Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือขุมทรัพย์ในบ้าน

คู่มือขุมทรัพย์ในบ้าน

Published by star_jung555, 2022-06-21 03:40:58

Description: คู่มือขุมทรัพย์ในบ้าน

Search

Read the Text Version

คู่มอื การศกึ ษาฐานเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชือ่ ฐานเรียนรู้ ขมุ ทรัพย์ในบา้ น ผรู้ บั ผดิ ชอบ ศรีหว้าสระสม 1. นางสาวสมประสงค์ นยั ชติ 2. นางสาวสนิ ี ภูษี 3. นางญาณศิ า ผเู้ รียนแกนนา 1. นายชาตรี จอมศกั ดิ์ 2. นายฐิตโิ ชค แกว้ บัวดี 3. นายภานุวตั นกขวัญ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภออ่ทู อง สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดสุพรรณบรุ ี

คู่มือการศึกษาฐานเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภออู่ทอง .................................................................................................................... ช่ือฐานการเรยี นรู้ ขมุ ทรัพย์ในบา้ น ผจู้ ัดทา 1. นางสาวสมประสงค์ ศรีหวา้ สระสม 2. นางสาวสินี นัยชิต 3. นางญาณิศา ภูษี ความเปน็ มา จากปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกกาจัดไม่ถูกต้องจึงเกิดเป็นขยะสะสม เกิดเป็นปัญหามลภาวะ ส่งกลิ่น เหม็น ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ รวมถึงปัญหานาท่วมท่ีเกิดจากขยะอุดตันท่อระบายนา สร้างความเดือดร้อน ให้กับผู้คนในวงกว้าง ประเทศไทยกาลังเผชิญปัญหาขยะท่ีเพิ่มปริมาณมากขึน จึงทาให้ทุกครัวเรือจาเป็น จะต้องมีวิธีการจัดการกับขยะที่ถูกต้อง เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปกาจัด ซึ่งรัฐบาลเองได้จัดทาโครงการ \"ประเทศไทยไร้ขยะ\" โดยมีเป้าหมาย ต้องลดขยะให้ได้ 5 % และวิธีการจัดการขยะนันจะต้องอยู่ภายใต้กฎ 3 R คือ Reduce (ใช้น้อย) Reuse (ใช้ซา) และ Recycle (นากลับมาใช้ใหม่) เพ่ือเป็นแนวทางแก้ไขปัญหา ขยะลน้ เมอื ง และยังชว่ ยให้ประชาชนสามารถเพ่ิมมูลคา่ ใหก้ บั ของเหลือใช้เหลา่ นไี ด้ ในทุกบ้านจะมีขยะที่ผลิตขึนเพ่ือตอบสนองความสะดวกสบายของมนุษย์ ซึ่งไม่มีวันไหนเลยท่ีเรา จะไม่ทิงขยะ เพียงแค่เรากินกาแฟหน่ึงแก้ว ก็ผลิตขยะเพิ่มได้หลายชิน ทังท่ีจริงแล้วขยะบางประเภทสามารถ หมุนเวียนนากลับมาใช้ใหม่ หรือนามาดัดแปลงเป็นของใช้สิ่งใหม่ที่สามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้ อีกทัง ยงั สามารถเปลี่ยนขยะเหลา่ นีให้เป็นเงินได้ ถ้าทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะจะเห็นได้ว่า เราทุกคนสามารถช่วยกันลดปริมาณขยะลงได้ โดยเริ่มจากท่ีตัวเรา เพียงแค่รู้จักวิธีการคัดแยกขยะ และนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ซ่ึงยังเป็นอีกหน่ึงตัวช่วยในการเพ่ิมรายได้เปรียบดั่งมีขุมทรัพย์อยู่ในบ้าน ของเรา และทาให้พืนที่ชมุ ชน ในสงั คมของเราเปน็ สังคมที่น่าอยู่มีส่ิงแวดล้อมทีด่ ีขนึ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภออู่ทอง จึงเห็นความสาคัญของการเรียนรู้ การบริหารจัดการขยะ วิธีการจัดการขยะนันจะต้องอยู่ภายใต้กฎ 3 R คือ Reduce (ใช้น้อย) Reuse (ใช้ซา) และ Recycle (นากลับมาใชใ้ หม่) เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาขยะล้นเมือง และยังช่วยให้ประชาชนสามารถ เพิ่ มมู ลค่ าให้ กับ ของเห ลือใช้ เห ล่านี ได้ ซ่ึงเป็ น ความ สาคัญ ท่ี นั กศึ กษ าและป ระช าช น ค วรรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภ ออู่ทองจึงได้จัดทาฐานการเรียนรู้ “ขุมทรัพย์ในบ้าน” ให้นักศึกษาและประชาชนผู้สนใจสามารถนาความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความรู้ 1. วธิ ีการจดั การขยะนันจะต้องอยู่ภายใต้กฎ 3 R คอื Reduce (ใชน้ อ้ ย) Reuse (ใช้ซา) และ Recycle (นากลบั มาใช้ใหม)่ 2. การคดั แยกขยะ 3. การนาความรทู้ ่ีได้ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สอดคล้องกบั หลกั สตู ร 1. วชิ าทกั ษะการเรยี นรู้ 2. วชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. วชิ าเกษตรผสมผสาน 4. วิชาหลักการเกษตรอินทรีย์ กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันที่ 1 ขั้นนา 1) วิทยากรกลา่ วทักทายผเู้ รียน และแนะนาตนเอง แนะนาชอ่ื ฐานการเรยี นรู้ \"ขมุ ทรัพยใ์ นบ้าน\" แนะนาจดุ ประสงคแ์ ละความสาคญั ของการเรยี นรู้ ขัน้ ท่ี 2 ขนั้ สอน 1) วิทยากร อธบิ าย เรอ่ื งวิธกี ารจัดการขยะนันจะต้องอย่ภู ายใต้กฎ 3 R คือ Reduce (ใชน้ ้อย) Reuse (ใชซ้ า) และRecycle (นากลับมาใช้ใหม)่ 2) วทิ ยากร อธิบายเรอื่ งการคัดแยกขยะ และแนวทางในการนาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน พร้อมทงั แจกแผ่นพับความรู้ 3) การนาความร้ทู ี่ได้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขน้ั ที่ 3 ขัน้ สรุป วิทยากรให้นกั ศึกษาได้ซักถามและตอบขอ้ ซกั ถาม และทาใบงานและมอบหมาย ให้ไปสรุปความร้ทู ่ไี ด้ ลงในสมุดบนั ทึกการเรียนรู้ ขัน้ ท่ี 4 ขน้ั นาไปใช้ ผู้เรยี นร่วมกนั ถอดองคค์ วามรู้การนาความร้ทู ไ่ี ด้รับไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในด้านความรู้ที่ได้รับ ด้านคุณธรรม ด้านความพอประมาณ ด้านความมีเหตุผล ดา้ นภูมิคุ้มกัน และเช่ือมโยงสู่ เศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ มและวัฒนาธรรม อย่างไร ลงในกระดาษบรฟู๊ และ ใบงาน

สอ่ื อุปกรณก์ ารเรียนรู้ 1) วทิ ยากรประจาฐาน 2) ปา้ ยนิเทศความรู้ 3) แผน่ พบั 4) สมุดบันทึกการเรยี นรู้ 5) ใบงาน การวัดผลประเมินผล 1.การสังเกต 1.1 พฤติกรรมการเรยี นรู้ 1.2 การถอดบทเรยี นและการนาเสนอ 2.ตรวจผลงาน 2.1 บันทกึ การเรยี นรู้ 2.2 ใบงาน 2.3 แผนผังการถอดบทเรยี นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ปศพพ) ความสอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เงอื่ นไขความรู้ 1. วธิ กี ารจัดการขยะนนั จะต้องอยู่ภายใต้กฎ 3 R คือ Reduce (ใช้น้อย) Reuse (ใช้ซา) และ Recycle (นากลับมาใช้ใหม)่ 2. การคัดแยกขยะ 3. การนาความรทู้ ่ีได้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เงอ่ื นไขคุณธรรม 1. มคี วามรับผิดชอบ 2. มคี วามอดทน 3. มีความเปน็ ระเบยี บวนิ ัย 4. มคี วามเสียสละ

หลกั การ มเี หตุผล มภี ูมิคุม้ กันในตวั ทดี่ ี พอประมาณ - เพือ่ ลดปริมาณขยะในครวั เรือน - มกี ารวางแผนการดาเนินงาน ชุมชน อย่างเป็นระบบ - การเลือกใช้บรรจุภณั ฑ์ที่ไม่ - ลดภาวะโลกรอ้ น - คดั แยกขยะได้อย่างถูกตอ้ ง กอ่ ใหเ้ กิดขยะ - เพอื่ ความสะอาด ถกู สุขลักษณะ ป้องกนั ตนเองจากอันตรายจาก - การใชว้ สั ดุอย่างคุ้มคา่ โดยการ และปลอดภยั ขยะ รีไซเคิล - เตรียมความพร้อมการรบั - การคดั แยกขยะอย่างถูกต้อง ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลง เหมาะสม กับเวลา สถานที่ สมดลุ ยั่งยนื 4 มติ ิ สงั คม ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ - ชว่ ยเหลอื เกอื กลู กนั - ปรมิ าณขยะลดลง - เป็นตัวอย่างท่ดี ีให้กบั รู้รกั สามคั คี สร้างความ - ช่วยลดปัญหาการเกิด ลกู หลาน - การคัดแยกขยะเพ่ือ เขม้ แข็งให้ครอบครัว ภาวะโลกร้อน - มีจติ สานกึ ในการ กลับมานามาใชใ้ หม่ สถานศกึ ษาและชมุ ชน - ลดการทงิ ขยะไม่เป็นท่ี จัดการขยะ - ลดปัญหาดา้ นขยะ - ครัวเรอื น สถานศึกษา - ทาให้ครวั เรือน/ - ประหยัด เหน็ คุณคา่ - สรา้ งรายไดเ้ สริมจาก และชุมชนปลอดภัย สถานศกึ ษา/ชมุ ชน ของการนาของใชแ้ ลว้ มา การขายขยะ สะอาด ปลอดภัย ใชใ้ หม่ - ไม่ฟุม่ เฟือย

การถอดบทเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ฐานเรยี นรู้ ขมุ ทรัพย์ในบ้าน เงอื่ นไขความรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม 1. วิธีการจัดการขยะนันจะต้องอยภู่ ายใตก้ ฎ 3 R คือ 1. มคี วามรับผิดชอบ Reduce (ใชน้ อ้ ย) Reuse (ใช้ซา) และ Recycle 2. มคี วามอดทน (นากลับมาใช้ใหม)่ 3. มคี วามเป็นระเบียบวินัย 2. การคดั แยกขยะ 4. มคี วามเสยี สละ 3. การนาความรูท้ ่ีไดไ้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอประมาณ - การคดั แยกขยะเพอ่ื - การเลือกใช้บรรจภุ ณั ฑ์ทไ่ี ม่กอ่ ใหเ้ กดิ ขยะ กลับมานามาใช้ใหม่ - การใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าโดยการ - ลดปญั หาดา้ นขยะ รีไซเคลิ - สรา้ งรายไดเ้ สรมิ จาก - การคดั แยกขยะอยา่ งถูกต้อง เหมาะสม การขายขยะ กับเวลา สถานท่ี มเี หตผุ ล มีภูมคิ มุ้ กนั ในตัวท่ีดี - เพ่อื ลดปริมาณขยะในครวั เรือน - มกี ารวางแผนการดาเนนิ งานอย่าง ชุมชน เปน็ ระบบ - ลดภาวะโลกรอ้ น - คดั แยกขยะไดอ้ ย่างถกู ต้อง - เพื่อความสะอาด ถูกสุขลกั ษณะ ป้องกันตนเองจากอันตรายจากขยะ และปลอดภัย - เตรยี มความพร้อมการรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลง เศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม - การคัดแยกขยะเพื่อ - ชว่ ยเหลือเกือกูลกนั - ปริมาณขยะลดลง - เป็นตวั อย่างท่ีดใี ห้กบั กลับมานามาใช้ใหม่ รู้รัก สามัคคี สรา้ งความ - ช่วยลดปัญหาการเกดิ ภาวะ ลูก หลาน - ลดปญั หาด้านขยะ เขม้ แข็งให้ครอบครัว โลกรอ้ น - มีจิตสานึกในการ - สรา้ งรายได้เสริม สถานศึกษาและชมุ ชน - ลดการทงิ ขยะไมเ่ ปน็ ท่ี จัดการขยะ จากการขายขยะ - ครวั เรอื น สถานศกึ ษา - ทาให้ครวั เรอื น/ - ประหยดั เหน็ คณุ คา่ และชมุ ชนปลอดภัย สถานศึกษา/ชุมชน สะอาด ของการนาของใช้แล้วมา ปลอดภัย ใชใ้ หม่ - ไม่ฟ่มุ เฟือย

ใบความรู้ เร่อื ง ขุมทรพั ย์ในบา้ น

การคัดแยกขยะ เทคนิควิธีการเปล่ียนขยะให้มีมูลค่า และเพิ่มรายได้นัน สิ่งแรกท่ีจะต้องทาเป็นอันดับแรก คือการคัด แยกขยะทีถ่ กู วิธีก่อน จึงจะนามาใช้ประโยชน์ได้โดยสามารถแบ่งการคดั แยกออกเปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ขยะอินทรีย์ คือ ขยะท่ีสามารถย่อยสลายได้ อาทิ เศษอาหาร ใบไม้ กิ่งไม้ เป็นส่ิงท่ีสามารถนามา พัฒนาให้เกิดประโยชน์ได้ เชน่ ป๋ยุ หมกั จากเศษอาหาร ไดจ้ ากการนาเศษอาหาร เปลือกผลไม้ ผสมใบไ้ ม้แห้งแล้ว หมักผสมกนั จะทาใหไ้ ด้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารทีจ่ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพชื 2) ขยะรีไซเคิล คือขยะที่สามารถนามาขายได้ เช่น แก้ว ขวดนา กระดาษ พลาสติก โลหะ และอโลหะ วธิ ีการจัดเก็บขยะรีไซเคิลทาได้โดย ให้นาถุงใหญ่ หรือ ลังกระดาษมาทาเป็นกล่องมหาสมบัติ และคอยแยกขยะ รไี ซเคิลมาใส่ไว้ เม่ือครบสินเดือนค่อยนาออกมาขายแก่ร้านท่ีรับซือ หรือถ้าเป็นกระดาษ สามารถนามาประดิษฐ์ เป็นของชนิ ใหมๆ่ เชน่ ช่อดอกไม้กระดาษจากกระดาษที่ใชแ้ ลว้ 3) ขยะท่ัวไป คือขยะท่ีไม่ย่อยสลาย อาทิ โฟม ถุงพลาสติก กล่องนม ถุงขนม ฯลฯ ซึ่งของใช้เหล่านีใช้ เวลาในการย่อยสลายนาน หรือบางอย่างไม่สามารถย่อยสลายได้ แต่สามารถนามาพัฒนาให้เกิดมูลค่า สร้างรายได้ เช่น กล่องนม นามาล้าง และตัดให้เป็นรูปแบบท่ีต้องการ ก็จะสามารถนามาแปรรูปให้เป็นหมวกได้ แม้กระทั่งถุงพลาสติกที่เราใช้กันอยู่ทุกวัน ก็สามารถนากลับมาใช้ซา หรือนามาร้อยและเย็บกับผ้าที่เหลือใช้ให้ เปน็ กระเปา๋ ในสไตล์ของเรา รวมไปถึงยงั สามารถนามาประกอบอาชพี เพื่อเพิ่มรายได้อกี ทางหนึ่ง\" 4) ขยะอนั ตราย เป็นขยะที่มอี ันตรายตอ่ ตวั คนและสิ่งแวดลอ้ ม อาทิ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย และกระป๋อง ยาฆ่าแมลง ซ่ึงขยะจาพวกนีต้องคัดแยกใส่ถังขยะให้ถูกต้อง เพ่ือให้เจ้าหน้าที่นาไปทาลายอย่างเหมาะสมไม่ให้ เปน็ อนั ตรายต่อผูค้ นและสิง่ แวดล้อม

แนวคิด 3 R R : Reduce คือ การลดการใช้ การบริโภคทรัพยากร ท่ีไม่จาเป็นลง ลองมาสารวจกันว่า เราจะลด การบริโภคท่ีไม่จาเป็นตรงไหนได้บ้าง โดยเฉพาะ การลดการบริโภคทรัพยากรท่ีใช้แล้วหมดไป เช่น นามัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน และแร่ธาตุ ต่าง ๆ การลดการใช้นี ทาได้ง่าย ๆ โดยการเลือกใช้เท่าท่ี จาเป็น เช่น ปิดไฟทุกครังที่ไม่ใช้งานหรือเปิดเฉพาะ จุดที่ใช้งาน ปิดคอมพิวเตอร์และเคร่ืองปรับอากาศ เม่ือไมใ่ ชเ้ ป็นเวลานาน ๆ ถอดปลั๊กของเคร่อื งใช้ไฟฟ้า เช่น กระติกนาร้อนออกเม่ือไม่ได้ใช้ เมื่อต้องการ เดินทางใกล้ ๆ ก็ควรใช้วิธีเดิน ข่ีจักรยาน หรือน่ังรถ โดยสารแทนการขับรถไปเอง เป็นต้น เพียงเท่านีเราก็ สามารถเก็บทรัพยากรด้านพลังงานไว้ใช้ได้นานขึน ประหยดั พลังงานและอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อมอีกด้วย

R : Reuse คือ การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด โดยการ นาส่ิงของเครื่องใช้มาใช้ซา ซ่ึงบางอย่างอาจใช้ซาได้ หลาย ๆ ครัง เช่น การนาชุดทางานเก่าท่ียังอยู่ใน ส ภ า พ ดี ม า ใส่ เล่ น ห รื อ ใส่ น อ น อ ยู่ บ้ า น ห รื อ น า ไ ป บริจาค แทนที่จะทิงไปโดยเปล่าประโยชน์ การนา กระดาษรายงานที่เขียนแล้ว 1 หน้า มาใช้ในหน้าที่ เหลือหรืออาจนามาทาเป็นกระดาษโน๊ต ช่วยลด ปริมาณการตัดต้นไม้ได้เป็นจานวนมาก การนาขวด แก้วมาใส่นารับประทานหรือนามาประดิษฐ์เป็น เครื่องใช้ต่างๆ เช่น แจกันดอกไม้หรือท่ีใส่ดินสอ เป็นต้น นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่าย ลดการใช้ พลังงานพลังงานแล้วยังช่วยรักษาส่ิงแวดล้อมและยัง ได้ของน่ารกั ๆ จากการประดิษฐ์ไว้ใช้งานอกี ดว้ ย คือ การนาหรือเลือกใช้ทรัพยากรท่ีสามารถ R : Recycle นากลับมารีไซเคิล หรือนากลับมาใช้ใหม่ เป็นการลด การใช้ทรัพยากรในธรรมชาติจาพวกต้นไม้ แร่ธาตุ ต่าง ๆ เช่น ทราย เหล็ก อลูมิเนียม ซึ่งทรัพยากร เหล่านี สามารถนามารีไซเคิลได้ ยกตัวอย่างเช่น เศษกระดาษสามารถนาไปรีไซเคิลกลับมาใช้เป็นกล่อง หรือถุงกระดาษ การนาแก้วหรือพลาสติกมาหลอมใช้ ใหม่เป็นขวด ภาชนะใส่ของ หรือเคร่ืองใช้อ่ืนๆ ฝากระป๋องนาอัดลมก็สามารถนามาหลอมใช้ใหม่หรือ นามาบริจาคเพอ่ื ทาขาเทยี มให้ กบั คนพิการได้ ทมี่ า : yongrecycle.blogspot.com/2012/06/3r-5r.html

วนั นคี้ ณุ แยกขยะถกู วธิ แี ลว้ หรอื ยงั ? “ ขยะอินทรีย์ คือ ขยะท ได้เร็ว เช่น เศษอาหาร หมดยุคของการท้ิงขยะ เนื้อสัตว์ เศษใบไม้แห้ง” รวมกนั ในถงั เดยี วแล้ว!!! ประโยชน์จากการแยก เพราะ การแยกขยะช่วย ชวี ภาพ ใส่ต้นไม้ แปลงผ โล ก ได้ ม า ก ก ว่ า ที่ คิ ด มาดูกันว่าแยกขยะยังให้ 2. ถงั ขยะสาหรบั ข ให้ถกู วธิ ี และนากลบั มารี ไซเคลิ ได้ ทว่ั ไป (ส รจู้ กั ของประเภทถงั ขยะกนั ! เงนิ ) 1. ถงั ขยะสาหรบั “ เป็ น ข ย ะ ที่ มั ก จ ะ ย่ อ ย ขยะอนิ ทรยี ์ ไม่ ได้ หรือย่อยส ลายย ไม่ คุ้ ม ค่ าต่ อ ก ารรีไซ เค ขยะเปยี ก (สเี ขยี ว) กาจัดอย่างถูกวิธี เช่น ถุงพลาสติก ภาชนะปน ชานอ้อย” ประโยชน์จากการแยกข การผลติ เพ่อื นากลับมา

ที่เน่าเสียและย่อยสลาย 3. ถงั ขยะสาหรบั ขยะรไี ซเคลิ ร เปลือกผลไม้ เศษผัก (สเี หลอื ง) กขยะ : นาไปทาปุ๋ยหมัก “ขยะรีไซเคิลก็คือขยะท่ีเราท้ิงไปแล้วสามารถนา ผักสวนครัวได้ กลับมาใช้ซ้าอีกคร้ังได้ ไม่ใช่ใช้ครั้งเดียวแล้วท้ิง เช่ น ข ว ด พ ล า ส ติ ก , ถุ ง พ ล า ส ติ ก , ข ว ด แก้ ว , ขยะ กระป๋อง,กลอ่ งกระดาษ, กระดาษ” สนี า้ ประโยชน์จากการแยกขยะ: ผลิตขาเทียม ผลิต หลงั คารไี ซเคิล ผลิตหลอดไฟ ผลติ จีวรพระสงฆ์ สลาย ยากแต่ ไม่เป็น พิ ษแล ะ 4. ถงั ขยะสาหรบั ขยะ คิ ล จาเป็ น ต้ อง ห าวิ ธี อนั ตราย (สแี ดง) น ซองขนม กล่องโฟม นเป้ือนอาหาร กระดาษ “ข ย ะอั น ต รา ย คื อ ข ย ะท่ี มี ส า รป น เปื้ อ น วั ต ถุ อันตรายชนิดต่างๆ เช่น สารพิษ วัตถุติดเช้ือวัตถุ ขยะ : นาผ่านเทคโนโลยี กัดกร่อน เช่น อปุ กรณ์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ , าใชเ้ ป็นวัสดใุ หม่ ยาหมดอายุ, วัตถไุ วไฟ, กระป๋องเสปรย์” ประโยชนจ์ ากการแยกขยะ: แยกขยะเพอ่ื นาไป กาจัดอย่างถูกวิธีตาม เพ่ือไม่ไห้ร่ัวซึมลงแหล่งน้า หรือชนั้ ผิวดิน

“ขอ้ ดขี องการแยกขยะ” “ราคาร ชว่ ยลดปรมิ าณขยะ รายการ การแยกขยะเพมิ่ การนากลบั มารไี ซเคลิ เราจะเหลอื ขยะทตี่ อ้ งกาจดั นอ้ ยลง ขยะบนโลกกจ็ ะลดลงดว้ ย กระดาษลงั กระดาษขาว-ด ประหยดั งบในการกาจดั ขยะ นางบสว่ นนไี้ ปพฒั นาดา้ นอนื่ ๆ เพอ่ื คณุ ภาพชวี ติ ท่ี หนังสอื พมิ พ ดขี นึ้ ได้ พลาสตกิ ใส/ขวด ลดการสนิ้ เปลอื งพลงั งานและทรพั ยากร พลาสติกสี ของทสี่ ามารถกลบั มารไี ซเคลิ ไดจ้ ะชว่ ยเพมิ่ รายได้ พลาสตกิ ขาวข และลดทรพั ยากรโลกในการผลติ ใหมอ่ กี ครงั้ ดว้ ยนะ กระป๋องโคก้ รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มลดมลพษิ ในโลก ฝาจกุ แกะ การแยกขยะ ทาใหเ้ รากาจดั ขยะไดถ้ กู วธิ มี ากขน้ึ สแตนเลส ลดมลพษิ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เหลก็ กระป๋อง/สงั ลโี อใหญ่ ขวดกลมคอยา เปลอื กสายไฟ ขวดแบน แผน่ ซีดี สแตนเลสปลอ ตะกว่ั

รบั ซอื้ ขยะรีไซเคลิ ” ดา (ราคา/ตอ่ ฐานการเรยี นรู้ พ์ กโิ ลกรมั ) “ขมุ ทรพั ยใ์ นบา้ น” ดเพชร ขนุ่ 1.5 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ ก 4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภออทู่ อง 10 งกะสี 9 าว 6 ฟ 10 29 อม 13 30 2 8 1 2 15 5 5 36

ใบงานที่ 1 คาส่ัง ใหต้ อบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ขยะอินทรยี ์สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์อะไรไดบ้ า้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ขยะอันตรายมีอะไรบ้าง และมีแนวทางในการคดั แยกอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. แนวคิด 3R คอื อะไร จงอธบิ าย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ให้ผเู้ รยี นบอกความหมายของ Reuse และแนวทางในการนาหลกั Reuse ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ให้ผเู้ รยี นบอกแนวทางในการนาหลกั 3R มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ 2 คาชี้แจง ใหผ้ เู้ รยี นถอดองค์ความรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เรอ่ื งขุมทรัพยใ์ นบ้าน ถอดองค์ความรโู้ ดย.................................................................................... เงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม มเี หตุผล พอประมาณ มภี มู คิ ุ้มกันในตัวที่ดี เศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรม

การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากนักศึกษา ฐานขุมทรพั ย์ในบ้าน

การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากนักศึกษา ฐานขุมทรพั ย์ในบ้าน

การถอดบทเรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากนักศึกษา ฐานขุมทรพั ย์ในบ้าน

แบบสอบถามความพงึ พอใจ ฐานเรยี นรู้ “ขมุ ทรัพย์ในบา้ น” ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภออู่ทอง ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป 1. เพศ  ชาย  หญิง 2. อายุ  ตา่ กวา่ 15 ปี  16-30 ปี  31-40 ปี  41-50 ปี  51-60 ปี  61 ปีขึนไป 3. ระดับการศึกษา  ประถมศึกษา  มัธยมศกึ ษาตอนต้น  มธั ยมศึกษาตอนปลาย  ปริญญาตรี  สงู กว่าปริญญาตรี  อ่ืน ๆ ระบุ......... 4. อาชพี  รับจ้าง  เกษตรกรรม ค้าขาย ข้าราชการ  นักเรยี น/นกั ศกึ ษา  อื่นๆ ระบุ.............. ตอนท่ี 2 คาชแี จงให้ท่านทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งระดบั ความพึงพอใจตามความคิดเหน็ ทีแ่ ทจ้ รงิ ของท่าน รายการ ระดับความพงึ พอใจ ควร ต้อง 1. กระบวนการ/สถานท/ี่ ระยะเวลา การให้บรกิ าร 1.1 การ ชีแจงลาดบั ขันตอนของกจิ กรรม ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ปรับปรงุ 1.2 ความเหมาะสมของสถานที่เออื ตอ่ การเรยี นรู้ 1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการเรียนรู้ 2. วิทยากรผถู้ า่ ยทอดความรู้ 2.1 บคุ คลกิ ภาพ/อัธยาศัยของวิทยากร 2.2 ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ 2.3 รปู แบบของกจิ กรรม 3. ดา้ นส่อื ประกอบการเรียนรู้ 3.1 สอื่ ประกอบการเรยี นรเู้ พยี งพอ 3.2 ส่อื ประกอบการเรียนรเู้ หมาะสม 3.3 ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ทันสมยั 4. ด้านความรูแ้ ละประโยชน์ทีไ่ ด้รับ 4.1 ทา่ นไดร้ บั ความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ 4.2 ท่านสามารถนาสิง่ ท่ีไดร้ ับไปใช้ในชวี ิตประจาวัน 4.3 ประโยชน์ที่ทา่ นไดร้ บั จากฐานการเรยี นรู้ 5. ความพึงพอใจของทา่ นต่อภาพรวมของฐานการเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..……. *** ขอขอบคุณในความรว่ มมอื ตอบแบบสอบถาม ***

ภาพกิจกรรม โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง สาหรบั นักศกึ ษา กศน.อาเภออู่ทอง วนั ที่ 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 ณ กศน.อาเภออู่ทอง หม่ทู ่ี 6 ตาบลอู่ทอง อาเภออู่ทอง จังหวดั สุพรรณบุรี

ภาพกิจกรรม โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการขับเคล่ือนศูนยเ์ รยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2565 ณ กศน.อาเภออู่ทอง หมู่ที่ 6 ตาบลอูท่ อง อาเภออู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบุรี

ภาพกจิ กรรม โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาแกนนานักศึกษาเพ่ือการขับเคลอ่ื นศูนยเ์ รยี นรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระยะท่ี 2 วนั ท่ี 7 มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 ณ กศน.อาเภออู่ทอง หมู่ท่ี 6 ตาบลอทู่ อง อาเภออู่ทอง จงั หวัดสุพรรณบุรี

ภาพกจิ กรรม โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้การใช้ส่ือสงั คมออนไลน์และพฒั นาทกั ษะการดาเนินชีวิต ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภายใต้โครงการพัฒนาผ้เู รยี น วนั ท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ณ กศน.อาเภออู่ทอง หมทู่ ่ี 6 ตาบลอทู่ อง อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook