Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 63 ต.ค. สสว3

รายงานประจำปี 63 ต.ค. สสว3

Published by สสว.2 ชลบุรี, 2020-09-21 07:07:02

Description: รายงานประจำปี 63 ต.ค. สสว3

Search

Read the Text Version

สารผูอำนวยการ สำนกั งานสง เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 3 ในงบประมาณป พ.ศ.2562 ท่ีผานมาน้ี สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ไดดำเนินการ ตามภารกิจหนาท่ีในการสงเสริมและสนับสนุนใหความรูทางดานวิชาการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม การใหคำปรึกษาแนะนำแกหนวยงาน การใหบริการทุกกลุมเปาหมาย การติดตามและประเมินผล การดำเนินงานตามแผนงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและประชาชน รวมท้ังดำเนินการ สง เสรมิ และสนบั สนุนใหเกิดระบบเครือขายของทกุ ภาคสวนในการพฒั นาสงั คม รายงานประจำปฉบับน้ี เปนการรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติราชการประจำป งบประมาณ 2562 ตามประเด็นยุทธศาสตรและภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย เพ่ือใหหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปไดทราบถึงภารกิจหนาที่และผลการ ดำเนินงานของสำนักงานสงเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 3 และสามารถนำไปใชป ระโยชนไดตอไป สุดทายนี้ ดิฉันตองขอขอบคุณบุคลากรของสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 รวมท้ัง เครือขายของหนวยงานที่ทุมเทท้ังกำลังกาย กำลังความคิด ตลอดจนกำลังใจ ในการปฏิบัติหนาท่ีราชการ ใหบ รรลผุ ลสำเรจ็ บังเกดิ ผลดีแกส วนราชการอยางตอเนื่อง (นางรุงทวิ า สดุ แดน) ผูอำนวยการสำนักงานสง เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 3 ร า ย ง าหนน้าปก1ร ะ จ ำ ป 2ร 5า ย6ง2า นส ปำ นรั กะ จงํ าา นปีส ๒ง เ๕ส๖ริ ๒ม แสลํ าะนสั กนังบาสนนสุ น่ งวเิ ชสารกิ มาแร ล 3ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า กหานารก๓

คำนำ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 (สสว.3) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย มีบทบาทหนาที่ในการพัฒนางานดานวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย ใหสอดคลองกับพ้ืนที่และกลุมเปาหมาย สงเสริมและสนับสนุนงานดานวิชาการ องคความรู ขอมูลสารสนเทศ ใหคำปรึกษาแนะนำแกหนวยงานบริการทุกกลุมเปาหมายในพื้นที่ใหบริการ ในความ รับผิดชอบของกระทรวง รวมท้ังองคกรปกครองทองถิ่น หนวยงานที่เก่ียวของ องคกรภาคเอกชนและ ประชาชน ศกึ ษา วเิ คราะห สถานการณและสภาพแวดลอม เพือ่ คาดการณแนวโนมของสถานการณ ทางสังคม และผลกระทบ รวมท้ังใหขอเสนอแนะการพัฒนาสังคมและจัดทำยุทธศาสตร ในพ้ืนท่ีกลุมจังหวัด สนับสนุน การนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดำเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบาย และภารกิจของกระทรวง ในพื้นที่ กลุมจังหวัด และปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นท่ีเกี่ยวของหรือท่ีไดรับ มอบหมาย และปฏิบัติงานสนับสนุนการตรวจราชการของผูตรวจราชการกระทรวง โดยดำเนินการในพื้นท่ี 4 จังหวดั ประกอบดว ย จงั หวดั ชลบรุ ี จงั หวัดระยอง จงั หวดั จันทบุรี จังหวัดตราด รายงานสรุปผลการดำเนินงาน ประจำป 2562 ของสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ประกอบดวย ขอมูลพื้นฐานของหนวยงาน และขอมูลสรปุ ผลการดำเนินงานโครงการ/กจิ กรรม ทีไ่ ดดำเนินการ ในปงบประมาณ 2562 เพ่ือเผยแพรประชาสัมพันธ และการนำไปใชประโยชนแกหนวยงานที่เก่ียวของแล ผสู นใจตอ ไป รราายยงงาานนปปรระะจจํ าำปปี ๒2 ๕5 ๖6 ๒2 สสํ าำ นนัั กก งง าา นน สส ่งงเเสสรริ มิ มแแลละะสสนันบั บส สนุนนุ นวิ ชวิ ชา กา ากรา ร3๓ หนา้ 2ข หนา ข

สารบัญ เรอ่ื ง หนา สารผูอ ำนวยการ ก คำนำ ข สารบญั ค สวนท่ี 1 ขอมูลพน้ื ฐาน 1  อำนาจหนา ที่ 2  สถานท่ีตง้ั 2  วิสยั ทัศน 2  พันธกจิ 2  คา นยิ มองคกร 2  ประเด็นยทุ ธศาสตร 2  เปาประสงค 2  ตัวช้ีวดั 2  อตั รากำลังเจาหนาทสี่ ำนักงานสง เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 3 3  แผนท่ีแสดงพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบของสำนักงานสง เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 3 4  โครงสรางสำนักงานสง เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 3 5  ขอ มลู พืน้ ฐานพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบของสำนักงานสงเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 3 6  หนว ยงานสังกัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยในพ้นื ท่ีรบั ผิดชอบ 10 สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนินงานทส่ี ำคญั ป 2562 13 1. โครงการกิจกรรมจิตอาสาพฒั นาชมุ ชน 14 2. อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาศักยภาพบุคลากรการเทาทนั การเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยี 15 17 ภายใตโ ครงการศนู ยบรกิ ารวชิ าการพฒั นาสังคมและจดั สวัสดิการสังคม ประจำป พ.ศ.2562 18 3. จดั ประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาศกั ยภาพทมี บุคลากรศูนยบ รกิ ารฯ 19 21 ภายใตโครงการศูนยบรกิ ารวิชาการพฒั นาสังคมและจัดสวสั ดิการสงั คม ประจำป พ.ศ.2562 22 4. จดั ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นาศักยภาพทมี บุคลากรศนู ยบรกิ าร ครงั้ ท่ี 2 ภายใตโครงการศนู ยบริการวชิ าการพฒั นาสงั คมและจัดสวสั ดกิ ารสงั คม ประจำป พ.ศ.2562 5. อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการคดิ เชงิ วเิ คราะห (Analytical Thinking) ภายใตโ ครงการศนู ยบรกิ ารวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดกิ ารสงั คม ประจำป พ.ศ.2562 6. ประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ าร “การส่ือสารและการพฒั นาบุคลิกภาพเพ่ือความสำเร็จ” ภายใตโ ครงการศูนยบริการวิชาการพฒั นาสงั คมและจดั สวสั ดกิ ารสังคม ประจำป พ.ศ.2562 7. ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ “พฒั นาศักยภาพทมี ภาคีเครอื ขา ยพฒั นาสังคมและจัดสวัสดกิ ารสังคม” ภายใตโครงการศนู ยบรกิ ารวชิ าการพฒั นาสงั คมและจดั สวสั ดิการสงั คม ประจำป พ.ศ.2562 8. ประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนาศกั ยภาพทีมเจาหนาที่กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนษุ ย (ทมี One Home 4 จงั หวัด ภาคตะวนั ออก ไดแก ชลบรุ ี ระยอง จันทบรี และตราด) ร า ย ง าหนนา้ ป3คร ะ จ ำ ป 2ร 5า ย6ง2า นส ปำ นรั กะ จงํ าา นปีส ๒ง เ๕ส๖ริ ๒ม แสลํ าะนสั กนังบาสนนสุ น่ งวเิ ชสารกิ มาแร ล 3ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า กหานารค๓

เรือ่ ง หนา 9. ประชุมเชิงปฎิบัติการขับเคลื่อนงาน โครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัด 23 สวัสดิการสังคม ประจำปง บประมาณป 2562 10.ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารติดตามผลการดำเนินงาน โครงการศูนยบรกิ ารวิชาการพัฒนาสังคมและ 24 จดั สวสั ดิการสังคม ประจำปง บประมาณป 2562 11.ประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน โครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัด 25 สวัสดิการสงั คม ประจำปง บประมาณป 2562 12.โครงการศนู ยบรกิ ารวชิ าการการพัฒนาสังคมและจดั สวัสดิดกิ ารสงั คม ประจำป 2562 26 12.1 วิจัยแนวทางการสง เสริมอาชีพคนพิการตามกฎหมายจา งงาน (R2R) 26 12.2 รูปแบบความตองการ CSR ขององคกรดานพฒั นาสังคมในจงั หวดั ชลบรุ ี (R2R) 27 12.3 การวิจัยแนวทางการพัฒนาเครือขาย เฝาระวังปญหาเด็ก เยาวชน ครอบครัว 28 ณ บานพกั เด็กและครอบครวั จังหวัดจนั ทบุรี (R2R) 12.4 การวเิ คราะหผ ปู ระสบปญ หาทางสงั คมทขี่ อความชว ยเหลือซาํ ซอน จงั หวัดตราด(R2R) 29 12.5 การถอดบทเรยี นกระบวนการทาํ งานปจ จัยความสําเรจ็ ในพ้นื ทีป่ ฏิบตั กิ ารพัฒนาสงั คม 30 (Social lab) และ Social Smart City ต.พลูตาหลวง อ.สัตหบี จ.ชลบรุ ี (KM) 12.6 ถอดบทเรยี นกระบวนการทำงานพฒั นาสตรแี ละครอบครัวในพืน้ ท่ชี ุมชนบานชากเล็ก 31 12.7 ถอดบทเรียนปจจัยความสำเร็จการขับเคล่ือน Social Lab เทศบาลตำบลคายเนินวง 32 จงั หวดั จนั ทบรุ ี (KM) 12.8 กระบวนการทางสังคมในการชวยเหลือผูประสบปญหาความเดือดรอน บานพักเด็ก 33 และครอบครัวจังหวดั ตราด (KM) 12.9 พื้นท่ีปฏิบัติการพัฒนาสังคม (Social lab) ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ 34 จงั หวดั ชลบรุ ี 12.10 โครงการตำบลตนแบบดานสังคม (Social Smart City) ในพื้นที่องคการบริหารสวน 35 ตำบลสำนกั ทอ น อำเภอบา นฉาง จังหวัดระยอง 12.11 การขับเคล่ือนพ้ืนที่ปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) ในพื้นท่ีชุมชนตนแบบแหง 36 ความสุข (Social Smart City) เทศบาลคายเนนิ วง อำเภอเมอื ง จังหวัดจนั ทบุรี 12.12 ชมุ ชนตนแบบแหงความสขุ (Social Smart City) องคการบริหารสวนตำบลประณีต 37 อำเภอเขาสมิง จงั หวดั ตราด 12.13 หนวยบรกิ ารวชิ าการ สสว.3 38 13.โครงการฝกอบรมแนวทางการคดั แยกเพ่ือชว ยเหลอื และคุมครองผูเสียหายจากการคา มนุษย 40 14.โครงการวัดอุณหภูมทิ างสังคม พม.POLL 42 15.โครงการวิจัยเร่ือง “การพัฒนาศักยภาพผูสูงอายุในภาวะพฤฒพลังใหเกิดการยังประโยชน 45 ดานสงั คม” 16.โครงการวิจัยเร่อื ง “กลยทุ ธสงเสรมิ การทำงานของผูสูงอายุไทย” 49 17.ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำคำของบประมาณรายจายประจำป 2563 ภายใตโครงการ 54 บรู ณาการขับเคล่อื นแผนดานสงั คมระดับพ้ืนที่ 18.ประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารขับเคล่อื นการนิเทศติดตาม ป 2562 55 รราายยงงาานนปปรระะจจํ าำปปี ๒2 ๕5 ๖6 ๒2 สสํ าำ นนัั กก งง าา นน สส ่งงเเสสรริ มิ มแแลละะสสนันบั บส สนุนนุ นวิ ชวิ ชา กา ากรา ร3๓ หน้า 4ง หนา ง

เร่อื ง หนา 19.โครงการเวทีวิชาการการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยภ าคกลาง ประจำป 2562 56 \"ยกระดบั CSR สูพลังจิตสาธารณะ ลดความเหล่ือมล้ำอยา งย่ังยืน\" 20.การตรวจราชการ รอบที่ 2 เขตตรวจราชการที่ 8 และ 9 ผูตรวจราชการกระทรวง พม. 58 (นางพัชรี อาระยะกุล) 21.ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารสรุปประเดน็ การตรวจราชการ รอบ 2.5 (ภาคตะวนั ออก) 59 22.การตรวจราชการ รอบที่ 3 60 23.การประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการการใชเทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศเพื่อการพฒั นาสงั คม 61 24.ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการขับเคล่ือนการบูรณาการ โครงการดานสังคมในระดับพื้นที่ 62 ภาคตะวนั ออก 25.รายงานผลการเบิกจา ย วันท่ี 30 กันยายน 2562 63 สว นท่ี 3 คณะผูจ ดั ทำ 64 ร า ย ง หา นนา้ ป5จร ะ จ ำ ป 2ร 5า ย6ง2า นส ปำ นรั กะ จงํ าา นปีส ๒ง เ๕ส๖ริ ๒ม แสลํ าะนสั กนังบาสนนสุ น่ งวเิ ชสารกิ มาแร ล 3ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า กหานาร จ๓

สสว่ วนนทท่ี ่ี๑1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน สวนท่ี 1 ขอ มูลพ้ืนฐาน  อำนาจหนาท่ี  สถานทีต่ ง้ั  วสิ ยั ทศั น  พนั ธกิจ  คานยิ มองคกร  ประเดน็ ยทุ ธศาสตร  เปาประสงค  ตัวชี้วัด  อตั รากำลงั เจาหนาท่สี ำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3  แผนทแ่ี สดงพืน้ ที่รบั ผิดชอบของสำนักงานสง เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 3  ขอมูลพื้นฐานพื้นที่รบั ผิดชอบของสำนกั งานสงเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 3  หนวยงานสังกดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยในพนื้ ท่รี บั ผิดชอบ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 11 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 1

สสว่ วนนทท่ี ่ี๑1 ขอ้ มลู พ้ืนฐาน TecสhำnนiกัcaงาlนPสroงเmสรoมิ tแioลnะสaนnับdสSนuุนpวpิชoาrกtาOร f3ficจeงั ห3วัดCชhลoบnุรbี uri  อำนาจ หนา ท่ีสำนักงานสง เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 1) พัฒนางานดานวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ใหสอดคลองกับพื้นท่ี และกลมุ เปาหมาย 2) สงเสริมและสนับสนุนงานดานวิชาการ องคความรู ขอมูลสารสนเทศ ใหคำปรึกษาแนะนำแก หนวยงานบริการทุกกลุมเปาหมายในพื้นที่ใหบริการ ในความรับผิดชอบของกระทรวงฯ รวมทั้ง องคก ารปกครองสว นทองถ่ิน หนว ยงานทเ่ี ก่ียวของ องคกรภาคเอกชนและประชาชน 3) ศกึ ษา วเิ คราะห สถานการณแ ละสภาพแวดลอ ม เพอ่ื คาดการแนวโนม ของสถานการณทางสังคมและ ผลกระทบ รวมท้งั ใหข อเสนอแนะการพฒั นาสงั คมและการจัดทำยุทธศาสตรในพืน้ ที่กลุมจงั หวดั 4) สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดำเนินงานเชิงวิชาการ ตามนโยบายและภารกิจของ กระทรวงในพืน้ ที กลุมจังหวัด 5) ปฏบิ ัตงิ านรว มกับหรอื สนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหนวยอน่ื ท่เี กย่ี วของ หรอื ทไ่ี ดร ับมอบหมาย  สถานที่ต้งั (Location) สำนักงานสงเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 3 ต้ังอยเู ลขที่ 172/9 หมทู ี่ 4 ถนนสุขมุ วิท ตำบลบางละมงุ อำเภอบางละมงุ จังหวัดชลบุรี รหสั ไปรษณีย 20150  วสิ ัยทัศน (Vision) “มงุ พัฒนาศกั ยภาพคน เพอื่ ขับเคลอ่ื นนโยบายและยุทธศาสตร สสู งั คมคณุ ภาพภาคตะวนั ออก”  พันธกจิ (Missions) 1) บูรณาการงานพัฒนาสงั คมเพ่ือจัดวางยทุ ธศาสตรเชงิ พ้ืนที่ 2) สง เสริมและสนบั สนนุ วิชาการพฒั นาสงั คมใหกับทุกภาคสว น 3) ศกึ ษาวิจยั และพัฒนาวิชาการดานการพฒั นาสังคม 4) ตดิ ตามและประเมินผลเชิงนโยบายและการบริหารเชงิ ยทุ ธศาสตรในระดบั พนื้ ที่ภาคตะวันออก  คานิยมองคกร (Core Value) “รวมพลงั สรา งสรรคนวตั กรรมและองคค วามรู สูก ารพัฒนาสงั คม”  ประเด็นยุทธศาสตร 1) ขบั เคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร พม. สกู ารปฏิบตั ิในระดับพน้ื ท่ี 2) สง เสริมและถา ยทอดความรูดานการพัฒนาสงั คม 3) เสริมสรา งและพฒั นาความรแู ละนวตั กรรมทางสงั คม 4) พัฒนาระบบการนเิ ทศและการติดตามประเมนิ ผลเชงิ วิชาการ 5) พัฒนา สสว.3 ใหเปน องคกรแหง การเรยี นรู  เปาประสงค o ขบั เคลื่อนนโยบายและยทุ ธศาสตร พม. สกู ารปฏบิ ัติในระดับพ้ืนท่ี  ตวั ช้วี ดั o ระดับความสำเร็จของการบรู ณาการขับเคลือ่ นงานดา นสังคมในระดบั พ้ืนท่ี ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 12 หน้า 2 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

ส่วนนทที่ ี่๑1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน อตั รากำลังเจาหนาท่ี สำนักงานสง เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 3 ขา ราชการ จำนวน 12 คน 1. นางรุง ทวิ า สุดแดน ผูอ ำนวยการสำนกั งานสงเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 3 2. นายไพบลู ย นาคเจอื นักพฒั นาสงั คมชำนาญการพเิ ศษ 3. นายณฐั วฒุ ิ สนิ ธาราศิริกุลชยั นกั พฒั นาสงั คมชำนาญการ 4. นางลดั ดาวรรณ โลหิตไทย เจา พนกั งานพฒั นาสังคมชำนาญงาน 5. นายณรงค แดงสีออน เจาพนักงานพฒั นาสังคมชำนาญงาน 6. นางสาวเนตรนภา วงคพ พิ ันธ นกั การจดั การงานทั่วไปปฏิบัติการ 7. นางสาววาสนา จันทรข าว เจา พนักงานการเงินและบญั ชีชำนาญงาน 8. นางสาวสวุ ิมล นอ ยใจรักษ นกั พฒั นาสังคมชำนาญการ 9. นางสาววกลุ ภคสกลุ กาญจน นกั พัฒนาสังคมชำนาญการ 10. นางนิศานาถ ศรสี งั วร นักพัฒนาสงั คมปฏิบัตกิ าร 11. นางสาววรญั ญา จันทรสาน นกั พัฒนาสงั คมปฏบิ ตั ิการ 12. นายสทิ ธชิ ยั แสนทวสี ุข เจา พนักงานพฒั นาสงั คมปฏบิ ตั งิ าน ลกู จา งประจำ จำนวน 3 คน 13. นางสาวประจวบ ธนะนิมติ ร พนกั งานพมิ พร ะดบั ส.3 14. นายอนชุ ิต จิตรา พนักงานพิมพระดบั ส.3 15. นายธานี อ่มิ พชิ ัย ชา งฝม ือโรงงานชนั้ 4 พนกั งานราชการ จำนวน 6 คน 16. นางสาวพนดิ า แนนอุดร นักพฒั นาสังคม 17. นายสบุ ิน จุญพนั ธ นักพฒั นาสงั คม 18. นางพชั รีย ดีสา เจา หนา ทบ่ี นั ทกึ ขอมูล 19. นายสรุ สทิ ธ์ิ ประเวศไพรสนธิ์ พนักงานบรกิ าร 20. นางสาวมลฤดี มีสขุ พนกั งานบริการ 21. นางรชั ฎาภรณ เจรญิ ธรรม พนักงานบริการ พนักงานจางเหมา จำนวน ๕ คน 22. นายสุรพงษ ตุนแสน พนกั งานจางเหมานักพฒั นาสงั คม 23. นางพชั รนิ ทร จติ รา พนกั งานจา งเหมาทำความสะอาด 24. นายเอกชยั ตระกลู ไพรศาล พนกั งานจา งเหมาปรับปรุงภมู ทิ ศั น 25. นายอนรุ กั ษ พงษอกั ษร พนักงานจางเหมาขบั รถยนต 26. นายยงยศ วงศสรุ ิยา พนกั งานจา งเหมาขับรถยนต ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 13 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 3

สส่ว่วนนทที่ ่ี๑1 ขอ้ มูลพนื้ ฐฐานน จา งเหมาบริการ 23.08% ขาราชการ 46.15% ขา ราชการ พนักงานราชการ 19.23% ลกู จางประจํา พนักงานราชการ จางเหมาบริการ ลกู จา งประจาํ 11.54% ขอ มลู ณ เดือนกนั ยายน 2562 สำนักงานสง เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 3 แผนท่ีแสดงพื้นทีร่ บั ผิดชอบของ สสว. 3 สำนักงานสงเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 3 จังหวัดชลบรุ ี ปฏบิ ตั งิ านครอบคลุมพ้ืนท่ี กลุมจังหวัด ภาคตะวันออก จำนวน 4 จงั หวดั คอื จงั หวดั ชลบรุ ี จังหวดั ระยอง จงั หวัดจนั ทบุรี และจังหวัดตราด ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 14 หนา้ 4 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สส่ว่วนนทท่ี ี่๑1 ขอ้ มลู พื้นฐฐาานน โครงสรางสำนักงานสง เสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ผอู ำนวยการ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 15 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 5

สส่ว่วนนทที่ ๑ี่ 1 ข้อมูลพืน้นฐฐาานน ขอ มูลพนื้ ฐานพนื้ ท่รี ับผดิ ชอบสำนักงานสง เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 3 ขอ มูลท่ัวไปเกย่ี วกบั สำนกั งานสง เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 3 ความเปนมาของสำนักงานสงเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 3 สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 หรือในชื่อยอวา “สสว.3”เปนหนวยงานราชการ สว นกลางท่ีตั้งอยูใ นภูมภิ าค โดยจัดตง้ั ตามกฎกระทรวง แบงสวนราชการกรมพัฒนาสงั คมและสวัสดิการ กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย พ.ศ.2545 มีฐานะเทียบเทากอง หรือสำนักงานสวนกลางที่ตั้งอยูใน สว นภมู ิภาค ป พ.ศ.2558 มีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2558 ให สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการทั้ง 12 แหง ไปสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ม่ันคงของมนษุ ย มีอำนาจหนาที่ 1) พัฒนางานดานวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยใหสอดคลองกับ พ้นื ทแี่ ละกลมุ เปาหมาย 2) สงเสริมและสนับสนนุ งานดานวิชาการ องคความรู ขอมูลสารสนเทศ ใหคำปรึกษาแนะนำแก หนวยงานบรกิ ารทุกกลุมเปาหมายในพื้นท่ใี หบริการ ในความรับผิดชอบของกระทรวง รวมทงั้ องคกรปกครองสวน ทอ งถิน่ หนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง องคก รภาคเอกชนและประชาชน 3) ศึกษา วเิ คราะห สถานการณและสภาพแวดลอม เพ่อื คาดการณแนวโนมของสถานการณทาง สังคมและผลกระทบ รวมทง้ั ใหขอ เสนอแนะการพัฒนาสังคมและจัดทำยุทธศาสตร ในพืน้ ท่กี ลุมจงั หวดั 4) สนับสนนุ การนิเทศงาน ตดิ ตามประเมินผลการดำเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจ ของกระทรวง ในพืน้ ทีก่ ลมุ จงั หวัด 5) ปฏบิ ัตงิ านรว มกับหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ัติงานของหนว ยงานอ่นื ที่เก่ียวขอ งหรือที่ไดรบั • ขอมูลทว่ั ไประดบั กลมุ จังหวัดภาคตะวนั ออก 4 จังหวดั ไดแ ก จงั หวัดชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรุ ี และตราด กลมุ จังหวดั ภาคตะวันออก 1 ประกอบดวย จงั หวัดชลบรุ ี จังหวัดระยอง และจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ตั้งอยูใน พื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย เนื้อที่ทั้งหมด 13,299 ตารางกิโลเมตรหรือ 8,291,250 ไร จังหวัดชลบุรีมีระยะทางหางกรุงเทพมหานคร ประมาณ 81 กิโลเมตร รองลงมาคือจังหวัดฉะเชิงเทราจงั หวัด 82 กิโลเมตร และจังหวัดระยอง ๑๗๙ กิโลเมตร ตามลำดับ สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่ อยูภายใตอิทธิพล ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เขตอากาศแบบสะวันนา (Savanna Climate) ลักษณะภูมิอากาศ สวนใหญมีอากาศรอน โดยทั่วไปบางพื้นที่อากาศรอนจัด ปริมาณฝนนอยและต่ำกวาคาปกติ ทำใหมีฟา คะนองเปนบางแหง หรอื ประมาณรอยละ ๒๐ ของพื้นท่ี การปกครอง แบง เขตการปกครองออกเปน ๓๐ อำเภอ ๒๔๓ ตำบล ๒,๐๒๐ หมูบาน ในสว นการปกครอง ทองถิน่ ประกอบดว ย องคการบริหารสวนจังหวัด ๓ แหง เทศบาลนคร ๓ แหง (จังหวดั ชลบรุ ี ๒ แหง และจังหวัด ระยอง ๑ แหง จังหวัดฉะเชิงเทรา ไมมี) เทศบาลเมือง ๑๓ แหง เทศบาลตำบล ๙๕ แหง และองคการบริหารสว น ตำบล ๗๔ แหง และรปู แบบการปกครองพเิ ศษ ๑ แหง (จังหวัดชลบุร)ี ประชากร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๑ ประชากรจำนวนทั้งสิ้น ๒,๙๗๔,๖๙๔ คน เปนชายจำนวน ๑,๔๕๒,๔๓๔ คน รอยละ ๔๙.๐๐ เปนหญิงจำนวน ๑,๕๒๒,๓๖๐ คน รอยละ ๕๑.๐๐ คิดเปนสัดสวนรอยละ ๔.๕๔ ของประเทศ (๖๖,๔๑๓,๙๗๙ คน) ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 16 หน้า 6 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

ส่วนทท่ี ี่ ๑1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน จำนวนประชากรแยกตามชวงอายุชวงอายุระหวาง ๒๕-๖๐ ป มีมากที่สุด จำนวน ๑,๕๙๓,๘๑๔ คน หรือ รอยละ ๕๒.๗๘ รองลงมา คือ ชวงอายุระหวา ง ๐-๑๗ ป จำนวน ๖๑๖,๓๘๗ คน รอยละ ๒๐.๔๑ ถัดมา ชวงอายุ ระหวาง ๑๘-๒๔ ป จำนวน ๔๓๗,๐๐๓ คน รอยละ ๑๔.๔๗ และ อายุ ๖๑ ปขึ้นไป จำนวน ๓๗๒,๓๑๘ คน รอ ยละ ๑๒.๓๓ ศาสนา มีผูนับถือศาสนาพุทธ รอยละ 97 ศาสนาคริสต รอยละ 1.5 อิสลาม รอยละ 1 และอื่นๆ รอยละ 0.5 ประเพณขี องคนในภาคตะวันออก 1 คอื งานบุญเชนเดียวกับชนในภาคอ่นื ทไ่ี ปวัดทำบญุ ในวนั สำคัญทาง ศาสนา มีเทศกาลนมสั การหลวงพอโสธร ที่จงั หวัดฉะเชิงเทรา นอกจากน้เี ปนเทศกาลสงเสริมผลผลติ ของภูมิภาคน้ี งานเทศกาลเกี่ยวกับผลไมมีชื่อแตกตางกันไป นอกจากนั้นมีประเพณีวิ่งควาย และงานเทศกาลพัทยาที่จังหวัด ชลบรุ ี สวนจังหวัดระยองจดั งานวนั เกาะแกว พสิ ดาร และงานสนุ ทรภรู ำลกึ ชาติพันธ นอกจากจะมีกลุมใหญที่เปนคนไทยมาแตเดิมแลวยังเปนถิ่นที่อยูของคนหลายเชื้อชาติ เชน ชาวซอง ซ่ึงเปนชนเผา ตระกลู มอญ-เขมร ทอ่ี ยูในเขตปา เขาใชชวี ิตตามธรรมชาติ หนวยบริการสาธารณสุข ภาครัฐและภาคเอกชนของกลุมจังหวัดภาคตะวันออก มีจำนวน ๔๐๕ แหง จังหวดั ฉะเชิงเทรา ๑๔๖ แหง รองลงมาจงั หวัดชลบรุ ี ๑๔๔ แหง และจงั หวัดระยอง ๑๑๕ แหง ตามลำดับ แพทยทง้ั หมด ๔,๑๒๖ คน ประชากร ๒,๙๗๔,๖๙๔ คน ประชากรตอแพทย ๗๒๐ : ๑ คน สาเหตุการตายจากโรคตาง ๆ มีผูเสียชีวิตจากโรควัยชราสุงสูด จำนวน 896 คน รองลงมา โรคหัวใจ ลมเหลวไมร ะบุรายละเอยี ด จำนวน 772 คน ถดั มาโรคความดันโลหติ สงู ไมท ราบสาเหต(ุ ปฐมภมู ิ) จำนวน 60 คน มีสถานศึกษาในระบบ จำนวน ๑,๖๙๙ แหง แบงเปน สังกัด สพฐ. จำนวน ๘๔๑ แหง เอกชน จำนวน ๗๘๓ แหง อาชีวศึกษา จำนวน ๓๙ แหง เมืองพัทยา ๑๓ แหง สำนักพุทธศาสนาแหงชาติ จำนวน ๑๖ แหง และ สถานศกึ ษานอกระบบ จำนวน ๑๐๙ แหง สงั กดั กศน. จำนวนนักเรียน นกั ศกึ ษา มีจำนวนท้งั หมด 583,307 คน แยกเปนเพศหญงิ จำนวน 274,723 คน เพศชาย จำนวน 308,584 คน ระดบั การศึกษา ทม่ี ีนักเรยี นมากท่ีสุด คือ ระดับประถมศึกษา จำนวน 242,156 คน อยูในระบบ จำนวน 119,376 คน นอกระบบ จำนวน 1,930 คน จังหวดั ท่ีมนี กั เรียน นักศึกษา มากท่สี ดุ คือ จงั หวัดชลบุรี จำนวน 313,069 คน รองลงมา คือ จังหวัดระยอง จำนวน 123,112คน ถัดมาคือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 115,321 คน ตามลำดับ นักเรียนออกกลางคัน จำนวน 553,367 คน และสังกัดที่มีนักเรียนออกกลางคันมากที่สุด คือสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จำนวน 325,657 คน และจังหวัดที่มีนักเรียนออกกลางคันมากที่สุด คือ จังหวัดชลบุรี จำนวน 285,906 คน รองลงมา คือ จังหวัดระยอง จำนวน 145,992 คน ถัดมาคือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 121,469 คน ตามลำดับ จังหวัดที่มีกำลังแรงงานในปจจุบันมากที่สุด คือ จังหวัดชลบุรี จำนวน 1,065,394 คน รองลงมา คือ จังหวัดระยอง จำนวน 572,530 คน ถัดมาจังหวดั ฉะเชิงเทรา จำนวน 433,056 คน และพบวาผูไมอยูในกำลัง แรงงานมากที่สุด คือจังหวัดชลบุรี จำนวน 416,810 คน รองลงมา คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 237,254 คน ถัดมา คือจังหวัดระยอง จำนวน 179,138 คน ตามลำดับ ในสวนกำลังแรงงานที่รอฤดูกาล พบในจังหวัด ฉะเชิงเทรา จำนวน ๓๙๐ คน สวนผูไมอยูในกำลังแรงงานพบวา เปนผูทำงานบาน จำนวน 305,918 คน เรียน หนงั สือ จำนวน 164,931 คน และอื่น ๆ จำนวน 352,379 คน คนตางดาวทไ่ี ดรบั อนุญาตทำงานคงเหลอื พ.ศ. ๒๕๕๖ -๒๕๖๑ ในป ๒๕๖๑ มีแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทำงานคงเหลือมากที่สุด จำนวน 187,891 คน รองลงมาป ๒๕๕๗ จำนวน ๑๖๗,๑๙๘ คน ถัดมาป ๒๕๒๖ จำนวน ๑๖๐,๒๕๕ คน ซึ่งในป ๒๕๖๑ พบมากที่สุด ในจังหวดั ชลบุรี จำนวน 111,496 คน รองลงมาคือจังหวัดระยอง จำนวน 52,173 คน ถัดมาจังหวัดฉะเชงิ เทรา จำนวน 24,222 คน ตามลำดบั ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 17 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 7

สสว่ ่วนนทที่ ี่๑1 ขอ้ มูลพน้ื ฐฐานน จำนวนชุมชนผูมีรายไดนอย มีทั้งหมด 80 ชุมชน แยกเปนชุมชนแออัด จำนวน 72 ชุมชน มีครัวเรือน จำนวน 5,125 ครัวเรือน ชุมชนเมือง 6 ชุมชน มีครัวเรือน จำนวน 482 ครัวเรือน ชุมชนชานเมือง ๒ ชุมชน มี ครัวเรือน จำนวน 58 ครัวเรือน และมีบานทั้งหมด 4,800 หลัง จังหวัดชลบุรี มีชุมชนมากที่สุด จำนวน 43 ชุมชน รองลงมาจังหวัดระยอง มีชุมชนทั้งหมด 20 ชุมชน ถัดมาจังหวัดฉะเชิงเทรา มีชุมชนทั้งหมด จำนวน 17 ชมุ ชน จำนวนครัวเรือน พ.ศ.2552 – 2561 พบวาในป 2561 จังหวัดชลบุรีเพิ่มสูงขึ้นจากป 2560 จำนวน 17.44 พันตอครัวเรือน จังหวัดระยอง เพิ่มสูงขึ้น จำนวน 10.07 พันตอครัวเรือน และจังหวัดฉะเชิงเทรา เพิ่ม สูงขึ้น จำนวน 8.77 พันตอครัวเรือน และจะเห็นไดวาในป 2561 จังหวัดชลบุรี มีจำนวนครัวเรือนเพ่ิมมากท่ีสุด จำนวน 624.42 พันตอครัวเรือน รองลงมา คือ จังหวัดระยอง จำนวน 331.02 พันตอครัวเรือน ถัดมาคือ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา จำนวน 250.54 พนั ตอครัวเรอื น ผลิตภณั ฑจังหวัด แบบปรมิ าณลูกโซ (ปอ างอิง พ.ศ. 2545) พ.ศ. 2550 –2559 พบวา ในป 2559 ทกุ จังหวัดเพิ่มสูงขึ้นจากป 2558 โดยจังหวัดชลบุรีเพิ่มสูงขึ้น จำนวน 41,439 ลานบาท จังหวัดระยอง เพิ่มสูงข้ึน จำนวน 16,741 ลานบาท และจังหวัดฉะเชิงเทรา เพิ่มสูงขึ้น จำนวน 16,011 ลานบาท การขยายตัวของ ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ของกลุมจังหวัดภาคตะวันออก 1 พบวาในป 2559 ทุกจังหวัดมีอัตราการขยายตัว GPP เพิ่มสูงขึ้นจากป 2558 โดยจังหวัดชลบุรีเพิ่มสูงขึ้น รอยละ + 12.67 จังหวัดระยอง เพิ่มสูงขึ้น รอยละ + 3.49 และจังหวัดฉะเชิงเทรา เพิ่มสูงขึ้น รอยละ + 7.11 ผลิตภัณฑจังหวัดตอหัว (GPP per capita) ป ๒๕๕๙ ของกลุมจังหวัดภาคตะวันออก 1 พบวา จังหวัดระยอง มีจำนวนผลิตภณั ฑจังหวัดตอหัว (GPP per capita) มาก ที่สุด จำนวน 1,009,496 บาท/ป รองลงมา คือ จังหวัดชลบุรี จำนวน 548,877 บาท/ป ถัดมาคือ จังหวัด ฉะเชิงเทรา จำนวน 433,400 บาท/ป ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดตอคน ตามราคาประจำป จำแนกเปนราย จังหวัด ป พ.ศ. 2559 พบวาจังหวัดระยอง มีผลิตภัณฑมวลรวมภาคและจังหวัด ตามราคาประจำปมากที่สุด จำนวน 897,117 ลานบาท ตอประชากร 889 (1,000 คน) มีผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดตอคน 1,009,496 บาท ซึ่งอยูในลำดับที่ 1 ของภาค และลำดับที่ 1 ของประเทศ รองลงมา คือ จังหวัดชลบุรี มีจำนวน 912,498 ลานบาท ตอประชากร 1,662 (1,000 คน) มีผลติ ภณั ฑม วลรวมจงั หวัดตอคน 548,877 บาท ซ่ึงอยใู นลำดับท่ี ๒ ของภาค และลำดับที่ ๒ ของประเทศ ถัดมา คอื จงั หวัดฉะเชิงเทรา มีจำนวน 340,913 ลานบาท ตอ ประชากร 787 (1,000 คน) มีผลิตภัณฑม วลรวมจังหวดั ตอคน 433,400 บาท ซึ่งอยูในลำดับที่ 3 ของภาค และลำดับที่ 5 ของประเทศ รายไดโ ดยเฉลยี่ ตอเดอื นตอครวั เรอื น พ.ศ.๒๕๕๒ –๒๕๖๐ พบวา ในปะ 2560 จังหวดั ชลบรุ ี มรี ายไดโดย เฉลีย่ ตอเดอื นตอครัวเรือน จำนวน 27,665.39 บาท ซ่ึงสูงขึ้นจากป 2558 เฉล่ีย 408.69 บาท จังหวัดระยอง มีจำนวน 27,797.79 บาท ซึ่งลดลงจากป 2558 เฉลี่ย 2,517.01 บาท และจังหวัดฉะเชิงเทรา มีจำนวน 26,061.85 บาท ซง่ึ ลดลงจากป 2558 เฉลยี่ 1,493.05 บาท หนี้สิ้นเฉลี่ยตอครัวเรือน จำแนกวัตถุประสงคของการกูยืม พ.ศ.๒๕๕๒ –๒๕๖๐ ในป 2560 มีหนี้สิน เฉลี่ยตอครวั เรือน รวมทั้งสิ้น 374,563.14 บาท โดยมวี ตั ถุประสงคข องการกูยมื คอื เพอื่ ใชจา ยในครัวเรือนมาก ที่สุด จำนวน 168,612.43 บาท รองลงมาเพ่ือใชชื้อ/เชาซื้อบานและที่ดิน จำนวน 166,763.89 บาท ถัดมา เพอ่ื ใชทำการเกษตร จำนวน 20,828.32 บาท จำนวนผูสูงอายุแยกตามจังหวัด ป2561 มีจำนวนทั้งหมด จำนวน 401,263 คน แบงเปนเพศชาย จำนวน 172,963 คน เพศหญิง จำนวน 228,300 คน จะเห็นไดวาผูสูงอายุเพศหญิงจะมากกวา รอยละ 57.00 เพศชาย รอยละ 43.00 และจงั หวัดทม่ี ีผูสูงอายุมากท่สี ุด คือ จงั หวัดชลบุรี จำนวน 194,605 คน เปน เพศชาย จำนวน 82,931 คน เพศหญิง จำนวน 111,674 คน รองลงมา คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 116,342 คน เปนเพศชาย จำนวน 50,606 คน เพศหญิง จำนวน 65,736 คน ถัดมาจังหวัดระยอง จำนวน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 18 หน้า 8 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สส่ว่วนนทท่ี ๑ี่ 1 ขอ้ มูลพนื้นฐฐาานน 90,316 คน เปนเพศชาย จำนวน 39,426 คน เพศหญิง จำนวน 50,890 คน จำนวนผูสูงอายุที่ไดรับเบี้ยยัง ชีพ ปง บประมาณ 2561 พบวา จังหวัดทีผ่ สู งู อายุไดรบั เบ้ียยังชีพ มากท่สี ดุ คอื จังหวัดชลบุรี จำนวน 131,531 ราย รองลงมา คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 91,469 บาท ถัดมา จังหวัดระยอง จำนวน 70,409 ราย ตามลำดบั คนพิการที่มบี ัตรประจำตวั คนพิการเพิ่มสูงขน้ึ และลดลงในป พ.ศ.2559 และในป พ.ศ.2560 มีจำนวน เพิ่มสูงขึ้น จากป 2559 ทุกจังหวัด ในป พ.ศ.2560 มีจำนวนคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการ ทั้งหมด จำนวน 53,488 คน จังหวัดท่มี คี นพิการที่มีบตั รประจำตัวคนพิการมากทีส่ ุด คือ จังหวดั ชลบรุ ี จำนวน 22,140 คน รองลงมา คือ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา จำนวน 19,708 คน ถดั มาจงั หวดั ระยอง จำนวน 11,640 คน คนพิการท่ี มีบัตรประจำตัวคนพิการ จำแนกตามประเภทความพิการ ผูพิการสวนใหญสามลำดับแรกเปนผูพิการทางการ เคลื่อนไหวหรือทางรางกาย รองลงมาประเภททางการไดยินหรือสื่อความหมาย ถัดมาประเภทพิการซ้ำซอน ตามลำดับ จำนวนคนไรที่พึ่ง ขอทาน และจิตเวช ในป 2562 (ม.ค.-มิ.ย.) ที่ใหบริการภายใน (เขาพัก) มีจำนวน 266 ราย สวนใหญเปนคนไรที่พึ่ง จำนวน 218 ราย รอยละ 81.95 รองลงมาเปนจิตเวช จำนวน 36 ราย รอย ละ 13.53 และ คนขอทานจำนวน 12 ราย รอ ยละ 8.90 และใหบรกิ ารภายนอก (ไมเขา พัก) จำนวน 303 ราย สวนใหญเปนคนไรที่พึ่ง จำนวน 229 ราย รอยละ 75.58 รองลงมาเปนคนขอทาน จำนวน 43 ราย รอยละ 14.19 และจติ เวช จำนวน 2 ราย รอ ยละ 10.23 ปจจยั และสาเหตุ สว นใหญมสี าเหตุ มาจาก รายไดไมเ พียงพอ/ ยากจน จำนวน 875 ราย พบมากในป 2560 จำนวน 313 ราย รองลงมาไมม งี านทำ/ตกงาน จำนวน 345 ราย พบมากในป 2562 ถัดมารายไดดี/หาเงินงาย จำนวน 196 ราย พบมากในป 2560 มีความสภาพความพิการ จำนวน 183 ราย พบมากในป 2561 และไมม ีผเู ลย้ี งดู จำนวน 110 ราย องคกรภาคีเครือขายที่มีมากที่สุดคือ องคกรสตรี จำนวน 1,016 แหง มีมากในจังหวัดฉะเชิงเทรา รองลงมาคือองคกรที่จดแจงตาม พ.ร.บ.การจัดสวัสดิการสังคมฯ จำนวน 325 แหง มีมากในจังหวัดฉะเชิงเทรา ถดั มาศูนยพัฒนาครอบครวั (ศพค.) จำนวน 245 แหง มมี ากในจงั หวดั ฉะเชิงเทรา เครือขายอาสาสมัครท่มี ีมากท่ีสดุ คือ สภาเด็กและเยาวชน จำนวน 5,837 คน มีมากในจงั หวัดฉะเชงิ เทรา รอยละ 38.85 เครือขายอาสาสมัครรองลงมาคืออาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (อพม.) จำนวน 3,231 คน มีมากในจังหวัดชลบุรี รอยละ 47.75 เครือขายอาสาสมัครถัดมาอาสาสมัครดูแลผูสูงอายุ (อผส.) จำนวน 1,208 คน มีมากในจงั หวดั ชลบุรี รอ ยละ 37.41 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 19 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 9

ส่วนนทที่ ่ี๑1 ขอ้ มลู พ้ืนฐาน หนว ยงานสังกดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี สำนกั งานสง เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 3 ท่ีตั้ง 172/9 ม.4 ต.บางละมงุ อ.บางละมงุ จ.ชลบุรี 20150 โทร. 038-240938 , 038-240939 โทรสาร. 038-240938 , 038-240939 สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจงั หวดั ชลบุรี ทต่ี ้งั ศาลากลางจังหวัดชลบุรี ถนนมนตเสวี อ.เมอื ง จ.ชลบุรี 20000 โทร. 038-277877 , 038-282586 โทรสาร. 038-285208 ศนู ยเรยี นรกู ารพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระเทพฯ 36 พรรษา ท่ตี ้งั 104 ม.3 ถ.สุขมุ วิทต.บางละมุง จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-241072 โทรสาร.038-241766 สถานสงเคราะหเ ดก็ ชายบานบางละมุง ทต่ี ั้ง 61 ม.3 ถ.สุขุมวิท ต.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150 โทร. 038-241373 , 038-241492 โทรสาร. 038-240879 ศูนยพ ัฒนาการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมผูสูงอายุบานบางละมุง ที่ต้ัง 40 ม.4 ถ.สุขมุ วิท ต.บางละมุง จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-241121 โทรสาร. 038-241759 ศนู ยการเรยี นรูแ ละฝก อบรมดา นผูส งู อายุจังหวดั ชลบรุ ี ทตี่ ้งั 40 ม.4 ถ.สุขมุ วทิ ต.บางละมงุ จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-111724 โทรสาร. - สถานคุมครองและพัฒนาคนพิการ การุณยเวศม ที่ตัง้ 105 ม.3 ถ.สุขุมวทิ ต.บางละมงุ จ.ชลบุรี 20150 โทร. 038-241741-2 โทรสาร. 038-240137 สถานพัฒนาและฟนฟเู ดก็ จงั หวดั ชลบุรี ทต่ี งั้ 104/27 ม.3 ถ.สขุ มุ วทิ ต.บางละมงุ จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-234402-3 โทรสาร. 038-234402-3 ศนู ยคมุ ครองคนไรท ีพ่ ่งึ จงั หวัดชลบรุ ี ทีต่ ้งั 61/1 ม.3 ถ.สุขุมวทิ ต.บางละมงุ จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-234430 โทรสาร. 038-234430 บานพักเดก็ และครอบครวั จงั หวัดชลบุรี ทต่ี ง้ั 40 ม.4 ถ.สขุ ุมวทิ ต.บางละมุง จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-240220 โทรสาร. 038-240135 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 10 หนา้ 10 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สส่ว่วนนทท่ี ี่๑1 ขอ้ มลู พ้ืนฐาน สำนักงานเคหะชมุ ชนชลบุรี 1 (พทั ยา) ท่ตี ง้ั 162 ม.2 ต.นาจอมเทยี น อ.สตั หบี จ.ชลบรุ ี 20250 โทร. 038-078759-62 โทรสาร. 038-078759 ตอ 40401-7 สำนกั งานเคหะชมุ ชนชลบุรี 2 (บานเซิด) ท่ตี ั้ง 37 ม.7 ถ.สายบานโรงนา-นางู ต.หนา พระธาตุ อ.พนัสนิคม จ.ชลบรุ ี 20140 โทร. 038-466983 โทรสาร. - สำนักงานการเคหะชมุ ชนแหลมฉบัง ทีต่ ัง้ 201 ถ.สขุ ุมวิท กม.129 ต.บางละมงุ อ.บางละมุง จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-494993-4 โทรสาร. 038-400155ตอ 40308 หนว ยงานสังกดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยในพน้ื ท่จี งั หวัดระยอง สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจังหวดั ระยอง ทต่ี งั้ ศาลากลางจงั หวดั ระยอง ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 21150 โทร. 038-694073-4 โทรสาร. 038-694016 สถานคมุ ครองสวัสดิภาพเดก็ จังหวัดระยอง ทต่ี งั้ 318 ถ.สขุ ุมวิท ต.หวยโปง อ.เมอื ง จ.ระยอง 21150 โทร. 038-684102 โทรสาร. 038-685647 ศนู ยคุมครองคนไรท ีพ่ ่งึ จังหวัดระยอง ทตี่ ้ัง 253/12 ม.1 ต.นคิ มพัฒนา (กงิ่ )อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทร. 038-636105 โทรสาร. 038-636455 บานพกั เด็กและครอบครวั จังหวัดระยอง ท่ตี ง้ั 318 ถ.สุขุมวิท ต.หวยโปง อ.เมอื ง จ.ระยอง 21150 โทร. 038-684895 โทรสาร. 038-684895 สถานธนานเุ คราะห 28 ทต่ี ง้ั 10/5-6 ถ.จันทรอุดม ต.ทา ประดู อ.เมืองระยอง จ.ระยอง 21000 โทร. 038-617030 โทรสาร. 038-617185 สถานธนานเุ คราะห 35 ที่ตั้ง 625/48-49 ม.1 ต.ปลวกแดง อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 21140 โทร 038-025933 สำนกั งานเคหะชมุ ชนระยอง การเคหะแหงชาติ ทีต่ ้งั 200/30 ถ.สุขมุ วิท ต.หวยโปง อ.เมอื งระยอง จ.ระยอง 21000 โทร. 038-022047-8 โทรสาร. 038-022047-8 ตอ 40608 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 11 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 11

สส่ว่วนนทที่ ๑ี่ 1ขขอ้ อ้ มมลู ลู พพ้ืน้ืนฐฐาานน สำนกั งานเคหะชุมชนมาบตาพุด การเคหะแหง ชาติ ที่ตั้ง 200/30 ถ.สขุ ุมวิท ต.หว ยโปง อ.เมอื งระยอง จ.ระยอง 21000 โทร. 038-684293 โทรสาร. 038-685880 ตอ 40508 หนวยงานสงั กดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยในพื้นที่จงั หวัดจันทบรุ ี สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ งั หวัดจนั ทบุรี ทีต่ ง้ั 1212/21 ถ.ทา แฉลบ ต.ตลาด อ.เมอื ง จ.จนั ทบรุ ี 22000 โทร. 039-312552 โทรสาร. 039-327868 ศนู ยคุม ครองคนไรท ีพ่ ึ่งจังหวัดจนั ทบุรี ทีต่ งั้ 1/14-15 ม.2 ถ.รกั ศักด์ชิ มูล ต.ทา ชา ง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทร. 039-471708-9 โทรสาร. 039-471708 บานพกั เดก็ และครอบครวั จงั หวดั จันทบุรี ทีต่ ้งั 25/3 หมู 3 ต.บางกะจะ อ.เมือง จ.จนั ทบุรี โทร. 039-327577 โทรสาร. 039-327577 สำนักงานเคหะชมุ ชนจนั ทบุรี การเคหะแหง ชาติ ทต่ี ั้ง 1/13 ม.12 ถ.พระยาตรัง ต.ทา ชาง อ.เมืองจันทบุรี จ.จนั ทบรุ ี 22000 โทร. 039-321910 โทรสาร. 039-321910 หนวยงานสังกดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยใ นพืน้ ทจ่ี งั หวัดตราด สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ ังหวดั ตราด ที่ตั้ง ศาลากลางจงั หวัดตราด ถ.ราษฎรนิยม ต.บางพระ อ.เมอื งตราด จ.ตราด 23000 โทร. 039-525296 โทรสาร. 039-511588 ศูนยค ุม ครองคนไรท ีพ่ ึ่งจังหวัดตราด ที่ตงั้ 1140-1141/1 ม.1 ถ.เนินตาแมว ต.วงั กระแจะ อ.เมือง จ.ตราด 23000 โทร. 039-512556 โทรสาร. 039-512556 บา นพักเดก็ และครอบครวั จังหวัดตราด ท่ตี ั้ง 79 ม.6 ต.หนองเสม็ด อ.เมอื งตราด จ.ตราด 23000 โทร. 039-539616 โทรสาร. 039-539611 สถาบนั พฒั นาองคก รชมุ ชน (องคการมหาชน) สำนกั งานภาคกรุงเทพ ฯ ปริมณฑล และภาคตะวันออก รับผดิ ชอบปฏิบัติงาน รวม 12 จังหวัด ในกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทมุ ธานี สมุทรปราการ นครนายก ปราจนี บุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว ชลบุรี ระยอง จันทบรุ ี และตราด ทีต่ ั้ง ชน้ั 4 สถาบันพฒั นาองคก รชุมชน(องคการมหาชน) เลขที่ 912 ถ.นวมนิ ทร 45 แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรงุ เทพฯ 10240 โทร. 02-3788300 ตอ 8740,8555 โทรสาร. 02-3788398 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 12 หน้า 12 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานทส่ี ำคญั ป 2562 สวนที่ 1 ผลการดำเนินงาน 1. โครงการกิจกรรมจติ อาสาพัฒนาชมุ ชน จัดขึ้นเพื่อสังคมและกิจกรรมของชุมชนตามตัวชี้วัดหนวยงานและรายบุคคล ดานการพัฒนาองคกรของกระทรวงฯ ปงบประมาณ 2562 ณ วัดบางละมุง จังหวัดชลบุรี ในวันที่ 18 กมุ ภาพันธ พ.ศ.2562 ตัง้ แตเ วลา 08.30 – 12.00น. ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 13 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 13

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานที่สำคญั ป 2562 2. อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรการเทาทันการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ภายใตโครงการศนู ยบ ริการวชิ าการพฒั นาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจำป พ.ศ.2562 เพื่อใหเจาหนาที่สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 12 และเจาหนาที่ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด ไดพัฒนาศักยภาพ บุคลากรใหเทาทันการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี มุงเนนใหผูเขารับการอบรมสามารถถายภาพนิ่ง ภาพเคลอ่ื นไหว การเขยี นคริปท และนำมาตดั ตอสรา งเรือ่ งราว ใสขอความ เอฟเฟค สี เสียง เปน วดี โี อ สำหรับ การนำเสนอผลงานดานสังคม ในระหวา งวันที่ 9 – 13 มนี าคม พ.ศ. 2562 ณ ศนู ยเ รียนรแู ละฝกอบรมดาน ผสู งู อายุ จงั หวัดชลบรุ ี ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 14 หน้า 14 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนท่ี 2 สรุปผลการดำเนนิ งานที่สำคญั ป 2562 3. จัดประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนาศกั ยภาพทมี บคุ ลากรศนู ยบริการฯ ภายใตโ ครงการศนู ยบริการวชิ าการพัฒนาสังคมและจดั สวัสดิการสังคม ประจำป พ.ศ.2562 ศึกษาดูงานดานการคัดแยกผูเสียหายจากการคามนุษย สถานคุมครองสวัสดิภาพ ผูเสียหายจากการคามนุษย (บานศรีสุราษฏร) จังหวัดสุราษฏรธานี และศึกษาดูงานดานการคามนุษย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดสุราษฎรธานี ระหวางวันที่ 30 เมษายน – 3 พฤษภาคม พ.ศ.2562 การคัดแยกผูเสียหายจากการคามนุษย สถานคุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายจากการคามนุษย (บานศรสี รุ าษฏร)จังหวดั สุราษฏรธานี ภารกจิ พิเศษ - นโยบายพเิ ศษ การชว ยเหลอื โรฮงิ ญา เนอ่ื งจากวัฒนธรรมท่ีแตกตาง การสรางปญหาในชุมชน - การไดรับเงินงบประมาณจากหนวยงาน องคกรตางๆ NGO ประมาณ 30 ลานบาท กระบวนการ คุม ครองผเู สยี หายจากการคามนุษย 1. กระบวนการรับเขา - การคัดแยกเหย่ือผูเสียหาย เมื่อคัดแยกแลวผลปรากฎวาเปนผูเสียหายจากการคามนษุ ยใหม าอยูบา น ศรสี รุ าษฎร หากยงั ไมแ นชัดใหอยบู านพกั เดก็ - การมลี ามแปลภาษา - เงนิ ของเคสมกี ารทำหลกั ฐานแรกเขาวามเี งนิ ตดิ ตวั มาเทาไหร ทุกสกลุ เงิน 2. กระบวนการแรกรับ - เจา ของบานเปนใคร กนิ อยูอ ยา งไร การรองรบั อารมณต า งๆ - มีนกั จติ วิทยา นกั สงั คมสงเคราะห เจา หนาท่ที ุกตำแหนง มกี ารฝกใหส ามารถดำเนินการแทนกนั ได - โดยทำขอตกลงในการรับสทิ ธิการเขา อยู 3. กระบวนการชว ยเหลือ - การฝกอาชพี เชน การตดั เยบ็ เสรมิ สวย โภชนา เศรษฐกจิ พอเพียง - การปองกันความปลอดภยั การปอ งกนั ไมใหเ ดก็ ไมใ หมดี หรอื ของมีคม ไมใชเ ชือกรองเทากบั เดก็ - ดานกฎหมายชวยเหลือ มีกฎหมาย NGO เขามาชวยเหลือ สิทธิความเทาเทียมมีผูเชี่ยวชาญดานเพศ ภาวะเขามาใหความรดู านการปอ งกนั การปฎบิ ตั ติ วั เม่ือขนึ้ ศาล - ดา นการแพทย 4. กระบวนการสง กลับคืนศสู งั คม - การเตรยี มเรอ่ื งเงนิ คาครองชีพ 5. กระบวนการติดตามผล - การติดตามในประเทศ และตา งประเทศ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 15 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 15

สวนท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคญั ป 2562 การคา มนุษย สำนักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ ังหวดั สรุ าษฎรธานี กลไกการทำงานของจังหวดั และ พมจ. - ใช one home ในกรารขบั เคล่ือน - การวิเคราะหขอมูลของหนวยงาน พมจ. เชน การรายงานสถานการณทางสังคม การแสดงสัดสวนใน พื้นที่ของประชากรกลุมเปาหมายและหนวยงานภาคีเครือขาย สถานการณการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร อัตราการพง่ึ พิงรวม สถานการณการคา มนษุ ยใ นจังหวัด - คมอ. เกาะสมุย เกาะพงัน โครงสรางใหม เพื่อใหชวยเหลือไดทันทวงที และมีการประสานงานกับ เครอื ขาย - เปนพ้ืนทที่ ่ีมีปญ หาทางสังคมเยอะ มปี ระชากรแฝงเยอะ - เกาะสมุย มีเดก็ ขายพวงมาลยั เฉกเชน เดียวกบั ภเู กต็ และชลบรุ ี - มีการสกัดกั้นคนเขาเมือง มีการคาประเวณี รวมถึงการขูดรีดเปนสวนใหญ และการบังคับใชแรงงาน แตไมค อยพบเร่ืองประมง - การเขาเมอื งสวนใหญมากับรถทวั ร ชองลบั ชอ งเกบ็ ของ บางครัง้ นัง่ เขามาเฉยๆ เหมอื นไมมีอะไร - เกาะสมุย สวนใหญนักขาวจะเลน เรื่องเดก็ ขายพวงมาลัย จึงมกี ารประชุมหารือกบั ทุกฝายเก่ียวกับการ แกไขปญ หา ใหม กี ารลงพ้ืนท่ีรว มกนั ทุกเดอื น พบวา มีเดก็ ถูกซือ้ มาใหขายพวงมาลัย และตอ งขายใหได 2000 บาทตอ วนั มเิ ชนน้ันจะมีการทำราย แตถา ทำยอดได จะมีหารซอ้ื โทรศัพทมือถือให หรือพาไป กินเคเอฟซี ซ่งึ ไมเ หมอื นเมอ่ื กอ น - ปจจบุ นั มกี ารทำงานรว มกบั หนว ยงานเปนทมี มากข้ึน ปญหาอปุ สรรคในการทำงานเรื่องคามนุษย - ขอจำกดั ในการเดนิ ทาง - เหยื่อมกี ารปกปดขอมูลท่ีแทจริง ทำใหเขา ถึงตัวยาก - ความปลอดภยั ในเจา หนา ที่ - การ MOU ท่เี ขามาได 30 วนั - ลามแปลภาษาขาดแคลน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 16 หนา้ 16 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานท่ีสำคัญ ป 2562 4. จดั ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาศักยภาพทมี บุคลากรศนู ยบรกิ าร ครัง้ ที่ 2 ภายใตโ ครงการศนู ยบริการวิชาการพฒั นาสงั คมและจดั สวัสดิการสงั คม ประจำป พ.ศ.2562 สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาศักยภาพ ทีมบุคลากร ระหวางวันที่ 2 – 4 กันยายน พ.ศ.2562 ระหวางมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะ การทำงานเปนทีม มีการประสานงาน และรวมมือกันมากขึ้น รวมทั้งพฤติกรรมบริการที่ดีทำใหความ ขัดแยงลดลงสงผลใหองคกรมีบรรยากาศการทำงานที่ดีและสามารถพัฒนางานไปไดอยางตอเนื่องและ มีประสิทธภิ าพ เขาศึกษาดูงานดานการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ , ศูนยเรียนรูชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง , ศูนยเรียนรูปาชายเลน , โครงการ เพาะเลี้ยงพันธุปูทะเล (ปูดำ) , โครงการสงเสริมการเลี้ยงปลานวลจันทรทะเลในกระชัง , โครงการหอย พอก , การปลกู ผกั ไฮโรโปรนิกส ท่โี ดดเดน ของโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบานน้ำแดง ทางดานสังคม เพื่อเปนตนแบบและนำไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานในพื้นที่ที่รับผิดชอบของสำนักงานสงเสริมและ สนับสนนุ วิชาการ 3 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 17 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 17

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานที่สำคญั ป 2562 5. อบรมเชิงปฏิบตั ิการการคดิ เชิงวเิ คราะห (Analytical Thinking) ภายใตโครงการศนู ยบ รกิ ารวชิ าการพัฒนาสังคมและจดั สวัสดิการสังคม ประจำป พ.ศ.2562 การอบรมเชงิ ปฏิบัติการการคดิ เชงิ วิเคราะห (Analytical Thinking) มุงหวังใหผูเขา อบรมมีทักษะการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ กระตุนทักษะการคิดสามารถเปลี่ยนแปลงตัวเอง แลกเปลี่ยน ประสบการณสูการทำงานไปทิศทางเดียวกัน นำศักยภาพการคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผลในการแกปญหาใน ความรับผิดชอบของตัวเอง ระหวางวันที่ 11 – 13 มิถุนายน 2562 ณ โรงแรม สตาร คอนเวนชั่น อำเภอ เมือง จงั หวัดระยอง ผูเขารวมประชุมฯ จำนวน 70 คน ประกอบดวย ขาราชการและเจาหนาที่ พมจ. 4 จังหวัดภาคตะวนั ออก ไดแ ก ชลบุรี ระยอง จนั ทบรุ ี และตราด ขา ราชการและเจา หนาท่ีสำนักงานสงเสริมและ สนับสนุนวิชาการ 1 – 12 ขาราชการและเจาหนาที่ พมจ. ภาคตะวันออก 4 จังหวัด ไดแก ชลบุรี ระยอง จนั ทบรุ ี และตราด หลักสูตร ระยะเวลา 3 วัน 24 ชั่วโมง มีวิทยากใหความรูและฝกปฏิบัติ จำนวน 1 ทาน คือ อาจารยพ ิพฒั น ตง้ั ชทู วีทรพั ย วทิ ยากรภาคเอกชน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 18 หน้า 18 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญ ป 2562 6. ประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร “การสื่อสารและการพฒั นาบคุ ลิกภาพเพ่ือความสำเร็จ” ภายใตโครงการศูนยบรกิ ารวิชาการพฒั นาสังคมและจัดสวัสดกิ ารสงั คม ประจำป พ.ศ.2562 ระหวางวันท่ี 2 – 4 กรกฎาคม พ.ศ.2562 ณ โรงแรมเมาทเทนบีช พัทยา จังหวัด ชลบุรี ขน้ั ตอนการสงมอบใหถูกตองครบถวนสมบรู ณ โดยการนำ ถอยคำ น้ำเสยี ง และกรยิ าทา ทาง การเรียง รอยใหเปนลำดับขั้นตอนการบริการ (Sequence of Service) ถอยคำที่สะทอนถึงความจริงใจ (Contact) ไดแก การทักทาย การแนะนำตัว การสรางปฏิสัมพันธ (Small Talk) ถอยคำที่สะทอนถึงความใสใจ (Care) ไดแก การสอบถามความตองการเบื้องตน การสอบถามขอมูลเพิ่มเตมิ การรับฟงอยางตัง้ ใจ การอธิบายขอมลู การปฏิเสธโดยหลีกเลี่ยงคำวา “ไม” (Never Say No) การแจงความคืบหนาขณะรอคอย การสรุปผล และ ถอยคำทส่ี ะทอนถงึ ความหวงใย (Concern) ไดแก การประเมินความเรยี บรอยและความพงึ พอใจ การขอบคุณ และสรางสัมพันธภาพที่ดี เทคนิคการสรางปฏิสัมพันธงายๆ เสริมแรงคูสนทนาดวยการทักทาย Small Talk “เปลี่ยนจากคนรูจักใหกลายมาเปนคนรูใจ” เทคนิคการสรางปฏิสัมพันธ การชื่นชมจากใจ และการสื่อสาร อยางไรใหไดใจคน การแนะนำตัว การมอบสิ่งของ การมอบนามบัตรหรือขอมูลติดตอ (Contact Point) การ เดินขั้นสูเ วที การนั่งประจำท่ี และการถายภาพในฐานะตัวแทนของหนวยงาน มารยาทการรับประทานอาหาร แบบตะวันตก (Western Sit Down Dinner) สำหรับงานพิธีการสำคัญ อาทิ การเขาสูโตะรับประทานอาหาร การใชผาเช็ดปาก (Napkin) การใชอุปกรณ มีด ชอน สอม ภาชนะ เครื่องแกว ที่อยูขางหนา “BMW” ระยะหางระหวางลำตัวกับโตะรับประทานอาหาร เทคนิคการรับประทานอาหารแบบสากล เชน การจับชอน ซุป การจับประคองถวยซุป การรับประทานขนมปง การใชมีดตักเนย รับประทานสลัดผัก การใชมีดหั่นเนื้อ การถือแกวน้ำดื่ม จังหวะการขอตัวไปทำธุระ เทคนิคการวางผาเช็ดปาก (Napkin) มารยาทบนโตะอาหาร สิ่งที่ควรทำและไมควรทำ (Do & Don’t) เทคนิคการกลาวแสดงความยินดี “ความหมาย ความดี ความ เหมาะสม” เทคนิคการกลาวตอบ “ความรูสึก คำขอบคุณ และคำมั่นสัญญา” เทคนิคการอวยพรคูสมรส “ความสัมพันธ ความดี ความเหมาะสม”การกลาวขอบคุณวิทยากร “ความรูสึก ขอบคุณ ขออภัย สิ่งท่ี ชว ยเหลอื ได คำอวยพรและใหกำลังใจ” ผูเขารวมการประชุมฯ จำนวน 70 คน ประกอบดวย ขาราชการและเจาหนาที่ พมจ. ๔ จังหวัดภาคตะวันออก ไดแก ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด ขาราชการและเจาหนาที่สำนักงานสงเสริม และสนับสนุนวิชาการ ๑ - ๑๒ ขาราชการและเจาหนาที่ภาคีเครือขาย พม. ภาคตะวันออก 4 จังหวัด ไดแก จังหวัด ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และขาราชการและเจาหนาที่ พมจ. ภาคตะวันออก 4 จังหวัด ไดแก ชลุบรี ระยอง จันทบุรี ตราด หลกั สตู ร ระยะเวลา 3 วนั จำนวน 24 ชว่ั โมง มวี ทิ ยากรใหความรแู ละฝกปฏบิ ตั ิ จำนวน 1 ทาน คอื อาจารยชลธร บญุ ศรี วทิ ยากรฝก อบรม ESB ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 19 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 19

สวนที่ 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานท่ีสำคัญ ป 2562 รูปกจิ กรรม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 20 หนา้ 20 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคญั ป 2562 7. ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร “พฒั นาศกั ยภาพทมี ภาคเี ครอื ขายพัฒนาสงั คมและจัดสวสั ดิการสังคม” ภายใตโ ครงการศนู ยบริการวชิ าการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดกิ ารสังคม ประจำป พ.ศ.2562 ระหวางวันที่ 25 – 26 กรกฎาคม พ.ศ.2562 ณ โรงแรม เคพี แกรนด จ.จันทบุรี โดยมี รอยตำรวจเอกอเุ ทน บุญทับโถม พรอ มดว ยคณะทำงาน เปน วิทยากรในการอบรม และไดร ับเกียรติจาก นางพัชรี อาระยะกลุ ผูต รวจราชการกระทรวง พม. เปน ประธานในพธิ เี ปด โดยมีกจิ กรรมดังน้ี • กจิ กรรมกลุม สมั พันธ - เรอ่ื ง “จิตอาสากับการชว ยเหลือกลุม เปาหมายของ พม.” - เร่อื ง “สัมพนั ธภาพการทำงานคน พม.กับเครอื ขา ย พม.” - เร่ือง “การมสี วนรวมในกิจกรรมทางสงั คม” - เรอ่ื ง “การรวมกลมุ ในลักษณะเครือขา ยหรือชมุ ชน” • การบรรยาย - เร่ือง “สิทธมิ นษุ ยชนทไี่ มควรมองขา ม” - เรอื่ ง “การคุม ครองและพทิ กั ษสิทธกิ ลมุ เปาหมาย พม.” • การอภปิ ราย - เรื่อง “ระบบการดูแลและจดั สวัสดกิ ารสำหรบั คนทุกชวงวัย” ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 21 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 21

สวนที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ป 2562 8. ประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาศกั ยภาพทมี เจาหนา ที่กระทรวงพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของ มนุษย (ทีมOne Home 4 จงั หวัด ภาคตะวนั ออก ไดแ ก ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรี และตราด) สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาศักยภาพ ทีมเจาหนาที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (One Home กลุมจังหวัด) เพื่อเปน การสงเสริมใหเกิดการประสานงาน การสรางทีม การแลกเปลี่ยนประสบการณทำงานระหวางเจาหนาท่ี กระทรวง พม. ในภาคตะวันออกที่ตอบสนองตอสถานการณปจจุบัน สูการขับเคลื่อนงานดานสังคมใน ปงบประมาณ พ.ศ.2562 ระหวางวันที่ 9 -10 กันยายน พ.ศ.2562 ณ โรงแรมฟฟธ จอมเทียน พัทยา จงั หวดั ชลบุรี ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 22 หนา้ 22 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานที่สำคญั ป 2562 9. ประชุมเชิงปฎบิ ัติการขับเคลอ่ื นงาน โครงการศูนยบ ริการวชิ าการพฒั นาสงั คมและจัดสวสั ดิการสังคม ประจำปงบประมาณป 2562 ระหวางวันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2561 ณ หองประชุมนพเกา อาคาร 3 สำนักงานสง เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 3 จงั หวดั ชลบรุ ี มีวัตถุประสงคเพื่อชี้แจงและจัดวางทิศทางในการดำเนินงานศูนยบริการวิชาการ พฒั นาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ใหเ ปนไปในแนวทางเดียวกันและเพือ่ ใหการทำงานเนไปตามแผน ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ กิจกรรมภายใตโครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจำปง บประมาณ 2562 1. การจัดการความรู (KM) 2. การพัฒนางานประจำสูง านวจิ ัย (R2R) 3. งานบริการทางวิชาการออกหนว ยเคลอื่ นท่ี 4. การสรางเครือขา ยและจัดทำขอ มูลเครอื ขา ย 5. Social Lab 6. ชอ งทางการเผยแพร ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 23 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 23

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานที่สำคญั ป 2562 10. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการตดิ ตามผลการดำเนินงาน โครงการศนู ยบรกิ ารวชิ าการพัฒนาสังคมและจดั สวัสดิการสังคม ประจำปงบประมาณป 2562 ระหวางวันที่ 19 – 21 มิถุนายน พ.ศ.2562 ณ โรงแรมโอทู และเทศบาลตำบล เขาพระงาม อำเภอเมืองลพบรุ ี จงั หวดั ลพบุรี มปี ระเด็นการนำเสนอ ดงั นี้ 1. เวทีแลกเปลี่ยนผลการดำเนินงานโครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและ จัดสวสั ดิการสงั คม ป 2562 ดา นการจัดการความรู (KM) 2. เวทีแลกเปลี่ยนผลการดำเนินงานโครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและ จัดสวสั ดกิ ารสงั คม ป 2562 ดา นการจดั การความรู (R2R) 3. เวทีแลกเปลี่ยนผลการดำเนินงานโครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและ จัดสวัสดกิ ารสงั คม ป 2562 ดา นการจัดการความรู (Social Lab) 4. ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรูโครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและ จัดสวสั ดิการสังคม ป 2562 5. สรุปผลการติดตามการดำเนินงานโครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและ จดั สวสั ดกิ ารสังคม ป 2562 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 24 หน้า 24 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ป 2562 11. ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการถอดบทเรยี น โครงการศนู ยบรกิ ารวิชาการพฒั นาสังคมและจดั สวสั ดิการสงั คม ประจำปง บประมาณป 2562 มีวัตถุประสงคเพื่อนำเสนอผลสำเร็จ ปญหาอุปสรรค แนวทางแกไข ความคาดหวัง ของผูมีสวนไดสวนเสีย และแนวในการพัฒนาโครงการศูนยบริการวิชาการฯ ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ระหวา งวนั ที่ 19 -21 สงิ หาคม พ.ศ.2562 ณ โรงแรมพาราไดซ อำเภอเมืองจงั หวัดอดุ รธานี มปี ระเด็นการประชมุ ดังน้ี 1. การอภิปราย “ความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียกับโครงการศูนยบริการ วชิ าการพฒั นาสงั คมและจัดสวสั ดกิ ารสังคม ป 2562” 2. แบงกลมุ - กลุมที่ 1 เรื่อง ถอดบทเรียนความสำเร็จ/ปญหาอุปสรรค/แนวทางแกไข โครงการศนู ยบริการวชิ าการพัฒนาสงั คมและจัดสวัสดกิ ารสังคม ประจำปงบประมาณ 2562 - กลุมที่ 2 เรื่อง แนงทาง/กิจกรรมการดำเนินงาน โครงการศูนยบริการ วิชาการพัฒนาสงั คมและจดั สวสั ดิการสังคม ประจำปงบประมาณ 2563 3. สรุปผลการถอดบทเรียน/ประเมินผล ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 25 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 25

สวนที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานทสี่ ำคญั ป 2562 12. โครงการศูนยบ รกิ ารวิชาการการพัฒนาสงั คมและจัดสวสั ดิดิการสังคม ประจำป 2562 12.1 วจิ ัยแนวทางการสงเสรมิ อาชพี คนพกิ ารตามกฎหมายจา งงาน (R2R) ณ ศูนยการเรียนรูคนพิการฯ อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง ประกอบดวย กลุม สถานประกอบการที่มีการจางงานคนพิการ กลุมคนพิการ/ผูดูแลคนพิการ รวมจำนวนทั้งสิน 30 คน โดยการ สัมภาษณแบบ Focus Group และแบบสอบถาม เพื่อศึกษาแนวทางการสงเสริมอาชพี คนพิการตามกฎหมาย จางงาน รวบรวม วิเคราะห พัฒนาขอมูลใหเกดิ การจางงานตามมาตรา 35 และเปนขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ใหก ับหนวยงานทเี่ กย่ี วขอ งตอไป จากผลการศึกษา พบวา ตามที่คนพิการจังหวัดระยอง มีมาตรฐานคุณภาพชีวิต ระดับต่ำ และเนื่องจากคนพิการยังไมสามารถเขาถึงระบบการดูแลสาธารณสุขอยางตอเนื่อง สงผลตอ การยอมรับและเขา มามีสวนรว มในกิจกรรมของสงั คม ซ่ึงจากการศึกษาแนวทางการสง เสริมอาชพี คนพิการเพ่ือ ทราบถึงปญหาและอุปสรรคการปฏิบัติตามกฎหมายในมาตรา 35 ของสถานประกอบการ และคนพิการ/ ผูดูแลคนพิการ การสงเสริมใหเกิดความเขาใจในการรับสิทธิตามมาตรา 35 ระหวางสถานประกอบการ หนวยงานภาครัฐและกลุมคนพิการ การปรับปรุงวิธีการทำงานรวมกันระหวางกระทรวงแรงงาน กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยและองคกรคนพิการ จึงเล็งเห็นวาผลการศึกษาคร้ังนี้จะเปน แนวทางในการสงเสริมสนับสนุนและพัฒนาคนพิการใหมีมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตอไป และสถาน ประกอบการใหมีการจา งงานคนพกิ ารเพ่ิมมากขึน้ สแกน QR CODE ขอมูลเพม่ิ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 26 หนา้ 26 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานทสี่ ำคญั ป 2562 12.2 รปู แบบความตองการ CSR ขององคก รดานพฒั นาสงั คมในจังหวดั ชลบุรี (R2R) ขอ เสนอเชิงนโยบายและเชงิ ปฏบิ ัติ ดานนโยบาย (Policy) นโยบาย/ยุทธศาสตรระดับประเทศ ระดับกระทรวง ทองถ่ิน ใหค วามสาํ คญั กับองคกรทุกภาคสว น พนื้ ที่ทกุ ภาคสว นสรางพลังทางสงั คม เพอื่ การคุมครองทางสงั คม (Social Protection) ผลักดันใหองคกรธุรกิจเพื่อสังคมการเชื่อมดานการจับคู (CSR Matching) การแกไขปญหา เชน การจางงาน เปน ตน และมมี าตรการดานภาษีทผี่ า นการพิจารณาทกุ มติ ิเพ่ือเปน แรงจูงใจในการจดั ทํา CSR ดานการมีสวนรวมเพื่อการเปลี่ยนแปลง (Change) ควรมีการสรางเครือขายรวม กลุมดาน CSR/SEมีการสรางกิจกรรมปลูกฝงการปรับทัศนคติและผลักดันใหเกิด CSR/SE เพื่อพัฒนาประเทศ ดา นความคิดความรวมมือตอการพฒั นาสงั คม พรอ มใหรางวัลแก SE หนา ใหมเพอื่ ผลกั ดันให Startup SE มาก ย่งิ ข้ึน ดา นความเชอื่ มโยงฐานขอมูล (Data Base) มศี ูนยกลางการขับเคล่ือน CSR ในระดับ จงั หวัด และจัดทาํ ฐานขอมลู (บรษิ ัท องคก รภาคประชาสงั คม กลุมเปา หมาย) ในพน้ื ท่ี เพอ่ื สนับสนุนการจัดทํา CSR Matching ดานการติดตามประเมินผล (Monitoring) การพัฒนาระบบติดตามประเมินผล การจัดทาํ CSR/SE อยางตอเนื่อง ปจจยั สคู วามสําเร็จ แนวทางสําคัญในการสรางความยั่งยืน CSR/SE เนน Matching ระหวางความตอง การของแตละพื้นที่ โดยใชแนวคิด Productive Welfare ใหผูที่ไดรับการชวยเหลือใหยืนอยูใชชีวิตอยางมี คุณคาและสามารถกลับมาเปนผูใหและควรใหความสําคัญกับการมีฐานขอมูลรูปแบบความตองการ CSR การจัดบริการตรงตามกลุม เปาหมายของหนว ยงานพม.ในจงั หวดั ชลบรุ ี เพ่อื ใหเกิด CSR Matching ทเี่ กิดความ ยง่ั ยนื และสอดรบั กบั วัตถปุ ระสงคก ารจัดทาํ CSR ขององคกร/บรษิ ทั สแกน QR CODE ขอ มูลเพิม่ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 27 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 27

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนินงานที่สำคญั ป 2562 12.3 การวิจัยแนวทางการพัฒนาเครอื ขา ย เฝา ระวังปญหาเดก็ เยาวชน ครอบครวั ณ บานพกั เด็กและครอบครวั จังหวัดจนั ทบุรี (R2R) วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.2562 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการวิจัยแนวทางการ พัฒนาเครือขายเฝาระวังปญหาเดก็ เยาวชน ครอบครัว (R2R) โดยมีเจาหนาที่ท่ีปฏิบัติงานดานเด็กของ บพด. และเครือขายเฝาระวังดานเด็ก เยาชน และครอบครัวจากเทศบาลตำบลคายเนินวง ตำบลบางกะจะ จังหวัดจันทบุรี โดยการเก็บขอมูลแบบสอบถามแนวทางการพฒั นาเครือขายเฝาระวงั ปญ หาเด็ก เยาวชน และ ครอบครัวและสัมภาษณแบบ Focus เพื่อศึกษาและวิเคราะหรูปแบบการทำงาน บพด. กับเครือขาย ปญหา อุปสรรค ปจจัยความสำเร็จ และระดมความคิดเห็นเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการทำงานระหวาง บพด. กับเครอื ขาย สแกน QR CODE ขอ มูลเพิม่ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 28 หน้า 28 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานทส่ี ำคญั ป 2562 12.4 การวิเคราะหผ ูประสบปญหาทางสงั คมทีข่ อความชวยเหลือซาํ ซอน จงั หวดั ตราด (R2R) การนาํ ผลการศึกษาไปใชประโยชน มีแนวทางการชวยเหลือผูประสบปญหาทางสังคม จัดทําเปนกระบวนการชวยเหลือ และปรับปรุงการใหบริการของหนวยงาน One Home พม.ตราด สามารถใชเปน Base Practices ใหกับ หนว ยงานอ่นื ได สแกน QR CODE ขอ มูลเพิม่ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 29 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 29

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนินงานทส่ี ำคัญ ป 2562 12.5 การถอดบทเรียนกระบวนการทํางานปจจยั ความสาํ เรจ็ ในพื้นทีป่ ฏิบตั กิ ารพฒั นาสงั คม (Social lab) และ Social Smart City ต.พลตู าหลวง อ.สตั หีบ จ.ชลบุรี (KM) ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 - สสว.3 ประชุมรวมกับทีม พม.ชลบุรี และทีม พม. 3 จังหวัดในความรับผิดชอบ เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานของศูนยบริการวิชาการฯ ในพื้นที่ จํานวน 1 ครั้ง และในรูปแบบ VDO conference จํานวน 1 ครั้ง โดยทีม พม.จังหวัดชลบุรี กําหนดการถอดบทเรียนพื้นที่ตําบลพลูตาหลวง อ.สตั หบี จ.ชลบุรี ในเชงิ ลกึ ตามกลุมเปา หมาย - สสว.3 ไดนําเสนอรูปแบบการดาํ เนนิ งานรว มกันระหวางทีม พม.ชลบรี กับ สสว.3 เชน Social lab R2R KMฯลฯ ในการประชุมประจําเดือนทีม พม.ชลบุรี เกือบทุกเดือน เพื่อขับเคล่ือนรวมกนั โดยในเดอื นสิงหาคม 2562 จะมกี ารถอดบทเรยี นรว มกนั - วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2562 ไดมีการลงพน้ื ที่จดั ประชมุ เวทปี ระชาคมรวมกบั ทีม พม. ชลบุรี อบต.พลูตาหลวงกลุม/ชมรม และภาคีในพื้นที่ เพือขับเคลื่อนการดําเนินงานใหเกิดความตอเนื่องและ สอดรับกบั ตัวชีว้ ดั Social Smart city - วันที่ 14 พฤษภาคม 2562 ผต.พม. (นางพัชรีอาระยะกุล) ลงพื้นที่ Social lab ,Social Smart city ตําบลพลตู าหลวง อ.สัตหบี จังหวัดชลบุรี - วันที่ 9 สิงหาคม 2562 กระทรวง พม. จัดกิจกรรมเมืองสรางสุข ภายใตธีมงาน “วิถีพลูตาหลวง ตําบลตนแบบสรางสุขทุกชวงวัย” ณ ศูนยเรียนรูและฝกอบรมดานผูสูงอายุ อ.บางละมุง จ.ชลบรุ ี โดยมี ปพม. เปนประธานผูเขา รว มประชุม จํานวน 600 คน - เดือนสิงหาคม 2562 ทีม พม.จังหวัดชลบุรี ลงพื้นที่ถอดบทเรียนกระบวนการ ทํางานปจจัยความสําเร็จตามตัวชี้วัด Social Smart city ใน 3 ดาน คือ ดานการพัฒนาคนทุกชวงวัย ดา นสตรีและครอบครวั ดา นการพฒั นาชมุ ชน สแกน QR CODE ขอมูลเพ่ิมเติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 30 หนา้ 30 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานที่สำคญั ป 2562 12.6 ถอดบทเรียนกระบวนการทำงานพัฒนาสตรีและครอบครัวในพืน้ ที่ชุมชนบานชากเล็ก (KM) หมู 5 ตำบล บางบตุ ร อำเภอบา นคา ย จงั หวดั ระยอง การดำเนินงานพฒั นาสตรแี ละครอบครวั ในพนื้ ทีช่ มุ ชนบา นชากเล็ก หมู 5 ตำบลบาง บุตร อำเภอบา นคา ย จังหวดั ระยอง ท่ีผานมาเปนการดำเนินงานเชงิ บูรณาการกันระหวางหนวยงาน แตย งั แยก สว นราชการดำเนินงานซง่ึ มีผลตอปจจัยความสำเร็จที่ยังไมชดั เจน ประกอบกับการสรางความรู ความตระหนัก ในการมีสวนรวมแกไขปญหา พัฒนาความเขมแข็งของชุมชนยังไมตอเนื่อง และยังไมสามารถเชื่อมโยง ความสัมพันธเชิงบวกระหวางผูนำชุมชน ผูนำทางธรรมชาติ และสมาชิกในชุมชนได การดำเนินงานในระยะ ตอ ไปในรูปแบบเชงิ รุกแบบบรู ณาการโดยใชแผนชมุ ชนบานชากเล็กเปนกรอบในการดำเนินงาน เพ่อื ใหทุกภาค สวนโดยเฉพาะอยางยิ่งประชาชนบานชากเล็กไดมีสวนรวมพัฒนาตนเอง สรางความเขมแข็งชุมชนไดอยาง ยง่ั ยนื วัตถปุ ระสงคในการพดู คยุ 1. กลุมสตรีชุมชนบานชากเล็ก : เพื่อทราบแนวคิดของกลุมสตรีในประเด็นความิด เห็นตอการเขารว มโรงการการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกบั ตนเองและครอบครัว สภาพปญหา และความตองการ ความชวยเหลือ ตลอดจนรว มกนั วางแผนพัฒนาอาชีพ 2. กลุม หนวยงานภาคีเครอื ขาย : เพือ่ ทราบกระบวนการ / วธิ ีการดำเนินงานของแต ละหนวยงาน ที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของชุมชน ตลอดจนปญหาอุปสรรค และวิธีการจัดการปญหา สแกน QR CODE ขอมูลเพิ่มเติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 31 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 31

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานท่สี ำคัญ ป 2562 12.7 ถอดบทเรยี นปจ จัยความสำเรจ็ การขบั เคล่ือน Social Lab เทศบาลตำบลคายเนินวง จงั หวดั จันทบุรี (KM) วันที่ 6 สงิ หาคม 2562 จดั ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพือ่ ถอดบทเรียนปจ จยั ความสำเร็จ การขับเคล่ือน Social Lab เทศบาลตำบลคายเนินวง จงั หวัดจันทบรุ ี (KM) ณ หอ งประชมุ เทศบาลคายเนินวง โดยมี นายสนั่น นาคแกว นายกเทศบาลตำบลคายเนินวง นายสุนทร ดีซื่อ ปลัดเทศบาลตำบลคายเนินวง ผูปฏิบัติงานดานสังคม เทศบาลตำบลคายเนินวง และทีม One Home จังหวัดจันทบุรี รวม 15 คน เขารวม ประชุม โดยมีการแบงกลุมเพื่อถอดบทเรียนผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ ปญหาอุปสรรค และปจจัย ความสำเรจ็ ในการขับเคลือ่ น Social Lab ในพน้ื ที่เทศบาลตำบลคายเนินวง จังหวัดจนั ทบรุ ี สแกน QR CODE ขอมูลเพิม่ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 32 หน้า 32 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคัญ ป 2562 12.8 กระบวนการทางสงั คมในการชว ยเหลือผูประสบปญหาความเดือดรอ น บานพกั เดก็ และครอบครวั จังหวัดตราด (KM) กระบวนการจัดการความรูในองคกรจึงมีความสำคัญกลาวคือ เปนการรวบรวมองค ความรู ที่มีอยูในองคกร ซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพ่ือใหทุกคนใน องคก รสามารถเขาถงึ ความรูและพฒั นาตนเองใหเ ปน ผรู ู รวมท้ังปฏิบัตงิ านไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ อนั จะ สงผล ใหองคกรมีความสามารถในเชิงแขงขัน ดังนั้น บานพักเด็กและครอบครัวจังหวัดตราด ซึ่งเปนหนวยงานสวน ภูมิภาคสังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย มีภารกิจให ความชว ยเหลือผูประสบปญ หาทางสังคมในเบอื้ งตน โดยใชก ระบวนการงานสังคมสงเคราะหเ พื่อคดั แยกปญหา เยียวยาและสงตอโดยนักสังคมสงเคราะห เพื่อสงเสริมใหผูใชบริการไดรับการฟนฟูสุขภาพอยางเปนระบบ ตามแผนการชวยเหลือ/บำบัด/ฟนฟู/พัฒนารายบุคคล เพิ่มความสามารถของผูใชบริการในการพึ่งพาตนเอง และสรางความมัน่ คงในการดำรงชีวิตของผูใ ชบริการใหอยูในสังคมอยางมีศักยภาพดวยการมีสุขภาพ กาย จิต และสังคม เพื่อดูแลตนเองและชวยเหลือสังคมไดอยางมีศักดิ์ศรี จึงไดจัดทำ “โครงการจัดการความรู (Knowledge Management : KM) ของบานพักเดก็ และครอบครัวจงั หวัดตราด” ขึ้น วัตถุประสงค 1. เพอ่ื แลกเปลี่ยนเรยี นรูจากประสบการณในการทำงานรวมกันเพ่ือใหเ กดิ ประสิทธิภาพ 2. เพ่ือรวบรวมแนวปฏิบัติทด่ี ีจากการแลกเปลยี่ นเรยี นรขู องบุคลากรภายในหนว ยงาน 3. เพอื่ ใหบคุ ลากรสามารถนำองคความรไู ปประยุกตใ ชในการพัฒนากระบวนการทำงาน 4. เพ่อื ใชเ ปน แนวทางในการปฏิบัติงานและสามารถทำงานแทนกนั ไดแมมิใชงานในภารกจิ หลกั ของตนเอง สแกน QR CODE ขอ มูลเพ่มิ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 33 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 33

สว นที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคญั ป 2562 12.9 พ้ืนทปี่ ฏิบตั กิ ารพฒั นาสังคม (Social lab) ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสตั หีบ จงั หวัดชลบรุ ี สสว.3 ประชุมรวมกบั ทีม พม.ชลบรุ ี และทมี พม. 3 จงั หวัดในความรบั ผดิ ชอบ เพื่อ ขบั เคล่อื นการดำเนนิ งานของศนู ยบรกิ ารวชิ าการฯ ในพน้ื ท่ี จำนวน 1 ครั้ง และในรปู แบบ VDO conference จำนวน 1 ครงั้ สสว.3 ไดนำเสนอรูปแบบการดำเนินงานรวมกันระหวางทีม พม.ชลบรี กับ สสว.3 เชน Social lab R2R Km ฯลฯ ในการประชุมประจำเดือนทีม พม.ชลบุรี เกือบทุกเดือน เพื่อขับเคลื่อน รวมกนั โดยในเดือนสิงหาคม 2562 จะมีการถอดบทเรียนรว มกนั วันท่ี 7 พฤษภาคม 2562 ไดมกี ารลงพืน้ ทีจ่ ัดประชมุ เวทีประชาคมรวมกับทีม พม. ชลบุรี องคก ารบรหารสว นตำบลพลตู าหลวง กลุม /ชมรม และภาคใี นพ้ืนที่ เพือขับเคลื่อนการดำเนินงานใหเกิด ความตอเนื่องและสอดรบั กบั ตัวช้วี ัด Social Smart city วันที่ 14 พฤษภาคม 2562 ผต.พม. (นางพัชรี อาระยะกุล) ลงพื้นที่ Social lab , Social Smart city ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวดั ชลบุรี วันท่ี 9 สิงหาคม 2562 กระทรวง พม. จัดกิจกรรมเมืองสรางสุข ภายใตธีมงาน “วิถีพลูตาหลวง ตำบลตนแบบสรางสุขทุกชวงวัย” ณ ศูนยเรียนรูและฝกอบรมดานผูส ูงอายุ อำเภอบางละมุง จงั หวดั ชลบรุ ี โดยมี ปพม. เปนประธาน ผเู ขารว มประชุม จำนวน 600 คน สรุปจุดเดนของพื้นที่พื้นที่ปฏิบัติการพัฒนาสังคม (Social lab) ตำบลพลูตาหลวง อำเภอสตั หีบ จงั หวดั ชลบุรี สแกน QR CODE ขอ มูลเพ่มิ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 34 หน้า 34 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานที่สำคญั ป 2562 12.10 โครงการตำบลตนแบบดา นสงั คม (Social Smart City) ในพื้นทอี่ งคการบรหิ ารสวนตำบลสำนกั ทอ น อำเภอบานฉาง จงั หวดั ระยอง ปจ จยั แหงความสำเรจ็ ในการขับเคลอื่ นโครงการ 1. นโยบายมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ และทิศทางการพัมนาของจังหวดั ครอบคลุม กลุมเปาหมาย ทั้งในระดับคน ครอบครัว ชุมชน และมกี ารส่อื สารนโยบาย สูพน้ื ที่ โดยมีเปา หมายของการพฒั นารวมกนั 2. มีฐานขอมูลของกลุมเปาหมายในพื้นที่ ทำใหไดทราบถึงสถานการณทางสังคมของชุมชนรวมถึงทุนทาง สังคมซ่งึ เปน ประโยชนในการวางแผนการดำเนนิ งานใหเ หมาะสมและสอดคลองกบั สภาพปญ หาของชมุ ชน 3. การมสี ว นรวมในการขบั เคลอื่ นการดำเนินงานของกลไก พม. ระดับจงั หวัด โดยสำนกั งานพฒั นาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษยจังหวัดระยองและหนวยงานทีม One Home พม.ระยองรวมกันคัดเลือกพื้นท่ี กำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงาน และมีการจัดทำแผนปฏิบัติการที่กำหนดกิจกรรมและระยะเวลา ดำเนินการิยางชัดเจน อีกทั้งมีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานอยางตอเนื่อง โดยนำเขาเปนวาระ สืบเนอ่ื งในการประชมุ ทมี One Home พม.ระยอง 4. มีการบูรณาการการดำเนินงานกับหนวยงานดานสังคมในระดับจังหวัด โดยนำเขาที่ประชุม คณะอนุกรรมการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการขับเคลื่อนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดระยองดานพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิตพิจารณาแนวทางการดำเนินงาน เพื่อพิจารณาแนวทาง ขับเคลื่อนการดำเนินงานแบบบูรณาการ เปนการขับเคลื่อน EEC ดานสังคมควบคูไปกับงาน EEC ของ จังหวัด 5. พื้นที่ดำเนินการมีทุนทางสังคมและทรัพยากรทางสังคมที่ดี โดยกลไกพื้นที่ชุมชนมีความเขมแข็งตั้งแต ระดับผูบริหารที่ใหความสำคัญกับงานพัฒนาสังคมและการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนผูปฏิบัติงาน ใหการสนับสนุนการดำเนินงานเปนอยางดี ทั้งในดานขอมูลและการประสานงาน ผูนำทองที่ ผูนำทองถิน่ ประชาชนในพื้นที่ และกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งผูสูงอายุมีความกระตือรือรนที่จะมีสวนรวมใน การพฒั นา สแกน QR CODE ขอ มูลเพม่ิ เติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 35 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 35

สวนที่ 2 สรุปผลการดำเนนิ งานทีส่ ำคัญ ป 2562 12.11 การขบั เคลื่อนพน้ื ทีป่ ฏบิ ัติการทางสังคม (Social Lab) ในพ้ืนที่ชมุ ชนตนแบบแหงความสุข (Social Smart City) เทศบาลคายเนินวง อำเภอเมอื ง จังหวดั จันทบรุ ี สรปุ ผลการจดั ประชมุ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ๒๕๖๒ ส านักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ ได ดำเนินการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการแนวทางการขับเคลื่อนการด าเนินงานชุมชนตนแบบ (Social Smart City) และพื้นที่ปฏิบัติการทางสังคม (Social Lab) เพื่อสรางชุมชนตนแบบแหงความสุขจังหวัดละ ๑ พื้นท่ี โดยจังหวัดจนั ทบุรกี ำหนดใชพ้ืนที่ เทศบาลตำบลคา ยเนนิ วง ต าบลบางกะจะ อ าเภอเมือง จังหวัดจนั ทบุรโี ดย นางรุงทิวา สุดแดน มอบหมายใหนายณัฐวุฒิ สินธาราศิริกุลชัย นักพัฒนาสังคมชำนาญการ รวมนำเสนอแนว ทางการขับเคล่ือนโครงการ รว มกบั สำนักงาน พมจ.จันทบรุ ี และนายสน่นั นาคแกว นายก ทต.คายเนนิ วง โดย สสว.๓ ไดน ำเสนอขอ มูลสถานการณทางสงั คมพน้ื ทท่ี ต.คา ยเนินวงเพื่อใชเ ปนขอมูลในการวางแผนงานโครงการ ชุมชนตนแบบแหงความสุข ผูเขารวมประกอบดวยผูนำชุมชน ผูแทนดานเด็กและเยาวชน สตรีและครอบครัว ผูสูงอายุ คนพิการ อาสาสมัครแรงงาน รพ.สต. และเจาหนาที่ทีม One Home จันทบุรีรวมทั้งสิ้น 30 คน ซงึ่ ไดรว มกันระดมความคิดเหน็ แนวทางใหค นในชมุ ชน Smart ทั้งน้ี เพ่ือเปนแนวทางในกาขับเคล่ือนโครงการ ไปสูเปาหมาย Social Smart City โดยมีหนวยงานภาคีเครือขายรวมกันทำงานแบบบูรณาการตอไป ซ่ึงประเด็นที่พื้นที่ตองการรวมผลักดันใหมีการแกไข คือ 1) ดานที่อยูอาศัยไมมั่นคง 2) ความลำบากในการ เขา ถงึ บรกิ ารดา นการบำบดั รกั ษาของคนพิการ ผสู งู อายุ และผูปว ยติดเตยี งและ 3) ดา นยาเสพตดิ สแกน QR CODE ขอมูลเพิ่มเติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 36 หน้า 36 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานท่สี ำคัญ ป 2562 12.13 ชมุ ชนตน แบบแหง ความสขุ (Social Smart City) องคการบริหารสวนตำบลประณีต อำเภอเขาสมิง จงั หวัดตราด สรปุ ผลการจดั ประชุม เมื่อวันที่ 24 เมษายน ๒๕๖๒ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ ได ดำเนินการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนงานโครงการศูนยบริการวิชาการพัฒนาสังคมและ จัดสวัสดิการสังคมประจำป ๒๕๖๒ พื้นที่จังหวัดตราด กิจกรรมที่ 1 การจัดทำประชาคมแนวทางการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานชุมชนตนแบบ (Social Smart City) เพื่อสรางชุมชนตนแบบแหงความสุขจังหวัดละ ๑ พ้นื ท่ี โดยจังหวดั ตราดกำหนดใชพ้นื ที่ องคการบริหารสว นตำบลประณีตตำบลประณีตอำเภอเขาสมงิ จังหวัด ตราด โดย นางมนิดา ลิ่มนิจสรกุล มอบหมายใหนางสาววกุล ภคสกุลกาญจน นักพัฒนาสังคมชำนาญการ รวมนำเสนอแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ รวมกับส านักงาน พมจ.ตราด และจ.ส.อ.สมบัติ เพ็ชรสมบัติ นักพัฒนาชุมชน อบต.ประณีตโดย สสว.๓ ไดนำเสนอขอมูลสถานการณทางสังคมพื้นที่ อบต.ประณีต เพื่อใช เปนขอมูลในการวางแผนงานโครงการชุมชนตนแบบแหงความสุข ผูเขารวมประกอบดวย เครือขายชมรม ผสู ูงอายุ ผูนำชุมชน ผแู ทนดา นเด็กและเยาวชน สตรแี ละครอบครัว อาสาสมคั รแรงงาน รพ.สต. และเจา หนาท่ี ทีม One Home ตราด รวมทั้งสิ้น 40 คน ซึ่งไดรวมกันระดมความคิดเห็น แนวทางใหคนในชุมชน Smart ทั้งนี้ เพื่อเปนแนวทางในการขับเคลื่อนโครงการไปสูเปาหมาย Social Smart City โดยมีหนวยงานภาคี เครือขายรวมกันทำงานแบบบูรณาการตอไป ซึ่งประเด็นที่พื้นที่ตองการรวมผลักดันใหมีการแกไข คือ 1) การเสริมพลังผูสูงอายุ 2) การดูแลคนพิการ ผูสูงอายุ และผูปวยติดเตียง 3) ความสัมพันธในครอบครัว 4) ดานยาเสพติด วัตถปุ ระสงค การสรางชุมชนตนแบบ โดยการพัฒนาสังคมเพื่อคนทุกชวงวัย เด็ก เยาวชน สตรี ครอบครัว ผูสูงอายุ คนพิการ ผูดอยโอกาส เพื่อใหไดรับสิทธิสวัสดิการ พรอมกับพัฒนารูปแบบสวัสดิการที่ เหมาะสมเพอ่ื ใหเ กิดการสรางพลังเปลยี่ นจากผูรับเปน ผใู ห หรอื การตอยอดเพ่อื สรา งนวัตกรรมทางสงั คม สแกน QR CODE ขอมูลเพิ่มเติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 37 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 37

สว นท่ี 2 สรุปผลการดำเนินงานทสี่ ำคญั ป 2562 หนวยบรกิ ารวิชาการ สสว.3 ครง้ั ที่ วนั /เดือน/ป กิจกรรมหนว ยบรกิ ารวิชาการ สถานที่ ผูเขารวม (คน) 1 13 ธ.ค. 61 ออกหนวยเคลอ่ื นทีท่ างวชิ าการ โครงการรณรงคค วาม ณ ศาลาเฉลมิ พระเกยี รติ หมทู ี่ 5 บา นชากเลก็ 44 รนุ แรงตอเด็ก สตรี และบคุ ลในครอบครวั ตำบลบางบุตร อำเภอบานคา ย จงั หวัดระยอง 2 19 ธ.ค. 61 ออกหนว ยเคลื่อนที่บริการประชาชน จดั บธู ลดความรุนแรง ณ โรงเรยี นบานคลองมือไทร ตำบลธาตทุ อง 125 ในครอบครวั เลม เกมตอบคำถามรบั ของรางวัล โครงการ อำเภอบอ ทอง จงั หวดั ชลบุรี หนว ยบำบดั ทกุ ข บำรงุ สขุ สรา งรอยยมิ้ ใหประชาชน 3 21 ธ.ค. 61 ออกหนว ยเคลอ่ื นท่ีวิชาการ กิจกรรมเกมสทายปญ หา ณ หอประชุมสวนสาธารณะเฉลิมพระเกยี รติ 155 ตอจกิ๊ ซอ ใหข องรางวัล กจิ กรรม“การเผยแพรง านวิชาการ เทศบาลเมอื งพนัสนิคม อำเภอพนสั นิคม ดานคนพิการ” จังหวดั ชลบุรี 4 16 ม.ค. 62 ออกหนว ยเคลื่อนทบ่ี รกิ ารประชาชน จดั บธู ลดความรุนแรง ณ วัดหนองจบั เตา หมูท่ี 5 ตำบลจอมเทยี น 52 ในครอบครัว เลม เกมตอบคำถามรบั ของรางวลั โครงการ อำเภอสตั หบี จังหวดั ชลบรุ ี หนวยบำบดั ทกุ ข บำรงุ สุข สรา งรอยยิ้มใหป ระชาชน 5 20 ก.พ. 62 ออกหนวยเคลอื่ นที่บริการประชาชน จดั บูธลดความรุนแรง ณ โรงเรียนวัดพันเสด็จใน หมูท่ี 4 ตำบลบอวิน 60 ในครอบครัว เลม เกมตอบคำถามรบั ของรางวลั โครงการ อำเภอศรรี าชา จังหวดั ชลบรุ ี หนว ยบำบัดทกุ ข บำรุงสขุ สรางรอยย้มิ ใหประชาชน 6 1 ม.ี ค.62 ออกหนว ยเคลื่อนทีว่ ิชาการ กิจกรรมเกมสท ายปญ หา ณ ศนู ยเ รียนรแู ละฝก อบรมดา นผสู งู อายุ 77 ตอ จก๊ิ ซอ ใหข องรางวัล จดั บูธลดความรนุ แรงในครอบครัว อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบรุ ี โครงการเมืองสรา งสุข “Happy Friday พม.สรางสุข” 7 20 ม.ี ค. 62 ออกหนว ยเคลื่อนทบ่ี ริการประชาชน จัดบูธลดความรนุ แรง ณ วัดทายดอน ตำบลเหมือง อำเภอเมอื งชลบรุ ี 89 ในครอบครวั เลม เกมตอบคำถามรบั ของรางวลั โครงการ จงั หวดั ชลบรุ ี หนว ยบำบดั ทุกข บำรุงสขุ สรางรอยยิ้มใหประชาชน 8 19 เม.ษ. 62 ออกหนวยเคลือ่ นทว่ี ิชาการ กจิ กรรมเกมสท ายปญ หา ณ เมอื งสรางสขุ (บริเวณศนู ยส ปอรตคอม 22 ตอจิ๊กซอ ใหของรางวลั จัดบูธสรา งสุขสงู วัย ใสใ จไรค วาม แพลก็ ซ) อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบุรี รุนแรง โครงการเมอื งสรา งสุข “Happy Social City” ภายใตหวั ขอ “มหาสงกรานต สานความสุข ทุกชว งวยั ” 9 10 พ.ค. 62 ออกหนว ยเคลื่อนทบี่ รกิ ารประชาชน จดั บธู ลดความรนุ แรง ณ ศูนยการเรียนรแู ละฝกอบรมดา นผูสงู อายุ 6 ในครอบครัว เลม เกมตอบคำถามรบั ของรางวัล และจัดบธู อำเภอบางละมงุ จงั หวัดชลบรุ ี สรา งสุขสูงวัย ใสใจไรค วามรุนแรง โครงการเมืองสรางสขุ “Happiness Social City” หวั ขอ “ สรางอาชีพ สรา งรายได สเู มอื งสรางสขุ ” 10 15 พ.ค. 62 ออกหนว ยเคลือ่ นทบ่ี ริการประชาชน จดั บูธลดความรนุ แรง ณ วัดกุฎโงง ตำบลกุฎโงง อำเภอพนัสนคิ ม 67 ในครอบครัว เลม เกมตอบคำถามรบั ของรางวัล โครงการ จังหวัดชลบรุ ี หนว ยบำบัดทุกข บำรุงสขุ สรา งรอยยิ้มใหป ระชาชน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 38 หนา้ 38 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรุปผลการดำเนินงานทส่ี ำคัญ ป 2562 ครง้ั ท่ี วนั /เดือน/ป กจิ กรรมหนวยบรกิ ารวิชาการ สถานที่ ผูเขา รวม (คน) 11 19 ก.ค. 62 ออกหนวยเคล่อื นทบ่ี ริการวิชาการ จัดบูธนิทรรศการดา น ณ ศูนยการเรยี นรแู ละฝก อบรมดานผสู ูงอายุ 58 ผสู ูงอายุ แจกหนังสือวจิ ยั ดา นผสู งู อายุ รวมกจิ กรรมแจกของ อำเภอบางละมงุ จังหวัดชลบุรี 79 รางวัล 600 12 22 ก.ค. 62 ออกหนว ยเคล่อื นท่บี ริการประชาชน จัดบูธสสว.3 ณ วัดประชุมคงคา ตำบลบางละมงุ 60 รวมกิจกรรมตอบคำตอบแลกของรางวัล โครงการบำบดั ทุกข อำเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบุรี บำรงุ สุข สรา งรอยยม้ิ ใหประชาชน 13 9 ส.ค. 62 ออกหนว ยเคลอื่ นทบ่ี ริการวิชาการ จดั บูธนทิ รรศการชมุ ชน ณ ศูนยก ารเรยี นรแู ละฝก อบรมดานผสู ูงอายุ ตนแบบแหง ความสขุ ต.พลตู าหลวง จ.ชลบุรี อำเภอบางละมงุ จงั หวัดชลบุรี กิจกรรมจดุ เดน ตามกลุม เปา หมายและท่ีอยูอาศยั ท่ีดำเนนิ งานรว มกับทมี พม. 14 15 ก.ย. 62 ออกหนว ยเคล่ือนทบ่ี ริการประชาชน จดั บธู นทิ รรศการ ณ วัดบางหกั ตำบลเกาะลอย อำเภอพานทอง ผสู ูงอายุ เลมเกมตอบคำถามรบั ของรางวัล โครงการหนว ย จงั หวัดชลบรุ ี บำบัดทุกข บำรุงสขุ สรา งรอยยม้ิ ใหป ระชาชน ขอมลู เพิ่มเติม สแกน QR CODE ขอ มูลเพิ่มเติม ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 39 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หน้า 39

สว นที่ 2 สรปุ ผลการดำเนินงานท่ีสำคัญ ป 2562 13. โครงการฝกอบรมแนวทางการคัดแยกเพ่ือชวยเหลือและคุมครองผเู สียหายจากการคามนษุ ย ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการเพิ่มศกั ยภาพในการคัดแยกเพ่ือชวยเหลือและคุมครองผูเสียหายจากการคา มนุษย รุน ที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพในการคัดแยกเพื่อชวยเหลือและคุมครองผูเสียหายจากการคา มนุษย รนุ ท่ี 1 ระหวางวนั ท่ี 11 - 12 ธนั วาคม 2561 ณ หองประชมุ นพเกา อาคาร 3 สำนกั งานสง เสรมิ และ สนับสนุนวชิ าการ 3 จังหวัดชลบุรี ผูเขารวมประชุมฯ จำนวน ๖0 คน ประกอบดวย ขาราชการและเจาหนาที่หนวยงานในสังกัด พม. หนว ยงานภาครัฐท่เี ก่ียวขอ ง หนวยงานภาคเอกชน ในพนื้ ท่ี 4 จังหวัด ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบุรี และตราด เนื้อหาหลักสูตรการอบรม หัวขอท่ี ๑ การบรรยายความหมายการคา มนุษย และความผดิ ฐานคามนษุ ย หัวขอ ที่ ๒ การบรรยายการคัดแยกผูเสียหายจากการคา มนุษย เทคนคิ และวิธีการสัมภาษณ ผูเสียหายและฝก ปฏิบตั ิ หวั ขอที่ ๓ การบรรยายบทบาทสหวชิ าชีพในการชวยเหลือคุมครองผเู สียหายจากการคา มนษุ ย หวั ขอ ท่ี ๔ การบรรยาย พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการคา มนษุ ย (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2560 หัวขอที่ ๕ การบรรยาย วิธีการคัดแยกผูเสียหายเมื่อลงตรวจ / บทบาททีมสหวิชาชีพเมื่อลง ตรวจสถานบันเทิงสถานแปรรูปสัตวน้ำ เรือประมง การชวยเหลือสงตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อชวยเหลือ คุมครองผเู สยี หายฯ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 40 หน้า 40 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานท่ีสำคญั ป 2562 ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารเพ่ิมศักยภาพในการคัดแยกเพ่ือชวยเหลือและคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษย รนุ ท่ี 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพในการคัดแยกเพื่อชวยเหลือและคุมครองผูเสียหายจากการคา มนุษย รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 11 – 1๓ มิถุนายน 256๒ ณ โรงแรมสตาร คอนเวนชั่น อำเภอเมือง จังหวัด ระยอง ผเู ขารวมประชุมฯ จำนวน ๑0๑ คน ประกอบดวย ขา ราชการและเจา หนาท่ีหนวยงานในสังกัด พม. ผแู ทนหนวยงานภาครัฐ และภาคีเครือขา ยในพน้ื ทจ่ี ังหวัดภาคตะวันออก คอื จังหวัดชลบรุ ี จังหวัดระยอง จงั หวดั จันทบรุ ี และจังหวดั ตราด เนอื้ หาหลักสตู รการอบรม  วันท่ี ๑๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ บรรยายเร่อื ง นโยบายในการปองกันและแกไ ขปญหาการคามนษุ ย และกฎหมายคา มนุษย บรรยาย “พ.ร.บ.ปอ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย พ.ศ.๒๕๕๑ และทแ่ี กไขเพ่มิ เตมิ ” บรรยาย “กฎหมายทเี่ กีย่ วของกบั การคา มนษุ ย” โดย นายประคอง ดุลคนจิ รองอัยการจงั หวัด สำนักงานอัยการจังหวดั สมุทรปราการ  วนั ท่ี ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ บรรยายเรื่อง การตรวจแรงงานภาคประมง และเทคนคิ และวธิ กี ารสัมภาษณเบือ้ งตนสำหรบั คัดแยกผเู สยี หายจากการคา มนุษย” โดย เรือเอกประเสรฐิ สุวรรณโคตร หวั หนา สำนักงานศนู ยควบคุมการแจงเรอื เขา ออกจงั หวัดระยอง  วนั ท่ี ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ บรรยายเรือ่ ง แนวทางการปฏบิ ตั งิ านรวมกันของทีมสหวิชาชีพในดา นการคดั แยกผูเ สยี หายจากการคา มนุษย โดย นางดารารัตน แกว สลับสี พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ งั หวัดระยอง ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 41 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 41

สวนที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานทส่ี ำคัญ ป 2562 14. โครงการวดั อุณหภมู ิทางสงั คม พม.POLL “ความรุนแรงในสงั คมไทย ลดลงไดดวย (ใคร?) คุณ” วตั ถปุ ระสงค เพ่ือสำรวจความคิดเหน็ ของประชาชนเกีย่ วกับประเด็นทางสังคมและคาคการณส ถานการณทางสงั คม กลุมเปาหมาย ประชาชนทั่วไปทม่ี ีอายตุ ้ังแต ๑๕ ปข้ึนไป จำนวน ๔๐๐ ตัวอยา ง รายละเอยี ด พม. POLL ศูนยสำรวจความคิดเห็นทางสังคม โดยสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย รวมกับศูนยสำรวจความคิดเห็น “นิดาโพล” สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) เปดเผยผลสำรวจ เรื่อง “ความรุนแรงในสังคมไทย ลดลงไดดวย (ใคร?) คุณ” ทำการสำรวจระหวางเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 จากประชาชนที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป ใน เขตพนื้ ท่ีจังหวัดระยองและจนั ทบุรี ใชระเบยี บวิธวี ิจัยเชงิ สำรวจ (Survey Research) โดยใชว ธิ ีการสมุ ตวั อยาง แบบแบงกลุม (Cluster Sampling) รวมขนาดตัวอยางทั้งสิ้น จำนวน 400 หนวยตัวอยาง เก็บรวบรวมขอมูล ดว ยวิธีการลงพืน้ ทภ่ี าคสนาม กำหนดคาความเช่อื มน่ั รอยละ 95.0 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 42 หนา้ 42 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓

สวนที่ 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานทส่ี ำคัญ ป 2562 “สรา งสขุ ผูสูงวัย ใสใ จไรความรุนแรง” วตั ถุประสงค เพื่อนำผลการสำรวจมาคาคการณแนวโนมสถานการณทางสังคม และเปนขอมูลใหหนวยงานท่ี เกี่ยวของใชในการวางแผนการปฏิบัติงานและกำหนดทิศทางการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการ เพื่อเสริมสราง คณุ ภาพชวี ติ ผสู ูงอายุและปอ งกันความรนุ แรงในผูส ูงอายุ กลุมเปาหมาย ประชาชนทว่ั ไปท่ีมีอายตุ ้ังแต ๑๘ ปข้ึนไป จำนวน ๔๐๐ ตัวอยา ง รายละเอียด พม.POLL ศูนยสำรวจความคิดเห็นทางสังคม โดยสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย รวมกับศูนยสำรวจความคิดเห็น “นิดาโพล” สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) เปดเผยผลสำรวจ เรื่อง “สรางสุขผูสูงวัย ใสใจไรความรุนแรง” ทำการ สำรวจระหวางวันที่ 12-22 กุมภาพันธ 2562 จาก ประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 18 ปขึ้นไป ในเขตพื้นท่ี รบั ผดิ ชอบของสำนักงานสงเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 3 ในพื้นที่จังหวัดระยอง และจังหวัดตราด ใชระเบียบวิธี วิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใชวิธีการสุม ตัวอยางแบบแบงกลุม (Cluster Sampling) รวมขนาด หนวยตัวอยางทั้งสิ้น จำนวน 400 หนวยเก็บรวบรวม ขอมลู ดว ยวิธลี งพ้ืนท่ีภาคสนาม กำหนดคาความเชื่อม่ันที่ รอยละ 95.00 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 43 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓ หนา้ 43

สว นท่ี 2 สรปุ ผลการดำเนนิ งานที่สำคัญ ป 2562 “สงั คมไทย รว มใจ สรางจิตสาธารณะ” วัตถปุ ระสงค เพ่ือศกึ ษาความเขา ใจ ความคิดเห็น และแนวทางในการสงเสริมการสรางจิตสาธารณะ เพื่อนำขอมูลที่ ไดไ ปเปน แนวทาง ในการจดั ทำนโยบายการดำเนินงานตอไป กลุมเปา หมาย ประชาชนทว่ั ไปที่มีอายตุ ้ังแต ๑๕ ปขน้ึ ไป จำนวน ๔๐๐ ตัวอยาง รายละเอยี ด พม.POLL ศูนยสำรวจความคิดเห็นทางสังคม โดย สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย รวมกับศูนยสำรวจความคิดเห็น “นิดาโพล” สถาบัน บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร (นิดา) เปด เผยผลสำรวจเร่ือง “สงั คมไทย รว มใจ สรางจิตสาธารณะ” ทำการสำรวจ ระหวางวันที่ ๑๓ – ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ จากประชาชนทั่วไปที่มีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิง สำรวจ (Survey Research) โดยใชวิธี การสุมตัวอยางแบบแบงกลุม (Cluster Sampling) รวมขนาดหนวย ตัวอยางทั้งสิ้น จำนวน ๔๐๐ หนวยตัวอยาง เก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีลงพื้นที่ภาคสนาม กำหนดคาความ เชอ่ื มนั่ ทร่ี อ ยละ ๙๕.๐ ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 2 ส ำ นั ก ง า น ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร 3 หนา 44 หน้า 44 ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ปี ๒ ๕ ๖ ๒ สํ า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook