย่ิงขึน้ องคท์ า่ นจงึ ให้ เรง่ การเดนิ ทางเพอ่ื น�ำ องคท์ า่ นไปยงั วดั ปา่ สทุ ธาวาสโดยเรว็ ในระหวา่ งการเดนิ ทางจากวดั ปา่ กลางโนนภไู่ ปวดั ปา่ สทุ ธาวาส มที มี แพทยม์ ารับพรอ้ มรถยนต์ และน�ำ องค์ท่านล่วงหน้าไปก่อน เม่อื ไปถงึ วดั ป่าสุทธาวาสกพ็ ลบค�่ำ พอดีแพทย์ไดฉ้ ีดยา ถวายการรักษาพร้อมถวายยาช่วยให้พักได้ องค์ท่านมีสภาพอ่อนเพลียมากจนในท่ีสุดองค์ท่านก็ได้ละสังขารในช่วงดึก ของวันน้ัน ซึ่งตรงกบั วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๒ เวลา ๐๒ : ๒๓ น. สริ ิรวมอายุ ๘๐ ปี ๑๙

หลวงป่หู ล้า เขมปัตโต ดังนั้น จึงถือได้ว่ายุคสมัยที่องค์ท่าน ได้อบรมส่ังสอนศิษยานุศิษย์ท้ังพระท้ังฆราวาส มากทส่ี ดุ คอื ยคุ ทอ่ี งคท์ า่ นพ�ำ นกั อยู่ ณ วดั ปา่ บา้ น หนองผือนาใน อำ�เภอพรรณนานิคม จังหวัด สกลนคร ซ่ึงยุคสมัยน้ันจะมีพระภิกษุท่ีมาพัก จำ�พรรษาอยู่กับองค์ท่าน ซึ่งองค์ท่านจะเป็นผู้ พิจารณาเอง ว่าจะรับหรือไม่รับพระองค์ไหน คร่าวๆ ท่านจะรบั ไวใ้ นพรรษาประมาณ ๑๐-๑๕ รูป ไม่เกินน้ี นอกน้ันจะเป็นพระที่ต้องการรับ การสง่ั สอนอบุ ายธรรมจากองคท์ า่ น กจ็ ะแวะเวยี น มากราบเรียนถามกับองค์ท่าน แล้วก็กลับไป ภาวนาเอง เมอื่ ตดิ ขดั อนั ใดในการภาวนา คอ่ ยมา กราบเรียนถามกับองค์ท่านอีกครั้ง เป็นเช่นนี้ เสมอๆ ดังน้ัน ข้อวัตรปฏิบัติที่พระภิกษุสาย กรรมฐานขององคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต จงึ อาจจะ กล่าวได้ว่า ส่วนมากได้จากการมาอาศัยในร่ม พระบารมขี ององคท์ า่ นในยคุ วดั ปา่ หนองผอื นาใน และถือปฏิบัติเป็นธรรมเนียมของพระสาย วิปัสสนากรรมฐานปา่ มาจวบจนปัจจบุ ันนี้ ซ่ึงใน ทน่ี พ้ี อจะรวบรวมขอ้ วตั รปฏบิ ตั แิ ละปฏปิ ทาทเี่ ปน็ แนวทางพาด�ำ เนนิ ขององคพ์ อ่ แมค่ รอู าจารยใ์ หญ่ มั่น ภูริทัตตมหาเถระ โดยรวบรวมจากหนังสือ และถอดจากเสยี งกณั ฑเ์ ทศนข์ ององคห์ ลวงปหู่ ลา้ เขมปตั โต ผซู้ ึ่งเคยเป็นพระอุปฏั ฐากอยา่ งใกลช้ ิด ขององคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต ในยคุ บา้ นหนองผอื นาใน ไดค้ ร่าวๆ ดังน้ี ๒๐

กิจวัตรและข้อวัตรปฏิบัติต่อองค์หลวงปู่มัน่ ภรู ิทัตโต ๑. องคพ์ ่อแมค่ รูอาจารยใ์ หญ่มนั่ ภรู ิทัตโต องคท์ า่ นจะต่ืนประมาณตี ๓ เพอ่ื ลุกขึ้นมาทำ� ภารกจิ ส่วนตวั ประจ�ำ วนั ตา่ งๆ เชน่ ล้างหนา้ แปรงฟนั พอท�ำ ภารกจิ สว่ นตวั แล้วเสร็จ องคท์ ่านกจ็ ะ สวดมนต์ทำ�วัตรเช้าอยู่ภายในกุฏิ การสวดมนต์ขององค์ท่านจะสวดอย่างเงียบๆ และจะใช้เวลา สวดมนต์ประมาณ ๒ ช่ัวโมง เปน็ อยา่ งน้อย ๒. หลงั สวดมนต์ องค์ท่านจะลงเดนิ จงกรม จนไดเ้ วลาบิณฑบาต จึงจะออกบิณฑบาตไปในหมู่บ้าน โดยในระหว่างท่ีองค์ท่านเดินจงกรมนั้น พระอปุ ฏั ฐากทมี่ หี นา้ ทรี่ บั บาตร กจ็ ะไปรบั เอาบาตร เอากาน�้ำ ทอ่ี ยภู่ ายในกฏุ ิ ขององค์ท่านมาวางไว้ ณ หอฉัน ส่วนพระอุปัฏฐากองค์อื่นๆ ก็จะทำ�หน้าที่ ของตนเอง โดยไม่ก้าวก่ายหน้าท่ีของกันและกัน เช่น บางองค์เทกระโถน บางองคท์ �ำ ความสะอาดหอ้ ง ทน่ี อนขององคท์ า่ น เปน็ ตน้ การท�ำ กจ็ ะท�ำ อยา่ ง เงยี บๆ และรวดเรว็ คลอ่ งแคลว่ หากพระองคไ์ หนอาพาธ ไมส่ ามารถมาปฏบิ ตั ิ หน้าท่ีได้ หรือไม่ลงฉันเพราะอดอาหาร เพ่ือต้องการการปฏิบัติภาวนาให้ ต่อเน่อื ง หรือด้วยเหตอุ ่นื เชน่ เจ็บปว่ ย อาพาธ กจ็ ะตอ้ งแจง้ หม่เู พื่อนพระ เอาไว้ให้ทราบก่อน เผ่ือเวลาองค์ท่านถาม จะได้กราบเรียนตอบได้ถูกต้อง วา่ องค์ไหนไปไหน ทำ�อะไร อยา่ งไร มใิ ช่หายไปเฉยๆ โดยไมบ่ อกกล่าวใคร ๒๑

โดยปกติเร่ืองการดูแลในกุฏิ องค์ท่านจะปัดกวาดดูแลเองอยู่แล้ว แต่ด้วยความเอ้ือเฟ้ือ เพ่ือให้พระ เณร ได้ศึกษาเรียนรู้ ถึงการปฏิบัติหรือรับทราบถึงขนบธรรมเนียมของพระสายกรรมฐาน ท่ีลูกศิษย์ต้องปฏิบัติต่อครู ต่ออาจารย์ด้วยความเคารพ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นกุศโลบาย ท่ีสามารถลดทิฏฐิมานะของพระลงได้ สิ่งสำ�คัญท่ีองค์ท่าน เนน้ มาก คอื การรกั ษาความสะอาด ความเปน็ ระเบียบ สง่ิ ของอันใดที่องค์ทา่ นวางไวต้ รงไหนแลว้ เมื่อท�ำ ความสะอาด เสรจ็ ตอ้ งวางไวท้ ่ีเดมิ ห้ามเคล่อื นย้ายเปลีย่ นทโ่ี ดยเด็ดขาด ๓. พระองค์อ่ืนๆ ที่มีหน้าที่เตรียมศาลา ปัดกวาดหอฉัน เตรยี มอาสนะ กาน�้ำ กจ็ ะเตรยี มไวต้ ามหนา้ ที่ การท�ำ ขอ้ วตั รจะตอ้ งท�ำ แบบ เงียบๆ ไม่เสียงดัง ไม่คุยกัน ไม่สนทนากันถ้าไม่จำ�เป็น เพราะขณะทำ� ข้อวัตร ต่างองค์ก็จะต่างภาวนาไปด้วยในขณะทำ�ข้อวัตรน้ันๆ โดยใน สมยั นนั้ ยงั ใชก้ ระบอกไมไ้ ผท่ �ำ เปน็ กระโถนอยู่ ทง้ั วดั มกี ระโถนทองเหลอื ง อย่ใู บเดียว๔น.่ันเคมืออ่ื ไขดอ้เงวพล่อาอแรมุณค่ อรอูอกาจบาิณรยฑใ์ บหาญตม่ อนั่ งคห์ ลวงปจู่ ะหม่ จีวรซอ้ น ผ้าสังฆาฏิทุกคร้ัง ยกเว้นไว้ในวันที่ฝนตก ฟ้าคร้ืม ก็จะห่มเฉพาะจีวร ช้นั เดียวไม่ซอ้ นผ้าสังฆาฏิ ซ่งึ จีวรและผ้าสังฆาฏิขององค์ทา่ น จะติดรงั ดุม ไว้ทงั้ ดา้ นบนและด้านล่าง เพอื่ สลบั กันหม่ ข้นึ ลงในแต่ละวัน เพ่ือเปน็ การ ถนอมผา้ ใหใ้ ชไ้ ดน้ านมากขนึ้ พระอปุ ฏั ฐากองคท์ ชี่ ว่ ยหม่ ผา้ ตอ้ งมสี ตจิ ดจ�ำ ว่าวันไหนเอ๕า.ด้ากนาไรหเนดขินน้ึ บิวณันฑถบดั ามตาตพอ้ รงะสสลงับฆเป์จละเี่ยดนินดเ้ารนียขงน้ึแลถงวใอหอ้ถกูกไตป้อรงับ บิณฑบาตในหมู่บ้าน โดยเดินเรียงตามอายุพรรษา จากมากไปหาน้อย องค์หลวงปู่มั่นองค์ท่านจะให้ความสำ�คัญกับข้อการบิณฑบาตเป็น อย่างมาก เมื่อขณะแข็งแรงองค์ท่านจะเดินบิณฑบาตไปในหมู่บ้าน เม่ืออ่อนกำ�ลังลงมา องค์ท่านก็จะไปบิณฑบาตใกล้บริเวณชายบ้าน ขยับเข้ามาอีกก็จะออกบิณฑบาตบริเวณหน้าวัด เมื่ออ่อนแรงลงอีกก็ บิณฑบาตหน้าศาลาหอฉัน จนองค์ท่านอ่อนแรงมาก ค่อยวางบาตรบน ศาลาและฉนั พรอ้ มหมพู่ ระในศาลา ๖. ขณะเดนิ บิณฑบาต พระสงฆจ์ ะไมพ่ ูดคยุ กัน ใหส้ ำ�รวมกาย วาจา และบรกิ รรมภาวนาไปในตัว เพราะหาก พูดคุย อาจกระเทือนถึงพระบางองค์ท่ีท่านกำ�ลังภาวนาอยู่ การหยุดรับอาหารจากญาติโยม ก็จะหยุดยืนรับอาหาร ด ว้ ยอาการ๗สำ�ร.วมในยุคนั้นชาวบ้านหนองผือนาใน เวลาจะใส่บาตร จะปูผ้าขาวเรียบวางเป็นแนวยาว ตามริมถนนและ นั่งเรยี งกันเป็นระเบยี บ พอใส่บาตรเสรจ็ โยมจะนั่งเรียงกนั รับพรพรอ้ มกัน โดยพระภกิ ษุทีเ่ ขา้ ไปบณิ ฑบาตในหมูบ่ ้าน องค์ท่านจะให้แบ่งออกไปบิณฑบาตเป็น ๓ สาย เสร็จแล้วแต่ละกลุ่มแต่ละสายก็จะเดินกลับเข้าวัดด้วยอาการสำ�รวม ไม่เดินคุยกัน หรือเดินเรียงแถวหน้ากระดาน ส่วนองค์หลวงปู่ม่ันจะเดินกลับเข้าวัดเป็นองค์สุดท้ายพร้อมกับพระ ตดิ ตามเพ่ือ๘ชว่.ยภถาอื ยรใบันบวัดาตจระชม่วีโยยมองผค้ชู ท์าย่านมเาพรอียรงบั ๑บาอตงครพ์ ระเถระ และจะมาวนั ละ ๔-๕ คน ไม่ขาด ๙. พระผูม้ พี รรษาน้อย ทีก่ ำ�ลงั ถอื นสิ ัยอยู่ และสามเณร ต้องรีบเดนิ กลบั ใหถ้ ึงวัดกอ่ นพระเถระ เพอ่ื จะไดท้ ันรับใช้ข้อวัตรครูบาอาจารย์ เช่น ลา้ งเท้า เชด็ เทา้ ก่อนท่ีพระเถระจะเข้าศาลา พร้อมรับผ้าสังฆาฏิ ผ้าจีวรไปตากผึ่งแดดไว้ หรือช่วย เตรยี มอาหารใส่ลงในบาตรของพระเถระ ๒๒

๑๐. ในฤดเู ขา้ พรรษากาล พระสงฆ์และสามเณร เม่ือเดินเข้าเขต วัดแล้ว จะไม่รับอาหารที่ตามมาใส่บาตรอีก ด้วยว่าเป็นธุดงควัตรที่พระได้ สมาทานปฏ๑ิบ๑ตั ไิ.วกแ้ าลรว้จดั ซแ่ึงตชาง่ วอบาหา้ นารจละงทใรนาบบาขต้อรปขฏอิบงอตั งอิ คันห์ นลด้ี วีงปู่ ใหส้ งั เกตดจู รติ ขององค์ท่าน วา่ ฉนั อาหารประเภทไหน ฉนั ผักประเภทไหน วนั ไหนองคท์ า่ น ฉันได้มากได้น้อย แล้วธาตุขันธ์องค์ท่านเป็นอย่างไร เหมาะสำ�หรับอาหารที่ จัดถวายหรือไม่ บางองค์ก็จะจัดอาหารใส่ภาชนะเพ่ือถวายองค์ท่าน โดยวาง ไวข้ ้างๆ อง๑ค์ท๒า่ .นพแรละ้วสแงตฆอ่์ เงมคอ่ื ์ทจา่ดั นอจาะหเาลรอื ใกสพบ่ จิาตารรณตนาอเอางหเาสรรใจ็ สตบ่ อ้าตงชรว่เอยงกนั แจก อาหารใส่ในบาตรของพระองค์อ่ืนด้วย โดยแบ่งปันอาหารแก่กันโดยเอื้อเฟื้อ หากองค์ไหนไม่รับอาหารท่านจะปิดฝาบาตรไว้ แล้วเอาผ้าวางทับไว้ด้านบน ซง่ึ จะเป็นอนั รูก้ ันวา่ องคน์ ั้นทา่ นถอื ธดุ งค์ ขอ้ ทฉ่ี ันอาหารเทา่ ทบี่ ณิ ฑบาตมาได้ เท่าน้ัน หมู่พระก็จะไม่แจกอาหารใส่ในบาตรของท่านองค์นน้ั ๑๓. การขบฉนั อาหาร องคท์ า่ นจะฉันอาหารท่ีเอารวมกันลงในบาตร ทงั้ อาหารหวานคาว ไมใ่ ชช้ อ้ น แตใ่ ชม้ อื ทส่ี ะอาดหยบิ อาหารฉนั และฉนั ดว้ ยอาการ สำ�รวม สำ�หรับโอวัลตินท่ีชง จะใส่ไว้ในแก้วท่ีไม่ใหญ่มากนัก ใส่พอครึ่งแก้ว มีฝาปิดไว้ พอฉันอาหารอ่ิมพอประมาณ องค์ท่านจะด่ืมโอวัลตินตาม ราวๆ ๓-๔ กลนื เ๑ทา่๔น.น้ั กอ่ นลงมอื ฉนั อาหาร พระสงฆจ์ ะใหพ้ รเปน็ พธิ พี รอ้ มกนั หลงั จาก ท่อี งคท์ ่านพ๑า๕นำ�.สวกด่อแนลลว้ งมแือลฉะกันาอราใหหา้พรรจนะ้ันทอองดคสท์ าา่ ยนตไามลไ่ งดพป้ จิ ราะรนณมามออื าใหหาพ้รใรนบาตร สกั ครู่ เพือ่ พจิ ารณาว่าอาหารต่างๆ นัน้ ล้วนเกดิ มาจากธาตุ ๔ คือ ดนิ น�้ำ ไฟ ลม ประกอบกันขึ้นมา และพิจารณาว่าอาหารนั้นเม่ือเคี้ยวและกลืนลงไปไม่นาน ก็จักกลายเป็นสิ่งปฏิกูลน่ารังเกียจ การพิจารณาเช่นนี้ ก็เพ่ือเป็นอุบายให้เห็น ตามความจริง และขบฉันอาหารเพ่ือพอประทังชีวิต ไม่ติดในรสชาติของอาหาร ถ้าพระเณรองค์ไหนยังจัดแจงของลงในบาตรของตนยังไม่เสร็จ องค์ท่านจะไม่ ลงมือฉันก่อน ขณะฉันองค์ท่านจะไม่กล่าวไม่พูดอันใดข้ึนมา ถ้าหากจำ�เป็นต้อง พดู จรงิ ๆ องค ์ท่านจะกล๑ืนค๖�ำ .ข้ากวากรอ่ฉนนั แอลาห้วจางึรพในูดวัด พระสงฆ์จะชว่ ยกันแจกอาหาร ที่ได้มาจากการบิณฑบาต และแบ่งจัดสรรอาหารลงในบาตรของ องคอ์ ื่นๆ อย่างเท่าเทียมกนั การฉันอาหารจะไม่ฉนั อิม่ เกนิ ไป ไมฉ่ นั จุบจิบ ไม่ฉ๑นั เ๗สีย.งดเังมื่อองค์หลวงปู่ฉันเสร็จแล้ว ถ้าหากองค์ท่านจะ เขา้ สว้ ม พระสงฆจ์ ะตอ้ งเตรยี มน�้ำ ใสแ่ กว้ ไวใ้ หก้ อ่ น พรอ้ มกบั ยน่ื ถวาย องค์ท่านดว้ ยทั้ง ๒ มอื ด้วยอาการเคารพ เมอ่ื องค์ท่านท�ำ ธุระเสรจ็ ก็จะเข้ากุฏิ เพ่ือภาวนาเฉพาะองคท์ า่ น สว่ นพระสงฆอ์ งค์อ่นื ๆ ก็ชว่ ย กนั ปดั กวาดศาลาและรบี ลา้ งบาตร เช็ดบาตร และรีบกลับเขา้ กฏุ ขิ อง แตล่ ะองค์ เพอื่ เดนิ จงกรมภาวนา ซงึ่ ถอื เปน็ งานส�ำ คญั ของพระธดุ งค กรรมฐาน ๒๓

๑๘. เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น. องคท์ า่ นจะลงจาก กุฏิเพ่ือเปล๑ย่ี น๙อิร.ยิ าเบวถลาประมาณบ่าย ๔ โมงเย็น พระสงฆ์ จะชว่ ยกนั กวาดลานวดั พรอ้ มกนั เวน้ แตอ่ งคไ์ หนปว่ ยหรอื เปน็ ไข้ หรือมีกิจจำ�เป็นอย่างอ่ืน เม่ือกวาดเสร็จก็จะช่วยกันหาบ น�้ำ ฉันน้�ำ ใช้ ใหเ้ ต็มตุ่มเตม็ ไห ใหค้ รบทั้งสำ�นัก ซึง่ ปกติจะตก ราวๆ ประมาณวันละ ๔๐ ปี๊บ (ถา้ วนั ไหนมีแขกหรือเปน็ วนั ซกั ผา้ วันยอ้ มผ้า ก็อาจจะต้องตกั มากกว่านั้น) ๒๐. เมอ่ื เสรจ็ จากการกวาดเกบ็ ในวดั แลว้ พระ เณรกจ็ ะพรอ้ มใจกนั ไปชว่ ยสรงน�้ำ องคห์ ลวงปู่ เพราะถอื เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งหนง่ึ ของพระสายธดุ งคกรรมฐาน ดว้ ยเหตเุ พอื่ แสดงถงึ อาจรยิ วตั ร และประกอบกบั ดว้ ยอายขุ ององคท์ า่ น ซ ึ่งอยูใ่ นวยั ๒๒ชร๒๑าภ..าพเขมอ้ ่อื วสตั รรงทน่ีท้ำ�อำ�ถงวคาท์ ยา่ อนงเคสท์ร็จา่ นแนตน้ั ล่ ะไอมง่ใคห์จเ้ ปะกลลีย่ ับนไกปันสทร�ำ งนใค�ำ้ ทรเี่กคฏุ ยิตทนำ�เแอผงนไมก่รไวหมนกกันต็ ส้อรงงทน�ำ �้ำแทผบ่ี นอ่ กนน�้ำ ้นั เป็นประจำ� ไม่กา้ วกา่ ย๒กนั ๓ส.ว่ นกขาร้อปวัตระรชรมุวมกอนั ่นืขอๆงพเปรน็ ะอสงีกฆอท์ยกี่า่ งฏุ อิองนั คนห์ ัน้ ลพวรงะปสู่ องฆงคท์ ท์ัง้ สา่ นำ�นจักะเตปอ้ น็ งผชนู้่วยดั กโนัดทย�ำไมไ่ ดก้ �ำ หนดกฎเกณฑอ์ ะไรเมอ่ื มหี มพู่ ระสงฆ์มาพรอ้ มเพรยี งกัน องคท์ า่ นกจ็ ะเทศนเ์ ลย และส่วนมากจะเปน็ การถามตอบกนั ในเร่อื งด้านการภาวนา ๒๔. กิจกรรมท่ีพระสงฆ์ทุกองค์ทำ�เป็นปกติ คือ หลังสรงนำ้� จะเดินจงกรมจนถึงเวลาประมาณ ๑ ทุ่ม พระสงฆ์ก็จะเร่ิมทยอยกันไปท่ีกุฏิ องค์ท่าน เมื่อพระมาพร้อมเพรียงกัน ก็จะเริ่มประชุมจนถึงเวลาประมาณ ๔ ทมุ่ การขน้ึ ไปประชมุ ทก่ี ฏุ อิ งคท์ า่ น เมอ่ื พระสงฆข์ น้ึ ไปถงึ บนกฏุ อิ งคท์ า่ นแลว้ ก็จะก้มลงกราบ แล้วนั่งพับเพียบเรียบร้อยสงบอยู่ของแต่ละองค์ไม่พูดคุย จอแจกัน ๒๕. การเทศน์ องค์ท่านจะเทศน์ตามอิสระขององค์ท่าน เช่น เทศน์เร่ืองทาน ศีล ภาวนา หลวงปู่ม่ันเทศน์จากต่ำ�ไปหาสูง เทศน์จากสูง ลงมาหาต่ำ� สลับไปสลับมา เทศนใ์ นเรอ่ื งของสมาธิ ถา้ ตดิ อยู่ในสมาธิเลยสอน ใหว้ จิ ารณ์ถา้ วจิ ารณ์มันจะฟุ้งซ่านมาก กส็ อนใหส้ งบในสมาธิ พลกิ ไปพลกิ มา สาวไปสาวมา คล้ายการชกของนักมวย ที่มีการถอยออกถอยเข้าอยู่อย่างนั้น หลังจากองค์ท่านจบการเทศนา พระสงฆ์ก็จะช่วยกันนวดเส้นถวายองค์ท่าน แ ลว้ แยกยา้ ๒ยก๖ัน.กลกับารกรฏุ บั ขิ แอขงกแขตอ่ลงะอองงคคห์ ์ เลพวอ่ื งทปำ�่มู ค่ันวาภมรู เทิพตัียโรตตอ่ ในการปฏิสนั ถาร ประจ�ำ วนั จะไมแ่ นน่ อน เชน่ หลงั ออกจากฏุ อิ งคท์ า่ นจะรบั แขกประมาณ ๕ นาที แลว้ รบี ลงเดนิ จงกรม หรอื หลงั จากฉนั เชา้ ถา้ องคท์ า่ นออกจากหอ้ งน�้ำ แลว้ กจ็ ะ รับแขกท่กี ฏุ ิ ใช้เวลาไมเ่ กิน ๑๐ นาที ส่วนการรับแขก ตอนบา่ ย ๓ นั้น องค์ท่านจะใชเ้ วลาไมเ่ กนิ ๒๐ นาที เพราะองคท์ า่ นเนน้ ใหพ้ ระสงฆป์ ฏบิ ตั ภิ าวนา ประกอบ กับอุปนิสัยขององค์ท่านท่ีรักสันโดษ ไม่ชอบระคน ด้วยผู้คน ๒๔

ขอ้ วัตรรวมหรือขันธวัตร ๑๔ ของพระเณร ในยุควัดปา่ บ้านหนองผือนาใน อำ�เภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ๑. การประชุมกันของพระสงฆ์ในสำ�นัก องค์หลวงปู่มั่นท่านจะนัดประชุมเอง ในช่วงปีแรกๆ (ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๘) ก็จะประมาณ ๒-๓ วนั คร้ัง ปีตอ่ มาก็ประมาณ ๕-๗ วันต่อครัง้ บ้าง ช่วงปีหลงั ๆ องค์ท่านชราภาพไปมาก ทา่ นพระอาจารยม์ หาบวั ญาณสมั ปนั โน ซง่ึ เปน็ พระเถระผมู้ พี รรษามากทส่ี ดุ รองจากองคห์ ลวงปมู่ น่ั องคท์ า่ นกจ็ ะบอกวา่ ประชุมห่างออกราวๆ ๑๐ วนั ครง้ั หรือ ๑๕ วนั ครง้ั เป็นต้น เพื่อการประชุมสงฆจ์ ะไมไ่ ด้รบกวนธาตุขนั ธ์ขององค์ทา่ น มากจนเกนิ ๒ไป. พระสงฆ์รปู ไหน ท่ีจะเข้าไปศกึ ษาอยูก่ บั องคท์ ่าน องคท์ ่านจะเป็นผู้พจิ ารณาเอง หากไม่นา่ รบั กไ็ ม่รบั ไว้ แม้จะมีกุฏิว่างก็ตาม หรือหากแม้องค์ท่านรับไว้ศึกษาปฏิบัติแล้ว หากมีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม องค์ท่านก็ไล่ออก จ ากวัดเลย๓ในว.ันในนว้ันนั กพ็มรี ะใหญท่ สี่ �ำ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา เชน่ วนั วสิ าขบชู า วนั มาฆบชู า หรอื วนั สารท หรอื วนั พระใหญ่ อน่ื ๆ ท่สี ำ�ค๔ัญ.ๆกอางรคสท์วดา่ นมกนจ็ ตะ์เพชา้าพ-ุทเยธ็นบรอษิ งทั คส์ท่ีใ่านนสใงั หค้สมวนดัน้ เๆองปทฏ่ีกิบุฏตั ิขติ อางมแปตร่ละเะพอณงคี ์ โดยไม่ให้สวดเสียงดังกระเทือนกัน จะสวดนอ้ ยสวดมากแลว้ แต่อสิ ระของแต่ละคนแต่ละท่าน แต่สำ�หรบั องคท์ า่ นนนั้ ปรารภว่าให้เนน้ การภาวนาเดินจงกรม เป็นหลัก ส่วนในวันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา องค์ท่านจะนัดพระสงฆ์ในสำ�นักมาสวดพร้อมกันกับญาติโยม ส่วนวัน เขา้ พรรษา-๕อ.อกกาพรรสรรษ้าางเวสันนลางสอนโุ ะบใสนถสำ�จนะักสวใดนรยวคุ มวกดั นั ปเ่าฉบพ้าานะหพนรอะสงผงฆือเ์นทาา่ ในนนั้ อไงมคร่ ท์ วา่ มนญจาะตไมโิ ยช่ มอบให้กอ่ สร้างหรหู รา ทำ�พอ ได้พักอาศัย กฏุ ทิ ส่ี รา้ งจะมีขนาดเลก็ มุงด้วยฟาก สว่ นขนาดของศาลาหอฉัน ขนาดจะกวา้ ง ๖ เมตร ยาว ๘ เมตร มีกุฏิ ไม่กี่หลังที่ทำ�จากไม้ แต่ก็ทำ�แบบไม่หรูหรา เช่น กุฏิองค์หลวงปู่ กุฏิหลวงตามหาบัว กุฏิท่านอาจารย์วัน เป็นต้น ท่ีเหลือนอกน้ัน จะเป็นกุฏิมุงด้วยฟาก และฝาแถบทำ�ด้วยใบตองกุง ซ่ึงเป็นใบไม้ป่าชนิดหนึ่ง ใบจะมีขนาดใหญ่ ค ลา้ ยใบตน้ ๖ส.ัก นำ�มาวางเรียงซ้อนกนั ทับเปน็ ฝากุฏไิ ด้ดี งานประจำ�ปีทพ่ี ระเณรตอ้ งทำ�ชว่ ยกันท�ำ คอื ทุกเดือนกมุ ภาพันธ์ของทกุ ปี จะช่วยกนั ซ่อมแซมกฏุ ิ ศาลา หาหญา้ มาท�ำ ฟาก หาฟืนมาไวใ้ นโรงต้ม เป็นต้น ๒๕

๗. การทำ�งานร่วมกันของหมู่พระสงฆ์ หา้ มทำ�ดว้ ยเสียงอึกทึก รีบท�ำ รบี เสรจ็ สว่ นวสั ดุสิง่ ของท่ีใช้แลว้ หรือ ง านท่ที ำ�ยงั ๘ไม.่เสกราจ็ รรหกั รษอื าทค�ำ วเสามรจ็สแะลอ้วาดใขหอร้ งบี เสเกนบ็ าเสขนา้ ะทใ่ี กหุฏเ้ ปิ ศน็ าทลี่เาปน็โรทงาฉงันไมโร่เงชตน่ ้มน้นั แอลงะคท์ทกุ า่ ๆนจทะ่ภีเกาบ็ยใเอนาวมัดาเหทอ้ ศงนน์ใ้�ำ นวหนั อ้ ถงัดสว้ไปม อ งคท์ า่ นเน๙้นม.ากกาทรง้ั รคักวษาามคสวะาอมาดสงแบลสะคงัดวาใมนเวปัด็นรอะงเบค์ยีทบ่านเรเยีนบ้นรมอ้ ายก ไม่ให้ทำ�งานหรือทำ�เสียงอึกทึก ครึกโครม ไม่ให้ เกล่อื นกล่นระคนกัน หรือน่งั พูดคยุ กันในเร่อื งทางโลก หากองคท์ า่ นไดย้ นิ พระองค์ไหนพูดเรื่องสกิ ขาลาเพศ องค์ท่าน จ ะไล่หนจี า๑กส๐ำ�น.ักกเลายรอทยนั ู่ดท้วี ยกันของหมู่พระ เณร ให้อยู่กันด้วยความสามัคคีปรองดอง พร้อมเพรียงกัน หากมีเร่ือง ทะเลาะเบา๑ะแ๑ว้ง.ไกมาล่ รงชรว่ อยยกกนั ันท�ำกง็ตาน้องรรว่ บีมกพนัดู ขจอางกหนั มใหพู่ ล้รงะตเณวั รไม(เ่ใรหยี ้กกรขะนั ทธบวกตั รระ๑เท๔อื )นเชถน่งึ อองาคค์ทนั า่ ตนกุ วตั ร อาวาสกิ วตั ร เสนาสนะ วัตร วจั จกุฎีวัตร อาจริยวัตร เปน็ ตน้ เหล่านี้องค์ท่านไดก้ �ำ ชบั ให้หม่พู ระ เณร ท�ำ ชว่ ยกนั ด้วยความพร้อมเพรียง และ สงบสงัด รีบท�ำ รบี เสรจ็ แลว้ รบี ไปเดินจงกรมภาวนา การถือธุดงควัตรขององค์หลวงปูม่ ัน่ ภรู ิทัตตมหาเถระ ธุดงควัตรถือเป็นข้อปฏิบัติที่เคร่งครัดสำ�หรับพระสงฆ์ ท่ีพระบรมศาสดาทรงบัญญัติ เพิ่มเติมขึ้นมาอีกลำ�ดับหนึ่งจากพระวินัย ๒๒๗ ข้อ เพ่ือว่าจะได้ใช้ขัดเกลากิเลสของพระสงฆ์ ทำ�ให้พระสงฆ์เกิดความมักน้อย สันโดษ พอใจในสิ่งที่ตนเองมี ตนเองได้ ไม่แสวงหาลาภยศ ไม่เป็นกังวลกับทรัพย์สินเคร่ืองอยู่อาศัยภายนอก ไปง่ายมาง่าย แต่การถือธุดงค์น้ันองค์ท่าน มิได้บังคับว่าองค์ไหนจะถือหรือไม่ถือธุดงค์ และจะถือก่ีข้อก็ข้ึนอยู่กับความสมัครใจของพระ แต่ละองค์ เพราะธดุ งควัตรแตล่ ะข้อ จะมผี ลเพื่อลดกิเลสไดแ้ ตกตา่ งกนั องค์หลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต ถือได้ว่าเป็นพระปรมาจารย์ใหญ่สายกรรมฐาน ที่เคร่งครัด ในพระวินัยและในธุดงควัตรเป็นอย่างมาก อันเป็นท่ีรู้จักกันดีในวงพระสายวิปัสสนากรรมฐาน สำ�หรับองค์ท่านแล้ว เป็นผู้พาดำ�เนินถือธุดงควัตร ๑๓ ข้อ ได้อย่างน่าเลื่อมใสเป็นท่ีสุด ซึ่งเป็น ท่ีทราบกันดีว่า องค์ท่านสมาทานถือธุดงควัตรท่ีสำ�คัญเฉพาะองค์ท่านประมาณ ๕- ๖ ข้อ และ กถ็ อื ปฏิบัติได้ตลอดชวี ติ ขององคท์ ่านเลย อันไดแ้ ก่ ๑. การอาศยั อยใู่ นปา่ อาศยั ใตโ้ คนตน้ ไม้ ตามถ�ำ้ ภเู ขา เงอ้ื มผา เปน็ วตั ร การถอื ธุดงควัตรขอ้ นีข้ ององค์ท่าน จะเห็นไดช้ ดั เจนมาก ซงึ่ เห็นได้จากการท่ี องค์ท่านไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง แต่จะจาริกไปตามภูเขาลำ�เนาไพร ตั้งแต่เริ่มออกบวช จวบจนวาระสุดท้ายขององค์ท่าน องค์ท่านจะจาริกไปทั้งทางภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือของไทย นอกจากน้ันองค์ท่านยังจาริกธุดงค์ไปยังแถวประเทศเพื่อนบ้าน ใกลเ้ คียง เชน่ แถบรมิ ฝ่ังแมน่ �ำ้ โขงประเทศลาว พม่า และองคท์ ่านไปท่ีไหนจะไม่มีการ สร้างวัดหรือถาวรวัตถุเลย แต่บางสถานท่ีองค์ท่านกลับพาคณะศิษยานุศิษย์ร่วมกัน ปฏิสังขรณ์ส่ิงโบราณสถานอันชำ�รุดทรุดโทรม ให้กลับมาเป็นท่ีเคารพกราบไหว้แด่ อนุชนรุ่นหลังได้เป็นอย่างดี ดังเช่นการปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม อำ�เภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เป็นต้น ซึ่งในขณะน้ันองค์ท่านได้ร่วมกับองค์หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล เพ่อื พาคณะศษิ ยานศุ ษิ ยไ์ ดช้ ว่ ยกนั ซ่อมแซม ๒๖

๒. การถอื บณิ ฑบาตเป็นวัตร ธดุ งควตั รขอ้ น้ี องคท์ า่ นถอื อยา่ งเขม้ งวดมาก แมใ้ นวยั ชราภาพหรอื เจบ็ ปว่ ยไมม่ ากกจ็ ะพยายามออกบณิ ฑบาต เลี้ยงชีพ ดงั จะเห็นได้ว่าแมส้ ังขารองค์ท่านจะชราภาพมาก องค์ทา่ นยังพยายามออกบณิ ฑบาต โดยยน่ ยอ่ เขา้ มาเรอื่ ยๆ ต้ังแต่เข้าไปบิณฑบาตในหมู่บ้าน แถวเขตบ้าน หน้าวัด และย่นย่อเข้ามาหน้าศาลาโรงฉัน จนกระท่ังตั้งบาตรบนศาลา แล้วให้ญาตโิ ยมนำ�ภตั ตาหารมาใส่ในบาตรขององคท์ า่ น สิง่ เหลา่ นี้เป็นการแสดงออกถงึ จรยิ วตั รอันงดงามขององคท์ า่ น ให้พระลกู พระหลานได้ถอื เป็นตัวอย่าง ๓. การฉนั ในบาตรเป็นวัตร การฉนั อาหาร องคท์ า่ นจะเทอาหารหวานคาวรวมกนั ลงในบาตร ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ การฉนั ในบาตรแบบอกุ ฤษฏท์ สี่ ดุ โดยพจิ ารณาอาหารใหเ้ ป็นสิ่งปฏิกลู ไม่ตดิ ในรสชาติของอาหาร และการฉนั ก็จะฉนั พอประมาณ ไม่ฉนั จนอม่ิ จนเกินไป ส่วนนมหรือโอวลั ติน องคท์ ่านจะฉันตามหลงั ตอนฉันอาหารเสร็จแลว้ และจะฉันโอวลั ตินตามแค่ ๒-๓ กลืนเท่านน้ั ๔. ฉันอาหารมื้อเดียวเปน็ วตั ร ข้อนี้ถือว่าพระธุดงคกรรมฐานทุกองค์ ต้องกระทำ�ให้ได้ แม้เวลาออกจาริกธุดงค์เดินป่าเดินเขา ไม่มีอาหารให้ฉัน ก็ต้องอดมื้อ กินมอื้ และอดทนต่อความอดอยาก เม่ือมีอาหารฉนั องคท์ า่ นกจ็ ะฉนั แต่ พออ่ิม ไม่ได้ฉันจนเกินเลย นอกจากนี้ถ้าจะถือเคร่งเข้าไปมากกว่านั้น คือการฉันอาสนะเดียว นั่นคือเม่ือเร่ิมลงมือฉันแล้ว หากมีเหตุให้ต้อง ลกุ ออกจากอาสนะ องคท์ า่ นกจ็ ะลกุ ออกไปเลย แมจ้ ะฉนั อมิ่ หรอื ไมก่ ต็ าม ก็จะไม่กลับมานง่ั ฉนั อกี ๕. ถือผา้ บงั สกุ ลุ จีวรเปน็ วัตร การถอื ธดุ งควัตรขอ้ น้ี องคท์ ่านจะใชผ้ ้าทเ่ี ขาใช้ ห่อศพแล้วเขาท้ิงแล้ว แล้วนำ�มาซักและย้อมด้วยน้ำ�แก่น ขนุน องค์ทา่ นมกั จะไมร่ ับผ้าจวี รท่คี นอน่ื ตดั มาถวาย และ มักจะใช้ผ้าจีวรอย่างคุ้มค่า ใช้จนเก่า หากมีรอยขาด องคท์ า่ นกจ็ ะท�ำ การปะ ชนุ เยบ็ ซอ่ มแซม ดว้ ยองคท์ า่ นเอง ๖. เมอ่ื เขา้ ในเขตวดั แลว้ ไมร่ บั อาหารทต่ี ามมา ใส่บาตร การถือธุดงควัตรข้อน้ี เพื่อว่าพระสงฆ์จะได้ พอใจในลาภภตั ตาหารเฉพาะทบี่ ณิ ฑบาตมาไดด้ ว้ ยตนเอง เท่านั้น จะได้มากได้น้อยก็พอใจเท่าที่ตนเองบิณฑบาต มาได้ ซง่ึ จะชว่ ยขจดั กิเลสตวั โลภมากออกไปได้งา่ ยขึ้น ในส่วนข้อธุดงค์อื่นๆ น้ัน องค์ท่านให้เลือก ปฏิบัติเอาเองตามแต่ความสมัครใจของพระแต่ละองค์ ท่ีจะเลือกปฏิบัติเอาตามจริตนิสัยของตนเองเพ่ือดัดนิสัย ของตนให้เป็นผมู้ ีกเิ ลสทเี่ บาบางลง ๒๗

ข้อถือปฏิบัติอืน่ ๆทีอ่ งค์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตพาดำ�เนิน ข้อวัตรปฏิบัติดังต่อไปน้ี ไม่ใช่ธุดงควัตร แต่ถือว่าเป็นครรลองท่ีองค์หลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต พาดำ�เนิน ซงึ่ มดี ังต่อ๑ไป.น้ี เช่น การรับพระสงฆ์ที่จะเข้ามาศึกษาเรื่องวิปัสสนากรรมฐานกับองค์ท่านน้ัน ต้องเป็นผู้เอาจริงเอาจัง ไม่ท�ำ เล่น ตอ้ งเกง่ ท้งั ข้อวตั รภายนอก (ทำ�กิจการงานเก่ง ขยนั ) และทั้งข้อวัตรภายใน (การปฏบิ ตั ภิ าวนา) หากองคท์ า่ น สอบถามเร๒ื่อง.กใานรวปดั ฏยบิ คุ ัตหภินาอวงนผาอื แนลา้วในไมอไ่ งดคเ้ ทร์ ือ่า่ นงไอมงร่ คบั ์ทแา่มนช่ ตี แอ้ มงข่ เาขว่น(เผปหู้น็ ญอยงิ ทา่ นง่ี มงุ่ หากม่ ชหดุ าขกาเวหหลรอื อื วเสิสอัย้ื ขอางวคผท์ า้่าถนงุ กดไ็�ำ ลแห่ ตนไ่ ีจมาโ่ กกนสผ�ำ นมัก) ไวศ้ กึ ษา หรอื พ�ำ นกั ปะปนอยภู่ ายในวดั เปน็ อนั ขาด หากบคุ คลเหลา่ นมี้ ขี อ้ สงสยั ในการปฏบิ ตั ภิ าวนา องคท์ า่ นกจ็ ะอนญุ าต ใ ห้มากราบ๓เรีย.นอถงาคม์หองลคว์ทงป่านู่มไั่นดไ้ตมา่รมับเวบลวาชทพ่ีกำ�รหะในหด้ใเคทร่านแัน้ ลเะมไื่อมห่รมับดพครำ�ะถสางมฆ์ทอง่ีบควท์ ช่าเนพก่ือ็จแะกใ้หบร้นีบหกรลือบั ลอาอรากชจกาการสมำ�นาบกั วชไว้ ในส�ำ นกั เพราะองคท์ า่ นตอ้ งการอบรมสง่ั สอนเฉพาะผปู้ รารถนาทจี่ ะบวชเพอื่ ปฏบิ ตั เิ พอื่ ความพน้ ทกุ ขอ์ ยา่ งเดยี วเทา่ นนั้ การบวชด้ว๔ยเ.หตหุผาลกอเป่ืน็นๆนอางคคหท์ รา่ือนผไู้เมปร่ ็นับผไ้าวข้ใานวสทำ�่ีถนือกั ศีล ๘ ก่อนจะบวช และต้องการมาศึกษาอยู่กับองค์ท่าน ตอนก่อน จะบวชเป็นพระนั้น องค์ท่านจะให้อยู่ถือศีล ๘ และดูอุปนิสัยใจคอก่อน เป็นระยะเวลาประมาณ ๓-๖ เดือน เป็นอย่างน้อย ถ้าดูหรือพิจารณาแล้วองค์ท่านจะเอ่ยปากอนุญาตว่า ให้ผ้าขาวคนนั้น สมควรบวชเป็นพระภิกษุได้ (แต่องค์ท่า๕นก. ไ็ ใมนไ่ ดสำ�เ้ ปนน็ักผอบู้ งวคช์ทให่าน้ ใจหะไ้ ไปมบ่อวนชุญทอ่ีาตืน่ ใหแล้ผว้้าคขาอ่ วยชมาายอ-ยหูศ่ ญึกิษง า(กอบั ุบอางสคก์ทา่ อนุบ)าสิกา ท่ีรักษาถือศีล ๘) หรือแขก ท่ีติดตามมากับพระต่างถิ่น นอนพักค้างคืนในวัด เว้นไว้แต่บางกรณี เช่น พระองค์น้ันรอนแรมมาไกลและใกล้คำ่� อ งคท์ า่ นกจ็ ๖ะอ.นเุญรื่อางตกใหาร้ครา้ ับงกสฐกั ินคหืนอลังยอ่างอฝกดื พๆรรพษอาเชช้า่วมงาทเม่ีออื่งคฉ์ทัน่าเชนา้ พแำ�ลนะักเสทรี่ส็จำ�ธนุรักะแบล้าว้นหกนต็ อ้องงรผีบืออนอากในจากจสะไำ�มน่มกั ีกไปารรับกฐิน หากศรทั ธาญาติโยมมนี ้ำ�ใจศรทั ธานำ�มาถวาย ก็จะรบั ให้พอเป็นพิธี มิให้เสียน้ำ�ใจ แตก่ ารท�ำ พธิ รี ับกฐิน กรานกฐนิ หรอื ฉลองกฐินจะไม่มี ส่วนการแจกซองขาวเร่ียไร หรือตู้รับบริจาค การบอกหวย สะเดาะเคราะห์ ถือฤกษ์งามยามดีไม่มี ในปฏิปทาข๗อง.องกคาท์รบา่ นอเกลบยญุ เรี่ยไร หารายไดเ้ ข้าวัด ไมม่ ีทั้งทางตรงและทางอ้อม ในปฏิปทาขององคท์ า่ น พิธบี วชพระ แกะหแู กะตาเบกิ เนตรพระ องค์ทา่ นวา่ มันเปน็ บาปหนัก “จะไปบวชใหท้ ่านทำ�ไม ในเม่อื พระพุทธองคท์ ่านทรงบวช ก ่อนเราอกี ๘” .องพคืช์ทผ่าักนผวลา่ ไม้ เช่น กล้วย มะละกอ ในสำ�นกั ขององคท์ ่านไม่มปี ฏปิ ทานำ�มาขาย ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม ห ากญาตโิ ย๙มอ.ยเารกื่อไงดก้ ากร็ใเหจม้็บาปข่วอยไอปากพินาไธดแ้ ลแะตม่ขรอณไปภขาาพยขอองงคพ์ทร่าะนสไงมฆอ่ ์ในนญุ สำ�านตัก องค์ท่านจะให้พระสงฆ์รูปนั้นๆ พิจารณา อาการอาพาธนัน้ ด้วยความอดทน หากจะเรยี กวา่ ฝืนก็ไม่ผิด เรยี กรักษาดว้ ยธรรมโอสถกไ็ ม่ผดิ เพราะเปน็ การทดสอบ ความอดทนทง้ั ทางกายและทางใจของพระธดุ งคกรรมฐานไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สว่ นถา้ มกี ารมรณภาพของพระสงฆภ์ ายในส�ำ นกั การเผาศพของพระสงฆ์ในวัดน้ัน องค์ท่านจะไม่ให้เก็บไว้นานเกิน ๑ วัน ดังมีตัวอย่างที่มีพระรูปหน่ึงมรณภาพช่วงใน พรรษาตอนกลางคืน พอเช้ามาฉันเช้าเสร็จ องค์ท่านก็ให้จัดการเผาในวัดในวันน้ันเลย ด้วยว่าองค์ท่านปรารภว่า ไ มม่ คี วามจ๑ำ�เ๐ป็น.อรันปู ใหดรทอื ่จี กะรเะกด็บาไษว้นทาีม่ นรี ูปขขนอางดพพรระะพพทุ ทุ ธธเอจง้าคอก์ งย็คงั ์ทท่ารนงจเกะใ็บหไค้วแ้วาคม่เพเคียางรพ๗มวานัก องคท์ ่านสอนวา่ อย่างนน้ั ทำ�ลาย ถา้ เ๑หน็๑ต.กหกรละน่ ดอายษตู่ หารมอื พหนื้ นังอสงอืคพท์ มิ่านพก์ ถ็จะ้าอเกง็บคทท์ นัา่ นทเี หน็ ตกหล่นอยตู่ ามพ้ืน จะเก็บไวบ้ นทส่ี งู ไม่เหยยี บย่�ำ องค์ทา่ นจะเกบ็ เสมอ พร้อมกับปรารภ วา่ กระดาษทกุ ชนิด สามารถจารกึ ภาษาของคำ�สอนของทกุ ศาสนาได้ ไม่ควรจะทง้ิ ขว้างไม่เปน็ ทเ่ี ปน็ ทาง ๒๘

๑๒. รูปภาพที่มีผู้หญิง องค์ท่านจะไม่ให้แขวนไว้ในท่ีสูง และไม่อนุญาตให้แขวนหรือวางไว้เสมอระดับ เ ดียวกันหร๑อื ส๓งู ก.วห่าราูปกจพำ�รเะปเน็ปท็นีจ่อะนั มขกี าาดรพิมพห์ นังสือธรรมะ องค์ท่านจะยำ�้ เสมอว่า ไม่ควรทจี่ ะใส่รูปโยมผหู้ ญงิ เขา้ ไปใน ห นงั สอื ธรร๑๑มะ๔๕น..ั้นหปเนพฏงัริปสาทะือเาธวใรลนราอมเกงะคบ็ท์ทกุเว่าเลลนาม่ทวี่เาอนงง้นคกหจ็์ทนะ่าเนักกอใบ็ หีกจค้ขะว้อวาามงคยเือคาากกราพเพรมไรมาากะ่ถกือหาไ้ารสมเยกวศ็บางาหเสรนตี่ยงั รรส์าือไดธมรใ่ถรหือม้เฤกะกบ็ตษบอ้ ์งงนาเทกมีส่บ็ยงูไาวมบ้ ดนี ทองีส่ คงู ์ท่านสอน เสมอว่า ท�ำ ดีตอนไหนก็ไดผ้ ลดีตอนนน้ั ทำ�ช่ัวตอนไหนกไ็ ดร้ ับผลช่วั ตอนน้ันๆ ไม่มกี ารสะเดาะเคราะห์ ไม่มีเครอ่ื งราง ของขลงั ไมม่ ตี ะกรดุ พสิ มร ไมม่ กี ารซอ้ื ขายวตั ถมุ งคล ทงั้ นยั ตรงและนยั ออ้ ม สงิ่ ทอี่ งคท์ า่ นพออนโุ ลมใหก้ บั ชาวบา้ นอยา่ ง ฝดื ๆกค็ อื น�ำ้ มนต์ โดยกอ่ นใหน้ �ำ้ มนต์ องคท์ า่ นจะมอี บุ ายเทศนเ์ สยี กอ่ นองคท์ า่ นจงึ จะเอาน�ำ้ มนตใ์ หเ้ ขา “ลกู ๆ หลานๆ... หากจติ ใจลกู ๆ หลานๆ ไมถ่ งึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆแ์ ลว้ จะมารดน�ำ้ ภายนอก มนั กเ็ ปน็ ไปไมไ่ ดล้ กู ๆ หลานๆ เอย๋ น้�ำ อนั นเี้ ปน็ นำ้�ขอเชอ้ื เชิญและให้ลูกๆ หลานๆ ถงึ พทุ ธ ธรรม สงฆ์ อย่าถือว่าน�ำ้ อันน้เี ป็นของขลัง จะขลงั หรือ ไมข่ ลงั ก็ข๑นึ้ อ๖ย.ู่กับโยคมวขาอมงปอรงะคพ์ทฤ่าตนขิ อเขงาพมวากวลัดกู เๆขาหมลาแานบๆบเงนียั่นบเสองงัด” องคท์ ่านจะสอนไปอยา่ งนน้ั เขาไม่ได้คุยกันเหมือนพวกเราน่ี และเขาก็ไม่ได้ ตั้งใจว่าจะมารับอาหารในวัด ถ้าพวกโยมมา อาหารของพระท่ีได้จัดไว้ให้สำ�หรับญาติโยม เขาจะเอาไปรับประทานท่ี กระทอ่ มเลก็ ๆ ของเขาตา่ งหาก เขาไมม่ ารบั ประทานในศาลาทพ่ี ระฉนั อยู่ และท�ำ อยา่ งเงยี บทส่ี ดุ ขอ้ วตั รอนั นเ้ี ปน็ ขอ้ วตั ร สำ�คัญท่ีสุด เพราะรักสงบ คนมาต่างทิศพอมาถึง เช่น เขามานอนค้างคืนทำ�บุญอย่างน้ี เขาก็จะไปนอนท่ีไหนไม่ทราบ เ ขาไม่มายุ่ง๑ใน๗วดั . พอตนื่ เชา้ มาเขาค่อยมาใส่บาตรพระ หรอื มอี าหารอะไรเขากเ็ อามาถวาย มีสง่ิ ทจี่ ะบังสกุ ลุ เขากเ็ อามา หลวงปมู่ ัน่ ให้ความส�ำ คัญกับการปฏบิ ัติภาวนา (วปิ ัสสนาธรุ ะ) มากกวา่ ดา้ นการปกครอง (คันถธุระ) ถึงกระน้ันในชีวิตสมณเพศขององค์ท่าน คร้ังหน่ึงก็เคยได้รับการแต่งต้ังเป็นพระครูวินัยธร (พ.ศ. ๒๔๗๕) โดยรับ ตำ�แหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ และที่นั่นก็เป็นที่เดียวท่ีองค์ท่านรับตำ�แหน่งเป็นเจ้าอาวาส และรับเป็นธุระเพียงปีเดียว หลังจากนั้นองค์ท่านก็ลาออกจากตำ�แหน่งเจ้าอาวาส และจาริกธุดงค์เข้าป่าเพ่ือแสวงหา การปฏิบัตภิ๑า๘วน.า ตลอดชีวิตสมณเพศขององค์หลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต องค์ท่านจะเน้นความสงัดวิเวก เน้นการเจริญ วิปัสสนากรรมฐาน เพ่ือละกิเลสออกจากใจ เพื่อเป็นผู้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งหลาย องค์ท่านถือได้ว่าเป็นผู้นำ� ด้านปฏิบัติได้อย่างยิ่งยวด องค์ท่านออกบวชมาเพ่ือปฏิบัติชำ�ระกิเลสในใจตนเองจนหมดส้ิน ไม่สนใจในลาภ ยศ สรรเสริญ องค์ท่านเป็นท้ังครู ท้ังอาจารย์ เป็นท้ังพ่อ เป็นทั้งแม่ในคราวเดียวกันในวงศ์ของพระสายธุดงคกรรมฐาน จึงเรยี กขนานนามในองค์ท่านว่า “พ่อแม่ครอู าจารยใ์ หญม่ ัน่ ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ” และเม่อื องค์ทา่ นเสร็จส้ินภารกิจภายใน ของตนเองแลว้ กไ็ ดท้ �ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ครู เปน็ ผนู้ �ำ สงั่ สอนคณะศษิ ยานศุ ษิ ย์ โดยเฉพาะพระสงฆ์ สามเณร ใหป้ ฏบิ ตั ไิ ดถ้ กู ตอ้ ง ตามท�ำ นองคลองธรรม ท�ำ ใหอ้ งคท์ า่ นมคี ณะศษิ ยานศุ ษิ ยม์ ากมาย ซงึ่ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ พระมหาเถระฝา่ ยวปิ สั สนากรรมฐาน ผู้เปน็ ด่ังเน้อื นาบุญโดยแท้ ให้กับดนิ แดนสวุ รรณภมู แิ หง่ นี้ แม้กาลเวลาจะลว่ งเลยผ่านมาเกอื บ ๗ ทศวรรษแลว้ ช่ือเสียง และเกียรติคุณและคุณงามความดีขององค์ท่าน ยังคงตราตรึงอยู่ในหัวใจของคนไทยชาวพุทธทุกหมู่เหล่าอย่างไม่มี วันจดื จางและจะยังคงเปน็ เชน่ น้ีสืบไป... แหล่งอา้ งองิ ๑. จากหนังสอื ชีวประวัติหลวงปหู่ ลา้ เขมปตฺโต วดั ภจู ้อก้อ อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร ๒. ถอดจากกณั ฑเ์ ทศนห์ ลวงปู่หล้า เขมปตโฺ ต (พระอุปฏั ฐากในองค์หลวงปู่ม่นั ภูริทตั โต) ชอ่ื กณั ฑ์ - “ปฏิปทาทไี่ ม่จืดจาง” วันท่ี ๘ ม.ิ ย. ๒๕๒๔ - “อบรมขอ้ วัตรปฏิบตั ิ” วันท่ี ๑๓ พ.ค. ๒๕๒๕ - “ขอ้ วัตรหลวงปูม่ ่นั ” วันท่ี ๑ ธ.ค. ๒๕๒๔ และวนั ท่ี ๙ พ.ย. ๒๕๒๖ - “ข้อวัตรหลวงปมู่ ั่น” วนั ที่ ๒๑ ก.ค. ๒๕๒๘ - “อรยิ วตั รยุคบา้ นหนองผอื ” วนั ท่ี ๑๘ ม.ค. ๒๕๓๐ - “เลา่ ถึงสมยั อยู่กับหลวงป่มู ัน่ ” วนั ที่ ๒๒ ธ.ค. ๒๕๓๒ - “เลา่ ถงึ สมยั อย่กู ับหลวงปูม่ ัน่ ” วนั ท่ี ๒๕ พ.ย. ๒๕๓๖ ๒๙

ผลงานของ องค์หลวงปมู่ ั่น ภรู ิทัตโต

ผลงานการประพันธ์ จากบทประพันธ์ชื่อ “ขันธะวิมตุ ิสะมังคีธรรมะ” ถอดจากลายมอื องคห์ ลวงปู่มั่น ภรู ิทตั โต โดยคณะสงฆ์วัดป่าดานวิเวก เมือ่ วันท่ี ๑๒ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕๔๙ นะมะถุ สคุ ะตสั สะ ปญั จะ ธรรมะขนั ธานิ ขา้ พเจา้ ขอนอบน้อมซ่ึงพระสุคต บรมะศาสดา สักยะมุนีสัมมา สมั พทุ ธะเจา้ แลพระนะวะโลกตุ ตะระธรรม ๙ ประการ แล อะรยิ ะสงฆส์ าวก บดั นข้ี า้ พะเจา้ จกั กลา่ ว ซง่ึ ธรรมะขนั ธโ์ ดย สังเข็บ ตามสติปญั ญาฯ ยงั มที ่านคน ๑ รกั ตวั คิดกลวั ทกุ ข์ อยากได้ศุขพ้นภัยเทียวผายผัน เขาบอกว่าศุขมีท่ีไหนก็ อยากไป แต่เท่ียวหมั่นไปมาอยู่ช้านาน นิสสัยท่านนั้น รักตัวกลัวตายมาก อยากจะพ้นแท้ๆ เรอ่ื งแกต่ าย วันหนงึ่ ท่านรจู้ รงิ ซงึ่ สมทุ ัยพวกสงั ขาร ทา่ นกป็ ะถ้�ำ สนุกศขุ ไมห่ าย เปรียบเหมือนดังกายน้ีเองฯ ชะโงกดูถำ้�สนุกทุกข์ทลาย แสนสบายรตู้ วั เรอ่ื งกลวั นน้ั เบา ท�ำ เมนิ ไปเมนิ มาอยนู่ า่ เขา จะกลับไปป่าวร้องซ่ึงพวกพ้องเล่า ก็กลัวเขาเหมาว่าเปน บ้าบอ สอู้ ยู่ผเู้ ดยี วหาเรือ่ งเครื่องสงบ เปนอนั จบเรอื่ งคิด ไม่ติดต่อ ดีกว่าเที่ยวรุ่มร่ามทำ�สอพลอ เด่ียวถูกยอถูกติ เปนเรอ่ื งเครอ่ื งร�ำ คานฯ ยงั มบี รุ ษุ คน ๑ อกี กลวั ตายน�ำ้ ไจฝอ่ มาหาแลว้ พดู ตรงๆ นา่ สงสาร ถามวา่ ทา่ นพากเพยี ร มาก็ช้านาน เห็นธรรมที่จรีงแล้วหรือยังที่ไจหวัง เอ๊ะ ท�ำ ไมจงึ รไู้ จฉนั บรุ ษุ ผนู้ นั้ กอ็ ยากอยอู่ าไสย ทา่ นวา่ ดๆี ฉนั อะนโุ มทะนา จะพาดเู ขาไหญ่ถ�้ำ สนกุ ทกุ ขไ์ มม่ ี คือ กายะ คะตาสติภาวะนา ชมเล่นไหเ้ ย็นไจหายเดือดรอ้ น หนทาง จรอะริยะวงส์ จะไปหรือไม่ไปฉันไม่เกณฑ์ ไช่หลอกเล่น บอกความไห้ตามจริง แล้วกล่าวปฤษณาท้าไห้ตอบ ปฤษณานั้นว่า ระวึง คืออะไร ตอบว่ิงเร็ว คือวิญญาณ อาการไว เดินเปนแถวตามแนวกัน สัญญาตรงไม่สงไสย ไจอยู่ไนว่ิงไปมา สัญญาเหน่ียวภายนอกหลอกลวงจิตร ทำ�ไห้คิตวนุ่ วายเทยี่ วส่ายหา หลอกเปนธรรมต่างๆ อยา่ ง มายา ถามว่าห้าขันธ์ไครพ้นจนท้ังปวง แก้ว่าไจซิพ้นอยู่ คนเดยี ว ไมเ่ กาะเกย่ี วพวั พนั ตดิ สนิ้ พษิ หวง หมดทหี่ ลงอยู่ เดยี วดวง สญั ญาลวงไมไ่ ดห้ มายหลงตามไป ถามวา่ ทต่ี าย ไครเขาตายทไ่ี หนกนั แกว้ า่ สงั ขารเขาตายท�ำ ลายผล ถามวา่ ส่งิ ไดก่อไหต้ อ่ ๓๑

วน แกว้ ่ากลสัญญาพาไห้เวียน เช่อื สัญญาจงึ ผดิ ตดิ ยนี ดี ออกจากภพนไี้ ปภพนนั้ เทย่ี วหนั เหยี น เลยลมื จติ ร จำ�ปิดสนดิ เนยี น ถึงจะเพยี รหาธรรมก็ไมเ่ หน็ ถามวา่ ไคร ก�ำ หนดไครหมายเปนธรรม แกว้ า่ ไจก�ำ หนด ไจหมายเรอื่ ง หาเจ้าสัญญาน้ันเอง คือว่าดีคว้าช่ัวผลักติดรักชัง ถามว่า กินหนเดียวไม่เท่ียวกิน แก้ว่าส้ีนอยากดูรู้ไม่หวังไนเรื่อง เหนต่อไปหายรุงรัง ไจก็น่ังแท่นน่ิงท้ิงอาลัย ถามว่าสระ สเี่ หลยี่ มเปยี มดว้ ยน�้ำ แกว้ า่ ธรรมสนี้ อยากจากสงสยั สอาด หมดราคีไม่มีภัย ฯ สัญญาไนนั้นภาคสังขาระขันธ์นั้น ไม่กวน ไจจึงเปี่ยมเต็มที่ไม่มีพร่อง เงียบระงับดวงจิตร ไม่คิดครวญ เปนของควรชมชื่นทุกคืนวัน แม้ได้สมบัติ ทิพย์สักสีบแสน ก็ไม่เหมือนรู้จรีงทิ้งสังขาร หมดความ อยากเป็นย่ิงส่ิงสำ�สัญ จำ�อยู่ส่วนจำ�ไม่ก้ำ�เกิน ไจไม่เพลิน ทงั้ สน้ี หายดนี้ รน เหมอื นดงั วา่ กระจกสอ่ งเงาหนา้ แลว้ อยา่ คดิ ตดิ สญั ญา เพราะวา่ สญั ญานนั้ เหมอื นดงั เงา อยา่ ไดเ้ มา ไปตามเรี่องเคร่ืองสังขาร ไจขยันจับไจท่ีไม่ปน ไหวส่วน ตนรแู้ นเ่ พราะแปรไป ไจไมเ่ ทยี่ วของไจไชต่ อ้ งวา่ รขู้ นั ธห์ า้ ต่างชะนิดเมื่อจติ รไหว แต่ก่อนน้นั หลงสัญญาว่าเปนไจ สำ�คัญว่าไนว่านอกจึง หลอกลวง คราวน้ีไจเปนไหญ่ไม่หมายพึ่ง สัญญาหน่ึง สัญญาไดมิได้ห่วง เกิดก็ตามดับก็ตามส่ิงทั้งปวง ไม่ต้อง หวงไม่ต้องกันหมู่สัญญา เปียบเหมือนขึ้นยอดเขาสูงแท้ แลเหนดนี แลเหนสนี้ ทกุ ตวั สตั ว์ แกว้ า่ สงู ยง่ี นกั แลเหนเรอื่ ง ของตนแตต่ น้ มา เปนมรรคาทง้ั นนั้ เชน่ บนั ได ถามวา่ น�้ำ ขนึ้ ลงตรงสจั จงั นนั้ หรอื ตอบวา่ สงั ขารแปรแกไ้ มไ่ ด้ ธรรมะดา กรรมแตง่ ไม่แกล้งไคร ขนื ผลกั ไสจับตอ้ งก็หมองมวั ช่ัวไน จติ ร์ ไมต่ อ้ งคดิ ขดั ธมั มะดาสะภาวะสง่ี เปนจรงี ฯ ดชี ว่ั ตาม แตเ่ รอ่ื งของเรอ่ื งเปลอื้ งแตต่ วั ไมพ่ วั พนั สงั ขารเปนการเยน็ รจู้ กั จรงิ ตอ้ งทงิ้ สงั ขารทผ่ี นั แปรเมอื่ แลเหน เบอ่ื แลว้ ปลอ่ ย ได้คร่องไม่ต้องเกณฑ์ ธรรมก็เย็นไจระงับรับอาการ ถาม วา่ หา้ นา่ ทมี่ คี รบกนั ตอบวา่ ขนั ธแ์ บงแจกแยกหา้ ฐาน เรอื่ ง สงั ขารตา่ งกองรับน่าท่ีมีกิจการ จะรับงานอื่นไม่ไดเ้ ต็มไน ตวั แมล้ าภยศสรรเสรญิ เจรญิ สขุ นนิ ทาทกุ ขเ์ สอ่ื มยศหมด ลาภท่ัว รวมลงตามสะภาพตามเปนจริง ท้ังแปดอย่างไจ ไม่หันไปพวั พนั เพราะวา่ รปู ขนั ธ์ก็ท�ำ แก่ ไข้มไี ด้เวน้ นาม ก็มีได้พกั เหมอื น ๓๒

จักร์ยนต์ เพราะรับผลของกรรมท่ีทำ�มา เร่ืองดี พาเพลิดเพลินเจริญไจ เร่ืองชั่วขุ่นวุ่นจิตร์คิดไม่หยุด เหมอื นไฟจดุ จติ รห์ มองไมผ่ อ่ งไส นกึ ขน้ึ เองทงั้ รกั ทง้ั โกรธ ไปโทษใคร อยากไมแ่ กไ่ มต่ ายไดห้ รอื คน เปนของพน้ วไิ ส จะได้เชย เช่นไม่อยากไห้จิตร์เท่ียวคิดรู้ อยากไห้อยู่เปน หนงึ่ หวงั พง่ึ เฉย จติ รเ์ ปนของผนั แปรไมแ่ นเ่ ลย สญั ญาเคย อยไู่ ดบ้ า้ งเปนครง้ั คราว ถา้ รเู้ ทา่ ธรรมะดาทงั้ หา้ ขนั ธ์ ไจนน้ั ก็ขาวสอาดหมดมลทีนสี้นเรื่องราว ถ้ารู้ได้อย่างน้ีจึงดียิ่ง เพราะเหนจริงถอนหลดุ สดุ วิถี ไม่ฝ่าฝืนธัมมะดาตามเปน จริง จะจนจะมีตามเรื่องเครื่องนอกไน ดีหรือช่ัวต้องดับ เรื่อนรบั ไป ยึดสิง่ ไดไม่ได้ตามไจหมาย ไจไมเ่ ที่ยวของไจ ไหววบิ วบั สงั เกตจบั รไู้ ดส้ บายยง่ี เลก็ บงั ไหญร่ ไู้ มท่ นั ขนั ธ์ บังธรรมมิดผิดท่ีน้ี มัวดูขันธ์ธรรมไม่เหนเปนธุลีไป ส่วน ธรรมมไี หญ่กว่าขนั ธ์นัน้ ไมแ่ ล ถามวา่ มีไมม่ ี ไม่มีมี นค้ี ือ อะไร ที่น้ีตดิ หมดคิดแกไ้ มไ่ หว เชิญชไ้ี ห้ชัดท้ังอรรถแปล โปรดแกเ้ ถิด ที่ว่าเกิดมตี า่ งๆ ท้ังเหตุผล แลว้ ดับไม่มชี ดั ไชส่ ัตว์คน น้ขี ้อต้นมีไมม่ ีอย่างนีต้ รง ข้อปลายไม่มีมีนี้เป็นธรรม ท่ีล้ำ�ลึกไครพบจบ ประสงค์ ไม่มีสังขารมีธรรมที่หมั่นคง นั้นและองค์ธรรม เอกวิเวกจริง ธรรมเป็น ๑ ไม่แปรผัน เลิศภพสงบยี่ง เปนอารมณ์ของไจไม่ไหวตีง ระงับน่ีงเงียบสงัดชัดกับไจ ไจก็สา่ งจากเมาหายเรา่ ร้อน ความอยา่ กถอนได้หมดปลด สงสัย เรื่องพวั พนั ขนั ธ์ ๕ ชาส้นี ไป เคร่ืองหมุนไนไตรจักร์ ก็หักลง ความอยากไหญ่ย่ีงก็ท้ิงหลุด ความรักหยุดหาย สนดิ สน้ิ พษิ หวง รอ้ นทง้ั ปวงกห็ ายหมดดงั ไจจง ฯ เชญิ โปรด ช้ีอีกสักอย่างหนทางไจ สมุทัยของจิตร์ที่ปีดธรรม แก้ว่า สมทุ ยั กวา้ งไหญน่ กั ยอ่ ลงกค็ อื ความรกั บบี ไจอาลยั ขนั ธ์ ถา้ ธรรมมีกับจิตร์เปนนิจจ์นิรันตร์ เปนเลิกกันสมุทัยมิได้มี จงจ�ำ ไวอ้ ยา่ งนวี้ ธิ จี ติ ร์ ไมต่ อ้ งคดิ เวยี นวนจนปน่ ปี้ ธรรมไม่ มีอยู่เปนนติ ยต์ ดิ ยนี ดี ไจตกท่สี มทุ ัยอาลยั ตัว ว่าอย่างย่อ ทุกข์กับธรรมประจำ�จิตร เอาจนคิดรู้เห็นจริงจึงเย็นท่ัว จะศุกข์ทกุ ข์เท่าไรมไิ ด้กลัว ส่างจาก ๓๓

เคร่ืองมัวคือสมุทัยไปท่ีดี รู้เท่าน้ีก็จะคลายหาย ความรอ้ น พอพกั ผอ่ นเสาะแสวงหาทางหนี จติ รรธู้ รรมลมื จิตรท่ีติดธุลี ไจรู้ธรรมที่เปนศุขขันธ์ทุกข์แท้แน่ประจำ� ธรรมคงธรรม ขนั ธค์ งขนั ธเ์ ทา่ นน้ั และค�ำ วา่ เยน็ สบายหาย เดือดรอ้ น หมายจติ รถอนจากผดิ ทตี่ ดิ แท้ แตส่ ว่ นสงั ขาระ ขนั ธป์ ราศจากศขุ เปน็ ทกุ ขแ์ ท้ เพราะตอ้ งแกไ่ ข้ ตายไมว่ าย วนั จติ รรธู้ รรมทล่ี �ำ้ เลศิ จติ รกถ็ อนจากผดิ เครอ่ื งเสรา้ หมอง ของแสลง ผิดเปนโทษของไจอย่างร้ายแรง เหนธรรมแจง ถอนผิดหมดพิษไจ จิตรเหนธรรมดีล้นที่พ้นผิด พบปะ ธรรมเปลอ้ื งเครอื่ งกระสนั มสี ตอิ ยไู่ นตวั ไมพ่ วั พนั เรอื่ งรกั ขันธ์ขาดสนี้ หายยนี ดี สนี้ ธลุ ีทั้งปวงหมดหว่ งไย ถึงจะคิดก็ ไมห่ ้ามตามนสิ สัย เมื่อไมห่ า้ มกลบั ไม่ฟุ้งพ้นย่งุ ไป พงึ รู้ได้ วา่ บาปมขี น้ื เพราะขนื จรงิ ตอบวา่ บาปเกดิ ไดเ้ พราะไมร่ ู้ ถา้ ปิดประตูเขลาได้สบายย่ีง ชั่วท้ังปวงเงียบหายไม่ไหวติง ขันธ์ทุกสี่งย่อมทุกข์ไม่ศุขเลย แต่ก่อนข้าพะเจ้ามืดเขลา เหมอื นเขา้ ถ้ำ� อยากเหนธรรมยดึ ไจจะไหเ้ ฉย ยดึ ความจ�ำ วา่ เปน็ ไจหมายจนเคย เลยเพลีนเชยชมจำ�ทำ�มานาน ความจำ�ผิดปิดไว้ ไม่ไห้เหน จึงหลงเล่นขันธ์ห้าน่าสงสาร ไห้ยกตัวอวดตน พ้นประมาณ เที่ยวระรานติคนอ่ืนเปนพื้นไปไม่เปนผล เท่ียวดูโทษคนอื่นน้ันข่ืนไจ เหมือนก่อไฟเผาตัวต้อง มัวมอม ไครผิดถูกดีชั่วก็ตัวเขา ไจของเราเพียงระวังต้ัง ถนอม อยา่ ไหอ้ ะกสุ ลวนมาตอม ควรถงึ พรอ้ มบญุ กุสลผล สบาย เหนคนอนื่ เขาชวั่ ตวั กด็ ี เปนราคยี ดึ ขนั ธท์ หี่ มน่ั หมาย ยดึ ขนั ธต์ อ้ งรอ้ นแทเ้ พราะแกต่ าย เลยช�ำ รา้ ยกเิ ลศกลมุ้ เขา้ รมุ กวน เตม็ ทงั้ รกั ทงั้ โกรธโทษประจกั ษ์ ทงั้ กลวั นกั หนกั จติ คิดโหยหวน ช้ำ�อารมณ์กามห้าก็มาชวน ยกกระบวนทุก อยา่ งต่างๆ ไป เพราะยดึ ขนั ธท์ ัง้ ๕ วา่ ของตน จึงไม่พ้น ทกุ ขภ์ ยั ไปไดน้ า ถา้ รู้โทษของตวั แล้วอยา่ ชาเฉย ดูอาการ สงั ขารทไ่ี มเ่ ทย่ี งร�ำ่ ไปใหไ้ จเคย คงไดเ้ ชยชมธรรมะอนั เอก วิเวกจิตร ไม่เที่ยงน้ันหมายไจไหวจากจำ� เหนแล้วช้ำ�ดูๆ อยู่ท่ีไหว พออารมณ์นอกดับระงับไปหมดปรากฏธรรม เหนธรรมแล้วย่อมหายว่นุ วายจิตร ๆ นั้นไม่ติดคู่ จรงิ เท่า นหี้ มดประตู รู้ไม่ร้อู ยา่ งน้ี ๓๔

วธิ ไี จ รเู้ ทา่ ทไ่ี มเ่ ทย่ี ง จติ รตน้ พน้ รเิ รมิ่ คงจติ รเดมิ อย่างเท่ยี งแท้ รตู้ น้ จติ รพน้ จากผดิ ทั้งปวงไมห่ ่วง ถ้าออก ไปปลายจิตรผิดทันที คำ�ที่ว่ามืดนั้น เพราะจิตรคิดหวงดี จิตรหวงนี้ปลายจิตรคิดออกไป จิตรต้นดีเมื่อธรรมะ ปรากฏหมดสงสัย เหนธรรมะอันเลดิ ล�้ำ โลกา เรื่องคิดคน้ วุ่นหามาแต่ก่อน ก็เลิกถอนเปลื้องปลดได้หมดสิ้น ยังมี ทุกข์ต้องหลับนอนกับกินไปตามเรื่อง ไจเช่ืองชิดต้นจิตร คิดไมค่ รวญ ธรรมะดาของจติ รกต็ อ้ งคดิ นึก พอรสู้ กึ จติ ร ต้นพ้นโหยหวน เงยี บสงัดจากเรอื่ งเครื่องรบกวน ธรรมะ ดาสังขารปรากฏหมดด้วยกัน เสื่อมทั้งนั้นคงทีไม่มีเลย ระวังไจเม่ือจำ�ทำ�ละเอียด มักจะเบียดไห้จิตรไปติดเฉย ไจไม่เท่ียงของไจซำ้�ไห้เคย เม่ือถึงเวยหากรู้เองเพลงของ ไจ เหมอื นดังมายาทีห่ ลอกลวง ท่านวา่ วปิ สั สะนปู ะกเิ ลศ จ�ำ แรงเพศเหมอื นดงั จรงิ ทแี ทไ้ มใ่ ชจ่ รงิ รขู้ นึ้ เองหมายนาม ว่าความเหน ไม่ไช่เช่นฟังเข้าไจช้ันไต่ถาม ทั้งตรึกตรอง แยกแยะแกะรปู นาม กไ็ ชค่ วามเหนเองจงเลงดู รขู้ นึ้ เองไช่ เพลงคิด รู้ต้นจิตร ๆ ต้นพ้นโหยหวน ต้นจิตรรู้ตัวแน่ว่า สังขารเร่ืองแปรปรวน ไช่กระบวนไปดูหรือรู้อะไร รู้อยู่ เพราะหมายคกู่ ไ็ มใ่ ช่ จติ รคงรจู้ ติ รเองเพราะเพลงไหว จติ ร รไุ้ หวๆ กจ็ ติ รตดิ กนั ไป แยกไมไ่ ดต้ ามจรงิ สง่ิ เดยี วกนั จติ ร เปนสองอาการ เรยี กว่าสญั ญาพาพวั พนั ไมเ่ ที่ยงนั้นกต็ ัว เองไปเลงไคร ไจรู้เส้ือมของตัวก็พ้นมัวมืด ไจก็จืดสี้นรส หมดสงสัย ขาดคน้ คว้าหาเรอื่ งเครื่องนอกไน ความอาลัย ทงั้ ปวงกร็ ว่ งโรย ทงั้ โกรธรกั เครอื่ งหนกั ไจกไ็ ปจาก เรอ่ื งไจ อยากก็หยุดได้หายหวนโหย พ้นหนักใจทั้งหลายหาย โอดโอย เหมอื นฝนโปรยไจไจเยน็ เหนดว้ ยไจ ไจเยน็ เพราะ ไม่ตอ้ งเทย่ี วมองคน รจู้ ติ รตน้ ปัจจุบันพ้นหว่ันไหว ดหี รือ ช่ัวทั้งปวงไม่ห่วงใย ต้องดับไปท้ังเร่ืองเคร่ืองรุงรัง อยู่ เงยี บๆ ตน้ จติ รไม่คิดอา่ น ตามแตก่ ารของจิตรส้ีนคดิ หวัง ไมต่ อ้ งวนุ่ ตอ้ งวายหายระวงั นอนหรอื นง่ั นกึ พน้ อยตู่ น้ จติ ร ทา่ นชม้ี รรคฟงั หลกั แหลม ชา่ งตอ่ แตม้ กวา้ งขวางสวา่ งไสว ยังอีกอย่างทางไจไม่หลุดสมุทัย ขอจงโปรดช้ีไห้พิศะดาร เปนการดี ตอบว่าสมุทัย ๓๕

คืออาลัยรัก เพลินยิ่งนักทำ�ภพไหม่ไม่หน่ายหนี วา่ อยา่ งต�ำ่ กามะคณุ หา้ เปนราคี อยา่ งสงู ชสี้ มทุ ยั อาลยั ฌาน ถา้ จะจบั ตามวธิ มี ไี นจติ ร กเ็ รอื่ งคดิ เพลนิ ไปไนสงั ขาร เพลนิ ท้ังปวงเคยมาเสียช้านาน กลับเปนการดีไปไห้เจริญจิตร ไปไนสว่ นทผ่ี ดิ กเ็ ลยแตกกง่ิ กา้ นฟงุ้ สรา้ นไหญ่ เทย่ี วเพลนิ ไปไนผิดไมค่ ิดเขิน สงิ่ ไดชอบอารมณ์ก็ชมเพลิน เพลนิ จน เกินลืมตัวไม่กลัวภัย เพลินดูโทษคนอ่ืนด่ืนด้วยชั่ว โทษ ของตวั ไมเ่ หนเปนไฉน โทษคนอืน่ เขามากสกั เทา่ ไร ไม่ทำ� ไห้เราตกนะรกเลย ฯ โทษของเราเสร้าหมองไม่ต้องมาก สง่ วิบากไปตกนะรกแสนสาหัส หมั่นดูโทษตนไวไห้ไจเคย เวน้ เสยี ซง่ึ โทษนนั้ คงไดเ้ ชยชมศขุ พน้ ทกุ ขภ์ ยั เมอ่ื เหนโทษ ตนชัดรีบตดั ทิ้ง ออ้ ยอง่ิ คดิ มากจากไมไ่ ด้ เรือ่ งอยากดีไม่ หยดุ คอื ตวั สมทุ ยั เปนโทษไหญก่ ลวั จะไมด่ นี กี้ แ็ รง ดแี ลไม่ ดีน้ีเปนพิษของจิตรนัก เหมือนไข้หนักถูกต้องของแสลง กำ�เริบโรคดว้ ยพษิ ผิดสำ�แดง ธรรมไมแ่ จง้ เพราะอยากดนี ี้ เปนเดิม ความอยากดมี ี มากมักลากจิตร ไห้เทียวคิดวุ่นไปจนไจเหิม สรรพชวั่ มวั หมองกต็ อ้ งเตมิ ผดิ ยง่ี เพมิ่ ร�ำ่ ไปไกลจากธรรม ทจ่ี รงี ชส้ี มทุ ยั นไ้ี จฉนั ครา้ ม ฟงั เนอ้ื ความไปขา้ งนงุ ทางยงุ่ ยง่ี เมอ่ื ชม้ี รรคฟังไจไม่ไหวติง ระงบั น่งิ ไจสงบจบกันที ฯ อัน นช้ี อื่ วา่ ขนั ธะวมิ ตุ สิ ะมงั คธี รรมะ ประจ�ำ อยกู่ บั ที ไมม่ อี าการ ไปไม่มีอาการมา สะภาวะธรรมทีเปนจริงสี่งเดียวเท่านั้น และไม่มีเรื่องจะแวะเวียน สี้นเน้ือความแต่เพียงเท่านี้ ฯ ผิดหรอื ถูกจงไช่ปัญญาตรองดไู ห้รู้เถิด ฯ พระภรู ิทตั โตฯ (หมนั่ ) วดั สระประทุมวนั เป็นผู้แตง่ ฯ ๓๖

พระธรรมเทศนาของหลวงป่มู ั่น ภรู ิทัตโต พระธรรมเทศนาดังตอ่ ไปน้ี เปน็ ตัวอยา่ งทไ่ี ดน้ �ำ มาใหอ้ า่ น โดยคดั มาจากบางตอนของหนังสือบางเล่ม โดยมี ใจความดังนี้ เชน่ เทศน์หลวงป่มู ั่น ภูริทัตโต ในวันวิสาขบชู า ณ วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ พอตกเดือนพฤษภาคม องค์ท่านกับคณะลูกศิษย์ท่ีจะติดตามไปอุดรฯ ด้วย เริ่มออกเดินทางจากที่พัก ออกมาวัดเจดีย์หลวงและพักท่ีนั่น ฝ่ายพระอาจารย์อุ่น วัดทิพยรัตน์นิมิตกับคณะญาติโยมชาวอุดรฯ ที่มารับองค์ท่าน ก็มาถึงในระยะเดียวกัน ท่านพักอยู่วัดเจดีย์หลวงราว ๖-๗ คืน ขณะพักอยู่ที่นั้น มีคณะศรัทธาชาวเชียงใหม่ที่มี ความเลื่อมใสในองคท์ า่ น ได้พรอ้ มกันมาอาราธนานมิ นตใ์ หอ้ งคท์ ่านพักอยทู่ ่นี น้ั นาน ๆ เพ่อื โปรดเมตตาชาวเชียงใหม่ ตอ่ ไป แตอ่ งคท์ า่ นรับนิมนต์ไม่ได้ ทำ�นองเดียวกับเทวดาอาราธนา เพราะได้รับนิมนต์เสียแล้ว ก่อนจะจากเชียงใหม่ ท่านเจ้าคุณราชกวี และคณะศรัทธาเชียงใหม่ อาราธนาองค์ท่านข้ึนแสดงธรรมในวันวิสาขะ เป็นกัณฑ์ต้น เพื่อไว้อาลัย ส�ำ หรบั ศรทั ธาทงั้ หลายซงึ่ ผเู้ ขยี นกไ็ ปถงึ เชยี งใหมใ่ นระยะเดยี วกนั ไดฟ้ งั เทศนอ์ งคท์ า่ นดว้ ยความสนใจอยา่ งยงิ่ องคท์ า่ น แสดงธรรม ๓ ชวั่ โมงพอดีถึงจบกัณฑ์ องคท์ า่ นเทศน์เป็นท่ีจบั ใจอยา่ งฝังลกึ ยงั ไม่มเี วลาลบเลือนตลอดมาถงึ ปัจจบุ ัน ใจความสำ�คัญของธรรมท่ีองค์ท่านแสดงในวันนั้นมีว่า “วันน้ีตรงกับวันพระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และ ดับขนั ธปรินิพพาน เราเรียกวา่ วันวิสาขบูชา พระพุทธเจา้ เกดิ กับสตั ว์โลกเกิดต่างกนั มาก ตรงทอ่ี งค์ท่านเกิดแล้วไม่หลง โลกทีเ่ กดิ ท่อี ยู่ และท่ีตาย มิหนำ�ยงั กลับรแู้ จ้งท่ีเกดิ ท่ีอยู่ และทต่ี ายของพระองคด์ ว้ ยพระปัญญาญาณโดยตลอดท่ัวถงึ ที่เรียกว่าตรัสรู้น่ันเอง เม่ือถึงกาลอันควรจากไป องค์ท่านลาขันธ์ท่ีเคยอาศัยเป็นเครื่องมือบำ�เพ็ญความดีมาจนถึง ขน้ั สมบูรณ์เตม็ ที่ แล้วจากไปแบบสคุ โต สมเป็นศาสดาของโลกทั้งสาม ไม่มีท่นี า่ ต�ำ หนิแม้นดิ เดียว ก่อนเสด็จจากไปโดย พระกายท่ีหมดหนทางเยียวยาก็ได้ประทานพระธรรมไว้เป็นองค์แทนศาสดา ซึ่งเป็นที่น่ากราบไหว้บูชาคู่พ่ึงเป็นพึ่งตาย ถวายชีวติ จรงิ ๆ เราทั้งหลายต่างเกิดมาด้วยวาสนา มีบุญพอเป็นมนุษย์ได้อย่างเต็มภูมิ ดังท่ีทราบอยู่แก่ใจ แต่อย่าลืมตัวลืม วาสนาของตวั โดยลมื สรา้ งคณุ งามความดเี สรมิ ตอ่ ภพชาตขิ องเราทเ่ี คยเปน็ มนษุ ย์ จะเปลย่ี นแปลงและกลบั กลายหายไป ชาติต่ำ�ทรามที่ไม่ปรารถนาจะกลายมาเป็นตัวเราเข้าแล้วแก้ไม่ตก ความสูงศักดิ์ ความต่ำ�ทราม ความสุขทุกข้ันจนถึง บรมสขุ และความทุกขท์ กุ ข้ันจนเขา้ ขัน้ มหนั ตทุกขเ์ หลา่ นี้ มไี ด้กับทุกคนตลอดสตั ว์ถา้ ตนเองทำ�ให้มี อย่าเขา้ ใจวา่ จะมไี ด้ เฉพาะผู้ก�ำ ลงั เสวยอยเู่ ท่าน้นั โดยผู้อื่นมีไม่ได้ เพราะสงิ่ เหล่าน้ีเป็นสมบตั ิกลาง แตก่ ลับกลายมาเป็นสมบัตจิ �ำ เพาะของ ผผู้ ลติ ผทู้ �ำ กไ็ ด้ ฉะนน้ั ทา่ นจงึ สอนไมใ่ หด้ ถู กู เหยยี ดหยามกนั เมอ่ื เหน็ เขาตกทกุ ขห์ รอื ก�ำ ลงั จน จนนา่ ทเุ รศ เราอาจมเี วลา เป็นเช่นน้ันหรือยิ่งกว่านั้นก็ได้ เมื่อถึงวาระเข้าจริงๆ ไม่มีใครมีอำ�นาจหลีกเล่ียงได้ เพราะกรรมดีช่ัวเรามีทางสร้างได้ เช่นเดยี วกบั ผอู้ น่ื จึงมีทางเปน็ ไดเ้ ช่นเดียวกับผอู้ ่นื และผอู้ ื่นก็มที างเปน็ ไดเ้ ช่นทีเ่ ราเป็นและเคยเปน็ ศาสนาเป็นหลักวิชาตรวจตราดูตัวเองและผู้อื่นได้อย่างแม่นยำ� และเป็นวิชาเคร่ืองเลือกเฟ้นได้อย่างดีเยี่ยม ไม่มีวิชาใดในโลกเสมอเหมือน นับแต่บวชและปฏิบัติมาอย่างเต็มกำ�ลังจนถึงวันนี้ มิได้ลดละการตรวจตราเลือกเฟ้น สง่ิ ดีชัว่ ทม่ี ี และเกิดอย่กู บั ตนทกุ ระยะ มใี จเป็นตวั การพาสร้างกรรมประเภทต่าง ๆ จนเหน็ ได้ชดั วา่ กรรมมีอย่กู ับผู้ทำ� มีใจเป็นต้นเหตุของกรรมทั้งมวล ไม่มีทางสงสัย ผู้สงสัยกรรมหรือไม่เชื่อกรรมว่ามีผล คือคนลืมตนจนกลายเป็นผู้ มืดบอดอย่างช่วยอะไรไม่ได้ คนประเภทน้ัน แม้เขาจะเกิดและได้รับการเล้ียงดูจากพ่อแม่มาเป็นอย่างดีเหมือนโลก ทั้งหลายก็ตาม เขามองไม่เห็นคุณของพ่อแม่ว่าได้ให้กำ�เนิดและเล้ียงดูตนมาอย่างไรบ้าง แต่เขาจะมองเห็นเฉพาะ ร่างกายเขาที่เป็นคนซ่ึงกำ�ลังรกโลกอยู่โดยเจ้าตัวไม่รู้เท่าน้ัน ไม่สนใจคิดว่าเขาเกิดและเติบโตมาจากองค์ท่านทั้งสอง ซงึ่ เปน็ แรงหนนุ ร่างกายชวี ติ จิตใจเขา ให้เจรญิ เติบโตมาจนถึงปจั จุบัน ๓๗

การดมื่ และการรบั ประทานอาหารทกุ ประเภท ลว้ นเปน็ การเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพและความเจรญิ เตบิ โตแกร่ า่ งกาย ใหเ้ ปน็ อยตู่ ามกาลของมนั การท�ำ เพอ่ื รา่ งกาย ถา้ ไมจ่ ดั วา่ เปน็ กรรมคอื การท�ำ จะควรจดั วา่ อะไร สงิ่ ทร่ี า่ งกายไดร้ บั มาเปน็ ประจ�ำ ถา้ ไมเ่ รียกว่าผล จะเรยี กว่าอะไรจงึ จะถกู ตามความจรงิ ดชี ัว่ สุขทุกขท์ ่สี ัตว์ทั่วโลกไดร้ บั กันมาตลอดสาย ถ้าไมม่ ี แรงหนนุ เป็นต้นเหตุอยู่แลว้ จะเปน็ มาได้ด้วยอะไร ใจอยูเ่ ฉย ๆ ไม่คะนองคดิ ในลักษณะตา่ ง ๆ อนั เปน็ ทางมาแห่งดี และชวั่ คนเราจะกนิ ยาตายหรอื ฆา่ ตวั ตายไดด้ ว้ ยอะไร สาเหตแุ สดงอยอู่ ยา่ งเตม็ ใจทเี่ รยี กวา่ ตวั กรรมและท�ำ คนจนถงึ ตาย ยังไมท่ ราบวา่ ตนท�ำ กรรมแลว้ ถ้าจะไม่เรียกวา่ มดื บอด จะควรเรยี กว่าอะไร กรรมอยู่กับตวั และตวั ทำ�กรรมอยู่ทุกขณะ ผลกเ็ กดิ อยทู่ ุกเวลา ยังสงสยั หรอื ไมเ่ ช่อื กรรมว่ามีและให้ผลแล้วก็ สดุ หนทาง ถ้ากรรมวิ่งตามคนเหมอื นสนุ ัขวิ่งตามเจา้ ของเขาก็เรยี กว่าสนุ ขั เทา่ นน้ั เอง ไม่เรยี กวา่ กรรม น่กี รรมไม่ใช่สนุ ขั แต่คือการกระทำ�ดีชั่วทางกายวาจาใจต่างหาก ผลจริงคือความสุขทุกข์ที่ได้รับกันอยู่ท่ัวโลก กระทั่งสัตว์ผู้ไม่รู้จักกรรม รู้แตก่ ระท�ำ คอื หาอยหู่ ากิน ทท่ี างศาสนาเรียกว่ากรรมของสตั วข์ องบคุ คล และผลกรรมของสัตวข์ องบุคคล” กัณฑ์นี้ผู้เขียนได้ฟังด้วยตัวเองอย่างถึงใจจากความสนใจใฝ่ฝันในองค์ท่านมานาน จึงได้นำ�มาลงเพ่ือท่าน ผไู้ ม่ไดฟ้ งั จะได้อ่านกรรมตัวเองบ้าง บางทีอาจเหมือนกรรมของผูอ้ ่นื ซงึ่ ตา่ งเป็นนกั สร้างกรรมเหมือนกัน พอเทศนาจบ ลงจากธรรมาสน์เดนิ มากราบพระประธาน ทา่ นเจ้าคณุ ราชกวีเรยี นขน้ึ ว่า วันนี้องคท์ ่านอาจารยเ์ ทศน์ใหญ่ สนกุ ฟังกัน เต็มท่ีส�ำ หรบั กณั ฑน์ ้ี ท่านตอบวา่ “เทศนซ์ ้ำ�ทา้ ยความแกอ่ าจมใี หญ่บ้าง ตอ่ ไปจะไมไ่ ด้มาเทศนอ์ ีก เวลาน้กี แ็ ก่มากแล้ว” องค์ท่านพูดน้ีเหมือนเป็นอุบายบอกว่าจะไม่ได้กลับมาเชียงใหม่อีกแล้วในชีวิตน้ี เลยกลายเป็นความจริงข้ึนมา คือ องค์ท่านไม่ได้กลับไปอีกจริง ๆ สมกับคำ�ว่าเทศน์ซำ้�ท้ายความแก่ ผู้เขียนรู้สึกปีติซาบซึ้งในองค์ท่าน และธรรมท่าน แทบตัวลอย และมองดทู ่านไมม่ ีเวลาอิ่มพอ ดังได้เขียนความไม่เปน็ ทา่ ของตนลงในหนังสอื ทางรม่ เย็นบ้างแลว้ คัดลอกจาก “ประวตั ิท่านพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ิทตั ตเถระ” โดยทา่ นพระอาจารยม์ หาบัว ญาณสมั ปันโน เทศนากัณฑ์สุดท้ายของท่านพระอาจารย์มัน่ ภูริทัตโต ณ วัดหนองผือนาใน อำ�เภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร “วนั มาฆบชู า เดอื นสามเพญ็ พ.ศ. ๒๔๙๒ กอ่ นทา่ นจะเรม่ิ ปว่ ยเลก็ นอ้ ย วนั นน้ั ทา่ นเรม่ิ เทศนต์ ง้ั แตเ่ วลา ๒ ทมุ่ จนถงึ เวลา ๖ ทมุ่ เทย่ี งคนื รวมเปน็ เวลา ๔ ชว่ั โมง โดยยกพระอรหนั ต์ ๑,๒๕๐ องค์ ทต่ี า่ งมาเองสทู่ ป่ี ระชมุ ณ พทุ ธสถาน โดย ไมม่ ใี ครอาราธนานิมนต์หรอื นดั แนะขนึ้ แสดงวา่ ท่านเป็นวสิ ุทธบิ ุคคลล้วน ๆ ไมม่ คี นมกี เิ ลสเขา้ สับปนเลยแมค้ นเดียว การแสดงโอวาทปาฏิโมกข์พระพุทธเจ้าทรงแสดงเองเป็นวิสุทธิอุโบสถ คืออุโบสถในท่ามกลางแห่งบุคคล ผู้บริสุทธ์ิล้วน ๆ ไม่เหมือนพวกเราซ่ึงแสดงปาฏิโมกข์ในท่ามกลางแห่งบุคคลผู้มีกิเลสล้วนๆ ไม่มีบุคคลผู้ส้ินกิเลส สับปนอยู่เลยแม้คนเดียว ฟังแล้วน่าสลดสังเวชอย่างย่ิงที่พวกเราก็เป็นคนผู้หน่ึง หรือเป็นพระองค์หน่ึงในความเป็น ศากยบุตรของพระองค์ องค์เดียวกัน แต่มันเป็นเพียงช่ือไม่มีความจริงแฝงอยู่บ้างเลย เหมือนคนที่ช่ือว่าพระบุญ เณรบญุ และนายบญุ นางบญุ แต่เขาเป็นคนข้บี าปหาบแต่โทษและอาบัติใส่ตวั แทบกา้ วเดนิ ไปไมไ่ ด้ สมัยโน้นท่านทำ�จริงจึงพบแต่ของจริง พระจริง ธรรมจริงไม่ปลอมแปลง ตกมาสมัยพวกเรากลายเป็นมีแต่ ชื่อเสียงเรืองนามสูงส่งจรดพระอาทิตย์ พระจันทร์ แต่ความทำ�ต่ำ�ยิ่งกว่าขุมนรกอเวจี แล้วจะหาความดี ความจริง ความบริสุทธมิ์ าจากไหน เพราะสิง่ ท่ที ำ�มนั กลายเปน็ งานพอกพนู กเิ ลสและบาปกรรมไปเสียมาก มิได้เป็นงานถอดถอน กเิ ลสใหส้ ้ินไปจากใจ แลว้ จะเป็นวสิ ุทธิอโุ บสถขนึ้ มาได้อยา่ งไรกัน บวชมาเอาแต่ชือ่ เสียงเพียงว่าตนเป็นพระเป็นเณรแล้วกล็ มื ตวั มวั แต่ยกว่าตนเป็นผูม้ ศี ลี มธี รรม แต่ศลี ธรรม อนั แทจ้ รงิ ของพระของเณรตามพระโอวาทของพระองคแ์ ท้ ๆ นน้ั คอื อะไร กย็ งั ไมเ่ ขา้ ใจกนั เลย ถา้ เขา้ ใจในโอวาทปาฏโิ มกข์ ทา่ นสอนวา่ อยา่ งไร นนั่ แลคือองค์ศีลองค์ธรรมแท้ ทา่ นแสดงยอ่ เอาแตใ่ จความว่า การไมท่ �ำ บาปทงั้ ปวงหนึง่ การยงั กศุ ล คือความฉลาดให้ถงึ พร้อมหนึ่ง การช�ำ ระจติ ของตนให้ผ่องแผ้วหนึ่ง น่แี ลเป็นคำ�สัง่ สอนของพระพทุ ธเจ้าท้งั หลาย ๓๘

การไม่ทำ�บาป ถ้าทางกายไม่ทำ�แต่ทางวาจาก็ทำ�อยู่ ถ้าทางวาจาไม่ทำ�แต่ทางใจก็ทำ� และสั่งสมบาปวันยังค่ำ� จนถงึ เวลาหลับ พอตนื่ จากนอนกเ็ ริม่ สง่ั สมบาปตอ่ ไปจนถึงขณะหลบั อกี เป็นอยู่ทำ�นองน้ี โดยมิไดส้ นใจคดิ วา่ ตวั ท�ำ บาป หรือส่ังสมบาปเลย แม้เช่นน้ันยังหวังใจอยู่ว่า ตนมีศีลมีธรรม และคอยเอาแต่ความบริสุทธิ์จากความมีศีลมีธรรม ทยี่ งั เหลอื แตช่ อ่ื นนั้ ฉะนนั้ จงึ ไมเ่ จอความบรสิ ทุ ธิ์ กลบั เจอแตค่ วามเศรา้ หมองวนุ่ วายภายในใจอยตู่ ลอดเวลา ทงั้ นกี้ เ็ พราะ ตนแสวงหาสิ่งน้ันก็ต้องเจอส่ิงนั้น ถ้าไม่เจอส่ิงน้ันจะให้เจออะไรเล่า คนเราแสวงหาส่ิงใดก็ต้องเจอสิ่งนั้นเป็นธรรมดา เพราะเปน็ ของมีอยใู่ นโลกสมมตุ ิอยา่ งสมบรู ณ์ ทีท่ า่ นแสดงอยา่ งน้ี แสดงโดยหลกั ธรรมชาตขิ องศลี ธรรมทางดา้ นปฏิบตั ิ เพอื่ นกั ปฏบิ ตั ไิ ด้ทราบอย่างถงึ ใจ ลำ�ดับต่อไปท่านแสดงสมาธิ ปัญญา ตลอดวิมุตติหลุดพ้นอย่างเต็มภูมิและเปิดเผยไม่ปิดบังล้ีลับอะไรเลย ในวันน้ัน แต่จะไม่ขออธิบาย เพราะเคยอธิบายและเขียนลงบ้างแล้ว ขณะน้ันผู้ฟังทั้งหลายน่ังเงียบเหมือนหัวตอ ตลอดกณั ฑไ์ มม่ เี สยี งอะไรรบกวนธรรมทท่ี า่ นก�ำ ลงั แสดงอยา่ งเตม็ ทเ่ี ลย ตอนสดุ ทา้ ยแหง่ การแสดงธรรม ทา่ นพดู ท�ำ นอง พูดท่ีวัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ ว่ากัณฑ์น้ีเทศน์ซำ้�เฒ่า ต่อไปจะไม่ได้เทศน์ทำ�นองนี้อีก แล้วก็จบลง คำ�นั้น ได้กลายเป็นความจรงิ ขน้ึ มาดงั ท่านพูดไว้ นบั แตว่ ันนน้ั แล้วท่านมิได้เทศน์ท�ำ นองนั้นอีกเลย ทั้งเนอ้ื ธรรมและการแสดง นาน ๆ ผดิ กบั ครง้ั นนั้ อยมู่ าก หลงั จากนน้ั อกี หนง่ึ เดอื นทา่ นเรม่ิ ปว่ ยกระเสาะกระแสะเรอ่ื ยมา จนถงึ วาระสดุ ทา้ ยแหง่ ขนั ธ์ เสยี จนได้” คัดลอกจาก “ประวตั ิทา่ นพระอาจารย์มน่ั ภูริทัตตเถระ” โดยทา่ นพระอาจารยม์ หาบวั ญาณสัมปนั โน ศีล ๕ และอานิสงส์ของการรักษาศีล ๕ โดยหลวงปมู่ ัน่ ภรู ิทัตโต องค์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต เทศนาสั่งสอนว่า ศีล ๕ ซึ่งเป็นคุณธรรมท่ีไม่ขัดต่อภพกำ�เนิดและเพศวัยให้ฟัง พรอ้ มอานิสงสเ์ ปน็ ใจความย่อวา่ “หน่ึง” ส่ิงท่ีมีชีวิตเป็นส่ิงท่ีมีคุณค่าอยู่ในตัวของมันเอง จึงไม่ควรเบียดเบียนและทำ�ลายคุณค่าแห่งความ เปน็ อยขู่ องเขาให้ตกไป อันเป็นการท�ำ ลายคณุ ค่าของกนั และกันเปน็ บาปกรรมแก่ผูท้ �ำ “สอง” สิ่งของของใคร ๆ ก็รักและสงวนแม้คนอ่ืนจะเห็นว่าไม่ดีมีคุณค่า แต่ผู้เป็นเจ้าของย่อมเห็นคุณค่า ในสมบัติของตน ไมว่ า่ สมบัติหรอื สิง่ ของใด ๆ ทีม่ ีเจา้ ของ แมม้ ีคุณค่านอ้ ยก็ไมค่ วรท�ำ ลาย คือ ฉกลัก ปลน้ จี้ เป็นตน้ อันเป็นการทำ�ลายสมบัตแิ ละทำ�ลายจิตใจกนั อยา่ งหนัก ท้งั เปน็ บาปมาก ไมค่ วรทำ� “สาม” ลูกหลานสามภี รยิ าใคร ๆ ก็รกั สงวนอยา่ งยิ่ง ไม่ปรารถนาให้ใครมาอาจเอื้อมล่วงเกิน จงึ ควรให้สิทธิ เขาโดยสมบูรณ์ ไมล่ ่วงลำ�้ เขตแดนของกันและกนั อนั เปน็ การทำ�ลายจิตใจของผ้อู น่ื อยา่ งหนักและเป็นบาปไมม่ ีประมาณ “ส”่ี มสุ า การโกหกพกลมเปน็ สิง่ ทำ�ลายความเชือ่ ถอื ของผู้อ่ืนใหข้ าดสะบนั้ ลง ขาดความนบั ถอื อยา่ งไมม่ ีชน้ิ ดีเลย แม้แตส่ ัตว์ดิรัจฉานเขาก็ไมพ่ อใจในคำ�หลอกลวง จงึ ไมค่ วรพดู โกหกหลอกลวงใหผ้ ูอ้ ืน่ เสียหาย “ห้า” สุรา ตามธรรมชาติเป็นของมึนเมาและให้โทษอยู่ในตัวของมันอย่างเต็มที่อยู่แล้ว เมื่อดื่มเข้าไปย่อม สามารถทำ�คนดีๆ ให้กลายเป็นคนบ้าได้ในทันทีทันใด และลดคุณค่าลงโดยลำ�ดับ ผู้ต้องการเป็นคนดีมีสติปกครอง ตัวอย่างมนุษย์ทั้งหลาย จึงไม่ควรด่ืมสุราเคร่ืองท�ำ ลายสุขภาพทางกายและทางใจอย่างย่ิง เพราะเป็นการทำ�ลายตัวเอง และผ้อู น่ื ไปด้วยในขณะเดยี วกนั คดั ลอกจาก “ประวตั ทิ า่ นพระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ัตตเถระ” โดยท่านพระอาจารยม์ หาบัว ญาณสมั ปนั โน ๓๙

อานิสงสข์ องศีล ๕ เมอ่ื รักษาได้ “หนึ่ง” ทำ�ใหอ้ ายุยืนปราศจากโรคภัยมาเบียดเบยี น “สอง” ทรพั ย์สมบตั ิที่อยู่ในความครอบครอง มีความปลอดภัยจากโจรผูร้ ้ายมาราวเี บียดเบียนทำ�ลาย “สาม” ระหว่างลูกหลาน สามีภริยาอยู่ด้วยกันเป็นผาสุก ไม่มีผู้มาคอยล่วงล้ำ�กล้ำ�กราย ต่างครองกันด้วย ความเป็นสขุ “สี่” พูดอะไรมผี ้เู คารพเช่อื ถอื ค�ำ พูดมีเสน่ห์เป็นทจ่ี บั ใจไพเราะด้วยสัตยด์ ว้ ยศีล เทวดาและมนุษย์เคารพรัก ผ้มู สี ัตย์มีศีลไม่เปน็ ภยั แก่ตนและผูอ้ นื่ “หา้ ” เปน็ ผู้มสี ตปิ ัญญาดีและเฉลียวฉลาด ไม่หลงหน้า หลงหลงั จับโน่นชนน่เี หมือนคนบา้ บอหาสตไิ ม่ได้ ผมู้ ศี ลี เปน็ ผปู้ ลกู และสง่ เสรมิ ความสขุ บนหวั ใจคนและสตั วท์ ว่ั โลก ใหม้ แี ตค่ วามอบอนุ่ ใจ ไมเ่ ปน็ ทรี่ ะแวงสงสยั ผไู้ มม่ ศี ลี เปน็ ผทู้ �ำ ลายหวั ใจคนและสตั วใ์ หไ้ ดร้ บั ความทกุ ขเ์ ดอื ดรอ้ นทกุ หยอ่ มหญา้ ฉะนนั้ ผเู้ หน็ คณุ คา่ ของตวั จงึ ควรเหน็ คณุ คา่ ของผ้อู ่นื วา่ มีความรู้สึกเชน่ เดยี วกัน ไม่เบยี ดเบียนท�ำ ลายกัน ผมู้ ีศลี สัตยเ์ มอ่ื ทำ�ลายขันธ์ไปเกิดในสคุ ตโิ ลกสวรรค์ ไมต่ กต�่ำ เพราะอ�ำ นาจศลี ธรรมคมุ้ ครองรกั ษาและสนบั สนนุ จงึ สมควรอยา่ งยง่ิ ทจี่ ะพากนั รกั ษาใหบ้ รบิ รู ณ์ เมอื่ จากอตั ภาพ นจี้ ะมสี วรรคเ์ ปน็ ทไี่ ปโดยไมต่ อ้ งสงสยั ธรรมทส่ี ง่ั สอนแลว้ ควรจดจ�ำ ใหด้ ี ปฏบิ ตั ใิ หม้ นั่ คง จะเปน็ ผทู้ รงสมบตั ทิ กุ อยา่ งใน อตั ภาพที่จะมาถึงในไม่ช้าน้ีแน่นอน” คัดลอกจาก “ประวตั ทิ า่ นพระอาจารยม์ ัน่ ภูรทิ ัตตเถระ” โดยท่านพระอาจารยม์ หาบัว ญาณสมั ปนั โน ปกิณกธรรมขององค์หลวงปมู่ ัน่ ภูริทัตโต โอวาทธรรมหลวงป่มู ่ัน ภูรทิ ตโฺ ต โดยหลวงปูห่ ล้า เขมปตโฺ ต ผู้ถือไมม่ ีบาป ไม่มบี ุญ กม็ ากมายเขา้ แลว้ แผน่ ดินนับวนั แคบ มนุษย์แม้จะถึงตาย ก็นับวนั มากขึน้ นโยบาย ในทางโลกยี ใ์ ดๆ กน็ บั วนั ประชนั ขนั แขง่ กนั ขนึ้ พวกเราจะปฏบิ ตั ลิ �ำ บากในอนาคต เพราะเนอ่ื งดว้ ยทอี่ ยไู่ มเ่ หมาะสม เปน็ ไร่เป็นนาจะไม่วิเวกวังเวง ศาสนาทางมิจฉาทิฏฐิ ก็นับวันจะแสดงปาฏิหาริย์ คนที่โง่เขลาก็จะถูกจูงไปอย่างโคและกระบือ ผู้ท่ีฉลาด ก็เหลือน้อย ฉะน้นั พวกเราทั้งหลายจงรบี เรง่ ปฏิบัตธิ รรม ให้สมควรแกธ่ รรมดังไฟทกี่ ำ�ลังไหม้เรอื น จงรีบดบั เรว็ พลนั เถิด ใหจ้ ติ ใจเบอื่ หนา่ ยคลายเมาวฏั สงสาร ทง้ั โลกภายในหนงั หมุ้ อยโู่ ดยรอบ ทง้ั โลกภายนอกทร่ี วมเปน็ สงั ขารโลก ใหย้ กดาบ เลม่ คมเขา้ สู้ คือ อนิจจงั ทกุ ขข์ ัง อนตั ตา พจิ ารณาติดต่ออยไู่ มม่ กี ลางวันกลางคนื เถิด ความเบ่ือหน่ายคลายเมาไม่ต้องประสงค์ ก็จะต้องได้รับแบบเย็นๆ และแยบคายด้วยจะเป็นสัมมาวิมุตติ และสมั มาญาณะอันถ่องแท้ ไมต่ ้องสงสัยดอก พระธรรมเหล่านี้ไม่ล่วงไปไหน มีอยู่ ทรงอยู่ในปัจจุบันจิตปัจจุบันธรรม ท่ีเธอทั้งหลายตั้งอยู่หน้าสติ หน้าปัญญา อยดู่ ้วยกัน กลมกลนื ในขณะเดยี วนน่ั แหละ” โอวาทคร้ังสดุ ท้ายของพระอาจารยม์ ัน่ ภรู ทิ ัตตเถระ (บนั ทึกโดยพระอาจารย์หล้า เขมปตฺโต) จากหนังสือ “เพชรน้ำ�หน่งึ ” ๔๐

กองทัพธรรมพระกรรมฐาน ศิษยานุศิษย์ขององค์หลวงปมู่ ั่น ภรู ิทัตโต ในยคุ สมยั สำ�นักบ้านหนองผอื นาใน อำ�เภอพรรณานิคม จงั หวดั สกลนคร องคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต ไดอ้ บรม สั่งสอนทั้งพระสงฆ์และฆราวาสเป็นจำ�นวนมาก โดยเฉพาะพระสงฆ์น้ัน ถือได้ว่าองค์ท่านล้วนเป็นผู้สร้างพระอริยเจ้า ข้ึนมาในยุคกึ่งพุทธกาลโดยแท้ เพราะบรรดาศิษยานุศิษย์ขององค์ท่าน ล้วนเป็นผู้มีช่ือเสียงและมีลูกศิษย์ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ธำ�รงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนา ทำ�ให้พระฝ่ายวิปัสสนาธุระ เป็นท่ีรู้จักของบุคคลท่ัวไป จวบจนถึงปัจจุบัน ซึง่ ตัวอย่างรายนามคณะกองทพั ธรรมทเี่ กย่ี วข้องและเปน็ ศษิ ยานุศิษย์ขององค์ท่าน มีตวั อย่าง ดังตอ่ ไปนี.้ .. พระเทพสิทธาจารย์ พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่จนั ทร์ เขมิโย) (หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล) วดั ศรีเทพประดิษฐาราม จงั หวดั นครพนม วัดบรู พาราม จังหวดั สุรินทร์ พระธรรมเจดยี ์ หลวงปูก่ ินรี จนฺทิโย (หลวงปูจ่ มู พนธฺ โุ ล) วดั กนั ตะศลิ าวาส จงั หวัดนครพนม วัดโพธสิ มภรณ์ จังหวัดอดุ รธานี พระราชนิโรธรังสีคมั ภีรปัญญาวิศษิ ฎ์ หลวงปสู่ วุ รรณ สุจณิ โฺ ณ (หลวงป่เู ทสก์ เทสรํส)ี วดั อรัญญวาสี จังหวัดหนองคาย วัดหนิ หมากเป้ง จงั หวดั หนองคาย พระญาณวิศิษฏส์ มิทธิวรี าจารย์ หลวงปู่กู่ ธมฺมทินฺโน (หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม) วดั ป่ากลางโนนภู่ จังหวัดสกลนคร วัดปา่ สาลวนั จงั หวัดนครราชสมี า หลวงปูบ่ ญุ มา ฐิตเปโม หลวงปู่มหาป่นิ ปญญฺ าพโล วัดสิรสิ าลวนั จังหวดั หนองบัวลำ�ภู วดั ปา่ แสนสำ�ราญ จงั หวดั อุบลราชธานี หลวงปู่อ่อน ญาณสริ ิ พระครูญาณโสภติ วดั ปา่ นิโครธาราม จงั หวัดอดุ รธานี (หลวงปูม่ ี ญาณมนุ ี) วดั ปา่ สูงเนิน จงั หวัดนครราชสมี า หลวงปชู่ อบ ฐานสโม หลวงปูท่ องรตั น์ กนฺตสโี ล วดั ป่าสมั มานสุ รณ์ จงั หวัดเลย วดั ป่ามณรี ตั น์ จงั หวัดอบุ ลราชธานี หลวงปู่หลยุ จนทฺ สาโร หลวงปู่ค�ำ แสน คณุ าลงกฺ าโร วดั ถ้�ำ ผาบง้ิ จังหวดั เลย วดั ดอนมูล จงั หวดั เชยี งใหม่ หลวงปู่ขาว อนาลโย สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วดั ถ้�ำ กลองเพล จังหวัดหนองบัวล�ำ ภู (หลวงปูม่ หาพมิ พ์ ธมฺมธโร) หลวงปู่ฝั้น อาจาโร วดั พระศรมี หาธาตุ กรงุ เทพมหานคร วดั ปา่ อุดมสมพร จังหวัดสกลนคร ๔๑

หลวงปูก่ วา่ สุมโน หลวงปู่กงมา จิรปญุ ฺโญ วัดปา่ กลางโนนภู่ จังหวัดสกลนคร วดั ดอยธรรมเจดยี ์ จงั หวดั สกลนคร หลวงปู่อุ่น ธมมฺ ธโร พระสทุ ธิธรรมรงั สคี มั ภรี เมธาจารย์ วดั ทิพยรัฐนมิ ิต จงั หวัดอดุ รธานี (หลวงปลู่ ี ธมมฺ ธโร) วัดอโศการาม จังหวดั สมทุ รปราการ หลวงปหู่ ลา้ ขนฺติโก หลวงปจู่ ันทร์ เขมปตโฺ ต วดั ปา่ ขันติยานุสรณ์ จังหวดั อุดรธานี วัดจันทราราม จังหวัดหนองคาย หลวงปู่เกง่ิ อธิมตุ ฺตโก หลวงปู่ค�ำ ดี ปภาโส วดั ป่าโพธช์ิ ยั จงั หวัดนครพนม วัดถ้�ำ ผาปู่ จังหวัดเลย หลวงปสู่ ลี า อิสสฺ โร หลวงปู่พร สุมโน วัดป่าอสิ ระธรรม จังหวดั สกลนคร วดั ประชานยิ ม จังหวดั สกลนคร หลวงปดู่ ี ฉนโฺ น สมเด็จพระมหามุนวี งศ์ วดั ป่าสุนทราราม จงั หวดั ยโสธร (หลวงปมู่ หาสนั่น จนฺทปชฺโชโต) หลวงปคู่ ณู อธิมุตตฺ โก วัดนรนาถสุทรกิ าราม กรุงเทพมหานคร วดั ประชาบ�ำ รงุ จังหวดั มหาสารคาม หลวงปู่ภุมมี ฐติ ธมโฺ ม หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ โฺ ญ วัดป่าโนนนิเวศน์ จงั หวดั อดุ รธานี วดั ประสิทธธิ รรม จงั หวดั อดุ รธานี พระภาวนาวศิ าลเถร พระราชมุนี (หลวงปูบ่ ุญมี โชตปิ าโล) วดั สระประสานสขุ จังหวัดอบุ ลราชธานี (หลวงปู่โฮม โสภโณ) วัดปทมุ วนาราม กรุงเทพมหานคร พระญาณสทิ ธาจารย์ หลวงปู่กงแกว้ ขนตฺ ิโก (หลวงปสู่ ิม พทุ ธฺ าจาโร) วดั ถ้�ำ ผาปล่อง จังหวดั เชยี งใหม่ วัดปา่ กลางสนาม จังหวดั มุกดาหาร หลวงปู่บญุ มาก ฐิตปิ ญโฺ ญ หลวงปู่แหวน สุจณิ โฺ ณ วดั ภมู ะโรง สปป.ลาว วัดดอยแม่ป๋งั จงั หวดั เชยี งใหม่ พระครูบริบาลสงั ฆกจิ พระครอู ุดมธรรมคณุ (หลวงปอู่ ่นุ อุตตฺ โม) (หลวงปมู่ หาทองสกุ สจุ ติ ฺโต) วัดอุดมรัตนาราม จังหวดั สกลนคร วดั ป่าสทุ ธาวาส จงั หวัดสกลนคร หลวงปชู่ ามา อจตุ ฺโต หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม วัดป่าอัมพวนั จงั หวัดเลย วัดปา่ อรัญญวิเวก จงั หวดั นครพนม พระอดุ มญาณโมลี หลวงปู่สาม อกิญจฺ โน (หลวงปู่มหาจันทรศ์ รี จนฺททีโป) วัดป่าไตรวเิ วก จงั หวดั สุรินทร์ วดั โพธิสมภรณ์ จังหวดั อดุ รธานี ๔๒

พระครภู าวนาทศั นวิสุทธิ พระครพู ฒุ ิวราคม (หลวงปแู่ ว่น ธนปาโล) (หลวงปพู่ ุฒ ยโส) วดั ถ�ำ้ พระสบาย จงั หวดั ล�ำ ปาง วัดปา่ คามวาสี จังหวัดสกลนคร หลวงปู่มหาบญุ มี สริ ิธโร พระครูศาสนปู กรณ์ วัดป่าวังเลงิ จงั หวดั มหาสารคาม (หลวงป่บู ุญจนั ทร์ กมโล) วัดปา่ สนั ตกิ าวาส จงั หวัดอดุ รธานี พระครสู ลี ขันธ์สังวร พระครูปราโมทยธ์ รรมธาดา (หลวงปู่อ่อนสี สุเมโธ) วัดพระงามศรมี งคล จงั หวัดหนองคาย (หลวงปู่หลอด ปโมทิโต) วัดสริ กิ มลาวาส กรงุ เทพมหานคร หลวงป่วู ัง ฐติ ิสาโร พระครูญาณวศิ ิษฏ์ วัดถำ้�ชยั มงคล ภลู งั กา จงั หวดั นครพนม (หลวงปูเ่ ฟ่อื ง โชตโิ ก) พระครวู มิ ลญาณวิจติ ร วดั ธรรมสถิต จงั หวัดระยอง (หลวงปบู่ ุญ ชนิ วโํ ส) หลวงปูผ่ ่นั ปาเรสโก วัดป่าศรีสวา่ งแดนดิน จังหวัดสกลนคร วัดปา่ หนองไคร้ จังหวัดยโสธร พระสธุ รรมคณาจารย์ พระครูสุทธธิ รรมรังสี (หลวงป่เู หรียญ วรลาโภ) วัดอรัญญบรรพต จงั หวัดหนองคาย (หลวงปูเ่ จีย๊ ะ จุนฺโท) วดั ป่าภรู ิทตั ตปฏิปทาราม จังหวดั ปทมุ ธานี พระสุธรรมคณาจารย์ หลวงปู่สอ สุมงคฺ โล (หลวงปูแ่ ดง ธมมฺ รกฺขโิ ต) วัดประชานยิ ม จังหวดั กาฬสินธ์ุ วัดศรฐี านใน จังหวัดยโสธร พระธรรมวสิ ทุ ธิมงคล พระโพธญิ าณเถร (หลวงปมู่ หาบวั ญาณสมฺปนฺโน) (หลวงป่ชู า สุภทฺโท) วดั ปา่ บา้ นตาด จงั หวดั อุดรธานี วดั หนองปา่ พง จงั หวัดอุบลราชธานี พระอรยิ เวที หลวงปจู่ าม มหาปญุ ฺโญ (หลวงปู่มหาเขียน ฐติ สโี ล) วดั ปา่ วเิ วกวฒั นาราม จงั หวัดมกุ ดาหาร วดั รงั สปี าลิวนั จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ หลวงปบู่ วั สิรปิ ุณโณ หลวงปอู่ อ่ นสา สขุ กาโร วัดปา่ บ้านหนองแซง จงั หวดั อุดรธานี วัดป่าประชาชุมพลพัฒนาราม จงั หวัดอดุ รธานี พระธรรมมงคลญาณ พระครปู ัญญาวสิ ุทธิ์ (หลวงปู่วริ ยิ ังค์ สริ ินธฺ โร) (หลวงปูบ่ ัวพา ปญญฺ าภาโส) วัดธรรมมงคล กรงุ เทพมหานคร วัดป่าพระสถิตย์ จังหวัดหนองคาย พระโพธธิ รรมาจารย์เถร หลวงปคู่ �ำ ยสกลุ ปตุ โฺ ต (หลวงปสู่ ุวจั น์ สุวโจ) วดั ศรจี ำ�ปาชนบท จงั หวัดสกลนคร วดั ปา่ เขานอ้ ย จงั หวดั บุรีรมั ย์ ๔๓

พระอุดมสงั วรวิสทุ ธเิ ถร พระเทพวิสทุ ธมิ งคล (หลวงปวู่ ัน อตุ ตฺ โม) (หลวงปศู่ รี มหาวีโร) วดั ถ้�ำ อภยั ด�ำ รงธรรม จงั หวดั สกลนคร วดั ประชาคมวนาราม (ปา่ กุง) จังหวดั ร้อยเอ็ด หลวงปจู่ ันทรโ์ สม กิตตฺ ิกาโร พระวสิ ุทธญิ าณเถร วัดป่าจันทรงั สี (วดั ป่าบา้ นนาสีดา) จงั หวัดอุดรธานี (หลวงป่สู มชาย ฐติ วริ โิ ย) วดั เขาสกุ ิม จงั หวดั จนั ทบุรี พระราชสงั วรญาณ หลวงป่ผู า่ น ปญฺญาปทโี ป (หลวงปพู่ ุธ ฐานโิ ย) วัดปา่ สาลวนั จังหวดั นครราชสมี า วัดป่าปทีปญุ ญาราม จังหวดั สกลนคร หลวงปูอ่ ุ่น กลยฺ าณธมฺโม พระเทพสงั วรญาณ วดั ป่าวิสุทธิธรรม จงั หวัดสกลนคร (หลวงปู่พวง สขุ นิ ฺทรโิ ย) วดั ศรีธรรมาราม จงั หวัดยโสธร หลวงปู่จวน กุลเชฎโฺ ฐ หลวงปู่ฉลวย สธุ มโฺ ม วัดเจตยิ าคริ วี ิหาร (ภูทอก) จงั หวัดบงึ กาฬ วัดป่าบา้ นวไลย จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ พระครสู ุวณั โณปมคุณ พระเนกขมั มมนุ ี (หลวงปคู่ ำ�พอง ติสฺโส) วัดถำ�้ กกดู่ จงั หวัดอดุ รธานี (หลวงปกู่ ้าน ฐิตธมโฺ ม) วดั ราชายตนบรรพต จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ พระครสู งั วรศลี วตี ร หลวงปูผ่ าง จิตตคตุ ฺโต (หลวงปู่อุน่ ชาคโร) วัดดอยบนั ไดสวรรค์ จังหวดั อุดรธานี วดั อุดมคงคาครี เี ขต จงั หวดั ขอนแกน่ หลวงป่แู ตงออ่ น กลยฺ าณธมโฺ ม หลวงปบู่ ุญเพง็ เขมาภริ โต วดั กัลยาณธัมโม (โชคไพศาล) จงั หวดั สกลนคร วดั ถ�ำ้ กลองเพล จงั หวดั หนองบัวลำ�ภู หลวงปสู่ ม โกกนทุ ฺโท แม่ชีแกว้ เสยี งล�ำ้ วัดเวยี งสวรรค์ จังหวดั ล�ำ ปาง ส�ำ นักชีบา้ นหว้ ยทราย อำ�เภอคำ�ชะอี จงั หวดั มกุ ดาหาร หลวงป่สู งิ ห์ทอง ธมมฺ วโร ท่าน ก. เขาสวนหลวง วดั ปา่ แกว้ ชมุ พล จังหวัดสกลนคร สำ�นกั ปฏิบตั ิธรรมเขาสวนหลวง (อุศมสถาน) หลวงปหู่ ลา้ เขมปตโฺ ต ต�ำ บลเกาะพลับพลา อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี วัดบรรพตคีรี (ภูจอ้ ก้อ) จงั หวัดมกุ ดาหาร ผู้จัดท�ำ กราบขอขมาตอ่ พระเถรานุเถระและพระคุณเจา้ ทกุ ทา่ นทีเ่ ป็นศิษยานุศิษย์ ที่สืบทอดแนวทางปฏิปทาของหลวงปูม่ ่ัน ภรู ทิ ตฺตมหาเถระ ที่มีภาพ แตไ่ ม่สามารถจะเรียงล�ำ ดับพรรษาไดถ้ กู ตอ้ ง และทา่ นทีไ่ มม่ ีภาพ ไม่มีรายนามในทน่ี ้ีขอได้โปรดอโหสิกรรมในที่นีด้ ้วยเทอญ ๔๔

รายนามตัวอยา่ ง วัดป่าสายธรรมยุติกนิกายในประเทศไทย สายขององค์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ตลอดช่วงชีวติ ในสมณเพศขององค์หลวงปมู่ นั่ ภูรทิ ัตโต นน้ั องคท์ ่านจะจาริกธุดงคไ์ ปเร่ือยๆ จะไม่สรา้ งถาวรวตั ถุ จะมีบ้างก็เพียงกุฏิมงุ ด้วยหญ้าแฝก ยกเว้นชว่ งสุดท้ายในชวี ิตขององคท์ า่ นในยุควัดป่าหนองผอื นาใน ท่ีพอจะมกี ฏุ ไิ มส้ ร้างข้นึ มา ๒-๓ หลงั แต่ถึงกระน้นั กไ็ มใ่ ชด่ ำ�รขิ ององคท์ า่ น ในการจัดสร้างวัด เพราะองคท์ ่านไม่เน้นการสร้างวตั ถุ ตอ่ มาเม่อื องค์ทา่ นได้ละสังขารไปแลว้ คณะศิษยานศุ ิษย์ตา่ งกไ็ ดแ้ ยกย้ายไปเผยแผธ่ รรมะ ตามสถานท่ตี ่างๆ จนพระธดุ งคกรรมฐานเป็นทรี่ ู้จกั ของคนไทยและชาวต่างชาติ จนมาถงึ ปจั จุบนั นั้น พบว่า วัดที่สรา้ งขน้ึ ในสายขององค์ทา่ นในประเทศไทย มจี �ำ นวน ๓,๓๐๐ แห่ง และในตา่ งประเทศ จำ�นวน ๑๖๐ แห่ง ดงั ตวั อย่างดังต่อไปนี.้ .. วัดเลียบ อำ�เภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธานี วัดเลียบ เป็นวัดหนึ่งท่ีมีความสำ�คัญ เน่ืองจากมีความเเก่ียวข้องกับพระสงฆ์ ๒ รูป ที่เป็นต้นธารแห่งสาย พระกมั มฏั ฐาน คอื หลวงปเู่ สาร์ กนตฺ สโี ล และหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต กลา่ วคอื เมอ่ื หลวงปมู่ นั่ ไดอ้ ปุ สมบทแลว้ จงึ มาศกึ ษา วิปัสสนาธุระกบั หลวงปเู่ สารท์ ี่วัดแห่งนี้ ๔๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook