Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ที่1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่1

Published by Thalerngsak Thowtho, 2019-04-30 14:09:56

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ธรรมชาติของฟิสิกส์และการวัด
รหัสวิชา ว 31201 รายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรทู 2่ี หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องฟสิกสแ ละการวดั รหสั วชิ า ว 31201 รายวิชา ฟส ิกสเ พิม่ เติม กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 2 ช่วั โมง ครูผสู อน นายเถลิงศกั ด์ิ เถาวโ ท 1. มาตรฐานการเรียนรู/ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรยี นรู มาตรฐาน ว 8.1 มาตรฐานการเรยี นรูช วงช้นั ม.4-6 ผลการเรยี นรู 2. จดุ ประสงคการเรยี นรู (จากตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู) 3. สาระสําคัญ

1. การแสดงผลดวยขีดสเกล 2. การแสดงผลดวยตวั เลข 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น 5. สาระการเรียนรู 5.1 ความรู (Knowledge : K) การเลือกใชเ ครื่องมอื วัด

5.2 ดา นทักษะ/กระบวนการ (Process : P) 5.3 ดานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค(Attitude : A) 6. จดุ เนนสูการพัฒนาคุณภาพผูเรยี น(

6.1 ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู 3R X 8C            6.2 ทักษะดา นชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษท่ี 21      6.3 คณุ ลักษณะของคนในศตวรรษท่ี 21    7. การบรู ณาการ(      

8. ช้ินงานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน/รอ งรอยแสดงความรู) 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู (เมือ่ ยกมอื ซายท่จี ุม ในขนั น้ําเยน็ และมอื ขวาท่จี มุ ในขันนาํ้ รอนมาจุมลงในขันนํา้ ท่ีมี อุณหภมู ิเทา กับอณุ หภูมิหอ ง มอื ซา ยจะมีความรสู กึ รอนและมือขวาจะรสู ึกเย็น)

มวลของสารเคมีท่ีอานไดด ว ยวธิ ีการวดั นจี้ ะมีความผดิ พลาดเนื่องจากอทิ ธพิ ลของลม ซ่ึงจะ เขาไปกระทบเครอื่ งช่งั ซึง่ อาศยั หลักการสมดุล โดยจะทําใหจานตาช่งั แกวงขนึ้ ลงแนวดิ่งทําใหก ารอา นคามวล ทาํ ไดล าํ บาก ควรจะทาํ การวดั ในหองปดหรือนาํ เครอ่ื งช่งั ใสไวใ นตูแลวชง่ั สารเคมีในตู 1. เครื่องมือวดั เพราะสายวดั ทาํ ดว ยพลาสตกิ ออนซง่ึ ยืดได ดังนน้ั คาที่อานไดจะเกดิ ความผดิ พลาดจากการ ยดื ตวั ของสายวัด 2. วิธีการ เพราะวธิ กี ารวดั เราตองยึดสานวัดไวที่จุด A แลวพยายามขึงสายวดั ใหตึงไมใ หอ อนซึง่ เปนวิธที ่จี ะ ทาํ ใหสายวัดยดื ตัว 3. สภาพแวดลอ ม เพราะในทโี่ ลง ถามลี มพดั แรงจะทําใหสายวดั สะบัด เราจึงจําเปนตองขึงสายวดั ใหตึงเพอ่ื ลด การสะบัดซงึ เปนสาเหตุใหสายวัดยดื (เพราะตลับเมตรมี ความยาวมากกวา ความยาว ความกวางและความสงู ของโตะ เรยี น เวลาใชก ส็ ะดวก คอื ใชต ะขอของตลบั เมตร

เกย่ี วทีข่ อบโตะดานหนึง่ แลวดงึ สายวัดออกจากตลับทาบไปตามความยาว ความกวา งและความสูง ถึงขอบโตะ ดา นหน่ึงก็อานคาไดทันที ซึ่งหากใชไ มบ รรทัดตองวัดหลายครงั้ ซึง่ อาจทําใหเกิดขอผิดพลาดข้ึนได) (เพราะกอ นหินมีรปู รางไมแ นน อน ไมเ ปน รูปทรงเรขาคณิตและกอนหินไมล ะลายนํ้า การหาปริมาตรจงึ ใชแทนทนี่ า้ํ ไดโดยดูจากระดบั น้าํ ทเี่ พมิ่ ข้นึ หลงั ใส กอนหนิ ) (เพราะเครอ่ื งช่ังสปรงิ เปนเคร่ืองมือ ท่ใี ชหาน้ําหนักของวัตถุ) (เพราะเครื่องช่ัง 2 แขน เปน เครือ่ งมือที่ใชห ามวลของวตั ถุ) (ใชกระบอกตวง หลอดฉีดยาหรือถวยยูเรกา กไ็ ด) (ใชก อนหนิ แทนทน่ี ้ํา แลว ตวงหาปริมาตรของน้ําทลี่ น ออกมาโดยใชถวยยูเรกาและหลอดฉดี ยา) (ใหก ระเปาะและ กา นเทอรโมมเิ ตอรจมุ อยใู นน้ําและกา นเทอรโ มมเิ ตอรตองตัง้ ตรง เม่อื ระดบั ของของเหลวในเทอรโมมิเตอรไ ม เปลย่ี นแปลงแลว จึงอา นคาตรงขดี ทตี่ รงกบั ระดับของของเหลวในเทอรโมมิเตอร โดยใหสายตาอยูท่รี ะดบั เดยี วกนั กบั ของเหลวน้ันและเทอรโ มมิเตอรย ังจมุ อยูในส่ิงทตี่ อ งการวดั ) (การใชประสาทสมั ผัสและการประมาณดว ยการใชข นาดของรางกายของเราเปน เครื่องมือ ไมมคี วามนาเช่อื ถอื เทาท่ีควร เพราะขีดจํากดั ของการใชประสาทสัมผัสของแตละคนตางกนั ) (สามารถฝกได แตละคนอาจใชเวลาในการฝกแตกตางกนั )

(ไมโครมิเตอร) (เวอรเ นียร) (การวดั หมายถงึ ความสามารถในการเลือกใชเ คร่ืองมอื ในการวัดอยา งเหมาะสม และใชเครือ่ งมือนัน้ หาปริมาณของสิง่ ตางๆออกมาเปนตัวเลขไดถ กู ตอ งและรวดเร็ว โดยมีหนวยกํากับ ตลอดจนสามารถอานคาท่วี ัดไดถูกตองและใกลเคียงกับความเปนจรงิ และเมื่อทําการวัดสิ่ง ใดส่งิ หน่งึ มกั มคี วามคลาดเคลื่อนเกดิ ขึน้ เสมอ เราสามารถแกไ ขความ คลาดเคลอื่ นทเ่ี กดิ ขนึ้ ขณะวดั ได โดยทาํ การวัดหลายๆคร้งั และหาคาเฉล่ีย) 10. สอ่ื การสอน 11. แหลงเรียนรูในหรือนอกสถานท่ี 12. การวัดและประเมินผล (ใสตามความเหมาะสม) 12.1 วิธีการวดั และประเมนิ ผล

12.2 เครอ่ื งมอื 13. กจิ กรรมเสนอแนะ 14. บันทึกผลหลังการสอน 14.2 ปญ หา/อุปสรรค/แนวทางแกไ ข

14.3 เสนอแนะ ความเหน็ ของหัวหนาสถานศกึ ษา/ผูท่ีไดร บั มอบหมาย          

บตั รกิจกรรม

เฉลยบตั รกจิ กรรม ตลับเมตรหรือ เมตรหรอื ไมเ มตร เซนตเิ มตร เครอื่ งชั่ง 2 กรัม แขน กรมั เคร่อื งช่ัง สปรงิ ลบ.ซม. กรมั ไมบ รรทัด กรัม เครอ่ื งชง่ั 2 แขน ลบ.ซม. กรมั เครอื่ งช่งั สปริง ลบ.ซม. เซลเซยี ส กระบอกตวงฯ เครื่องช่งั 2 แขน กระบอกตวงฯ เทอรโมมิเตอร ไมบ รรทดั

 

   

แบบประเมินทกั ษะผูเรียนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) (10 คะแนน)  คําช้แี จง :  ทักษะผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะในสาระ R วิชาหลกั R R ทักษะการ C เรยี นรแู ละ C นวตั กรรม C C C C

C C ทักษะการเรยี นรแู ละภาวะผูนาํ L L ขอ สงั เกต หลกั ฐาน รอ งรอย อน่ื ๆ เกณฑการใหคะแนน

เกณฑการแปลความหมายของชวงคะแนน ชวงคะแนน ความหมาย    


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook