Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Week06- 00- Instruction Media_

Week06- 00- Instruction Media_

Published by puttinun naksukh, 2019-07-05 23:59:49

Description: Week06- 00- Instruction Media_

Search

Read the Text Version

TEP508 Education Information and Technology นวตั กรรม และเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา

Quiz ครสู ามารถชว่ ยแก้ปัญหาความไม่รขู้ องผู้เรยี นได้อยา่ งไร bit.ly/327QkZv [ทำ Online]

บทบาทของครูผสู้ อน กับแพทย์ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร แพทย์ ต่อสู้เพ่อื เอาชนะโรคภัยไข้เจ็บของผู้ปว่ ย

บทบาทของครูผ้สู อน กบั แพทย์ แตกตา่ งกันอย่างไร ครู ตอ่ ส้กู บั ความเจบ็ ปว่ ยทางปัญญาของนักเรยี น

แพทย์ ใชเ้ ครอื่ งมือทางการแพทย์ ครู สาหรบั บาบดั รักษาคนป่วย ใชส้ อ่ื การเรยี นการสอน สาหรับรกั ษาความไมร่ ทู้ างปญั ญา ศริ พิ งศ์ พยอมแย้ม, 2533

ส่อื การสอนจะเป็นสอ่ื กลางสาหรบั ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจทางวชิ าการ จากผสู้ อนไปสู่ผเู้ รยี น เพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรู้ • ลดเวลาการสอน ส่ือการสอน • สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม • ทาให้เกดิ ความคดิ รวบยอด

ส่อื การเรยี นการสอน Instructional Media

ความหมาย หากใช้สื่อในความหมายท่กี ว้างออกไป คอื คาวา่ Eสdือ่ uทcาaงtกioาnรศMึกeษdiาa ตัวกลางท่ชี ่วยนา และถา่ ยทอดความรู้จากครูผู้สอน หรือจากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรยี น เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถบรรลวุ ตั ถุประสงค์การเรียนรทู้ กี่ าหนดไว้

ประเภทสื่อการเรียนการสอน Instructional Media Type

แบ่งตามรูปร่างลกั ษณะ หรอื ตามกายภาพของสื่อ Equipment, Hardware, Big Media สือ่ ประเภทเครอ่ื งมอื หรอื อุปกรณ์ เป็นส่ือที่ได้จากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์แขนงวิศวกรรมไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น เครอ่ื งฉาย เครอ่ื งเสยี ง วิทยโุ ทรทัศน์ วิดีโอเทป

แบง่ ตามรูปร่างลักษณะ หรือตามกายภาพของส่อื Materials, Software, Small Media ส่ือประเภทวสั ดุ สือ่ ที่เปน็ ผลผลติ มาจากวิทยาศาสตร์ เป็นวัสดทุ ่ีมคี วามผุผังส้ินเปลืองไดง้ ่าย เช่น มว้ นเทป ฟิลม์ สไลด์ แผนภูมิ ภาพ หุน่ จาลอง

แบง่ ตามรูปรา่ งลักษณะ หรือตามกายภาพของส่อื Techniques สื่อประเภทวิธกี าร สื่อประเภทเทคนิค ระบบกระบวนการตา่ งๆ เช่น การสาธิต การศกึ ษานอก สถานท่ี การทดลอง การแสดงละคร นทิ รรศการ

แบ่งตามรปู รา่ งลกั ษณะ หรอื ตามกายภาพของส่อื Multimedia สือ่ ประสม การนาเอาสื่อประเภทต่างๆ มาใช้ร่วมกันอย่างสัมพันธ์ เช่น บทเรียน โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

แบ่งตามลักษณะการนาไปใชง้ าน Edgar Dale : ศาสตราจารยด์ ้านการศึกษา Ohio State University โดยคานงึ ถึงผ้เู รียนเป็นสาคัญ แบง่ ประสบการณ์ออกเปน็ 2 สว่ น คอื Abstract Concrete ส่วนท่ีเปน็ นามธรรม ส่วนทเี่ ป็นรปู ธรรม กรวยประสบการณ์ Cone of Experience

Direct, Purposeful Experiences 11  ประสบการณต์ รง  สง่ิ ท่ผี ู้เรียนได้เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ผ่านประสาทสมั ผสั ทง้ั หมด         

11  Contrived Experiences ประสบการณ์จาลอง  ส่ิงที่ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรูด้ ้วยตนเอง จากประสบการณจ์ าลอง เชน่ หนุ่ จาลอง    แผนภูมิ ลกู โลก      

11  Dramatized Experiences ประสบการณ์นาฏการณ์  ประสบการณท์ ไี่ ด้จากการแสดง การละเล่น เช่น การแสดงบทบาทสมมติ         

11  Demonstrations การสาธิต  ประสบการณ์ที่ไดจ้ ากการเฝา้ สังเกต ขั้นตอนต่างๆ ทั้งในดา้ นวิธกี าร    กระบวนการ หลักปฏบิ ตั ิ      

11  Field Trips การศึกษานอกสถานที่  เป็นการพาผเู้ รียนออกไปศึกษานอก สถานที่ ได้เรยี นร้จู ากการสังเกต    สงิ่ ท่พี บเห็น เพมิ่ พนู ประสบการณ์      

11  Exhibits นทิ รรศการ  ใช้ประสบการณ์หลายๆ ประเภทมาผสม เพอ่ื แสดงกระบวนการ หรอื เรอ่ื งราว         

11  Television โทรทัศนก์ ารศกึ ษา  เป็นประสบการณ์ที่สามารถเสนอเนอื้ หา ข่าวสาร ได้ทง้ั ภาพ และเสียง    ทั้งสงิ่ ทเี่ กดิ ข้นึ แลว้ และกาลงั เกิดขึ้น      

11  Motion Picture ภาพยนตร์  คล้ายโทรทศั น์ แตต่ ้องใชเ้ ครื่องฉาย และ ฟลิ ม์ภาพยนตรใ์ นการนาเสนอ         

11 Recภoาrdพiนn่งิg,เRทaปdบioัน,ทSกึ tเiสllียIงmวaิทgยeุ  เป็นสือ่ ท่ีให้ประสบการณผ์ ่านสายตา และการฟงั         

11  Visual Symbols ทศั นสัญลักษณ์  ประสบการณ์ที่ไดจ้ ากการดู เช่น แผนท่ี แผนสถติ ิ ภาพโฆษณา         

11 11 Verbal Symbols วัจนสัญลักษณ์  ประสบการณ์ที่เปน็ นามธรรมมากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ ตวั หนังสอื ในภาษาเขยี น และ    เสียงคาพดู ในภาษาพูด      

จากกรวยประสบการณ์ ประสบการณ์ที่ผเู้ รียนตอ้ งเรียน ดว้ ยการกระทา สามารถแบ่งประสบการณอ์ อกไดด้ งั นี้ Enactive State ประสบการณท์ ่ีผเู้ รยี นต้องเรยี น ด้วยการสังเกต เพ่อื ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ Iconic State ประสบการณ์ทผ่ี ูเ้ รียนตอ้ งเรียน ผ่านสญั ลกั ษณ์ เพือ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ Symbolic State

แบ่งตามทรพั ยากรการเรียนรู้ Donald O. Ely : ได้จาแนกส่ือการสอน โดยแบ่งสื่อที่ออกแบบข้ึนเพ่ือจุดมุ่งหมายการศึกษา (By Design) เป็นส่ือทม่ี ีอยู่แล้วโดยท่ัวไป แล้วนามาประยุกต์ใช้ในการเรียน การสอน (By Utilization) People Materials Setting ETqouoilpsmanendt Activities คน วสั ดุ อาคาร กิจกรรม สถานท่ี แลเคะรออ่ื ปุ งกมรือณ์

คาถาม บทบาทของสื่อการเรยี นการสอน ที่มีตอ่ ครผู สู้ อน เปน็ อย่างไร ทมี่ ตี ่อผู้เรียน 15 นาที สาหรับการคิด วเิ คราะห์

การพจิ ารณาเลือกสอ่ื ท่ีใช้ในการเรียนการสอน Considering the media used in Instruction Media

ลกั ษณะเฉพาะของผเู้ รยี นแตล่ ะคน • การรบั รู้ และการตอบสนองแตกตา่ งกนั • จัดสอ่ื การสอนหลากหลายรปู แบบ และให้มีสว่ นร่วมใหม้ ากท่สี ดุ • ให้ผ้เู รยี นตอบสนองการเรียนร้มู ากท่ีสุด

การรับรู้เปน็ พื้นฐานของการเรียนรู้ • มนุษยเ์ รยี นรผู้ ่านสง่ิ ต่างๆ รอบตัวผา่ นประสาทสมั ผสั • ความประทบั ใจตอ่ สิง่ สมั ผสั เป็นพ้นื ฐานทีส่ าคญั Sensory Impression เป็นแรงกระตุ้นต่อการรับรู้ และเข้าใจ

ผูเ้ รียนตอ้ งมีส่วนร่วมตอ่ การเรียนการสอน • หากผเู้ รียนมโี อกาสปInะtทeะrสaัมcพtiนั oธn์ จะประสบผลสาเรจ็ ในการเรียนรู้สูง • หากให้ผเู้ รยี นได้แข่งขันกนั มสี ว่ นรว่ มในการวางแผนจดั กจิ กรรมการเรียน การสอน จะเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น

ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทีจ่ ัดให้ผู้เรยี นต้องมีความเหมาะสม • ส่ือทเ่ี ลอื กจะตอ้ งเหมาะสมกบั ผ้เู รยี น • ลกั ษณะเน้อื หาวิชา • ระดับช้นั เรียน • จุดมงุ่ หมายของการเรียน

กาหนดยทุ ธศาสตรก์ ารเรียนการสอนให้เหมาะสม • จะต้องเลือกยุทธศาสตร์ให้เหมาะสมกบั กล่มุ ผเู้ รียน ไมว่ า่ จะเป็นกลุ่มยอ่ ย หรือกลุ่มใหญ่ ยทุ ธศาสตร์ แผน และนโยบายในการปฏิบัติงานใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงค์ทีก่ าหนดไว้

มุง่ ให้ผ้เู รยี นเกิดการเรยี นรูด้ ้านความคิดสร้างสรรค์ • ส่ือจะต้องเรา้ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการคิดของสมองซ่ึงมีความสามารถในการคิดได้หลากหลาย และแปลก ใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบ และ มีความถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้น และสร้างส่ิงประดิษฐ์ที่แปลกใหม่ หรือรูปแบบ ความคดิ ใหม่ Creative Thinking

คุณคา่ ของส่อื การเรยี นการสอน Value of Instruction Media

STUDENT คณุ คา่ ของสอื่ การเรียนการสอน กระตนุ้ และเรา้ ความสนใจ เขา้ ใจเน้ือหาบทเรียนท่ยี ุ่งยาก ซับซอ้ นให้ง่ายขนึ้ ในระยะเวลาอันส้นั ชว่ ยแก้ปญั หาความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เกิดปฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี ี บรรยากาศมีชีวติ ชีวาขึน้ ช่วยนาเสนอเน้ือหาทข่ี อ้ จากดั เกิดความกระตอื รือรน้ สนกุ สนาน และไมน่ ่าเบือ่

TEACHER คณุ คา่ ของส่อื การเรียนการสอน มัน่ ใจในการสอน สรา้ งบรรยากาศทีด่ ีในการสอน ลดภาระในการบรรยาย กระตุ้นให้ครูต่นื ตวั แสวงหาเทคนคิ ใหมม่ าสอน

การออกแบบสื่อการเรียนการสอน Instruction Media Design

การออกแบบสื่อการเรยี นการสอน การออกแบบสื่อการเรียนการสอนมคี วามสาคัญต่อ สมั ฤทธผิ ลของแผนการสอนทกี่ าหนดไว้ • ความนา่ สนใจ • ความเขา้ ใจในบทเรียน เป็นผลมาจาก ประเภท | ลกั ษณะ | ความเหมาะสม ของส่ือท่เี ลอื กใช้

การออกแบบสอ่ื การเรยี นการสอน  Characteristics of Good Design | ลักษณะการออกแบบท่ีดี • เหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ • งา่ ยตอ่ การทาความเขา้ ใจ และนาไปใช้ • สัดสว่ นท่ดี ี เหมาะกับการใชง้ านของสอื่ • กลมกลนื กบั สภาพแวดล้อมในการนาไปใช้งาน

การออกแบบสือ่ การเรยี นการสอน  Basic Factor | ปจั จัยพ้ืนฐาน • เป้าหมายของการเรยี นการสอน Cognitive | Psychomotor | Affective • ลกั ษณะของผู้เรียน • ลักษณะแวดลอ้ มของการผลิตสอื่ ลักษณะการจัดกจิ กรรมการเรียน | ส่งิ อานวยความสะดวกในการใช้สื่อ | วสั ดพุ ้ืนฐาน • ลกั ษณะของสื่อ ลกั ษณะเฉพาะของสอื่ | ขนาดมาตรฐานของส่ือ

 Element การออกแบบส่ือการเรียนการสอน | องค์ประกอบของการออกแบบ Dot | Line | Shape | Volume | Texture | Space | Color

 Design การออกแบบส่อื การเรียนการสอน • จุดมุ่งหมาย • ผ้เู รยี น | การออกแบบผลิตสอ่ื ใหม่ • ค่าใชจ้ า่ ย • ความเชยี่ วชาญ • เคร่ืองมอื • ส่งิ อานวยความสะดวก • เวลา

ละเอยี ด รอบครอบ • คาผดิ (ไทย | องั กฤษ) • เนื้อหา (สรุป และเรียบเรียงเอง) • การอา้ งอิง • ภาพประกอบ (คมชัด | ขนาดเหมาะสม) • การวางแผนการใช้งาน •…

วธิ กี ารของระบบ INPUT PROCESS OUTPUT FEEDBACK

วิธีการของระบบ จะต้องเป็นการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้อย่างประหยัด และเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม และสถานการณ์ เพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุ เปา้ หมายท่ีวางไว้

วธิ ีการของระบบ ลักษณะสาคัญของวธิ ีระบบ 1. เป็นการทางานรว่ มกันเป็นคณะของบคุ คลทเ่ี กีย่ วข้องในระบบน้นั ๆ 2. เปน็ การแกป้ ญั หาโดยการใชว้ ิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ 3. เป็นการใช้ทรพั ยากรท่มี ีอยอู่ ย่างเหมาะสม 4. เป็นการแกป้ ัญหาใหญ่ โดยแบง่ ออกเปน็ ปญั หาย่อย ๆ เพื่อสะดวกในการแก้ปญั หา 5. มงุ่ ใช้การทดลองให้เหน็ จรงิ 6. เลอื กแก้ปญั หาที่พอจะแก้ไขได้ และเป็นปัญหาเรง่ ด่วนกอ่ น

ศึกษาหลักสตู ร และผูเ้ รียน ละเอียด รอบครอบ กาหนดจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม วธิ กี ารของระบบ วเิ คราะห์ และจดั แบง่ เนือ้ หา ทดสอบกบั กล่มุ ทดลอง สร้างสอื่ การเรียนการสอน ทดสอบกบั กลุ่มเปา้ หมาย ตรวจสอบ ติดตามผล ประเมนิ ส่ือการเรยี นการสอน

EXERCISE 1. กรวยประสบการณ์ คอื อะไร 2. หากมีการนาเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชก้ ับการจดั นทิ รรศการ ทา่ นคิดว่าจะมวี ธิ กี ารอย่างไร อธิบาย 3. ทา่ นคิดวา่ สอ่ื การเรยี นการสอนจะช่วยตวั ท่านไดอ้ ยา่ งไรบ้าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook