Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ_E_Book

เล่มที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ_E_Book

Published by deelert House, 2020-07-14 11:06:38

Description: เล่มที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ_E_Book

Search

Read the Text Version

หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่อื ง การเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ ศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทรเ์ ขต 3

ก หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ เรือ่ ง การเปล่ยี นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ คาแนะนาการใชห้ นังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หน่วยการเรียนส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีท้ังหมด 9 ชุด ซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาข้ึนจากประสบการณ์ และการศึกษาสภาพปัญหา เพ่ือให้เป็นสื่อการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้นักเรียนได้เรียนรู้ ด้วยตนเอง เกดิ ความสนใจ มีความสุข และสนกุ ในการเรยี นรู้ โดยครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนา และ ควบคมุ การเรยี นการสอนใหเ้ ป็นไปตามแผนที่กาหนดไว้ ทง้ั นข้ี อใหด้ าเนินการดงั น้ี 1. ครคู วรศกึ ษาแผนการสอนและส่อื การเรียนร้ใู ห้เขา้ ใจกอ่ นจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 2. ครตู ้องแจง้ ขัน้ ตอนการเรยี น การใช้ส่ือการเรียนรใู้ ห้นักเรยี นเขา้ ใจกอ่ นจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ และผใู้ ห้คาปรึกษา แนะนา และควบคมุ การเรยี นการสอนให้เปน็ ไปตามแผนทกี่ าหนดไว้ 3. เมื่อครดู าเนนิ การสอนตามแผนท่กี าหนดไวแ้ ล้ว สามารถทาสาเนาหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ ฉบับน้ใี หน้ กั เรยี นเพ่อื นาไปทบทวนทบี่ า้ นได้ ทั้งนีน้ ักเรยี นควรดาเนนิ การดังนี้ 3.1 นักเรยี นมเี วลาศกึ ษาเนือ้ หาบทเรยี น 30 นาที 3.2 ในขณะท่ศี ึกษาเม่อื พบปัญหาหรือขอ้ ข้องใจใหป้ รึกษาครู 3.3 เม่ือศึกษาจบแล้วให้ทาแบบฝึกพัฒนาการเรียนร้แู ละแบบทดสอบโดยใช้เวลา 30 นาที 3.4 นกั เรยี นควรซือ่ สัตยต์ ่อตนเองโดยไม่แอบดเู ฉลยในแบบฝกึ พัฒนาการเรยี นรแู้ ละ แบบทดสอบ สาระสาคญั เรื่อง การเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ มี สาเหตขุ องดงั นี้ 1. การกระทาของธรรมชาติ เปน็ สิ่งท่ีเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ เช่น การเคลือ่ นไหวของ เปลือกโลก ภูเขาไฟระเบดิ การเปลยี่ แปลงของอุณหภูมิและอากาศ พายุ นา้ ทว่ ม 2. การกระทาของมนุษย์ มนุษย์ดัดแปลงสิ่งแวดล้อมใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ การดารงชวี ิตได้ โดย นาเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาชว่ ย เช่น การสร้างเข่ือน ทาถนน ขดุ คลอง และการขยายพนื้ ทีท่ ากิน หน้าหลกั สารบญั ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทรเ์ ขต 3

ข หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรื่อง การเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชท้ รัพยากรธรรมชาติในระดบั ท้องถน่ิ ประเทศ และโลก นาความร้ไู ปใชใ้ นในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มในทอ้ งถน่ิ อย่างยั่งยนื ตัวช้ีวัด มฐ ว 2.2 ป.6/2 วิเคราะหผ์ ลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ มฐ ว 2.2 ป.6/3 อภิปรายผลต่อสิง่ มีชีวิตจากการเปลยี่ นแปลงส่ิงแวดลอ้ มทั้งโดยธรรมชาตแิ ละ โดยมนุษย์ มฐ ว 8.1 ป.6/1-ป.6/8 บูรณาการสกู่ ารเรียนรู้ในการจดั การเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) วิเคราะหผ์ ลของการเพ่มิ ขน้ึ ของประชากรมนษุ ยต์ ่อการเปลี่ยนแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ ด้านทักษะกระบวนการ (P) สบื คน้ ข้อมลู ผลท่ีเกดิ ขึน้ จากการเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) มพี ฤตกิ รรมการทางานกลุ่มทด่ี ี - มวี ินยั - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งมน่ั ในการทางาน - ซ่อื สตั ย์สจุ รติ พัฒนาการเรียนรแู้ ละแบบทดสอบตามเวลาท่ีกาหนดเท่านั้น หน้าหลกั สารบัญ ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์เขต 3

ค หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรื่อง การเปล่ยี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ สารบญั คาแนะนาในการใชห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ ก สาระสาคญั ก มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชว้ี ดั ข จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ข การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ 1 แบบฝึกพัฒนาการเรยี นรู้ 9 เฉลยแบบฝึกพฒั นาการเรยี นรู้ 11 แบบทดสอบย่อย 12 เฉลยแบบทดสอบยอ่ ย 14 สรปุ ผลการเรยี นรู้ 18 บรรณานุกรม 19 หน้าหลกั สารบัญ ปดิ ศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทรเ์ ขต 3

1 หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ การเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลง 1. การกระทาของธรรมชาติ เปน็ สิง่ ท่เี กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ เช่น การเพ่ิมประชากร การ เคลือ่ นไหวของเปลอื กโลก ภเู ขาไฟระเบิด การเปลยี่ แปลงของอณุ หภมู แิ ละอากาศ พายุ น้าท่วม 2. การกระทาของมนุษย์ มนษุ ย์ดัดแปลงสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชนต์ อ่ การดารงชีวติ ได้ โดยนาเทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาช่วย เชน่ การสรา้ งเขือ่ น ทาถนน ขดุ คลอง และการขยายพ้ืนท่ีทากิน ใหก้ ว้างขวางออกไป ซ่ึงกิจกรรมตา่ งๆ เหล่านน้ีทาให้ส่ิงแวดลอ้ มเปล่ียนแปลงไป ผลจากกการกระทาของมนุษย์ทมี่ ีตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม การใชป้ ระโยชน์จากสง่ิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งไม่รอบคอบ และมกี ารใช้ เทคโนโลยีทไี่ ม่เหมาะสม ย่อมเปน็ สาเหตุสาคัญทส่ี รา้ งความเสื่อมโทรมให้กบั ส่งิ แวดล้อม รวมท้งั เป็น ปญั หาต่อมนษุ ยเ์ อง เชน่ มลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ ปา่ ไมถ้ กู ทาลาย ดนิ เส่ือมคุณภาพ ทรพั ยากรชายฝัง่ ทะเลลดลง ภาพท่ี 1 แสดงผลจากกการกระทาของมนุษย์ทมี่ ตี อ่ สงิ่ แวดลอ้ ม การเพ่มิ ปรมิ าณประชากรมนุษย์และการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศมีความสัมพันธ์กัน อย่างใกลช้ ดิ เพราะจานวน ประชากรกาหนดปรมิ าณการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และเป็นดัชนีท่ีบ่งช้ี ถึงสถานสภาพเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ น้ันๆ การเพ่ิมปริมาณ ประชากรมนุษย์เป็นปัจจัย หลัก ที่คุกคามคุณภาพของส่ิงแวดล้อม ทาให้ปัญหามลพิษส่ิงแวดล้อม แพร่กระจายออกไป อย่าง รวดเร็ว ครอบคลมุ พ้นื ดิน พ้ืนน้า แม้แต่บรรยากาศยังได้รับผลกระทบจากสภาวะ การเพ่ิม ปริมาณ ประชากรมนุษย์ ทมี่ ีแนวโน้มเพมิ่ สงู ขึ้นอยู่ตลอดเวลา หนา้ หลัก สารบัญ ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทรเ์ ขต 3

2 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรอื่ ง การเปลยี่ นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ ผลกระทบจากการเพิม่ ปริมาณของประชากรมนุษย์ ผลกระทบจากการเพิ่มปริมาณประชากรมนุษย์ ได้แพร่กระจากขยายวงออกไปอย่างกว้าง ขวางสง่ ผลให้เกดิ ปัญหาต่างๆ ต่อโลกสิ่งมีชีวิต การทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การ เปล่ยี นแปลงประชากรเปน็ ประเด็นสาคญั อย่างย่ิงตอ่ การเปล่ยี นแปลงส่ิงแวดล้อม เพราะประชากรมี ปฏิสัมพนั ธโ์ ดยตรงกับทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ มบนโลกน้ี จานวนประชากรและพฤติกรรมการบริโภคของประชากรส่งผลโดยตรงต่อการนาทรัพยากร ธรรมชาติมาใช้ประโยชน์เพ่ือการผลิตตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซ่ึงมีกระบวนการต่างๆ มากมายตง้ั แต่การสารวจ การขุดค้น การเตรียมการผลิต การผลิต การแจกจ่ายและการบริโภค ทุก ขัน้ ตอนของกระบวนการเหล่านล้ี ว้ นแตท่ ง้ิ ส่งิ ของเหลอื ใช้ (Waste) ลงสู่ส่ิงแวดล้อมทงั้ ส้ิน ภาพท่ี 2 แสดงผลกระทบจากการเพ่มิ ปริมาณของประชากรมนุษย์ เม่ือจานวนประชากรมากข้ึน ความต้องการใช้ส่ิงของต่างๆ ก็มากขึ้นตามมา ซ่ึงมนุษย์ก็ได้ใช้ ทรัพยากรมากขึ้นและอย่างรวดเร็ว การขุดค้นหาและนาทรัพยากรมาใช้มากขึ้นนี้ มนุษย์มักจะได้ กระทาโดยไม่ได้ระมดั ระวังถึงผลเสียท่ีจะตามมาและมักจะไดก้ ระทาการอยา่ งไมส่ นใจต่อการหมดสิ้น หรอื เสอื่ มสภาพของทรัพยากร อนั ทาให้เกดิ เสยี สมดลุ ธรรมชาติ เกดิ มลพิษทางสภาวะแวดล้อม ไม่ว่า จะเปน็ การพัฒนาอตุ สาหกรรมหรือการพัฒนาเกษตรกรรมก็ตาม ได้มีการนาเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใชอ้ ยา่ งมากมายจนเกิดเปน็ การทาลายธรรมชาติ เชน่ การขดุ แร่ การสรา้ งเขอ่ื น มีส่วนทาให้สภาพ ป่าสลายไป ฯลฯ ทาให้สมดุลของธรรมชาติเสียและเกิดมีของเหลือท้ิงความสกปรกมากขึ้นจนที่สุดที่ ธรรมชาติจะรับไว้ได้ ธรรมชาตกิ ็เสียหายสภาพแวดลอ้ มก็เสื่อมโทรมไป หน้าหลกั สารบญั ปดิ ศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์เขต 3

3 หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรอ่ื ง การเปล่ยี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาท่ีเกิดจากการเพมิ่ จานวนประชากร การเพม่ิ ขึ้นของจานวนประชากร ในขณะทพี่ ื้นทข่ี องประเทศยงั คงเท่าเดมิ ทาให้สดั สว่ น จานวน ประชากรต่อหน่วยพืน้ ท่ี เพิ่มขึน้ ทาใหเ้ กิดปญั หาตา่ งๆ ได้แก่ 1. การขาดแคลนพ้นื ทีอ่ ยอู่ าศัย จึงเกดิ การขยายชุมชนเมอื งออกไปสชู่ นบท ซ่ึงเป็นแหล่ง เพาะปลกู ทางการเกษตร อันอดุ มสมบูรณ์ 2. พ้ืนท่ที างการเกษตรลดลง เพาะพน้ื ทชี่ นบททอ่ี ุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอู่ข้าวอูน่ ้า แหล่ง ผลิต ทางการเกษตร 3. ความต้องการปจั จยั สี่เพ่มิ ข้ึน ได้แก่ อาหาร ท่ีอยู่อาศยั ยารกั ษาโรค และเครอื่ งนุ่งหม่ ปัจจยั สเ่ี หล่านีไ้ ด้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ 4. เมือ่ ประชากรเพ่มิ มากขน้ึ ต้องเสาะหาทรพั ยากรธรรมชาติให้ไดม้ ากขนึ้ เพิ่มการ ผลติ ผล ผลิตให้ไดม้ ากและรวดเรว็ โดยอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาพที่ 3 แสดงปญั หาท่เี กิดจากการเพิ่มจานวนประชากร 5. ผลของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้ประดษิ ฐ์คิดคน้ เครือ่ งมือ เครื่องจกั ร และ กรรมวธิ กี าร ทาการเกษตรกรรม สมัยใหม่ ตลอดจนการแปรรปู ผลิตภัณฑ์ โดยเปลี่ยนแปลง กระบวนการผลติ ทท่ี ากันในครอบครัวเปน็ การผลิตในระดบั อุตสาหกรรม 6. ผลจากวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้ทรพั ยากรธรรมชาติถกู นามาใช้อย่าง มากมาย และรวดเร็วจนทาให้ทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ ป่าไม้ แรธ่ าตุ น้ามนั เชอ้ื เพลิง มีปริมาณลด น้องลงไปมาก 7. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทาใหส้ ภาพแวดล้อมเส่ือมโทรมและเปน็ พิษ เกนิ กวา่ ธรรมชาติ จะแกไ้ ขและบาบดั ให้ กลบั คืนมาเหมือนเดมิ ได้ หน้าหลกั สารบญั ปดิ ศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

4 หนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ ผลจากการกระทาของมนุษยท์ ม่ี ีต่อส่งิ แวดล้อม การใช้ประโยชนจ์ ากสิง่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างไมร่ อบคอบ และมีการใช้ เทคโนโลยที ่ไี มเ่ หมาะสม ยอ่ มเปน็ สาเหตุสาคญั ทส่ี ร้างความเสือ่ มโทรมให้กับสง่ิ แวดล้อม รวมทงั้ เปน็ ปัญหาตอ่ มนษุ ยเ์ อง 1. ปัญหามลพิษ 1.1 มลพษิ ทางนา้ เกดิ จากการปล่อยนา้ เสียของโรงงานอตุ สาหกรรม อาคาร บ้านเรอื น การท้ิงขยะหรอื ส่ิงปฏกิ ลู ลงในแหลง่ น้า จึงทาใหน้ ้าสกปรกจนไม่สามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 1.2 มลพิษทางอากาศ เกิดจากการปล่อยฝุ่นละอองหรอื กา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซดจ์ าก โรงงานอตุ สาหกรรมหรือยานพาหนะ ซึ่งเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพของคน 2. ปัญหาความเส่ือมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ 2.1 ปา่ ไมถ้ กู ทาลาย เกดิ จากการลกั ลอบตัดไม้ การทาไร่เลอ่ื นลอ การใชป้ ระโยชนใ์ นพืน้ ท่ี ปา่ ไม้ ทาใหเ้ กดิ การชะลา้ งหนา้ ดิน นา้ ปา่ ไหลบา่ จนดินถลม่ เกิดนา้ ทว่ มฉับพลนั และการขาดแคลน น้าในฤดูแล้ง 2.2 ดนิ เสือ่ มคณุ ภาพ เกิดจากการปลกู พชื ที่ไมเ่ หมาะสมกับคุณสมบัติของดิน หรอื การปลูก พืชชนดิ เดียวซา้ กนั มากเกินไป โดยทีเ่ กษตรกรไม่ฟื้นฟฟูสภาพดินหลังการใช้ประโยชน์ 2.3 ทรัพยากรชายฝัง่ ทะเลลดลง เกดิ จากการบุกรกุ พน้ื ทป่ี า่ ชายเลน เพอื่ ใช้เป็นพื้นท่เี ล้ยี ง ก้งุ ทาใหส้ ญู เสยี แหล่งเพาะพันธ์สุ ตั วน์ ้า หรอื การลักลอบจบั ปลาหรอื สัตวน์ ้า โดยใช้เคร่อื งมอื ท่ีผดิ กฎหมาย เชน่ อวนตาถี่ ใช้ไฟฟ้าชอ็ ต ทาให้ปลาและสตั ว์นา้ อ่นื ๆ ตายหรือใกล้สูญพนั ธ์ุ ภาพท่ี 4 แสดงผลจากการกระทาของมนุษยท์ ่ีมีต่อสงิ่ แวดล้อม หนา้ หลกั สารบัญ ปิด ศศมิ าภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทรเ์ ขต 3

5 หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ เรอ่ื ง การเปลีย่ นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสง่ิ แวดลอ้ มในท้องถ่ิน สภาพของสง่ิ แวดลอ้ มท่เี ปล่ียนแปลงไปจากเดิม ซ่งึ ก่อใหเ้ กิดผลทางลบ กระทบต่อคนเรา ทาให้การดาเนินชีวิตขอเราผิดปกติไป ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีม่ ักพบบ่อยๆ ในท้องถิ่นคอื 1. ปัญหานา้ เสยี เป็นปัญหาสงิ่ แวดล้อมที่อยใู่ กล้ตัวเรามาก และมักพบไดใ้ นทอ้ งถนิ่ ที่เปน็ ชุมชนใหญ่ หรือมีโรงงานอุตสาหกรรมต้ังอยู่ สภาพของน้าเสียหมายถึง สภาพนา้ ท่ีมีระดับออกซเิ จน ละลายอยู่ในนา้ น้อย มสี ดั ส่วนของแบคทเี รียมาก บางคร้ังจะมสี ารพษิ เจือปนอยู่ มีสภาพกล่ินเหม็น สีดา มขี ยะลอย ไม่สามารถนามาใชอ้ ปุ โภคบรโิ ภคได้ ซ่ึงสาเหตทุ ี่ทาให้นา้ เสียเกดิ จากการปลอ่ ยนา้ ทิ้ง ของโรงงานอตุ สาหกรรม น้าเสียจากครวั เรอื น หรือจากการทาการเกษตร ทีไ่ มผ่ ่านระบบกาจดั นา้ เสยี ให้เป็นน้าดกี อ่ นปล่อยลงไปสูแ่ หลง่ น้าต่างๆ ทาให้นา้ ในแหล่งนา้ ตา่ งๆเน่าเสีย ภาพที่ 5 แสดงปัญหาน้าเสยี 2. ปญั หาน้าท่วม เปน็ ปัญหาสงิ่ แวดล้อม ท่ีพบอยูต่ ามท้องถิ่นทีต่ ั้งอยู่บรเิ วณทรี่ าบลุ่มอยู่ใกล้ แมน่ า้ หรืออยชู่ ายฝัง่ ทะเล ซงึ่ บริเวณพ้ืนที่เหล่านม้ี กั จะมรี ะบบระบายน้าไมด่ ี ทาให้เกดิ มีน้าทว่ มขังซึ่ง จะกอ่ ความเสียหาย ให้แกช่ ีวิตและทรพั ยส์ นิ ต่างๆ สาเหตขุ องการเกิดน้าท่วมมกั มีหลายสาเหตุ คือ การตัดไม้ทาลายปา่ การสรา้ งสิ่งก่อสรา้ งตา่ งๆ เช่น ถนนขวางเส้นทางของน้า ถา้ ในบรเิ วณชายฝั่ง ทะเล กจ็ ะเกดิ จากการหนุนของนา้ ทะเลหรอื อาจเกิดจากฝนท่ตี กหนกั จนระบายนา้ ไมท่ นั ภาพที่ 6 แสดงปญั หาน้าท่วม หนา้ หลัก สารบัญ ปดิ ศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์เขต 3

6 หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่อื ง การเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ 3. ปัญหาภัยแลง้ เปน็ ปญั หาดา้ นสิง่ แวดล้อม มักพบในท้องถ่นิ ท่ีอยนู่ อกตัวเมอื งหรอื ชนบทที่ ตอ้ งอาศยั นา้ จากฝนท่ตี กลงมาอุปโภคบริโภคเปน็ หลัก ไม่มีระบบน้าประปา สภาพภัยแล้งเกิดจาก ความชมุ่ ชื้นในอากาศมีน้อยและในดนิ มนี ้านอ้ ย เนื่องจากฝนไม่ตกหรือทงิ้ ชว่ งเป็นเวลานาน จะเป็น เหตใุ ห้มีระดับนา้ ตามแหล่งนา้ ทีผ่ ิวดนิ ที่เป็นแม่น้า ลาคลอง หนองบงึ มีนา้ น้อย ไม่พอเพียงแกก่ าร นามาใชใ้ นการอุปโภคบริโภค หรือทาการเกษตร ภาพท่ี 7 แสดงปัญหาภยั แล้ง 4. ปัญหาดินถล่ม เป็นปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม ที่มกั พบอยูใ่ นทอ้ งถ่ินทีต่ ง้ั อยู่ตามเชงิ เขา ดนิ ถลม่ หรอื โคลนถลม่ มกั เกดิ ขึน้ ในชว่ งที่มีฝนตกหนกั ท่ีน้าจากภเู ขาไหลบ่าพัดเอาดินเอาโคลนมากอง รวมกันไวม้ ากๆ และเมือ่ ถงึ ระดับหน่ึง ซ่งึ บริเวณที่รองรบั ทนน้าหนกั ไม่ไหว เกดิ การถล่มลงมาของ กองดินหรือโคลน ซึ่งถ้าในบริเวณนั้นมีการตั้งบ้านเรอื นอยู่ กจ็ ะเกิดการสูญเสียทงั้ ชวี ติ และทรพั ย์สนิ หรอื บางครง้ั เกิดจากการตดั ไมบ้ นพน้ื ท่ีภูเขาและไหล่เขา เมอ่ื เกดิ ฝนตกหนักไม่มตี ้นไม้ท่ีจะยดึ ดนิ ไว้ ทาใหเ้ กดิ ดนิ ถลม่ ภาพที่ 8 แสดงปัญหาดนิ ถล่ม หนา้ หลัก สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทรเ์ ขต 3

7 หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงของทรพั ยากรธรรมชา7ติ 5. ปัญหาการตัดไมท้ าลายปา่ และไฟปา่ เปน็ ปญั หาท่ีพบในทอ้ งถนิ่ ต่างๆ สว่ นใหญม่ กั จะเปน็ ปญั หาตอ่ เนื่องมาจากอดตี แต่ในปัจจุบันน้ีกม็ กั จะมกี ารลักลอบทาลายป่าไมอ้ ยู่เนืองๆ นอกจากนไ้ี ฟ ป่าก็เป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้พื้นทป่ี ่าลดลงและทาลายความสมดุลของธรรมชาติ และการตัดไม้ ทาลายป่าทาใหพ้ นื้ ท่ีป่าไม้ลดลงกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาตา่ งๆ ตามมา เช่น ปัญหาน้าท่วม ปัญหาดินโคลน ถล่ม ปญั หาภัยแล้ง ปญั หาแหล่งนา้ ต้นื เขนิ เปน็ ต้น ภาพท่ี 9 แสดงปญั หาการตดั ไมท้ าลายป่าและไฟป่า 6. ปญั หาขยะมลู ฝอย เป็นปัญหาท่มี แี นวโนม้ รนุ แรงขึ้นเร่อื ยๆ เนื่องมาจากการเพิ่มของ จานวนประชากรเพราะผลของการวิจัยพบว่า ประชากร 1 คน ทาให้เกิดขยะเฉลีย่ 1 กิโลกรมั ต่อวัน จากกจิ กรรมอ่นื ๆ เช่น การอุตสาหกรรม การเกษตร การกาจัดขยะ ถ้าเป็นในเมอื งหรอื ชุมชนขนาด ใหญจ่ ะมีเจา้ หนา้ ทีจ่ ัดเก็บ แต่ถา้ เป็นชุมชนขนาดเล็กหรือในชนบท มักจะมีการกาจัดขยะกนั เองใน ครัวเรอื นขยะเป็นแหล่งรวมของเช้ือโรค มีกลนิ่ เหม็น ไม่น่ามอง ซง่ึ การกาจัดขยะมักจะใช้วิธีการฝัง กลบหรือการเผาเป็นส่วนใหญ่ ภาพที่ 10 แสดงปัญหาขยะมลู ฝอย หนา้ หลัก สารบญั ปิด ศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทรเ์ ขต 3

8 หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่อื ง การเปล่ียนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ 7. ภาวะฝนกรด เกิดจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide: SO2) และไนโตรเจน ออกไซด์ (Nitrogen oxide: NO) โดยก๊าซทงั้ สองชนิดน้มี ักจะเกดิ จากการเผาผลาญเช้ือเพลิงฟอสซิล เชน่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และน้ามัน ก๊าซท้ังสองชนิดนี้จะทาปฏิกิริยากับน้า (Water: H2O) และ สารเคมีอ่ืนๆ ในชั้นบรรยากาศเพื่อก่อให้เกิดกรดซัลฟิวริก (Sulfuric acid: H2SO4),กรดไนตริก (Nitric acid: HNO3) และสารมลพิษอื่นๆ ก๊าซเหล่าน้ีมักจะทาปฏิกิริยากับสารเคมีจะส่งผลทาให้ อากาศอบอ้าวอากาศรอ้ นช้นื ทาใหเ้ กดิ มลพิษทางอากาศเมอ่ื ไปโดนกับออกซิเจนอาจถกู กระแสลมพัด พาไปหลายร้อยกโิ ลเมตร และมักจะกลับสพู่ ื้นโลกโดยฝน หิมะ หมอก หรือแมแ้ ตใ่ นรปู ฝนุ่ ผงละออง 8. ภาวะโลกร้อน เกิดจาก ก๊าซเรือนกระจกได้แก่ ก๊าซมีเทน (CH4) คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon-CFCs) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) ที่เพ่ิมขึ้นจากการทากิจกรรมต่างๆ ของ มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเผาผลาญถ่านหินและเชื้อเพลิง รวมไปถึงสารเคมีท่ีมีส่วนผสมของก๊าซเรือน กระจกทมี่ นษุ ยใ์ ช้และอ่นื ๆอีกมากมาย ลอยขึ้นไปรวมตัวกันอยู่บนชั้นบรรยากาศของโลก ทาให้รังสี ของดวงอาทิตย์ท่ีควรจะสะท้อนกลับออกไปในปริมาณท่ีเหมาะสม ถูกกักเก็บไว้ ทาให้อุณหภูมิของ โลกคอ่ ยๆสงู ขึ้นจากเดมิ สง่ ผลใหส้ ภาพลมฟา้ อากาศที่ผดิ แปลกไปจากเดิม ภัยธรรมชาติที่รุนแรงมาก ขึ้น น้าท่วม แผ่นดินไหว พายุที่รุนแรง อากาศท่ีร้อนผิดปกติจนมีคนเสียชีวิต รวมไปถึงโรคระบาด ชนดิ ใหม่ๆ หรอื โรคระบาดที่เคยหายไปจากโลกนี้แล้วก็กลับมาให้เราได้เห็นใหม่ และพาหะนาโรคท่ี เพ่มิ จานวนมากขนึ้ ภาพท่ี 11 แสดงผลกระทบจากภาวะโลกรอ้ น หนา้ หลกั สารบัญ ปิด ศศิมาภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์เขต 3

9 หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่ือง การเปลี่ยนแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ แบบฝกึ พัฒนาการเรียนรู้ (1) โรงงานอตุ สาหกรรม (2) การเพม่ิ ของประชากร (3) การตัดไมท่ าลายป่า คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนศกึ ษาภาพดา้ นบนว่าภาพใดท่ีสง่ ผลใหเ้ กิดปญั หาโดยตรงดา้ นสง่ิ แวดล้อมที่กาหนดให้ มากทสี่ ดุ โดยใช้เมาส์ชีเ้ ลือกทบี่ รเิ วณคาตอบ 1. มลพิษทางนา้ ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 2. มลพษิ ทางอากาศ ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) ภาพท่ี (3) 3. ปัญหาการตัดไม้ทาลายปา่ และไฟป่า ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 4. ดินเสอ่ื มคุณภาพ ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (2) ภาพท่ี (3) 5. ทรัพยากรชายฝ่ังทะเลลดลง ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 6. ปัญหาน้าทว่ ม ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 7. ปญั หาภัยแล้ง ภาพท่ี (1) ภาพที่ (2) ภาพท่ี (3) 8. ปญั หาดนิ ถล่ม ภาพท่ี (1) ภาพที่ (2) ภาพท่ี (3) 9. ปญั หาขยะมลู ฝอย ภาพที่ (1) ภาพที่ (2) ภาพที่ (3) 10. ภาวะโลกรอ้ น ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 11. ภาวะฝนกรด ภาพที่ (1) ภาพที่ (2) ภาพท่ี (3) 12. ปัญหาการขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 13. มลพิษเสียง ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 14. ปัญหาแหลง่ น้าต้ืนเขนิ ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 15. การเปลี่ยแปลงของอณุ หภมู ิและอากาศ ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) หน้าหลัก สารบญั ปิด ศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3

10 หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ เร่อื ง การเปลี่ยนแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ ทาถูกกนั บา้ งหรอื เปล่า...มาดูเฉลยกนั ดีกวา่ หน้าหลัก สารบัญ ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3

11 หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ือง การเปลีย่ นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ เฉลยแบบฝึกพฒั นาการเรยี นรู้ (1) โรงงานอุตสาหกรรม (2) การเพิ่มของประชากร (3) การตัดไมท่ าลายป่า คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนศึกษาภาพด้านบนวา่ ภาพใดท่ีสง่ ผลใหเ้ กิดปัญหาโดยตรงดา้ นสง่ิ แวดล้อมท่กี าหนดให้ มากที่สดุ โดยใชเ้ มาส์ชเ้ี ลือกท่บี รเิ วณเฉลยเพอ่ื ดูคาตอบ 1. มลพิษทางนา้ ภเาฉพลทย่ี 1(1) ภาพท่ี (2) ภาพท่ี (3) 2. มลพษิ ทางอากาศ ภาพท่ี (1) ภเาฉพลทยี่ 2(2) ภาพที่ (3) ภาพท่ี (2) 3. ปญั หาการตดั ไม้ทาลายป่าและไฟปา่ ภเาฉพลทย่ี 3(1) ภเาฉพลทยี่ 4(2) ภาพท่ี (3) 4. ดนิ เสื่อมคุณภาพ ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) ภเาฉพลทย่ี 6(2) 5. ทรัพยากรชายฝ่งั ทะเลลดลง ภเาฉพลทย่ี 5(1) ภาพที่ (2) ภาพท่ี (3) 6. ปญั หานา้ ท่วม ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (3) 7. ปญั หาภยั แล้ง ภเาฉพลทยี่ 7(1) ภเาฉพลทยี่ 8(2) ภาพที่ (3) ภาพที่ (2) 8. ปญั หาดินถลม่ ภาพที่ (1) ภาพท่ี (3) 9. ปญั หาขยะมูลฝอย ภเาฉพลทยี่ 9(1) ภเฉาลพยท1่ี (02) ภาพที่ (3) ภาพที่ (1) ภาพท่ี (2) 10. ภาวะโลกรอ้ น ภเฉาลพยท1่ี (11) ภเฉาลพยท1ี่ (22) ภาพที่ (3) 11. ภาวะฝนกรด ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (2) ภาพที่ (3) 12. ปญั หาการขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ ภเฉาลพยท1ี่ (42) ภาพที่ (3) ภเฉาลพยท1่ี (31) 13. มลพิษเสียง ภาพท่ี (1) ภาพท่ี (2) ภาพท่ี (3) 14. ปัญหาแหลง่ นา้ ต้ืนเขนิ ภาพท่ี (3) ภเฉาลพยท1ี่ (51) 15. การเปล่ียแปลงของอุณหภูมิและอากาศ ภาพที่ (3) หนา้ หลกั สารบญั ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3

12 หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ คาชแี้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพยี งขอ้ เดยี ว แบบทดสอบย่อย โดยใชเ้ มาส์ชี้ท่ีบริเวณคาตอบ 1. สาเหตุสาคญั ทที่ าใหเ้ กิดปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติ ก. นา้ ทว่ ม ก. พืช ข. พายไุ ต้ฝุ่น ข. สตั ว์ ค. คลื่นสนึ ามิ ค. มนุษย์ ง. ภาวะโลกร้อน ง. ธรรมชาติ 7. ข้อใดจากคากลา่ วทีว่ า่ “เมอ่ื มนุษย์ทาลายธรรมชาติ ธรรมชาตจิ ะทาลายมนุษย์ แต่ถ้ามนุษย์รกั ษ์ธรรมชาติ 2. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหานา้ เน่าเสีย ธรรมชาตจิ ะรักษ์มนษุ ย์” ก. การทิ้งขยะลงแมน่ ้า ก. เป็นไปไม่ได้ท่ีธรรมชาติทาลายมนษุ ย์ ข. โรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้าเสีย ข. มนุษย์เป็นผูท้ าลายความสมดลุ ทางธรรมชาติ ค. คนตดั ไมท้ าลายปา่ ค. ธรรมชาติและมนษุ ย์สัมพนั ธ์ซ่ึงกันและกัน ง. ฝนพดั พาสารพิษลงสูแ่ ม่น้า ง. ไม่มีข้อใดถกู 8. สารใดที่ทาให้เกิดภาวะเรอื นกระจก 3. ภยั ธรรมชาติทที่ าใหเ้ กิดนา้ ท่วม และนา้ ปา่ ไหลหลาก ก. กา๊ ซมีเทน เรียกวา่ อะไร ข. กา๊ ซคลอโรฟลอู อโรคาร์บอน ค. กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ ก. วาตภัย ง. ถูกทกุ ข้อ ข. อทุ กภัย 9. บรเิ วณใดอาจทาใหน้ า้ ฝนท่ีตกลงมามสี มบัติเป็นฝน ค. ทกุ ขภกิ ขภัย กรดมากท่สี ดุ ง. แผ่นดินไหว ก. บริเวณโรงงานอุตสาหกรรม 4. ขอ้ ใดเป็นผลกระทบท่ีเกดิ จากการทาลายป่าไม้ ข. บริเวณชุมชนแออดั ก. ระบบนเิ วศเปล่ียนแปลง ค. บรเิ วณบา้ นจดั สรร ข. ทาให้อากาศหนาวมากข้ึน ง. บริเวณตลาดรา้ นค้า ค. อุณหภมู ิสูงขึน้ ในตอนกลางคืน 10. ผลกระทบอนั ดบั แรกจากการเพ่มิ ของประชากร ง. ทาใหฝ้ นตกบ่อย มนุษย์อยา่ งรวดเร็ว คือ 5. ข้อใดเป็นวิธีแก้ปญั หาการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติที่ ก. ปญั หาทางสังคม เหมาะสมท่ีสุด ข. ปญั หาดา้ นการศกึ ษา ก. ตดั ไม้เฉพาะในเขตอุทยาน ค. ปญั หาด้านการวา่ งงาน ข. แยกขยะมลู ฝอยก่อนทงิ้ ลงคลอง ง. ปญั หาการขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ ค. รวมกล่มุ ตดิ ตามข่าวไฟปา่ ง. สร้างจิตสานกึ ให้กับประชาชนทกุ คน 6. ภัยพิบตั ิธรรมชาติในข้อใดท่ีเกิดจากการเปลย่ี นแปลง ทางภูมศิ าสตร์ หน้าหลัก สารบัญ ปดิ ศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์เขต 3

13 หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ ทาแบบทดสอบได้บ้างมั๊ยเอ่ย...มาดเู ฉลยกนั คะ หน้าหลกั สารบัญ ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์เขต 3

14 หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ เฉยแบบทดสอบย่อย 1. สาเหตุสาคญั ทีท่ าใหเ้ กดิ ปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติ ก. นา้ ท่วม เฉลย ข. พายไุ ต้ฝุน่ ก. พืช เฉลย ข. สัตว์ ค. คลื่นสึนามิ ค. มนุษย์ ง. ภาวะโลกรอ้ น ง. ธรรมชาติ 7. ข้อใดจากคากลา่ วทว่ี า่ “เมอ่ื มนษุ ยท์ าลายธรรมชาติ 2. ข้อใดไมใ่ ชส่ าเหตุท่ีทาให้เกิดปัญหาน้าเน่าเสีย ธรรมชาตจิ ะทาลายมนษุ ย์ แต่ถ้ามนุษย์รกั ษ์ธรรมชาติ ก. การท้งิ ขยะลงแมน่ ้า เฉลย ธรรมชาติจะรกั ษ์มนุษย์” เฉลย ข. โรงงานอุตสาหกรรมปลอ่ ยนา้ เสีย ก. เปน็ ไปไมไ่ ด้ทธี่ รรมชาติทาลายมนุษย์ ค. คนตดั ไม้ทาลายปา่ ข. มนุษย์เป็นผู้ทาลายความสมดลุ ทางธรรมชาติ ง. ฝนพดั พาสารพิษลงสแู่ มน่ ้า ค. ธรรมชาติและมนุษยส์ ัมพนั ธ์ซงึ่ กนั และกัน 3. ภยั ธรรมชาติทที่ าใหเ้ กิดนา้ ทว่ ม และนา้ ป่าไหลหลาก ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู เรยี กว่าอะไร เฉลย 8. สารใดท่ที าใหเ้ กดิ ภาวะเรือนกระจก ก. วาตภยั ก. ก๊าซมีเทน เฉลย ข. อทุ กภัย ข. กา๊ ซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน ค. ทุกขภิกขภยั ค. ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ ง. แผ่นดินไหว ง. ถูกทุกข้อ 4. ขอ้ ใดเปน็ ผลกระทบทเี่ กดิ จากการทาลายปา่ ไม้ 9. บรเิ วณใดอาจทาใหน้ ้าฝนท่ีตกลงมามีสมบตั เิ ป็นฝน ก. ระบบนิเวศเปล่ยี นแปลง เฉลย กรดมากที่สุด เฉลย ข. ทาใหอ้ ากาศหนาวมากข้ึน ก. บรเิ วณโรงงานอุตสาหกรรม ค. อณุ หภมู สิ ูงขึ้นในตอนกลางคืน ข. บริเวณชุมชนแออดั ง. ทาใหฝ้ นตกบ่อย ค. บริเวณบ้านจัดสรร 5. ข้อใดเป็นวธิ ีแก้ปญั หาการใชท้ รัพยากรธรรมชาตทิ ่ี ง. บรเิ วณตลาดร้านค้า เหมาะสมทีส่ ดุ เฉลย 10. ผลกระทบอนั ดับแรกจากการเพมิ่ ของประชากร ก. ตัดไม้เฉพาะในเขตอุทยาน มนษุ ย์อย่างรวดเร็ว คอื เฉลย ข. แยกขยะมลู ฝอยกอ่ นทิ้งลงคลอง ก. ปญั หาทางสังคม ค. รวมกล่มุ ตดิ ตามข่าวไฟปา่ ข. ปญั หาด้านการศกึ ษา ง. สรา้ งจติ สานึกให้กบั ประชาชนทุกคน ค. ปัญหาด้านการวา่ งงาน 6. ภัยพบิ ัติธรรมชาติในข้อใดท่เี กิดจากการเปลี่ยนแปลง ง. ปญั หาการขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติ ทางภมู ิศาสตร์ หนา้ หลัก สารบญั ปดิ ศศิมาภรณ์ ดีเลศิ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์เขต 3

15 หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ เร่อื ง การเปล่ียนแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ เฉลยละเอียดแบบทดสอบยอ่ ย ขอ้ 1. มนุษย์เป็นตวั การสาคญั ท่ีก่อใหเ้ กิดปัญหาทรัพยากรธรรมชาตมิ ากท่ีสดุ เพราะจานวน ประชากรของมนษุ ยเ์ พิ่มมากข้นึ และมีการใช้งานทรพั ยากรมากขนึ้ ข้อ 2. คนตัดไม้ทาลายป่าก่อใหเ้ กดิ ภยั แล้วและนา้ ท่วมไม่ใช่สาเหตุของการเกิดนา้ เนา่ เสีย เพราะน้า เน่าเสยี เกิดจากการที่มนษุ ย์ทง้ิ ขยะลงส่แู ม่น้าลาคลองและโรงงานอตุ สาหกรรมปลอ่ ยนา้ เสียออกสู่ แมน่ ้า ข้อ 3. อุทกภยั เปน็ ภัยธรรมชาตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ เน่ืองจากมนี ้าเปน็ สาเหตุ เชน่ นา้ ทว่ ม น้าป่าไหลหลาก ขอ้ 4. เมอื่ มกี ารตดั ไมท้ าลายปา่ มากข้ึน ทาใหท้ รัพยากรป่าไม้น้ันลดน้อยลง ทาใหเ้ กิดปญั หาภัยแล้ง น้าทว่ ม และเมือ่ เกิดนา้ ท่วม อาจจะส่งผลให้เกดิ น้าเน่าเสียได้ เพราะนา้ ท่วมจะพัดพาเอาทกุ สิง่ ทุก อย่าง ทาให้เกดิ ปัญหาระบบนิเวศเปล่ียนแปลงไป ข้อ 5. การท่จี ะแกป้ ญั หาทรพั ยากรที่ดีทีส่ ุด คอื การสร้างจิตสานกึ ใหก้ บั ประชาชนทุกคน ช่วยกนั ดแู ลทรัพยากรและมกี ารใชท้ รพั ยากรอยา่ งประหยดั และถูกวิธแี ละควรทจี่ ะสรา้ งและปลูกปา่ เพ่ือ ทดแทนป่าไมท้ ี่ถกู ตัดไป ทง้ิ ขยะในทที่ คี่ วรทงิ้ ไมค่ วรทิ้งลงแม่น้า ทาการเกษตรแบบผสมผสานจะ ช่วยใหด้ นิ ดี อุดมสมบูรณ์ ไม่เผาตอซงั จะทาให้ดินแหง้ ข้อ 6. คล่นื สึนามิ ทาให้ปะการังใตน้ า้ เสียหายรวมทัง้ เกดิ ความเสียหายแกป่ ่าชายเลน และเกดิ การ เปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่ง หนา้ หลัก สารบญั ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นบา้ นอาโพน สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์เขต 3

16 หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ เฉลยละเอยี ดแบบทดสอบย่อย ขอ้ 7. การกระทาตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติบนโลกจากนา้ มือของมนุษยน์ ี้ เปน็ สาเหตุหน่ึง ที่ก่อให้สภาวะธรรมชาติ บนโลกเสียความสมดุลไป ธรรมชาตจิ งึ ตอ้ งปรบั ตัวเองให้เกิดความสมดุลขึ้น การปรับตัวของธรรมชาติบางคราว กอ่ ให้เกิดเป็นภยั เช่น นา้ ท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อากาศวิปริตเป็นต้นว่าร้อนจัด หนาวจัด ฝนตกหนัก แล้งจัด หรือแม้กระท่ังเกิดสงครามแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง ทาลายชีวิตมนุษย์ไป จานวนมาก ยิ่งมนุษย์รุกล้า ทาร้ายธรรมชาติมากข้ึนเท่าใด ธรรมชาติก็จะทาลายมนุษย์มากขึ้นเท่านั้น มนุษย์ สามารถอาศัยบนโลกใบน้ี อย่างสงบ เย็น ได้มากกวา่ ทเี่ ป็นอยูน่ ้ี หากเข้าใจธรรมชาติ รู้จักนาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้กบั ชีวติ อย่างเหมาะสม ไม่รกุ ลา้ ทาลายธรรมชาติ แต่หาก มนุษย์ไม่เข้าใจธรรมชาติ ยังคงทาร้ายธรรมชาติ อยา่ งอหงั การไปเรอ่ื ยๆ ธรรมชาติก็จะทาลายมนษุ ย์ไปตามวิถขี องธรรมชาติ จนมนษุ ย์อาจสูญพันธ์ไปจากพิภพใน วันหนึง่ ก็ได้. ขอ้ 8. กา๊ ซทม่ี ีบทบาทในการทาใหเ้ กิดปรากฏการณใ์ หโ้ ลกมีอุณหภมู ิสงู ขน้ึ - ก๊าซมีเทน (CH4) เปน็ กา๊ ซท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ จากมลู สตั วเ์ ลย้ี ง เชน่ ววั ควาย การเผาไหม้ เชอ้ื เพลิง ถ่านหนิ และกา๊ ซธรรมชาติ - กา๊ ซไนตรสั ออกไซด์ (N2O) เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ การใช้ปุ๋ย มูลสัตวท์ ี่ยอ่ ยสลาย การสนั ดาปนา้ มัน เชอ้ื เพลิงจากอุตสาหกรรมทใ่ี ชก้ รดไนตรกิ ในขบวนการผลติ เช่นอุตสาหกรรมเคมี อตุ สาหกรรมพลาสติกบางชนิด อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน - คลอโรฟลโู อโรคารบ์ อน (Chlorofluorocarbon- CFCs) เปน็ สารสงั เคราะหท์ ่ีใช้ในอุตสาหกรรม ประกอบด้วย คาร์บอน (C) คลอรีน (Cl) และฟลูออรนี (F) ซง่ึ เปน็ สารทที่ าลายช้นั บรรยากาศโอโซน เป็นสาเหตุ ทาใหอ้ ุณหภูมิโลกสงู ขึ้น รังสีเหนอื ม่วงชนดิ B หรอื Ultraviolet B ส่งมายงั ผวิ โลกมากขึ้น ซ่งึ ส่วนใหญใ่ ช้ใน อุตสาหกรรมตา่ งๆ เชน่ เคร่อื งทาความเยน็ ในตูเ้ ย็น เครื่องปรบั อากาศ โฟม กระปอ๋ งสเปรย์ สารดับเพลิง สารชะลา้ ง ในอตุ สาหกรรมอเิ ล็คทรอนคิ ส์ หน้าหลกั สารบญั ปิด ศศมิ าภรณ์ ดเี ลศิ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์เขต 3

17 หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ เฉลยละเอยี ดแบบทดสอบยอ่ ย ขอ้ 9. ฝนกรด (Acid Rain) วัดไดจ้ ากการใช้เสกลท่เี รียกวา่ pH ซ่ึงค่ายงิ่ น้อยแสดงความเป็นกรดทีแ่ รงขน้ึ นา้ บริสุทธม์ิ ี pH เทา่ กบั 7 น้าฝนปกติมคี วามเปน็ กรดเล็กนอ้ ยเพราะวา่ มคี าร์บอนไดออกไซด์ละลายอยู่ ส่วนฝนกรด จะมี pH ตา่ กว่า 5.6 ฝนกรดส่วนมากพบในบริเวณศนู ย์กลางอุตสาหกรรมได้แก่ ทวีปยโุ รป อเมรกิ า ญปี่ ุ่น และ จีน ตะกอนกรดสามารถอยู่ในรปู ของฝน หมอก หิมะ และมีผลกระทบตอ่ พืช สตั วน์ า้ และสิ่งก่อสร้างตา่ งๆ ลมท่ี พดั แรงสามารถพดั พาอนุภาคกรดไปพื้นทอ่ี ืน่ ไดไ้ กลหลายร้อยกโิ ลเมตร ขอ้ 10. การเพ่มิ ขึน้ ของจานวนประชากร ในขณะที่พื้นที่ของประเทศยังคงเทา่ เดิม ทาให้สัดสว่ นจานวนประชากร ตอ่ หนว่ ยพ้นื ที่เพม่ิ ข้ึน ทาให้เกิดปัญหาต่างๆ ได้แก่ ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ ปา่ ไม้ แร่ธาตุ น้ามันเชื้อเพลิง มปี รมิ าณลดน้อยลงไปมาก การขาดแคลนทีอ่ ยู่อาศัย ความตอ้ งการปัจจัยส่ีเพ่มิ ขน้ึ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม ทาให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมและเป็นพิษ เกนิ กวา่ ธรรมชาติ จะแกไ้ ขและบาบัดให้ กลับคืนมา เหมือนเดมิ ได้ หนา้ หลัก สารบัญ ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านอาโพน สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3

18 หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ เร่ือง การเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ สรุปผลการเรียนรู้ การเปลย่ี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ มสี าเหตุจากส่ิงตอ่ ไปน้ี 1. การกระทาของธรรมชาติ เปน็ สง่ิ ที่เกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ เช่น การเคล่อื นไหวของ เปลอื กโลก ภูเขาไฟระเบิด การเปลย่ี แปลงของอุณหภมู แิ ละอากาศ พายุ นา้ ทว่ ม 2. การกระทาของมนษุ ย์ มนษุ ย์ดดั แปลงส่ิงแวดล้อมใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการดารงชีวติ ได้ โดยนาเทคโนโลยตี ่างๆ เข้ามาช่วย เชน่ การสรา้ งเขอ่ื น ทาถนน ขดุ คลอง และการขยายพ้ืนที่ทากนิ ทาใหเ้ กดิ 1. ปญั หามลพิษ เชน่ มลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ 2. ปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ ปา่ ไมถ้ ูกทาลาย ดนิ เสือ่ มคุณภาพ ทรัพยากรชายฝงั่ ทะเลลดลง หน้าหลัก สารบญั ปดิ ศศมิ าภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

19 หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรื่อง การเปล่ยี นแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ บรรณานุกรม ปานนนท์ นิลรัตน์. (2556). “สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://pannon32.blogspot.com/ สืบค้นเมอ่ื 8 เมษายน พ.ศ. 2559 มณฑา นิระทัย . (2554). เกง็ ขอ้ สอบ วิทยาศาสตร์ ป.6 . กรุงเทพ : บริษัท ดับเบ้ิลบี เพรส จากัด. โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลยั จังหวดั เชยี งใหม่. (2556). “E-Learning ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : http://goo.gl/XXIUXy สบื ค้นเมื่อ 8 เมษายน พ.ศ. 2559 ลดั ดาวัลย์ เสยี งสังข์ และ สามารถ พงศไ์ พบูลย์ . (2552). วิทยาศาสตร์ ป.6 สอบเขา้ ม.1. (พิมพคร้ังที่ 2). กรุงเทพ : เจริญม่ันคงการพิมพ์. สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พว.). (2557). ชุดกิจกรรมการเรียนรพู้ ฒั นาการคดิ วิเคราะห์ วิทยาศาสตร์ ป.6 . (พมิ พคร้ังท่ี 1). กรงุ เทพ : บริษัทพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ. สนิ ธ์ธุ ู สยารมณ์ . (2557). เจาะลึก วิทยาศาสตร์ ป.6 สอบเข้า ม.1 ฉบบั เขม้ ข้น. กรุงเทพ : บริษัทฐานบัณฑติ จากดั . สภุ าภรณ์ จนั ทร์สงิ ห์ . (2556). “สนุกคิดนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย”. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://goo.gl/OwmNjk สบื ค้นเม่อื 8 เมษายน พ.ศ. 2559 สมพงษ์ จนั ทรโ์ พธิ์ศรี . (2557). คมู่ ือเตรยี มสอบ วิทยาศาสตร์ ป. 4-5-6. กรงุ เทพ : บรษิ ทั เจ้าพระยาระบบการพิมพ์ จากัด. เอกรินทร์ ส่ีมหาศาลและคณะ . (2551). ชุดแม่บทมาตรฐาน Smart O-NET วทิ ยาศาสตร์ ป.6 . กรุงเทพ : บริษทั อกั ษรเจริญทัศน์ อจท จากัด. อนตุ ตรีย์ แซ่โคว้ . (2558). “สงิ่ มีชวี ิตใตท้ ้องทะเล”. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://anutree05.wordpress.co สืบค้นเม่อื 8 เมษายน พ.ศ. 2559 หนา้ หลกั สารบญั ปิด ศศิมาภรณ์ ดเี ลิศ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบา้ นอาโพน สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่อื ง การเปลยี่ นแปลงของทรพั ยากรธรรมชาติ ศศมิ าภรณ์ ดีเลิศ ครูชานาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นบ้านอาโพน สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทรเ์ ขต 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook