Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ-BKS-Phonics-Model

นวัตกรรมการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ-BKS-Phonics-Model

Published by Oranee Jainan อรณี ใจแน่น, 2022-08-05 16:05:51

Description: นวัตกรรมการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ-BKS-Phonics-Model

Search

Read the Text Version

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e คำนำ นวตั กรรม BKS - Phonics Model สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษา เลม่ นี้จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูล ในการจัดทานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษข้ึน เพ่ือใช้ในการแก้ปัญหาในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนการพัฒนาผลการปฏิบัติงานและการพัฒนา ตนเองด้านวชิ าชพี ของครผู ูส้ อน ขอขอบคุณสานักงานพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 คณะผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และผ้ทู เ่ี กี่ยวขอ้ งทม่ี ีส่วนช่วยเหลอื สนบั สนุน ใหก้ ารดาเนนิ งานจดั ทานวัตกรรมนวตั กรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model เพอื่ พัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ของข้าพเจา้ ในคร้ังน้ีประสบผลสาเร็จ ด้วยดี และหวังว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน ยกระดับคุณภาพของการศึกษา ของไทย และใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาคุณภาพภาษาอังกฤษของโรงเรียนในปีต่อๆไปให้มคี ณุ ภาพมากยงิ่ ข้ึน อรณี ใจแน่น ผจู้ ดั ทา

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e สำรบญั เร่ือง หน้ำ คำนำ ก สำรบัญ ข สภาพปัญหาและความเป็นมา 1 จดุ ประสงค์ 2 วิธีดาเนนิ การ 2 ระยะท1ี่ สร้างและพัฒนานวตั กรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model 3 - ศกึ ษาความเปน็ มาและสภาพปัญหา (P : Plan) - การออกแบบนวตั กรรมและจดั ทานวัตกรรม (D : Do) ระยะท2่ี นานวตั กรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model มาใช้ในกระบวนการจัดการ เรยี นรู้ เพื่อพฒั นาทักษะการอา่ นออกเสียงภาษาอังกฤษ สาหรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา โรงเรยี นบ้านโคกศรี สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาสินธุ์ เขต 2 4 - การนานวัตกรรมไปทดลองใช้กบั ผู้เรยี น (R : Reinforce) - ตรวจสอบติดตามหลังการทดลองใช้นวตั กรรม (C : Check) - ปรบั ปรุงแกไ้ ข นานวัตกรรมไปสหู่ ้องเรยี นและประเมนิ ผล (A : Action) - การแลกเปลยี่ นและการเผยแพรผ่ ลงาน (S : Share) ภาพประกอบ แสดงระยะการดาเนินการ ขัน้ ตอนดาเนนิ การ และผลท่คี าดหวงั ของนวัตกรรม 5 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั จากการใชน้ วัตกรรม 6 บรรณำนุกรม 7 ภำคผนวก 8

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |1 1. สภำพปัญหำและควำมเป็นมำ ในปจั จุบนั ภาษาอังกฤษมบี ทบาทสาคัญที่จะชว่ ยให้ประเทศไทยมีการพัฒนาได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของสังคมโลก ซ่ึงภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักที่ใช้เพ่ือการสื่อสารระหว่างประเทศมากท่ีสุดหรือเรียกว่าเป็น ภาษาสากล (เดวดิ แกรดดอล. 2006) ไดว้ ิจยั เรื่อง English Next. กลา่ วถึงแนวโน้มของภาษาองั กฤษว่า นับจาก นี้ไปจานวนผู้เรียนภาษาอังกฤษท่ัวโลกจะขยายตัวเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง และคาดว่าในอีก 10-15 ปีข้างหน้า ประมาณ (2015 -2020) จานวนผู้เรยี นจะเพิ่มสูงสุดถึง 3 พนั ล้านคน ขอ้ มลู จากงานวิจัยน้ี ไดส้ ะท้อนให้เห็นว่า ผู้คนบนโลกน้ีตา่ งตระหนักถึงความสาคัญของภาษาอังกฤษในสังคมโลกยุคใหม่ ซึ่งมคี วามสอดคล้องกับนโยบาย การจัดการศึกษาของไทยด้านภาษาอังกฤษในปัจจุบันของกระทรวงศึกษาธิการ ที่พยายามยกระดับการเรียน การสอนภาษาอังกฤษคร้ังใหญ่ของประเทศโดยการปรับปรุงการสอนสาระวิชาภาษาอังกฤษในทุกระดับช้ันให้ เป็นการเรียนแบบเข้มข้น พร้อมทั้งวางมาตรฐานหลักสูตรกลุ่มสาระภาษาอังกฤษและเกณฑ์ของครูผู้สอน รวมถงึ ผลสัมฤทธ์ขิ องนักเรยี นใหเ้ ป็นมาตรฐานเดียวกันทุกระดบั ทุกประเภท (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2562) จาก เหตุผลข้างต้นครูผู้สอนในทุกระดับจึงจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีการเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้รายวิชา ภาษาองั กฤษทเ่ี หมาะสมเพือ่ ให้เกิดประโยชนแ์ ละถา่ ยทอดองค์ความรู้ใหก้ ับผู้เรยี นมากทีส่ ดุ การจัดการเรียนรู้ในช่วงที่ผ่านมารวมถึงปัจจุบัน การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของไทย ประสบปัญหาต่างๆ มากมายท่ีทาให้ผู้เรียนไม่สามารถส่ือสารด้วยการใช้ภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติได้ อัน เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการตั้งแต่ตัวหลักสูตร ข้อจากัดของความพร้อมและการเข้าถึงสื่อ และเทคโนโลยี ต่างๆของสถานศึกษาท่ีไม่เท่าเทียมกัน และสิ่งสาคัญอีกหนึ่งประการคือ รูปแบบ เทคนิค หรือกระบวนจัดการ เรียนการสอนของครู ส่งผลให้ผู้เรียนขาดทักษะด้านภาษาอังกฤษ และไม่สามารถใช้ทักษะภาษาอังกฤษในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธภิ าพมากพอ ซึ่งมีความสอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ (มร.แอนดรูว์ กลาส. 2563) กล่าวถึง ปัญหาด้านภาษาอังกฤษของไทยเกิดจาก 4 ประเด็น คือ 1.ค่าเฉลี่ยทักษะภาษาอังกฤษของครูภาษาอังกฤษ ระดับช้ันประถม-มัธยมศึกษามากกว่า 75 % อยู่ในระดับ A2 หรือต่ากว่าพื้นฐาน 2.ปัญหาทักษะภาษาอังกฤษ ในภาพรวมของประเทศไทย สะท้อนอยู่ในปัญหาความไม่เท่าเทียมในประเทศไทย 3.การเรียนการสอน ภาษาอังกฤษในประเทศไทย ส่วนมากยังใช้การเรียนการสอนแบบยึดตามหลักไวยากรณ์ การแปล และท่องจา มากกวา่ ส่อื สารได้ในชีวิตจรงิ และ 4.ระบบการวัดผลทักษะภาษา ยงั คงมุ่งเนน้ ไปทก่ี ารใชภ้ าษาอังกฤษตามหลัก ไวยากรณ์ การอ่าน ซึ่งล้วนแต่ไม่ได้ส่งเสริมให้ผเู้ รียนเรียนรทู้ ี่จะใช้ภาษาเพอ่ื การส่อื สาร จากปัญหาดังกล่าวในข้างต้น การที่จะให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารหรือออกเสียงได้ถูกต้องใกล้เคียงกับ เจ้าของภาษาและป้องกันไม่ให้ผู้เรียนออกเสียงผิดจึงจาเป็นท่ีจะต้องสร้างพ้ืนฐาน และปลูกฝังลักษณะนิสัยใน การอ่านออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจนต้ังแต่ระดับประถมศึกษา (จีรนันท์ เมฆวงษ์. 2547) ซ่ึงวิธีการจัดการเรียนรู้ หรือเทคนิคที่นิยมใช้กันในปัจจุบันคือ การอ่านออกเสียงสะกดคา (Phonics) ท่ีเป็นหลักการถอดรหัสเสียงและ การผสมเสียงตัวอักษร โดยผู้เรียนจะต้องเข้าใจเสียงของตวั อักษรตา่ งๆ และออกเสยี งเหลา่ นนั้ ได้อยา่ งถูกต้องจึง จะสามารถผสมเสียงออกมาเปน็ คาได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้จัดทาจึงได้ออกแบบและพัฒนานวัตกรรม BKS - Phonics Model สาหรับ นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาขึ้นเพ่ือพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเสียงคาได้อย่างถูกต้องและชัดเจน และยัง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายของคาท่ีผู้เรียนออกเสียง ตลอดจนการจดจาเสียงของพยัญชนะ สระ ต่างๆได้

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |2 อย่างรวดเร็ว ซ่ึงการนานวัตกรรม BKS - Phonics Model มาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา ภาษาอังกฤษจะส่งผลต่อผู้เรียนโดยตรง ทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะการอ่านออกเสียง การจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษ และท่ีสาคัญที่สุดผู้เรียนจะต้องสามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการติดต่อ สื่อสาร และเป็นเครื่องมือในการ แสวงหาองคค์ วามรตู้ ่อไปในอนาคต 2. จดุ ประสงค์ 2.1 เพือ่ สร้างและพัฒนานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS-Phonics Model 2.2 เพือ่ นานวัตกรรมการสอนภาษาองั กฤษ BKS-Phonics Model มาใชใ้ นกระบวนการจัดการเรยี นรู้ 2.3 เพื่อพฒั นาทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษา โรงเรยี นบ้าน โคกศรี สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาสินธุ์ เขต 2 3. วิธีดำเนนิ กำร 3.1 ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน ตำรำง1 แสดงระยะเวลาและขน้ั ตอนการดาเนินงานตามกระบวนการ PDRCAS แผนกำรดำเนนิ งำน ม.ค. 2565 ก.พ. 2565 มี.ค. 2565 พ.ค. 2565 มิ.ย.2565 ก.ค.2565 111 ศกึ ษาสภาพปญั หา คิดคน้ นวัตกรรม ออกแบบนวัตกรรม จัดทานวตั กรรม นานวตั กรรมไปทดลองใช้ ปรับปรงุ แก้ไข นานวัตกรรมไปสู่หอ้ งเรียน ประเมนิ /สรปุ ผล รายงานผลการดาเนินการ การพัฒนาทักษะการอา่ นออกเสยี งภาษาองั กฤษ โดยใชน้ วัตกรรม BKS - Phonics Model สาหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษา มีการดาเนนิ การแบง่ ออกเปน็ 2 ระยะ ดังน้ี ระยะที่1 สร้างและพฒั นานวตั กรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model ระยะที่2 นานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model มาใช้ในกระบวนการจดั การเรยี นรู้ เพือ่ พฒั นาทักษะการอ่านออกเสยี งภาษาองั กฤษ สาหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษา โรงเรยี นบา้ น โคกศรี สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาสินธ์ุ เขต 2

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |3 ระยะท่ี1 สร้ำงและพฒั นำนวัตกรรมกำรสอนภำษำองั กฤษ BKS - Phonics Model ศกึ ษำควำมเป็นมำและสภำพปญั หำ (P : Plan) ผู้จัดทาได้ดาเนินการศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหาของกระบวนการจัดการเรียนการ สอนในรายวชิ าภาษาองั กฤษ โดยเฉพาะเรอ่ื งทกั ษะการอ่านออกเสียง ที่เปน็ เร่ืองทส่ี าคัญสาหรบั ผ้เู รียนในระดับ ประถมศึกษาจะต้องมีพื้นฐานเพื่อท่ีจะนาไปปรับใช้ในระดับท่ีสูงขึ้น จนทาให้ทราบถึงความเป็นมาและสภาพ ปัญหา สง่ ผลให้ครูผสู้ อนได้คดิ คน้ นวตั กรรมเพ่อื ใชใ้ นการแก้ปัญหา จนนามาส่กู ารดาเนนิ การในครง้ั นี้ จากนั้นครูผู้สอนได้ศึกษาเอกสาร ตารา เกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม เพื่อถอดบทเรียนในการ นาองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนให้มีความ เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาที่พบจึงนาไปสู่การสร้างและพัฒนานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model กำรออกแบบนวตั กรรมและจัดทำนวัตกรรม (D : Do) หลังจากการศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหาของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษ และไดศ้ กึ ษาเอกสาร ตารา เกยี่ วกับการสร้างนวัตกรรม เพ่ือถอดบทเรียนในการนาองค์ความรู้ใน การสร้างสรรค์นวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสม และ สอดคล้องกับสภาพปัญหาทขี่ ้ึน จึงได้สรา้ งและพฒั นานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model เม่ือออกแบบนวัตกรรมเรียบร้อย ครูผู้สอนจึงได้ลงมือจัดทานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model ขึ้นจนสาเรจ็ พรอ้ มทจี่ ะนาไปใชก้ ับผูเ้ รยี น ภาพประกอบ 1 นวตั กรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |4 ระยะที่2 นำนวัตกรรมกำรสอนภำษำอังกฤษ BKS - Phonics Model มำใช้ในกระบวนกำรจัดกำรเรยี นรู้ เพือ่ พฒั นำทักษะกำรอ่ำนออกเสียงภำษำองั กฤษ สำหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษำ โรงเรียนบำ้ น โคกศรี สำนักงำนเขตพ้นื ทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำกำสินธ์ุ เขต 2 กำรนำนวัตกรรมไปทดลองใชก้ ับผเู้ รียน (R : Reinforce) หลังจากสร้างและพัฒนานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษ BKS - Phonics Model ขึ้นจน สาเร็จ ผู้จัดทาจึงนานวัตกรรมที่ได้ไปทดลองใช้กับผู้เรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 เพื่อเป็นการการ เสริมสร้าง สนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และอยากจะเรียนรู้ผ่านสื่อหรือนวัตกรรมที่มีความแปลกใหม่ท่ี ครูผ้สู อนไดส้ ร้างขนึ้ ตรวจสอบตดิ ตำมหลงั กำรทดลองใช้นวตั กรรม (C : Check) การนานวัตกรรมไปทดลองใช้กับผู้เรียนเพื่อเป็นการการเสริมสร้าง สนับสนุนให้ผู้เรียนเกิด ความสนใจแล้ว ผู้จัดทาได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ถึงข้อดี-ข้อเสีย และส่ิงท่ีต้องปรับปรุงเม่ือนานวัตกรรมท่ีสร้าง ข้ึนไปใชจ้ ริง หลงั จากทดลองใช้ครูผ้สู อนจงึ นาผลจากการทดลองใชน้ วัตกรรมไปปรบั ปรุงแกไ้ ขใหด้ ขี ้ึนในลาดับ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข นำนวัตกรรมไปส่หู อ้ งเรียนและประเมนิ ผล (A : Action) หลงั จากการปรบั ปรุงแก้ไข นานวตั กรรมไปใช้กับกลมุ่ เป้าหมายคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 -6 พร้อมวิเคราะห์การใช้นวัตกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีความสอดคล้อง ตรงตามความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายมากน้อยเพียงใด โดยการวัดและประเมินผลเพื่อเปรียบเทียบระหว่างผลการทดสอบก่อนใช้ นวัตกรรมและหลังการใช้นวัตกรรม เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนในการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวชิ าภาษาอังกฤษ ดา้ นทกั ษะการอา่ นออกเสยี งให้มคี ุณภาพมากยิ่งขนึ้ กำรแลกเปล่ยี นและกำรเผยแพรผ่ ลงำน (S : Share) เม่ือผู้จดั ทาดาเนนิ การสร้างและพัฒนานวัตกรรมครบถ้วนสมบูรณต์ ามขั้นตอนต่างๆ จงึ นา นวัตกรรมเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ แพลตฟอร์มต่างๆ เพ่ือให้ครูผู้สอน หรือผู้ท่ีมีความสนใจทั่วประเทศสามารถ นาไปปรบั ประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ผูเ้ รียนได้

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |5 ระยะกำรดำเนนิ กำร ข้นั ตอนกำรดำเนินกำร ผลท่ีคำดหวัง สร้ำงและพัฒนำ 1. ผู้จัดทาได้ดาเนินการศึกษาความเป็นมา ทราบถงึ ความเป็นมาและสภาพปญั หา นวตั กรรมกำรสอน และสภาพปัญหาของกระบวนการจัดการ ของกระบวนการจดั การเรยี นการสอน เรยี นการสอนในรายวิชาภาษาองั กฤษ ในรายวิชาภาษาองั กฤษ และได้ ภำษำอังกฤษ 2. คิดค้นนวัตกรรม ศึกษาเอกสาร ตารา นวัตกรรม BKS - Phonics Model BKS - Phonics Model เพ่อื ถอดบทเรียนในการนาองคค์ วามรูใ้ นการ สร้างสรรค์นวัตกรรม และ ออกแบ บ นวตั กรรม BKS - Phonics Model ขึ้น จนสาเร็จพรอ้ มที่จะนาไปใช้กบั ผูเ้ รยี น นำนวัตกรรมกำรสอน 3. นานวัตกรรมที่ได้ไปทดลองใช้กับผู้เรียนใน นานวัตกรรมไปใชก้ บั กลุ่มเปา้ หมาย ภำษำอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 เพื่อเป็นการ มกี ารดาเนนิ การวดั และประเมนิ ผล การเสริมสร้าง สนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดความ ขยายผลการนานวตั กรรมไปใช้ใน BKS - Phonics Model สนใจ กระบวนการจดั การเรียนการสอน มำใช้ในกระบวนกำร 4. นาข้อมูลมาวิเคราะหถ์ ึงข้อดี-ข้อเสยี และส่ิง ในระดบั ชนั้ อน่ื ๆ จัดกำรเรียนรู้ ท่ีต้องปรับปรงุ เม่ือนานวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปใช้ จริงเพ่ือให้มีความเหมาะสมกับบริบทของ ผู้เรียนในปัจจุบันและเหมาะสภาพปัญหา 5. นานวัตกรรมไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 พร้อม วิเคราะห์การใช้นวัตกรรมของผู้เรียนเป็น รายบุคคลว่ามีความสอดคล้อง ตรงตามความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมายมากน้อยเพียงใด 6. นา นวัต กร ร ม เ ผ ย แ พร่ ผ่ า นเ ว็บไซต์ แพลตฟอร์มต่างๆ เพื่อให้ครูผู้สอน หรือผู้ที่มี ความสนใจท่ัวประเทศสามารถนาไปปรับ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนได้ ภาพประกอบ 2 แสดงระยะการดาเนินการ ข้ันตอนดาเนินการ และผลท่คี าดหวังของนวัตกรรม

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |6 4. ผลที่คำดว่ำจะไดร้ บั จำกกำรใชน้ วัตกรรม 1. ได้นวัตกรรมการสอนภาษาองั กฤษ BKS - Phonics Model มาใช้ในการแก้ปญั หาทักษะการอา่ น ออกเสยี งภาษาอังกฤษ 2. ไดน้ านวัตกรรมการสอนภาษาองั กฤษ BKS - Phonics Model ไปใชใ้ นกระบวนการจดั การเรยี น การสอนเพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนด้านการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษของผ้เู รยี นให้สงู ขึ้น 3. ได้นานวัตกรรมการสอนท่ีมีคุณภาพ ไปเผยแพรใ่ ห้กบั ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาภายในและ ภายนอกองค์กร นาไปปรบั ใช้ในกระบวนการจดั การเรียนการสอนและประยุกต์ใช้กับรายวิชาอน่ื ๆ

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |7 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรงุ เทพฯ: บริษทั สยาม สปอรต์ ซนิ ดิเคท จากัด. 2542. จรี นันท์ เมฆวงษ์. การพัฒนาความสามารถในการออกเสยี งภาษาองั กฤษและความคงทนในการเรยี นรู้ คาศัพท์ดว้ ยวธิ กี ารสอนแบบโฟนิกส์. : วิทยานพิ นธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547. พิมพิดา โยธาสมทุ ร. การศึกษาของเดก็ ไทย. สานักขา่ วแหง่ ชาตกิ รมประชาสมั พนั ธ.์ 2553. แอนดรวู ์ กลาส. 4อปุ สรรคเรียนรภู้ าษาเด็กไทย ต้องปรบั แก้ตัง้ แต่ 'สอนจนถงึ สอบ' 2563. Davis Graddol. English Next. Unesco. Harris and Hodges. 2006.

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e |8 ภำคผนวก

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e นวตั กรรม BKS - Phonics Model เพื่อพฒั นำทักษะกำรอำ่ นออกเสียงภำษำอังกฤษ B : Best Leader ผนู้ ำตน้ แบบด้ำนกำรอำ่ นออกเสยี งภำษำองั กฤษ โรงเรียนบ้านโคกศรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จะต้อง เป็นสถานศึกษาต้นแบบในด้านการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ เพื่อยกระดับคุณภาพของผู้เรียนทุกระดบั ชนั้ ให้ สามารถใช้ภาษาเปน็ เคร่อื งมอื ในการติดตอ่ สอื่ สารและเป็นเครื่องมอื ในการแสวงหาองค์ความรตู้ ่อไปในอนาคต K : Knowledge องค์ควำมรกู้ ำรอำ่ นออกเสียงภำษำองั กฤษ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 โรงเรียนบ้านโคกศรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จะต้องมีทักษะการอ่านออกเสียงคาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเข้าใจ ความหมายของคาทผ่ี ้เู รียนออกเสยี ง และสามารถออกเสียงสะกดคาไดใ้ กล้เคยี งกบั เจ้าของภาษามากทสี่ ดุ S : Self-Direct Learning กำรเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองของนักเรียน หลังจากเรียนรจู้ ากครูผสู้ อนในห้องเรียนจนได้รับองค์ความรู้ (Knowledge) แล้ว นักเรียนจะ จัดกระบวนการเรียนร้ขู องตนเองได้อย่างอิสระ ผ่านชุดแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษตาม รูปแบบ Phonics ท่ีครูผู้สอนจัดทาข้ึน และสร้างความม่ันใจให้ตนเองในฐานะผู้เรียนเชิงรุก (active learner) เพ่อื ให้มอี งคค์ วามรู้ทห่ี ลากหลายพร้อมท่ีจะตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงของสังคมตลอดเวลา P : Phonics นวัตกรรมยกระดับคุณภำพทกั ษะกำรอ่ำนออกเสยี งภำษำอังกฤษ ยกระดับสถานศึกษาให้เป็นผู้นาต้นแบบ(Best Leader) ด้านการอ่านออกเสียงสะกดคา ภาษาอังกฤษ ตามรปู แบบ Phonics โดยมีองค์ประกอบสาคัญคือ 1. BKS - Phonics Model : เปน็ โมเดลในการบรหิ ารจดั การและพัฒนาทักษะด้าน ภาษาอังกฤษของโรงเรยี นบา้ นโคกศรี

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e 2. สื่อเทคโนโลยีกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมรูปแบบ Phonics : สื่อท่ีนามาใช้ใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนมีความทันสมัย สอดคล้องกับความมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน และเนน้ การเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นเปน็ ผู้ใช้สอ่ื ในการจดั การเรยี นรู้มากทีส่ ดุ 3. แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ส่งเสริมทักษะกำรอ่ำนออกเสียงสะกดคำตำมรูปแบบ Phonics : การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ที่เน้นการส่งเสริมทักษะการอ่านออก เสียงสะกดคาตามรปู แบบ Phonics ซึ่งเป็นทกั ษะพื้นฐานที่สาคญั สาหรบั ผเู้ รียน 4. แบบฝึกเสริมทักษะกำรอ่ำนออกเสียงภำษำอังกฤษตำมรูปแบบ Phonics : สรา้ งและพฒั นาชุดแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาองั กฤษตามรูปแบบ Phonics ให้ผู้เรยี นนาไปใช้ ในการเรียนรู้ด้วยต้นเอง (Self-Direct Learning) ท้ังขณะที่อยู่ภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อเป็นการ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเกิดทักษะการอ่านออกเสียงสะกดคาภาษาอังกฤษจากการฝึกฝนด้วย ตนเองตลอดเวลา 5. งำนวิจัยในช้ันเรียนเรื่องกำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนออกเสียงสะกดคำ ภำษำอังกฤษ โดยใช้นวัตกรรมกำรสอนภำษำอังกฤษ BKS-Phonics Model : ศึกษา และสรา้ งเคร่ืองมือใน การแก้ปัญหาการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ รวมถึงการส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษผ่าน การศกึ ษาและทาวจิ ัยในชั้นเรยี น สาหรับนักเรยี นช้นั ประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นโคกศรี ดังนั้น ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้สร้างความร่วมมือและตระหนักถึงการพัฒนาทักษะ ด้านการอ่านออกเสียงสะกดคาภาอังกฤษสาหรับผู้เรียน เพื่อยกระดับให้เป็นสถานศึกษาต้นแบบท่ีมีวิธีการ ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ผ่านนวัตกรรมการบริหารจัดการเรียนรู้ BKS-Phonics Model โดยมีเป้าหมายสาคัญคือ “คณุ ภำพของผเู้ รยี น”

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะกำรอ่ำนออกเสียงภำษำอังกฤษตำมรูปแบบ Phonics ประกอบกำรใชน้ วัตกรรม BKS - Phonics Model สแกน QR Code เพอื่ ดูเนอื้ หา สแกน QR Code เพอื่ ดูเนื้อหา แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษตาม แบบฝกึ เสรมิ ทักษะการอ่านออกเสียงภาษาองั กฤษตาม รปู แบบ Phonics เลม่ 1 รปู แบบ Phonics เลม่ 2

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e ตวั อยำ่ งแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ทเี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ เพอ่ื พัฒนำทักษะกำรอำ่ นออกเสยี ง รำยวิชำภำษำองั กฤษ สแกน QR Code เพ่ือดูตวั อยา่ ง แผนการจดั การเรยี นรูเ้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะการอ่านออก เสียง

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e สอ่ื เสรมิ ทกั ษะกำรอำ่ นออกเสียงภำษำองั กฤษตำมรปู แบบ Phonics ประกอบกำรใชน้ วตั กรรม BKS - Phonics Model

ร า ย ง า น ผ ล ง า น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท่ี เ ป็ น เ ลิ ศ B e s t P r a c t i c e