Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ้อมจันทร์ นอสูงเนิน.docx

อ้อมจันทร์ นอสูงเนิน.docx

Published by Aomjun Nosungnern, 2022-07-27 01:42:53

Description: อ้อมจันทร์ นอสูงเนิน.docx

Search

Read the Text Version

1 การศึกษาพฤตกิ รรมผเู้ รยี นต่อความต้องการแนวทางการพฒั นาของนักศึกษา สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ระดับช้นั ปวส. ปที ่ี 2 วทิ ยาลัยเทคโนโลยีไทยอโิ ตะ ออ้ มจนั ทร์ นอสูงเนนิ ฝ่ายประกนั คุณภาพ วิทยาลยั เทคโนโลยีไทยอโิ ตะ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

2 ช่ือผลงานวิจยั : การศึกษาพฤติกรรมผูเ้ รยี นต่อความต้องการแนวทางการพัฒนา ของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดบั ชน้ั ปวส. ปีท่ี 2 วิทยาลยั เทคโนโลยไี ทยอิโตะ ชือ่ ผวู้ จิ ยั : นางสาวอ้อมจนั ทร์ นอสูงเนิน ตาแหน่ง : อาจารยผ์ สู้ อน วฒุ ิการศกึ ษา : ปริญญาตรสี าขาบริหารธรุ กจิ ปรญิ ญาโท สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สถานศึกษาทต่ี ดิ ต่อ : วทิ ยาลัยเทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ 310/6 หมู่ 6 ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 086-3053113 E-mail :[email protected] ปีท่ีทาวิจัยเสรจ็ : ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภทงานวิจยั : ประเภทการเรียนการสอน --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพฤติกรรมผู้เรียนต่อความต้องการแนว ทางการพัฒนาของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชั้น ปวส. ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอิ โตะเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนทราบถึงความต้องการของผู้เรียนสาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชั้น ปวส. ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอิโตะ โดยผ่านพฤติกรรมการแสดงออกมุ่งหวังให้เกิด การพัฒนา 360 องศาจากการศกึ ษา ซง่ึ มนุษยม์ ีความต้องการทแ่ี ตกตา่ งกนั และเป็นความตอ้ งการท่ีไม่ มีที่สิ้นสุดและมนุษย์จะแสวงหาวิธีการเพื่อตอบสนองหรือบาบัดสิ่งที่ตนเองต้องการแตกต่างกันตาม พฤติกรรมของแต่ละบุคคล ความต้องการของมนุษย์แบ่งออกเป็นด้านร่างกาย และ จิตใจ โดย พฤตกิ รรมความตอ้ งการนม้ี ีทั้งความต้องการต่อตัวเองและต่อผอู้ น่ื กล่มุ ตวั อยา่ งในการวิจัยคือนักศึกษา ระดับชั้นปวส. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จานวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ การสังเกต พฤติกรรม การสัมภาษณ์เชิงลึกโดยการจดบันทึกอย่างละเอียดและถอดเทปนามาวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ ในการวิจัยคือ ค่าสถิติพื้นฐาน ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย จานวน 16 คน เพศหญิง 5 คน ส่วนมากมีอายุระหว่าง 23 -27 ปี รายได้ระหว่าง 20001 – 20000 บาท มีอาชีพข้าราชการเป็นส่วนมากโดยนักศึกษามีความต้องการสอดคล้องกับสมมติฐาน นักศึกษา

3 ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ได้ให้สัมภาษณล์ ักษณะเดียวกันว่า ตอ้ งการให้อาจารยผ์ สู้ อนส่งั งาน หรือ ให้รายงานใหพ้ อดี เพราะส่วนมากทางานและ และการสั่งงานของอาจารย์ผสู้ อนควรส่งั ครัง้ เดียวอยาก ใหอ้ าจารยผ์ สู้ อนเข้าใจพฤติกรรมนกั ศึกษาวา่ ทางาน ไม่มีเวลามากในการทาการบ้านอยากให้สง่ั งานไม่ มากเทา่ ไหรอ่ ยากให้อาจารยผ์ ้สู อนเขา้ ใจพฤติกรรมนกั ศกึ ษาว่าทางาน ไมม่ ีเวลามากในการทาการบ้าน อยากให้สงั่ งานไม่มากเท่าไหร่

4 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา พฤติกรรมของผู้เรียนในชั้นเรียนมีหลากหลายลักษณะตามแต่อัตลักษณ์ของแต่บุคคล ท่ี แตกต่างกนั เชน่ เพศ อายุ รปู ร่างลกั ษณะ อาชีพ การเลยี้ งดู ท่ีอยอู่ าศยั ส่งิ แวดลอ้ มอน่ื ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง กับผู้เรียน ซึ่งพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรยี นมีวัตถุประสงค์เพื่อสื่อสารตอ่ ครูอาจารย์ เพื่อนร่วม ชั้น สอ่ื การนาเสนอ สภาพแวดล้อมในชนั้ เรียน ตลอดจนสถาบันการศกึ ษาและยังเปน็ การแจ้งให้ทราบ วา่ ต้องการส่ิงใด ไมต่ อ้ งการสง่ิ ใด หรือเพื่อเปน็ การบง่ บอกว่ามีความถนัดชดั แจ้งหรืออ่อนด้อยต่อส่ิงใด ระหว่างศึกษาเล่าเรียนโดยผ่านพฤติกรรม และในการแสดงออกถึงพฤติกรรมของผู้เรียนยังมีความ แตกตา่ งกันตามปจั เจกบุคคล เช่น ตามความถนัด ตามลกั ษณะนสิ ัย ทง้ั แสดงออกตอ่ หน้าและลับหลัง ครู อาจารย์ และผู้ท่ีเกย่ี วข้องจะต้องทาการศกึ ษา ทาความเขา้ ใจต่อพฤติกรรมการแสดงออก ของผู้เรียนเหล่านี้เพ่ือสามารถควบคุมสภาพแวดลอ้ มในชัน้ เรียนระหว่างทาการเรียนการสอน และยัง นามาซึ่งการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง นามาซึ่งการพัฒนาผู้เรียน ผู้สอน พัฒนาสื่อการเรียนการสอน พัฒนาสิ่งแวดล้อมในชั้นเรียน ตลอดจนพัฒนาสถานศึกษาเพื่อตรงกับความต้องการของผู้เรียนและ สอดคลอ้ งกับอตั ลกั ษณข์ องสถาบัน วตั ถุประสงคข์ องกาวิจัย 1.เพื่อทราบถึงความต้องการของผู้เรียนสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชั้น ปวส. ปีที่ 2 วิทยาลยั เทคโนโลยีไทยอโิ ตะ โดยผ่านพฤติกรรมการแสดงออกมงุ่ หวังให้เกิดการพฒั นา 360 องศา 2.เพื่อน าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปพัฒนาปรับปรุงกลุ่มผู้เรียนสาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชัน้ ปวส. 2 วิทยาลัยเทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ กรอบแนวคดิ การวจิ ยั ปัจจยั ส่วนบคุ คล เพศ อายุ รายได้ แนวทางการพัฒนาของนักศึกษา อาชพี สาขาการบญั ชี ระดบั ชนั้ ปวส. ปีที่ พฤติกรรมในชั้นเรียน 2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีไทยอโิ ตะ - พฤติกรรมการแสดงออกดา้ น รา่ งกาย ของเข-ตกาพรฤวติจิกัยรรมแสดงออกเชิงสญั ญา ลักษณ์ - ความตอ้ งการของผเู้ รียน

5 ดา้ นเนอ้ื หาศึกษาถงึ พฤตกรรมการแสดงออกถึงความต้องการของผเู้ รียนสาขาคอมพวิ เตอร์ ธรุ กจิ ระดบั ชนั้ ปวส. ปที ี่ 2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ เพื่อการพฒั นา ดา้ นวธิ กี ารเก็บข้อมูลและกลมุ่ ตวั อยา่ งด้วยวิธกี ารเชิงคณุ ภาพ โดยการสงั เกต การสัมภาษณ์ เชงิ ลกึ เฉพาะกลุ่มนกั ศึกษาสาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ระดับช้ัน ปวส. ปที ่ี 2 วิทยาลยั เทคโนโลยไี ทยอิ โตะ ดา้ นระยะเวลาในการเก็บข้อมูล ในการศกึ ษาครั้งนีเ้ พ่ือให้ได้ผลสมั ฤทธ์ิทีเ่ ปน็ ประโยชน์แท้จรงิ ทส่ี ุดจะใช้ระยะเวลาในการเก็บขอ้ มูลศึกษานกั ศกึ ษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชนั้ ปวส. ปที ี่ 2 วิทยาลยั เทคโนโลยไี ทยอิโตะ ตลอดภาคเรียนการศกึ ษาที่ 2/2563 สมมติฐานการวิจัย พบสาเหตขุ องพฤติกรรมความตอ้ งการทแี่ ท้จรงิ ของนักศึกษาสาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ระดบั ชัน้ ปวส. ชัน้ ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอโิ ตะ ประโยชน์ท่จี ะได้รบั 1. ทราบถงึ ลักษณะการแสดงออกด้านพฤติกรรมถึงความต้องการของนกั ศึกษาสาขา คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ระดับชนั้ ปวส. ปีท่ี 2 วทิ ยาลัยเทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ สามารถนาไปพัฒนาให้ได้ทั้ง 360 องศา 2. นาขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการศึกษาไปพัฒนาปรับปรุงกลมุ่ ผ้เู รียนสาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ ระดบั ช้ัน ปวส. 2 วิทยาลัยเทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ นิยามศัพท์ ผูเ้ รียน หมายถึง ผ้ศู กึ ษาเพื่อให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจหรอื ความชานาญ พฤติกรรม หมายถึงการแสดงและกิรยิ าท่าทางของสง่ิ มชี วี ิตท่เี กดิ ร่วมกันกับสิง่ แวดล้อม เป็น การตอบสนองของระบบหรือสงิ่ มีชีวติ ตอ่ สง่ิ เรา้ หรอื การรบั เขา้ ทัง้ หลาย ไมว่ า่ จะเป็นภายในหรอื ภายนอก ความต้องการ หมายถึง เป็นรูปแบบทางจิตวทิ ยาหรือความรู้สกึ ท่นี าไปสจู่ ุดมุ่งหมาย หรือ เหตผุ ล การกระทาของพฤติกรรม การพัฒนา หมายถงึ การเปลีย่ นแปลงทมี่ ีการกระทาให้เกดิ ขึ้น หรือมีการวางแผนกาหนด ทศิ ทางไว้ลว่ งหนา้ โดยการเปลีย่ นแปลงนต้ี อ้ งเปน็ ไปในทิศทางทีด่ ีขึน้

6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง การศึกษาพฤติกรรมผู้เรียนต่อความต้องการแนวทางการพัฒนาของนักศึกษาสาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชั้น ปวส. ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอิโตะ ผู้ทาการศึกษาได้ค้นคว้า งานวจิ ยั ทฤษฏี ทเ่ี กย่ี วข้อง ดังนี้ 1. พฤตกิ รรมความต้องการของมนุษย์ 2. พฤตกิ รรมมนุษย์กบั การพัฒนาตน พฤตกิ รรมความตอ้ งการของมนษุ ย์ มนุษย์มีความต้องการที่แตกต่างกันและเป็นความต้องการที่ไม่มีที่สิ้นสุดและมนุษย์จะ แสวงหาวิธีการเพื่อตอบสนองหรือบาบัดสิ่งที่ตนเองต้องการแตกต่างกันตามพฤติกรรมของแต่ละ บุคคล ความต้องการของมนุษย์แบ่งออกเป็นด้านรา่ งกาย และ จิตใจ โดยพฤติกรรมความต้องการน้มี ี ทงั้ ความตอ้ งการต่อตวั เองและตอ่ ผู้อ่นื ดงั ตอ่ ไปนี้ ความต้องการดา้ นรา่ งกาย เป็นความต้องการขัน้ พื้นฐานหรอื ความตอ้ งการปฐมภูมิ ที่มีความ จาเป็นในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์โดยธรรมชาติตั้งแต่เกิดจนกระทั่งเสียชีวิต เช่น ความ ต้องการสินค้าอุปโภคบริโภค ความต้องการพื้นฐานปัจจัย 4 ซึ่งความต้องการด้านร่างกายนี้เป็นสิ่งท่ี จาเป็นมาก หากไม่สามารถหาสิ่งที่บาบัดได้มนุษย์จะเกิดความกระวนกระวาย มีความรู้สึกตึงเครียด เช่น ต้องการอากาศเพื่อการหายใจ ต้องการอาหารเพื่อบาบัดความหิว ต้องการยารักษาโรคเพื่อให้ หายป่วย ต้องการบ้านทีอ่ ยูอ่ าศัยที่ปลอดภยั เป็นต้น โดยความต้องการด้านร่างกายนีม้ ีความแตกต่าง กันข้นึ อยกู่ บั สภาพแวดลอ้ ม ประเพณีวฒั นธรรม สังคม เศรษฐกิจ ศาสนาและความเช่อื เปน็ ต้น ความต้องการด้านจิตใจ เป็นความต้องการที่สูงหรือเป็นความต้องการทุติยภูมิเป็นความ ต้องการที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ เพื่อสนองต่อความพอใจของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นจากการเรียนรู้และเกิดจาก ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล เช่น ความต้องการพักผ่อนในสถานที่ตากอากาศ ความต้องการคาชม และยกย่อง เปน็ ตน้ ความต้องการมนุษย์ในทางพุทธศาสนาเรยี กว่า กิเลส ( พระธรรมปฎิ ก ป.อ. ปยุตโต , 2538: 67 – 70) โดยมี 3 อย่าง คือ 1. กามตณั หา คือ ความต้องการในกามคุณ 5 ประการ เป็นความตอ้ งการในสิ่งท่ีมนษุ ย์ ปรารถนา ในสงิ่ ที่รกั ใคร่ โดยเป็นไดท้ ั้ง รูป รส กลน่ิ เสยี ง และการสัมผสั มไิ ดม้ ุ่งทางเพศอย่างเดยี ว 2. ภวตัณหา คอื ความต้องการอยากมี อยากเปน็ และอยากได้

7 3. วภิ วตัณหา คอื ความต้องการไม่อยากมี ไม่อยากเปน็ และไม่อยากได้ไม่อยากได้ โดยความต้องการนี้ยังแบ่งได้เป็นความต้องการต่อตัวเองและต่อผู้อื่น หรือ ความต้องการที่ คล้ายกันของมนุษย์ (กฤษณา ศักด์ศรี , 2534 : 219 – 220) ในด้านความสัมพันธ์ ซึ่งมนุษย์มีความ ต้องการทีเหมือนกัน ได้แก่ 1). ความรูสึกนึกคิด 2). การยกย่องและการชื่นชม 3). การอยากได้ความ รัก และ ความชอบ จากบุคคลอื่น และ 4). มนุษยต์ ้องการความสบาย พฤติกรรมมนุษยก์ ับการพัฒนาตน พฤติกรรม หมายถึง เปน็ การกระทาของบคุ คลเพื่อการปรับตัวให้เข้ากบั สง่ิ แวดล้อม ซึ่งเปน็ พฤติกรรมทส่ี ามารถทสี่ ังเกตได้ (Zimbardo and Gerrig 1999 : 3) ประเภทของพฤติกรรม แบ่งได้ออกเปน็ 2 ประเภท คอื พฤติกรรมภายนอก และ พฤติกรรม ภายใน 1. พฤตกิ รรมภายนอก เปน็ พฤติกรรมทสี่ ามารถสังเกตเห็นไดอ้ ย่างชัดเจน 1.1 พฤติกรรมทสี่ ังเกตเห็นได้โดยทไี่ มม่ ีเครอ่ื งมอื ช่วย ได้แก่ ลกั ษณะการพดู การยม้ิ การแสดงออกทางสหี น้า การเคล่ือนไหวดา้ นรา่ งการ รวมถึงจงั หวะการเต้นของหัวใจ ซง่ึ ผู้อืน่ จะ สังเกตได้โดยประสาทสมั ผัส 1.2 พฤติกรรมทม่ี ีเครอื่ งมือทางวิทยาศาสตร์มาชว่ ยในการวเิ คราะห์ ได้แก่ การแปล ผลน้าตาลในเลือดดว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นต้น 2. พฤติกรรมภายใน เป็นพฤติกรรมที่มีเฉพาะตัวเองเท่านั้นที่จะรู้และรูด้ ีกว่าคนอื่น เป็นการ ไม่แสดงออก เช่น การจดจา การรับรู้ ทัศนคติ จินตนาการ ความคิด ซึ่งพฤติกรรมเหลา่ น้ีอาจจะมีผล ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้านร่างกาย เช่น ในการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์มาใช้วัดปริมาณ น้าตาลในเลือดและได้ผลว่ามีน้าตาลมาก แต่ลึก ๆ แล้วไม่มีใครทราบว่าเขาทานอาหารหวานชนิดใด นนั่ เอง พฤติกรรมนิยมแบง่ ได้ 2 กรณี คือ 1. ศึกษาโดยวิธีธรรมชาติ ศึกษาตามธรรมชาติตามความจริงไม่มีการควบคุมเหตุการณ์ใด ๆ ทั้งสน้ิ เชน่ การสุ่มกลุ่มตวั อย่างจากจานวนประชากร โดยจะต้องเปน็ การสุม่ กลุม่ ตัวอยา่ งทแ่ี ท้จริงและ ให้ได้ดีที่สดุ ซึ่งการรวบรวมขอ้ มลู ตามวธิ ธี รรมชาติน้ี แบ่งออกเป็น วธิ ีการสงั เกต วิธกี ารสารวจ วิธีการ ทดสอบ และวธิ ีการศกึ ษา

8 2. ศึกษาโดยการทดลอง เป็นการศึกษาพฤติกรรมที่มีการควบคุมโดยมจี ดุ มุ่งหมายเพื่อศึกษา การเปลี่ยนแปลงต่อพฤติกรรมบางประการเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ชนิด คือ ตัวแปรต้น และ ตัวแปรตาม บทที่ 3 ระเบยี บวธิ วี ิจัย ในการศึกษาพฤติกรรมผเู้ รียนต่อความต้องการแนวทางการพัฒนาของนักศึกษาสาขา คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ระดบั ช้ัน ปวส. ปีที่ 2 วิทยาลยั เทคโนโลยีไทยอิโตะ ผทู้ าการศึกษาไดค้ น้ คว้า งานวจิ ยั การวิจัยเชงิ คุณภาพ (Qualitative research) ใชว้ ธิ กี ารสมั ภาษณเ์ ชิงลึก (In-depth interview) และการสงั เกต โดยทีก่ ลุ่มประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ งนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชน้ั ปวส. ปที ่ี 2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยไี ทยอโิ ตะโดยผวู้ ิจัยไดก้ าหนดรายละเอียดวธิ ีการดาเนินงาน ในการศึกษางานวจิ ยั ครั้งน้ีออกเป็น การกาหนดกลุ่มตัวอยา่ ง วธิ ีการสมุ่ กลมุ่ ตวั อย่างและขน้ั ตอนการ สุ่มตัวอยา่ ง วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ข้นั ตอนการสร้างเคร่อื งมือในการวจิ ยั ลักษณะแบบสอบถาม ความนา่ เชื่อถือของเครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั การจัดทาข้อมลู การวิเคราะหผ์ ลการวจิ ยั และสถติ ิที่ใช้ ในการวจิ ัย ดงั ต่อไปนี้ ประชากร นักศกึ ษาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีไทยอิโตะ ทุกช้นั ปี การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ชก้ ารวิจยั เชงิ คณุ ภาพในการศึกษาคร้ังนี้ คือนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ระดบั ชน้ั ปวส. ปที ่ี 2 วทิ ยาลัยเทคโนโลยีไทยอิโตะ จานวน 21 คน ตวั แปรตน้ พฤติกรรมในชน้ั เรยี น ความต้องการของผ้เู รยี น ตัวแปรตาม แนวทางการพฒั นาของนักศกึ ษาสาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ ระดบั ชัน้ ปวส. ปีท่ี 2 วทิ ยาลัย เทคโนโลยีไทยอโิ ตะ เครื่องมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ ข้อมูลการวจิ ัย 1. ผวู้ ิจยั ไดท้ าการศึกษาแนวคิดและทฤษฏจี ากเอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ งที่มีความ สอดคลอ้ งกับการศึกษางานวิจัยเร่อื ง

9 2.ผู้วิจยั มีความเตรยี มพร้อมด้านความร้เู ก่ียวกับระเบียบวิธกี ารวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ และการมี จรรยาบรรณในการเก็บรวบรวมข้อมลู นาไปสกู่ ารศึกษางานวิจัยในครั้งนีท้ ่เี ป็นไปอย่างมีความ ครอบคลุมและมคี วามถูกต้องของด้านเน้อื หาหรือประเดน็ ท่ีตอ้ งการจะศึกษา 3.ผู้วจิ ัยมกี ารสร้างคาถามการสัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ จากการศึกษาแนวคดิ และทฤษฏีจากเอกสาร และงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง ซึ่งเป็นเครื่องมอื ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล โดยคาถามจะมลี ักษณะแบบ ปลายเปดิ ผูใ้ ห้สัมภาษณ์จึงสามารถนาเสนอข้อมูลทีเ่ ก่ียวข้องกับงานวจิ ัยตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างเต็มที่และ สมบรู ณม์ ากทีส่ ุด วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผวู้ จิ ัยได้ทาการแบ่งวิธีในการเข้าถึงขอ้ มลู และการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ออกเปน็ 2 สว่ น คอื ข้อมูลด้านเอกสาร (Review Data) และข้อมลู ภาคสนาม (Field Data) 1. การเกบ็ รวบรวมข้อมูลด้านเอกสาร (Review Data) 1.1 ข้อมูลปฐมภมู ิ ผ้วู จิ ยั ได้ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามทีใ่ ชใ้ นการสมั ภาษณ์ขนึ้ มา จากเอกสารงานวิจัย เพื่อเป็นการกาหนดขอบเขตและเนอื้ หาให้มคี วามชดั เจนมากยิ่งข้นึ ตาม วตั ถปุ ระสงค์ของงานวจิ ัย 1.2 ข้อมลู ทุติยภูมิ ผ้วู ิจัยได้ศึกษาและเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตา่ ง ๆ จากเอกสาร บทความ หนังสอื งานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง และข้อมูลทวั่ ไป เพือ่ เป็นการกาหนดขอบเขตและเนอื้ หาของการวจิ ัย และสรา้ งเคร่ืองมือวจิ ัยให้มีความชัดเจนตามวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Data) 2.1 ผวู้ จิ ัยลงพื้นท่ีเพ่ือสารวจวิทยาลยั เทคโนโลยีไทยอิโตะในภาพรวม พร้อมทง้ั จด บันทกึ ข้อมลู ตา่ ง ๆ และบันทึกภาพที่มีความเก่ยี วขอ้ งกับงานวิจยั เพ่ือให้มีขอ้ มลู ทชี่ ดั เจนมากย่ิงขึ้น และทาการตดิ ต่อกบั นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ระดับชั้น ปวส. ปที ่ี 2 สาหรับสัมภาษณ์เพื่อ เป็นการเตรียมความพร้อมในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 2.2 ผู้วจิ ัยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยใช้วธิ ีการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ (In-depth Interview) แบบ ตัวตอ่ ตวั ระหว่างผสู้ มั ภาษณ์และผู้ถูกสมั ภาษณ์ เพ่ือเปดิ เผยขอ้ มูลทส่ี าคญั เกี่ยวกับการศึกษา พฤติกรรมผูเ้ รียนตอ่ ความต้องการแนวทางการพัฒนาของนักศกึ ษาสาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ ระดับชั้น ปวส. ปีท่ี 2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ ซึ่งผู้วิจัยจะกาหนดคาถามออกเปน็ ประเดน็ ต่าง ๆ ให้มี ความครอบคลมุ และสอดคล้องกบั เรือ่ งท่ไี ด้ศึกษาค้นควา้ ในครงั้ น้ี โดยก่อนเริ่มการทาการสัมภาษณ์

10 ผู้วิจยั จะมีการขออนุญาตสาหรบั การจดบนั ทึกค้นควา้ ในคร้ังนี้ โดยจะใชเ้ วลาในการสัมภาษณ์ ประมาณ 30 นาที ทง้ั นี้ขน้ึ อยู่กบั ความร่วมมือของผถู้ ูกสมั ภาษณ์ 2.3 ผ้วู จิ ัยจะใช้การจดบนั ทกึ โดยสรุปสน้ั ๆ เฉพาะประเดน็ ทส่ี าคัญ และการบันทึกเสยี ง ในการสมั ภาษณ์ และเม่ือจบการสมั ภาษณ์ ผู้วจิ ัยจะบันทึกข้อมูลอ่นื ๆ ทนั ที เช่น ลกั ษณะท่าทาง นา้ เสียง ความคดิ ความรูส้ ึกของผู้ถูกสัมภาษณ์ หรือปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ กับผ้วู ิจยั ขณะท่ีรวบรวมขอ้ มลู ตามความเปน็ จรงิ โดยไมม่ ีการตคี วามโดยผจู้ ดบนั ทกึ 2.4 ผู้วจิ ัยจะนาข้อมลู ที่ถกู บันทกึ มาถอดเทปรายวนั จากนน้ั จึงตรวจสอบข้อมลู ทไ่ี ม่ ชัดเจนหรือไม่ครบถว้ น เพื่อนาไปศึกษาเพิ่มเติมในการสัมภาษณค์ รงั้ ตอ่ ไป คาถามที่ใช้ในการสมั ภาษณ์ 1.ข้อมูลทว่ั ไปเกย่ี วกบั ผใู้ หส้ ัมภาษณ์ ประกอบดว้ ย ข้อมูลคุณลักษณะส่วนบคุ คล ได้แก่ ช่ือ เพศ อายุ อาชพี รายได้ 2.แนวคาถามเก่ียวกับการเรยี นการสอน สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลยั เทคโนโลยไี ทยอิ โตะ 3.แนวคาถามเกย่ี วกับปญั หาและอปุ สรรคของผู้เรยี นสาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วิทยาลยั เทคโนโลยไี ทยอิโตะ 4.แนวคาถามเกี่ยวกับความต้องการของผเู้ รยี นสาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ วิทยาลยั เทคโนโลยีไทยอิโตะ 5.แนวคาถามเกีย่ วกบั ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงสาหรบั การพัฒนาพฤติกรรมความ ต้องการของนกั ศกึ ษาระดบั ชั้น ปวส. ปที ่ี 2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีไทยอโิ ตะ การจดั ทาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมลู 1.นาข้อมลู ที่ไดจ้ ากการถอดความกับเครื่องบันทึกเสยี งและการบนั ทกึ ภาคสนามมา พจิ ารณาหลาย ๆ คร้ัง เพอื่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจในภาพรวมของข้อมูลทีไ่ ด้และพิจารณาประเด็นท่สี าคัญ 2. นาข้อมลู ท่ีได้กลบั มาอ่านพิจารณาอีกครง้ั อยา่ งละเอียด จากน้ันจึงทาการตคี วามพร้อม กบั ทาการดงึ ข้อความหรือประโยคสาคัญที่เก่ยี วข้องออกมา 3.นาขอ้ มลู ท่ีเป็นข้อความหรือประโยคท่ีมีความหมายเหมอื นกันหรือใกลเ้ คียงมาไวก้ ลุ่ม เดยี วกัน เพ่อื สรา้ งหวั ขอ้ สรุป และกลมุ่ หัวข้อสรุปแนวคิดในตวั ข้อมลู โดยมรี หสั ข้อมูลกากับทกุ ข้อความหรือทุกประโยค

11 4. อธบิ ายปรากฏการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ อย่างละเอยี ดครบถว้ น โดยเขยี นใหม้ ีความต่อเนื่องและ กลมกลืนกนั ระหวา่ งข้อความหรือประโยคของความหมายและหัวข้อต่าง ๆ ซ่ึงในขัน้ ตอนนต้ี ้อง พยายามตัดขอ้ มลู หรือหัวข้อที่ไมจ่ าเป็นออก 5.ทาการเขียนบรรยายสิ่งท่ีค้นพบอยา่ งละเอียดและชดั เจน โดยจะไม่มีการนาทฤษฏไี ป ควบคุมถึงปรากฏการณ์ที่เกดิ ขึ้น 6. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู โดยนาข้อสรุปท่ีได้ไปให้ผูใ้ ห้ขอ้ มลู ตรวจสอบถึงความ เป็นจริงและความถูกต้อง เพื่อให้ได้ข้อสรปุ สุดท้ายท่สี มบรู ณแ์ ละเปน็ ข้อค้นพบที่ได้จากผู้ให้ข้อมูล สถิติท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย X หมายถงึ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของขอ้ มลู ทไี่ ด้จากกล่มุ ตัวอย่าง SD หมายถึง คา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของกลุม่ ตัวอยา่ ง n หมายถึง จานวนของตัวอย่างท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ t หมายถึง คา่ สถิติ t ที่ใช้ในการทดสอบสมมตฐิ าน F หมายถงึ ค่าสถิติ F ท่ใี ชใ้ นการทดสอบสมมตฐิ าน บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวิจัยเรอื่ ง”การศกึ ษาพฤตกิ รรมผูเ้ รยี นต่อความต้องการแนวทางการพฒั นาของ นกั ศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ ระดบั ช้ัน ปวส. ปีที่ 2 วทิ ยาลัยเทคโนโลยีไทยอิโตะ” ในส่วนของ การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ผวู้ จิ ัยได้ทาการสัมภาษณเ์ ชิงลกึ นักศึกษาสาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ ระดับชน้ั ปวส. ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอิโตะ จานวน 21 ราย โดยระหวา่ งทาการสัมภาษณผ์ ูว้ จิ ัยไดท้ าการ บันทึกเทปเสียงหลงั จากนั้นนาเทปท่ีบนั ทึกได้มาถอดขอ้ ความอยา่ งละเอยี ดโดยผู้วิจัยได้จดั ลาดบั การ นาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเชิงคณุ ภาพ ดงั น้ี 1.ขอ้ มูลท่วั ไปเกย่ี วกบั ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ ประกอบดว้ ย ข้อมูลคุณลักษณะส่วนบคุ คล ไดแ้ ก่ ชื่อ อายุ อาชีพ รายได้ 2.แนวคาถามเกี่ยวกบั การเรยี นการสอน สาขาคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลัยเทคโนโลยไี ทยอิ โตะ 3.แนวคาถามเกย่ี วกับปัญหาและอปุ สรรคของผูเ้ รียนสาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลัย เทคโนโลยีไทยอิโตะ

12 4.แนวคาถามเกี่ยวกบั ความต้องการของผเู้ รียนสาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลัย เทคโนโลยีไทยอิโตะ 5.แนวคาถามเกยี่ วกบั ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุงสาหรบั การพัฒนาพฤติกรรมความ ต้องการของนักศกึ ษาระดบั ช้ัน ปวส. ปีท่ี 2 วทิ ยาลัยเทคโนโลยีไทยอิโตะ สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผใู้ ห้สัมภาษณ์ ข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามสาหรับงานวิจัยครงั้ นี้ผู้วิจยั ไดเ้ กบ็ จากนกั ศกึ ษา ระดับชั้น ปวส. ปที ี่ 2 วิทยาลยั เทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ โดยใชต้ ัวอักษรย่อภาษาอังกฤษ AC1 – AC21 ซ่งึ ยอ่ มาจาก ACCOUNTING แทนช่ือของนกั ศึกษาระดับชั้น ปวส. ปีที่ 2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยไี ทยอิ โตะ ตารางที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ และ อายุ ชือ่ เพศ อายุ ชาย หญิง 18 -22 23- 27 28-32 32 ข้นึ ไป AC 1 ✓ ✓ AC 2 ✓ ✓ AC 3 ✓ ✓ AC 4 ✓ ✓ AC 5 ✓ ✓ AC 6 ✓ ✓ AC 7 ✓ ✓ AC 8 ✓ ✓ AC 9 ✓ ✓ AC 10 ✓ ✓ AC 11 ✓ ✓ AC 12 ✓ ✓ AC 13 ✓ ✓ AC 14 ✓ ✓ AC 15 ✓ ✓ AC16 ✓ ✓ AC17 ✓ ✓

13 AC18 ✓ ✓ AC19 ✓ ✓ AC20 ✓ ✓ AC21 ✓ ✓ รวม 16 5 3 12 4 2 ตารางท่ี 2 ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบสอบถามด้าน รายได้ และ อาชีพ รายได้ (บาท) อาชีพ ช่อื 5000- 10001- 20001 นกั ศึกษา พนกั งาน พนกั งาน 10000 20000 ขนึ้ ไป เอกชน ราชการ AC 1 ✓ ✓ AC 2 ✓ ✓ AC 3 ✓ ✓ AC 4 ✓ ✓ AC 5 ✓ ✓ AC 6 ✓ ✓ AC 7 ✓ ✓ AC 8 ✓ ✓ AC 9 ✓ ✓ AC 10 ✓ ✓ AC 11 ✓ ✓ AC 12 ✓ ✓ AC 13 ✓ ✓ AC14 ✓ ✓ AC15 ✓ ✓ AC16 ✓ ✓ AC17 ✓ ✓ AC18 ✓ ✓ AC19 ✓ ✓

14 AC20 ✓ ✓ ✓ AC20 ✓ 5 16 รวม 4 15 2 2.แนวคาถามเกี่ยวกับการเรยี นการสอน สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอโิ ตะ นกั ศึกษาผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นใหญไ่ ดใ้ ห้สมั ภาษณ์ลกั ษณะเดียวกันว่า รสู้ ึกชอบใน หลักสตู รสาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ ครผู สู้ อนมคี วามรู้ และประสบการณ์ 3.แนวคาถามเก่ยี วกับปญั หาและอุปสรรคของผเู้ รยี นสาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลัยเทคโนโลยี ไทยอิโตะ นกั ศึกษาผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญไ่ ด้ให้สมั ภาษณ์ลักษณะเดยี วกนั ว่า คาบเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ธรุ กิจติดตอ่ กนั หลายคาบ อยากไดร้ ายวิชาที่ไม่ค่อยหนักมากมาบา้ งเพื่อผ่อนคลาย 4.แนวคาถามเกีย่ วกับความต้องการของผู้เรียนสาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ วิทยาลัยเทคโนโลยี ไทยอโิ ตะ นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญไ่ ด้ให้สมั ภาษณ์ลักษณะเดยี วกันวา่ ต้องการให้ อาจารย์ผู้สอนสั่งงาน หรือ ให้รายงานให้พอดี เพราะสว่ นมากทางานและ และการส่งั งานของอาจารย์ ผสู้ อนควรส่งั คร้ังเดียว 5.แนวคาถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุงสาหรับการพฒั นาพฤติกรรมความต้องการของ นกั ศกึ ษาระดบั ชัน้ ปวส. ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยไี ทยอิโตะ จากการสงั เคราะห์ขอ้ มลู นักศึกษาสว่ นมาก คือ อยากให้อาจารย์ผู้สอนเขา้ ใจพฤติกรรม นกั ศึกษาว่าทางาน ไม่มเี วลามากในการทาการบ้านอยากให้สั่งงานไม่มากเทา่ ไหร่ บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นมากเป็นเพศชาย จานวน 16 คน เพศหญิง 5 คน ส่วนมากมีอายุ ระหวา่ ง 23 -27 ปี รายได้ระหว่าง 20001 – 20000 บาท มอี าชีพข้าราชการเปน็ สว่ นมาก จากสมมติฐานการวจิ ัย พบสาเหตุของพฤตกิ รรมความตอ้ งการท่แี ท้จรงิ ของนกั ศกึ ษา สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ ระดับช้นั ปวส. ชนั้ ปีท่ี 2 วิทยาลัยเทคโนโลยไี ทยอโิ ตะ

15 โดยนักศึกษามีความตอ้ งการสอดคล้องกับสมมตฐิ าน นักศึกษาผตู้ อบแบบสอบถามส่วน ใหญ่ไดใ้ ห้สัมภาษณ์ลักษณะเดยี วกนั วา่ ต้องการใหอ้ าจารย์ผู้สอนส่งั งาน หรอื ให้รายงานใหพ้ อดี เพราะส่วนมากทางานและ และการสง่ั งานของอาจารย์ผสู้ อนควรสัง่ คร้ังเดยี วอยากใหอ้ าจารยผ์ ู้สอน เข้าใจพฤติกรรมนักศึกษาวา่ ทางาน ไม่มีเวลามากในการทาการบา้ นอยากให้สัง่ งานไม่มากเทา่ ไหร่ อยากให้อาจารย์ผสู้ อนเข้าใจพฤติกรรมนักศึกษาวา่ ทางาน ไม่มีเวลามากในการทาการบา้ นอยากให้ สั่งงานไม่มากเท่าไหร่ ขอเสนอแนะ สาหรับครู อาจารย์ ควรมีความเข้าใจในพฤติกรรมนักศึกษาถึงความต้องการวธิ ีการเรยี น และหากระบวนการ เรียนการสอนทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย ไม่สง่ั งานมากเกินควร สาหรบั นกั ศึกษา นักศกึ ษาต้องตัง้ ใจเรียน และมีความกลา้ ทจ่ี ะเสนอความต้องการถงึ อาจารย์เพื่อการเรียนที่ มปี ระสิทธภิ าพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook