Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อวัฒนธรรมนานกกก pdf

สื่อวัฒนธรรมนานกกก pdf

Published by aoo_love_banz, 2018-04-25 06:00:36

Description: สื่อวัฒนธรรมนานกกก pdf

Search

Read the Text Version

นานกกกมว่ นใจ๋

ขา้ วแคบ สือ่ วัฒนธรรมพนื้ บา้ น ตาบลนานกกก อาเภอลบั แล จังหวัดอตุ รดิตถ์ จากอดีตเมืองลับแลนี้เคยเป็นเมืองต้ังหลักของชาวเมืองน่านและชาวเมืองแพร่ที่หนีการ รุกรานของข้าศึกเพื่อหลบซ่อนตัวด้วยเล็งเห็นว่ามีภูมิประเทศที่เป็นป่าเขาสลับซับซ้อน ต่อมาผู้ อพยพจากเมืองไกลจึงเร่ิมปักหลักตั้งถ่ินฐาน นาวัฒนธรรมโยนกจากเมืองเชียงแสนมาเผยแพร่ เมืองที่ครั้งหน่ึงเคยลึกลับคดเคี้ยวจึงแปรเปล่ียนไปตามกาลเวลา ทว่ายังคงคุณค่าตามราก วัฒนธรรมอันเป็นมรดกตกทอดจากอดีตมาจนถึงทุกวันน้ี ข้าวแคบถือเป็นส่ิงหนึ่งที่ทุกบ้านใน ลับแลทากันจนเป็นของเคี้ยวเลน่ หน้าตาของข้าวแคบท่ีคนชอบคิดว่าเป็นพลาสติก เอาไปทาแบบ น้ีเราจะเรียก ข้าวพัน อร่อยมาก หม่ีพัน อีกหนึ่งอร่อยแต่เรียบง่ายของชาวลับแล คือ การ นาเอาแผ่นข้าวแคบมาม้วนห่อเส้นหม่ีท่ีลวก และปรุงรสด้วยน้ามันกระเทียมเจียว น้าปลา น้า มะนาว พริกป่น เป็นแท่งยาว หากไม่นาข้าวแคบมาห่อก็จะเรียกว่า \"หมี่คุก\" กเ็ ป็นที่นิยมไม่แพ้ กัน สาหรับเส้นที่นิยมนามาทาหมี่คุกนั้น ใช้ได้ทุกเส้นตามแต่ลกู ค้าส่ัง ไม่ว่าจะเป็นเส้นหม่ีขาว เสน้ เลก็ เส้นใหญ่ หรือบะหมี่ แตท่ ่นี ยิ มมากทีส่ ุดคอื หมีข่ าว

ตาเตา เป็นอาหารที่ประกอบข้ึนจาก เตา ซึ่งเป็นตะไคร่น้าชนิดหน่ึง มีสีเขียว เข้ม เตานี้เม่ือชาวบ้านเก็บมาได้แล้ว ก็จะเอามาล้างจนสะอาดโดยใช้น้าไหล จากน้ันบีบเอาน้าออกจากเตาจนแห้งที่สุดเท่าท่ีจะทาได้ เพื่อให้เก็บไว้ รับประทานได้นานอีกหน่อย ไม่เช่นน้ันเตาจะ ‘ตาย’ คือเหนียวหนืดและมี สีออกดาคล้า ไม่สามารถนามาประกอบอาหารได้ เตาสดน้ีนามาสับเป็น ท่อน แล้วผสมเข้ากับน้าพริก ซ่ึงประกอบด้วยข่า ตะไคร้ มะแข่น กระเทียม พริกแห้งท่ีนาไปเผาไฟจนหอม โขลกให้เข้ากันจนละเอียด เพิ่ม ความอร่อยด้วยเนื้อปลาทูนึ่งหรือเน้ือปูนาที่ต้มสุกแล้ว และใส่มะเขือพวงที่จะ บบุ ให้แตกหรือไม่กไ็ ดต้ ามชอบ ปรุงรสดว้ ยนา้ ปลาร้าต้มและน้าปู

หลามบอน หลาม เป็นคากริยา แปลว่า ใส่อาหารในกระบอกไม้ไผ่แล้ว นาไปอังไฟจนสุก หลามบอนเป็นอาหารยอดฮิตอีกอย่างของ ชาวนานกกก ท่ีหน้าตาอาจดูเหมือนไม่น่ารับประทาน แต่ถ้าได้ ลองสักคาแล้วคงจะหยุดไม่ได้แน่ วิธีทาก็ใช้ใบบอนสดใส่ลงใน กระบอกไม้ไผ่ นาไปอังไฟจนบอนสุกเละ จากนั้นใส่น้าพริก ซึ่งประกอบด้วยข่า มะแข่น พริกแหง้ หอม กระเทียม และปลา ร้าบด ใช้กิ่งชะอมกระทุ้งให้ส่วนผสมเข้ากันดีภายในกระบอกไม้ ไผ่ แล้วใส่หนังวัวหรือหนังหมูเพ่ือเพิ่มความอร่อย ปรุงรสเปร้ียว ด้วยมะกอกหรือมะกรูดก็ได้ เพ่ิมความหอมด้วยสะค้าน ซอยเป็น แว่น ใบชะอมและใบมะกรูด คลุกเคล้าให้เข้ากัน ก่อนจะตัก ออกมารับประทาน

ตาจ๊นิ จิ๊น หมายถึง เน้ือ อาหารชนิดน้ีทาจากเนื้อควายหรือเน้ือ ววั ย่างจนหอม แล้วนาไปต้มจนเปื่อย นามาตาให้เข้ากับน้าพริก ซ่ึงประกอบด้วยพริกแห้งเผาไฟจนหอม ข่า มะแข่น และ กระเทียม จากน้ันเติมน้าปลาร้าต้ม และดอกสะเดาหวาน คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วโรยหน้าด้วยผักไผ่ (ผักแพว) หอม ด่วน (สะระแหน่) ใบมะกรูดหั่นฝอย ต้นหอมและผักชี ตาจ๊ิน นี้จะได้ความหอมอร่อยของเน้ือย่างผสานกับสมุนไพรนานาชนิด ชาวนานกกกมักรับประทานกับผักกาดดา (ผักกาดเขียว) ใบ กระถนิ และใบเกยี งพา (สันพรา้ หอม)

คา้ งบยู า ค้างบูยา หรือ ก๊างบูยา มาจาก ก๊าง ท่ีแปลว่า กงิ่ และ บูยา คือ การนายาเส้นมามวน วนแขวนไว้ท่ีก๊าง เปรียบเหมือนต้นกัลปพฤกษ์ท่ีมีของกินของใช้ ห้อยแขวนประดับให้ดูสวยงาม ดา้ นลา่ งจะเปน็ กระจาดใส่ พืชไร่ พืชสวน ตามท่ีหาได้ เช่น ทุเรียน ลางสาด ลองกอง ส้ม กล้วย หมากผลไม้ ฟัก ฟักทอง เป็นต้น แต่ส่วนประกอบในแต่ละช้ันจะประดับตกแต่งเรียง ร้อยด้วยมวนบุหร่ี มวนยาสูบ ห้อยอยู่ตามช้ัน ดังเช่นคาร้องกระเซ้าเย้าแหย่เด็กที่ร้องไห้ ว่า “ไปค้าฆ้องบ่ได้หยังมา ได้แต่บูยามาสองสามเบ้า” นอกจากบุหร่ีแล้ว ยังประดับด้วยดอกไม้ กระดาษให้ดูสวยงาม เป็นการอวดฝีมือของเจ้าของค้าง ส่วนของใช้ท่ีนามาแขวน ก็อาจเป็นไม้ ขีดไฟ สมุด ดินสอ ปากกา ขนมช้าง ขนมปลา บนยอดค้างก็จะประดับด้วยดอกไม้กระดาษ และ ตัวหงส์ใบลานคาบผ้าเช็ดหน้าหรือธนบัตรห้อยตามความสวยงาม นอกจากนี้ ประเพณีนี้ ยังมีการทาขนมโบราณ อาทิ ข้าวต้ม ขนมแหนบ ขนมเทียน ขนมแตง เพื่อแจกจ่ายแบ่งปัน ให้กับญาติพ่ีน้อง เรียก เทศกาลขนมพี่ขนมน้อง ทาควบคู่ไปกับประเพณีทานสลากชลอม (ก๋วยสลาก) โดยชาวบ้านจะจัดทาชะลอมขนาดเล็ก เท่ากับจานวนคนในบ้าน ภายในกรุด้วย ใบตอง ใสข่ า้ วเปลา่ อาหาร ผลไม้ ขนมและหมากพลู

หลังจากทาการปลงศพด้วยเผาเป็นเถ้ากองกระดูกแล้ว เขือยซ่ึงเป็นผู้รู้ ลัทธิธรรมเนียม จะกาหนดนัดวันเวลาเอาผีขึ้นเฮือน บอกกล่าวให้บรรดาประเพณีการเอาผขี ึ้นเรอื น ญาติมติ รทราบในวันเผาน้นั พิธกี ารมดี ังน้ี เจา้ ภาพจะล้มหมู เอาหวั หมู ขาหมู หางหมู ต้มแต่งเผือน มีเหล้า ไก่ต้ม ในพิธีจะให้ผู้รู้เป็นผู้เชิญวิญญาณ แล้ว เขยี นชือ่ ลงในสมุดรายชือ่ บรรพบุรุษที่เรียกว่า ปั๊บผีเฮือน พอถึงวันกาหนดพิธี เซน่ ไหว้ บรรดาญาติมติ รทไี่ ม่ไดส้ บื ผเี ดียวกัน จะห่อขา้ วห่อปลาด้วยใบตองสด มามอบให้เจ้าภาพ เพือ่ เป็นการสขู่ วัญเจ้าภาพและผทู้ อ่ี ยู่ในบ้าน ส่วนญาติ ใกลช้ ิดจะตอ้ งจดั สง่ิ ของมาแล้วแต่ศกั ด์ิ เชน่ หญงิ สาว (น้องสาวผู้ตาย) ต้อง นาไกต่ ้ม 1 ตัว เหลา้ 1 ขวด และหมากพลู 3 คา ทุกคนคนละชุด หญิง สาวบางแม่ (ผู้มีศักด์ิเป็นน้องสาวผู้ตาย) ให้นาสิ่งของเหมือนหญิ้งสาวนามา แต่หลายๆ คนรวมกนั นามา 1 ชุดกไ็ ด้ ผู้ที่มีศักดิ์เป็นลงุ ตา (พ่ีชายน้องชาย ฝ่ายภรรยา) ให้นาหัวหมู 1 หัว เหล้า 1 ขวด และหมากพลู 3 คา การ กาหนดว่าใครจะเป็นหญิงสาว ลงุ ตา เขย (หมอพิธี) จะเป็นผู้กาหนด ญาติ ผู้ใดไม่ได้หาของมาก็เอาเงินมาวางแทน นาของเหล่าน้ีเข้าร่วมพิธี เขย (หมอ พธิ ี) จะจัดทาพิธีเชิญวิญญาณของผู้ตายให้มารบั เคร่ืองเซ่นไหว้ พอถึงเวลาเที่ยง กเ็ สร็จพธิ ี เจ้าภาพจดั อาหารมาเลยี้ งญาติและแขกที่มาร่วมงาน

นา้ ปู น้าปู หรือน้าปู๋ เป็นเคร่ืองปรุงรสที่สาคัญในอาหารไทย ภาคเหนือ ทาจากปูนา โดยนาปูนาท่ีล้างสะอาด ใส่ครกตา กับตะไคร้ เพ่ือดับกลิ่นคาว อาจใส่ใบขมิ้น ใบมะกอกหรือใบ ฝรั่งด้วยก็ได้ น้าท่ีได้นามากรองกากออก นามาเค่ียวให้ข้น ใส่เกลือ น้ามะกรูด น้าปูที่เคี่ยวจนได้ท่ีแล้วจะเป็นสีดา ข้นหยดลงบนใบมะม่วงแล้วไม่ไหล ทางจังหวัดน่าน มีน้าปูที่ เรียกน้าปูพริก ซ่ึงใส่พริกป่นกับกระเทียมลงในน้าปูที่เค่ียวจน เกือบแห้ง แลว้ เคยี่ วตอ่ จนได้ที่ น้าปูเป็นเคร่ืองปรุงรสท่ีสาคัญ ของอาหารไทยภาคเหนือ ใช้แทนกะปิ น้าปลา ปลาร้า และ เปน็ สว่ นประกอบสาคัญของน้าพริกน้าปู๋ ส้มตา และใช้ปรุงรส ในสา้ หรอื ยาชนิดต่างๆ

ไมก้ วาดตองกง การทาไม้กวาดอาเภอลบั แลสืบทอดมาตั้งแต่สมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระพุทธเจ้าหลวง ทรงเป็นรัชกาลท่ี 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ โดยมีพระศรีพนมมาศซึ่งท่านเป็นชาวจีนต่อมาได้รับการแต่งตั้ง เป็นนายอาเภอคนแรกของอาเภอลับแล คร้ังหนึ่งพระศรีพนมมาศได้ลงไปกรุงเทพฯ พบ กบั เจ้าพระยาสุรศักด์ิมนตรี ท่านได้หยิบใบไม้ (ใบของตองกง) จากเมืองจีนมาให้ดูเป็น ตัวอย่าง (เมืองจีนใช้ทาไม้กวาด) เม่ือกลับมาลับแลเห็นมีต้นตองกงเยอะแยะท่านก็ให้ ราษฎรตาบลฝายหลวง และตาบลแม่พูลบ้านหัวดงมาฝึกทาไม้กวาดกับท่านและให้นาไป เผยแพร่ต่อๆกันไป ท่านคัดเลือกไม้กวาดที่ชาวบ้านทาส่งไปถวายเจ้านายท่ีกรุงเทพฯเพื่อ โฆษณาเผยแพรส่ ินค้าท่ีผลิตท่ีเมอื งลับแล หลังจากที่ได้รับคาแนะนาจากสมเด็จกรมพระยา ดารงราชานุภาพ พระศรีพนมมาศได้นาไม้กวาดขึ้นกราบทูลถวายพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้ประกาศให้ชาวลับแลทาไม้กวาดเป็นการใหญ่จนเป็นสินค้าที่ สาคญั ทมี่ คี วามทนทานและเปน็ ทรี่ ้จู กั กนั แพร่หลายไม้กวาดอาเภอลบั แลเกอื บจะไม่มีคนรู้จัก เพราะมีไม้กวาดจากหลายแห่งที่มีลักษณะท่ีคล้ายกัน ในปี 2531 บ้านท้องลับและได้ รวมตวั กนั ตั้งกลุ่มทาไม้กวาดขึ้นเพ่ืออนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีมีมานานเป็นเวลา ประมาณ 140 ปี ให้กลับมาเป็นท่ีรู้จักกันมากหลายกับคาท่ีว่าไม้กวาดท่ีดีท่ีสุดต้องเป็นไม้กวาดลับ แล และเปน็ การรวมตัวกันเพ่อื ลดต้นทนุ การผลติ และตอ่ รองการตลาด

ผา้ ซ่นิ ตีนจกลบั แล หตั ถกรรมการทอผ้าซ่ินตีนจกของชาวลบั แลมีมานานพร้อมกับการต้ัง ถ่ินฐานของชาวเมืองลับแล ประเพณีการทอผ้าซิ่นตีนจกนั้น ผู้หญิงชาว ลับแลจะไดร้ บั การถ่ายทอดจากบรรพบรุ ุษสืบต่อกันมาจนถงึ ปจั จุบัน ซึ่ง ได้มีการถ่ายโอนความรู้ และมรดกทางภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าของการ ทอผ้าิซ่นตีนจกไว้ เรียกได้ว่าเป็นเสมือนต้นกาเนิดของมรดกทางภูมิ ปัญญาช้ินเอกนี้ เนื่องจากเป็นชุมชนชาวไท-ยวน กลุ่มแรกท่ีอพยพมาตั้ง ถิ่นฐานทามาหากินในเขตเมอื งลบั แล ราว พ.ศ. 2006 เป็นต้นมา ปัจจุบันในขณะที่หลายคนมองเห็นความสาคัญของผ้าซ่ินตีนจกแต่หาก สังคมส่วนใหญ่ยังนิ่งเฉยไม่มีการกระตุ้นเร่งเร้า ให้กาลังใจ ตลอดจน สร้างสรรคก์ จิ กรรมการสบื ทอดภมู ิปญั ญาที่แสดงถึงอตั ลักษณ์ของชาวลบั แลด้ังเดิมไว้ให้คนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้ ซึมซับ คติ ความเช่ือ ค่านิยม จากเส้นด้ายทักทอเป็นผืนผ้าท่ีสวยงามวิจิตรแล้ว ในอนาคตอาจคง หลงเหลือไวแ้ ตต่ านานเล่าขานกันเทา่ นนั้ ก็เปน็ ได้

แกงใบบอน เก็บยอดบอนมาได้แล้วไม่ต้องล้างน้า หากบอนถกู น้าเย็นแล้ว จะคัน ให้ปลอกและรูดเย่ือที่หุ้มก้านยอดออกแล้วหักเป็นท่อนๆ ไว้ ห้ามล้างเด็ดขาด การรูดปลอกเย่ือออกบอนก็สะอาดไม่ต้อง ล้าง จากน่ันนาบอนไปนึ่งให้สุกความร้อนทาให้สารท่ีทาให้คัน หมดไป ระหว่างน่ึงก็เตรียมพริกแกง มะเขือพวง จะค่านหรือ สะค้าน (ถ้ามี) มีรสเผ็ดซ่าน 4-5 แว่น มะกอก 1-2 ลูก หรือยอดส้มป่อย 5-10 ยอด (เลือกใส่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือท้ัง สองอย่างก็ได้) แคบหมูซอยเป็นช้ิน หนังหมูค่ัวหรือกากหมูก็ได้ ใบมะกรูด

สรงนา้ ปู่เจา้ ดา่ น การสรงน้าปู่เจ้าด่านจัดข้ึนทุกๆปี ชาวนานกกเชื่อกันว่า หาก มีการสรงน้าปู่เจ้าด่านจะทาให้ตาบลนานกกก อยู่เย็นเป็นสุข ปราศจากภัยอันตรายต่างๆ ซึ่งปู่เจ้าด่านน้ันเป็นส่ิงศักสิทธ์ที่ค่อย ให้ความเป็นอยู่ท่ีดี และความสงบแก่หมู่บ้าน งานสรงน้าปู่เจ้า ด่านจะจัดขึ้นในเดือนเมษยน ของทุกๆปี ซ่ึงเป็นช่วงสงกรานต์ พอดี การแห่ปู่เจ้าด่านจะแห่ตั้งแต่วัดนานกกก มายังศาลปู่เจ้า ด่านท่ีตั้งอยู่ในโรงเรียนนานกกก จะมีขบวน และร่างทรงท่ีจะ เป็นผู้นาขบวนมา จากนั้นในพิธีจะมีการถามว่านานกกกจะเป็น อย่างไร และจะมีแนวทางแก้ไขส่ิงร้ายๆให้กับคนในหมู่บ้านได้ อย่างไร ว่ึงจะส่ือสารผ่านร่างทรงของปู่เจ้าด่าน ในงานจะมีมวย แก้บนทุกๆปี มีผู้คนต่างถิ่นมาเท่ียวมากมายเพ่ือนมาไหว้ขอพรปู่เจ้า ดา่ น และมาเที่ยวงานในทกุ ๆปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook