Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สป.1

สป.1

Published by winaiphand, 2020-05-26 02:39:26

Description: ระบบหน่วยและสมการพื้นฐาน

Search

Read the Text Version

แผนการสอน 2 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังที่ 1 จานวน 3 ชั่วโมง หัวข้อเร่ือง 1. ระบบหน่วย 2. สมการพ้ืนฐาน สาระสาคัญ 1. ระบบหน่วยหน่วยสากลท่ีใช้ คือ หน่วยเอสไอ ประกอบดว้ ย หน่วยมูลฐาน หน่วย อนุพนั ธ์ หน่วยเสริม และคาอุปสรรค 2. สมการพ้ืนฐานท่ีใชใ้ นการคานวณเรื่องความแข็งแรงของวสั ดุไดแ้ ก่ สมการการหา พ้ืนที่ การเขียนหน่วย และการยา้ ยขา้ งสมการ วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถใชห้ น่วยเอสไอในการคานวณไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถเขียนสมการและแกส้ มการไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

3 แผนการสอน หน่วยท่ี 1 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ สอนคร้ังที่ 1 ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน จานวน 3 ช่ัวโมง เนือ้ หาสาระ 1. ระบบหน่วย หน่วยวดั ในระบบ SI unit เป็นหน่วยวดั ที่ใชก้ นั อยา่ งแพร่หลายทวั่ โลก โดยมีการประชุม ใหญ่ของนกั วทิ ยาศาสตร์นานาชาติในหน่วยมาตรฐานสากลระหวา่ งชาติคร้ังท่ี 11 ปี พ.ศ. 2503 ที่ ประเทศฝรั่งเศสไดก้ าหนดระบบหน่วยวดั ใหม่ เรียกวา่ ระบบ SI – unit (System Internationals d’unite’s ) หน่วย SI ประกอบดว้ ย หน่วยมูลฐาน หน่วยอนุพนั ธ์ หน่วยเสริม และคาอุปสรรค 1.1 หน่วยมูลฐาน หน่วยมลู ฐานเป็ นหน่วยหลกั เบ้ืองตน้ มี 7 หน่วย คือ ปริมาณ ชื่อหน่วย สัญลกั ษณ์ 1. ความยาว (Length) เมตร (Meter) M kg 2. มวล (Mass) กิโลกรัม (Kilogram) s A 3. เวลา (Time) วนิ าที (Second) K 4. กระแสไฟฟ้ า (Electric Current) แอมแปร์ (Ampere) cd mol 5. อุณหภมู ิทางเทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamic เคลวนิ (Kelvin) Temperature ) 6. ความเขม้ แสง (Luminous Intensity) แคนเดลา (Candela) 7. ปริมาณสาร (Amount of Substance) โมล (Mole) 1.2 หน่วยอนุพนั ธ์ หน่วยอนุพนั ธ์ เป็นหน่วยผสมโดยเอาหน่วยมูลฐานหลาย ๆ หน่วยมาใชร้ ่วมกนั ต่อไปน้ีเป็นชื่อและสัญลกั ษณ์ของหน่วยอนุพนั ธ์ ปริมาณ ชื่อหน่วย สัญลกั ษณ์ 1. พ้ืนท่ี ตารางเมตร m2 2. ปริมาตร ลกู บาศกเ์ มตร m3 3. ความหนาแน่น กิโลกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตร kg/m3 4. อตั ราเร็ว, ความเร็ว เมตรตอ่ วนิ าที m/s

4 แผนการสอน หน่วยที่ 1 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ สอนคร้ังที่ 1 ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน จานวน 3 ช่ัวโมง หน่วยอนุพนั ธ์ ช่ือหน่วย สัญลกั ษณ์ นิวตนั ปริมาณ ปาสคาล N = kg.m/s2 5. แรง จูล Pa = N/m2 6. ความดนั , ความเคน้ วตั ต์ J = N.m 7. งาน, พลงั งาน, ปริมาณความร้อน จูลตอ่ กิโลกรัม-เคลวนิ W = J/s 8. กาลงั จูลตอ่ กิโลกรัม-เคลวนิ J/kg.K 9. เอนโทรปี J/kg.K 10. ความจคุ วามร้อนจาเพาะ 1.3 หน่วยเสริม เคลวนิ คือ หน่วยของอุณหภูมิเทอร์โมไดนามิกส์มีคา่ เทา่ กบั 1 ของอุณหภูมิ 273.16 เทอร์โมไดนามิกส์ของจุดไตรภาคของน้า นิวตัน คือ หน่วยของแรง แรง 1นิวตนั คือ แรงที่กระทาต่อมวล 1 กิโลกรัมแลว้ เกิด ความเร่ง 1 เมตรต่อวนิ าทีกาลงั สอง จูล คือ หน่วยของงาน พลงั งาน และปริมาณความร้อน งาน 1 จูล คืองานท่ีทาเมื่อจุด กระทาของแรง 1 นิวตนั เคล่ือนที่ไป 1 เมตร ในทิศของแรง วตั ต์ คือ หน่วยของกาลงั 1 วตั ต์ คือ งานที่ทาไดใ้ นอตั รา 1 จลู ต่อวนิ าที 1.4 คาอปุ สรรคของหน่วย คาอุปสรรคเป็นคาที่ใชแ้ ทนตวั คูณเพิ่มและตวั คูณลด เพือ่ ใหห้ น่วยมีขนาดใหญข่ ้ึน หรือเลก็ ลงใหพ้ อเหมาะกบั การนาไปใช้ โดยนาเอาคาอุปสรรคประไวข้ า้ งหนา้ หน่วยน้นั ๆ คา อุปสรรคเป็นที่ใชเ้ ป็ นคาฝร่ังเศสท้งั สิ้น ซ่ึงไดแ้ ก่คาอุปสรรคดงั น้ี ตัวคูณ คาอุปสรรค สัญลกั ษณ์ 1018 เอกซะ E 1015 เพตะ P 1012 เทอรา T 109 จิกะ G

แผนการสอน 5 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 คาอปุ สรรคของหน่วย คาอปุ สรรค จานวน 3 ช่ัวโมง เมกะ ตัวคูณ กิโล สัญลกั ษณ์ 106 เฮกโต M 103 เดคะ K 102 เดซิ H 10 เซนติ da 10-1 มิลลิ d 10-2 ไมโคร c 10-3 นาโน m 10-6 พโิ ค 10-9 เฟมโต  10-12 10-15 n p f 1.5 หน่วยอน่ื ทยี่ อมให้ใช้ร่วมกบั หน่วย SI มีหน่วยอ่ืนท่ีไมใ่ ช่หน่วย SI แต่ยอมใหใ้ ชก้ บั หน่วย SI ดงั ตารางขา้ งล่างน้ี หน่วย สัญลกั ษณ์ ค่าในหน่วย SI 1. ตนั T 1t = 103 kg 2. ลิตร L 1L = 10-3 m3 3. บาร์ bar 1 bar = 105 N/m2 4. บรรยากาศ atm 1 atm = 1.01325×105 Pa 5. องศาเซลเซียส 0  C =273.15 K 6. กิโลวตั ตช์ วั่ โมง C 1 KWh = 3.6×106 J KWh

แผนการสอน 6 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังที่ 1 จานวน 3 ชั่วโมง 1.6 อกั ษรกรีก อกั ษรท่ีใชเ้ ป็นสัญลกั ษณ์แทนคาจากดั ความต่าง ๆ ในงานทางเทคนิค จาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีตอ้ งทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั ตวั อกั ษรกรีก ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี          ALPHA BETA GAMMA DELTA EPSILON ZETA ETA THETA KAPPA LAMBDA        PHO SIGMA TAU UPPSILON PHI CHI MU NU PI OMEGA 2. การหาพนื้ ทขี่ องชิ้นงาน พ้ืนที่ที่ใช้ในงานช่างมีหลายลกั ษณะไดแ้ ก่ พ้ืนที่รูปเหลี่ยม พ้ืนที่วงกลม และพ้ืนท่ี ตดั เจาะ 2.1 พนื้ ทรี่ ูปเหลย่ี ม กาหนดให้ A = พ้ืนท่ี a, b = ความยาวดา้ น h = ความสูง A = a2 b A = ab a a รูปท่ี 2 สี่เหลี่ยมผนื ผา้ a รูปท่ี 1 สี่เหลี่ยมจตั ุรัส

แผนการสอน 7 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังที่ 1 จานวน 3 ช่ัวโมง A  1 ab A  1 ah 2 a2 b h รูปท่ี 3 สามเหล่ียมมุมฉาก a รูปที่ 4 สามเหลี่ยมหนา้ จวั่ 2.2 พนื้ ทวี่ งกลม กาหนดให้ A = พ้ืนที่ d = เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางภายใน D = เส้นผา่ ศูนยก์ ลางภายนอก d d D A  d 2 4  A   D2  d2 4 รูปที่ 5 พ้ืนท่ีวงกลม รูปท่ี 6 พ้ืนท่ีวงแหวน

แผนการสอน 8 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 2.3 พนื้ ทต่ี ดั เจาะ จานวน 3 ช่ัวโมง กาหนดให้ A = พ้ืนที่ d = เส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง t = ความหนาของแผน่ เหล็ก t A  2rt รูปที่ 6 พ้ืนท่ีตดั เจาะ 3. การเขยี นหน่วย ในการเขียนหน่วยในการคานวณน้นั จะตอ้ งเขียนหน่วยใหถ้ ูกเพราะหากเขียนผิดก็ จะทาใหค้ าตอบผดิ ไปดว้ ย หลกั การเขยี นหน่วย 1. หากหน่วยท่ีโจทยก์ าหนดมาเป็นหน่วยเดียวกนั แลว้ กส็ ามารถคานวณไดเ้ ลย 2. หากหน่วยที่โจทยก์ าหนดมาไม่เป็ นหน่วยเดียวกนั ให้เปลี่ยนหน่วยก่อน การ เปล่ียนหน่วยก็คือการนาสิ่งท่ีเทา่ กนั มาเขียนแทนกนั เช่น 1 mm = 1 m, 1 mm2 = 1 m2 103 106 3. หากหน่วยที่โจทยก์ าหนดมีคาอุปสรรคอยู่ขา้ งหน้า ให้เปล่ียนคาอุปสรรคเป็ น ตวั เลขก่อนจึงทาการคานวณ เช่น แรง 12 kN เปล่ียนเป็น 12 ×103 N เป็นตน้

แผนการสอน 9 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ช่ัวโมง 4. การย้ายข้างสมการ ในการคานวณหาค่าใดค่าหน่ึงบางคร้ังก็ตอ้ งมีการยา้ ยขา้ งสมการเพ่ือที่จะจดั ให้ ตวั แปลที่เราจะหาน้นั อยตู่ วั เดียว หลกั การย้ายข้างสมการ 1. จากส่วนยา้ ยไปเป็ นเศษ เช่น สมการ AD  B หากตอ้ งการหาC จะได้ ADC  B C 2. ทาการยา้ ยตวั แปลอื่นที่อยกู่ บั C ไปอีกฝ่ังหน่ึงโดยพจิ ารณาวา่ ตวั แปลที่เราจะยา้ ย น้นั กาลงั ทาอะไรอยกู่ บั C คือ คูณใหย้ า้ ยไปเป็นหาร หารยา้ ยเป็นคูณ บวกใหย้ า้ ยไปเป็นลบ ลบให้ ยา้ ยไปเป็นบวก เช่น จากสมการ ADC  B จะเห็นวา่ ตวั แปลที่อยกู่ บั C จะมี AD ซ่ึงกาลงั คูณอยู่ กบั C ดงั น้นั จึงตอ้ งยา้ ยไปเป็ นหาร C  B AC 3. หากเป็นตวั แปลที่เราจะหาเป็ นเศษอยแู่ ลว้ กใ็ หย้ า้ ยตวั แปลอื่นหนีไดเ้ ลย เช่น สมการ D  E ตอ้ งการหาคา่ D ซ่ึงเป็นเศษอยแู่ ลว้ ก็ใหย้ า้ ย BA ไดเ้ ลย เน่ืองจาก BA น้นั หารอยู่ BA กบั D จึงยา้ ยไปเป็ นคูณ จะได้ D  EBA สรุปเนือ้ หา 1. หน่วยที่ใชใ้ นการคานวณคือหน่วย SI ซ่ึงประกอบดว้ ย หน่วยมูลฐาน หน่วย อนุพนั ธ์ หน่วยเสริม และคาอุปสรรค 2. การหาพ้นื ท่ีของชิ้นงานหาไดจ้ ากสูตร A = ab = d2 =   D2  d2 = 2rt 44 3. การเขียนหน่วยใหเ้ ขียนเป็นหน่วยเดียวกนั ก่อนการคานวณ 4. การยา้ ยขา้ งสมการคือ จากส่วนยา้ ยไปเป็นเศษ ยา้ ยตวั แปลอ่ืนหนี และหากตวั แปลที่ เราจะหาเป็นเศษอยแู่ ลว้ กย็ า้ ยตวั แปลอ่ืนหนี

แผนการสอน 10 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังที่ 1 จานวน 3 ชั่วโมง ตัวอย่างท่ี 1 จงหาพ้ืนที่หนา้ ตดั ของเสาส่ีเหลี่ยมกวา่ ง 350 มิลลิเมตร ยาว 450 มิลลิเมตร วธิ ีทา a = 350 mm จากสูตร A = ab b = 450 mm A=? แทนค่าในสูตร A = 350×450 mm2 = 157500 mm2 ตอบ พ้นื ท่ีหนา้ ตดั ของเสาสี่เหลี่ยมเทา่ กบั 157500 ตารางมิลลิเมตร ตัวอย่างท่ี 2 จงหาเส้นผา่ ศูนยก์ ลางของเสากลม ถา้ เสาน้ีมีพ้ืนท่ีเทา่ กบั 2400 ตารางมิลลิเมตร วธิ ีทา A = 2400 mm2 จากสูตร A  d2 d=? 4 แทนคา่ ในสูตร 2400 = d2 4 ยา้ ยสมการ d2  2400 4  d2  3055.77 d  3055.77 = 55.28 mm ตอบ เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางของเสากลมเท่ากบั 55.28 มิลลิเมตร

แผนการสอน 11 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ช่ัวโมง ตวั อย่างที่ 3 จงหาพ้ืนที่ของเสากลมใหม้ ีหน่วยเป็น มิลลิเมตร ถา้ เสาน้ีมีเส้นผา่ ศูนยก์ ลางเท่ากบั 1.4 เมตร วธิ ีทา d = 1.4 ×103 mm A=? จากสูตร A  d2 4 แทนคา่ ในสูตร A  14002 4 1539380.4 mm ตอบ พ้ืนท่ีของเสากลมเทา่ กบั 1539380.4 มิลลิเมตร ตวั อย่างที่ 4 สามเหล่ียมหนา้ จวั่ อนั หน่ึง มีพ้ืนที่ 28000 มิลลิเมตร ฐานกวา้ ง 1054 มิลลิเมตร จงหา ความสูงของสามเหลี่ยมหนา้ จวั่ น้ี วธิ ีทา จากสูตร A  1 ah 2 แทนค่าในสูตร 28000 1  540 h 2 ยา้ ยสมการ h  28000 2 540 = 103.70 mm ตอบ ความสูงของสามเหลี่ยมหนา้ จวั่ เทา่ กบั 103.70 มิลลิเมตร

แผนการสอน 12 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังที่ 1 จานวน 3 ชั่วโมง กจิ กรรมการเรียนการสอน ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั นา 1. กล่าวทกั ทายนกั ศึกษาแลว้ นาภาพของรูปร่างตา่ ง ๆ มาใหน้ กั ศึกษาดูแลว้ ถามวา่ แต่ ละรูปเป็ นรูปอะไร ข้นั สอน 1. แจง้ จุดประสงคร์ ายวชิ า หวั ขอ้ ที่จะตอ้ งเรียน การวดั การประเมินผล ขอ้ ตกลง ตา่ ง ๆ แก่นกั ศึกษา 2. บรรยายเน้ือหาประกอบแผน่ ใสในหน่วยที่ 1 3. สาธิตหลกั การคานวณประกอบแผน่ ใสตวั อยา่ งท่ี 1, 2, 3 และ 4 4. ใหท้ าแบบฝึ กหดั และเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาถาม ข้นั สรุป 1.ผสู้ อนสรุปเน้ือหาใหน้ กั ศึกษาฟัง และถามนกั ศึกษาในเร่ืองที่เรียน งานทมี่ อบหมายหรือกจิ กรรม 1. ใหน้ กั ศึกษาไปศึกษาล่วงหนา้ ในเน้ือหาของหน่วยท่ี 2 2. ใหน้ กั ศึกษาไปศึกษาเน้ือหาของหน่วยท่ี 1 เพ่ือทาการทดสอบ ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 1 2. แผน่ ใสหน่วยท่ี 1 ตวั อยา่ งที่ 1, 2, 3 และ 4

แผนการสอน 13 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 การวดั ผลและประเมินผล จานวน 3 ช่ัวโมง 1. สงั เกตความสนใจผเู้ รียน 2. ความรับผดิ ชอบต่องานที่มอบหมาย 3. การใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมระหวา่ งเรียน 4. ใหท้ าแบบทดสอบ

แผนการสอน 14 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ชั่วโมง แบบฝึ กหัด 1. เสาส่ีเหล่ียมจตั ุรัสตน้ หน่ึงมีความกวา้ งท้งั ส่ีดา้ นเท่ากบั 0.50 เมตร จงหาพ้ืนที่หนา้ ตดั ของเสาตน้ น้ี 2. ท่อเหลก็ เส้นหน่ึงมีพ้นื ท่ีหนา้ ตดั เท่ากบั 420 มิลลิเมตร หากมีเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ภายนอกเทา่ กบั 42 มิลลิเมตร จงหาขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางภายในของทอ่ เหลก็ เส้นน้ี 3. เหลก็ รูปสามเหลี่ยมมุมฉากฐานกวา้ ง 540 มิลลิเมตร สูง 0.64 เมตร จงหาพ้นื ที่ของ รูปสามเหลี่ยมน้ี

แผนการสอน 15 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ช่ัวโมง เฉลยแบบฝึ กหัด 1. เสาสี่เหลี่ยมจตั ุรัสตน้ หน่ึงมีความกวา้ งท้งั สี่ดา้ นเท่ากบั 0.50 เมตร จงหาพ้นื ท่ีหนา้ ตดั ของเสาตน้ น้ี วธิ ีทา a = 0.50×103 mm A=? จากสูตร A  a2 แทนคา่ ในสูตร A  5002 = 250000 มิลลิเมตร ตอบ พ้นื ที่หนา้ ตดั ของเสาเท่า 250000 มิลลิเมตร 2. ทอ่ เหล็กเส้นหน่ึงมีพ้ืนที่หนา้ ตดั เทา่ กบั 420 มิลลิเมตร หากมีเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ภายนอกเท่ากบั 42 มิลลิเมตร จงหาขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางภายในของท่อเหล็กเส้นน้ี วธิ ีทา A = 420 mm D = 42 mm จากสูตร  A   D2  d2 4 d=? แทนค่าในสูตร 420  422  d2  4 ยา้ ยสมการ d  422  420 4  d = 35.06 mm ตอบ ขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางภายในของท่อเหลก็ เส้นน้ีเท่ากบั 35.06 มิลลิเมตร

แผนการสอน 16 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ช่ัวโมง 3. เหลก็ รูปสามเหลี่ยมมุมฉากฐานกวา้ ง 540 มิลลิเมตร สูง 0.64 เมตร จงหาพ้ืนท่ีของ รูปสามเหล่ียมน้ี วธิ ีทา a = 0.64×103 mm b = 540 mm จากสูตร A  1 ab A=? 2 แทนคา่ ในสูตร A  0.64103  540 2 = 172800 mm ตอบ พ้นื ที่ของรูปสามเหลี่ยมเทา่ กบั 172800 มิลลิเมตร

แผนการสอน 17 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ชั่วโมง แบบทดสอบ 1. เสากลมตน้ หน่ึงมีขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางเทา่ กบั 0.57 เมตร จงหาขนาด เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางของเสาตน้ น้ี 2. จงหาพ้ืนที่หนา้ ตดั ของเสาสี่เหลี่ยมผนื ผา้ ถา้ เสาตน้ น้ีมีขนาดของดา้ นหน่ึงยาวทา่ กบั 580 มิลลิเมตร และอีกดา้ นหน่ึงยาวเท่ากบั 0.62 เมตร 3. ทอ่ เหล็กเส้นหน่ึงมีพ้ืนท่ีหนา้ ตดั เท่ากบั 370 มิลลิเมตร หากมีเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ภายนอกเท่ากบั 35 มิลลิเมตร จงหาขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางภายในของท่อเหลก็ เส้นน้ี

แผนการสอน 18 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้นื ฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ชั่วโมง เฉลยแบบทดสอบ 1. เสากลมตน้ หน่ึงมีขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางเทา่ กบั 0.57 เมตร จงหาขนาด เส้นผา่ ศูนยก์ ลางของเสาตน้ น้ี วธิ ีทา d = 0.57×103 mm จากสูตร A  d2 A=? 4 แทนคา่ ในสูตร A    0.57103 2 4 = 255175.86 mm2 ตอบ ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางของเสาเท่ากบั 255175.86 ตารางมิลลิเมตร 2. จงหาพ้นื ท่ีหนา้ ตดั ของเสาส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ ถา้ เสาตน้ น้ีมีขนาดของดา้ นหน่ึงยาวท่ากบั 580 มิลลิเมตร และอีกดา้ นหน่ึงยาวเทา่ กบั 0.62 เมตร วธิ ีทา a = 580 mm จากสูตร A = ab b = 0.62×103 mm แทนคา่ ในสูตร A = 580×(0.62×103) A=? = 359600 mm2 ตอบ พ้นื ท่ีหนา้ ตดั ของเสาส่ีเหลี่ยมผนื ผา้ เท่ากบั 359600 ตารางมิลลิเมตร

แผนการสอน 19 ช่ือวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ช่ือหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังท่ี 1 จานวน 3 ช่ัวโมง 3. ท่อเหลก็ เส้นหน่ึงมีพ้ืนที่หนา้ ตดั เทา่ กบั 370 มิลลิเมตร หากมีเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ภายนอกเทา่ กบั 35 มิลลิเมตร จงหาขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางภายในของทอ่ เหล็กเส้นน้ี วธิ ีทา A = 370 mm D = 35 mm จากสูตร  A   D2  d2 4 d=? แทนค่าในสูตร 370  352  d2  4 ยา้ ยสมการ d  352  370 4  d = 27.46 mm ตอบ ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางภายในของทอ่ เหล็กเส้นน้ีเทา่ กบั 27.46 มิลลิเมตร

แผนการสอน 20 ชื่อวชิ า ความแขง็ แรงของวสั ดุ ชื่อหน่วย ระบบหน่วยและสมการพ้ืนฐาน หน่วยท่ี 1 สอนคร้ังที่ 1 จานวน 3 ช่ัวโมง บนั ทกึ หลงั การสอน ผลการใชแ้ ผนการสอน..................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ผลการเรียนของนกั เรียน................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู............................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook