Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเก็บข้อมูลครัวเรือนเปราะบางสมบ

คู่มือการเก็บข้อมูลครัวเรือนเปราะบางสมบ

Published by สสว.2 ชลบุรี, 2021-11-24 10:11:16

Description: คู่มือการเก็บข้อมูลครัวเรือนเปราะบางสมบ

Search

Read the Text Version

ก คำนำ คู่มือปฏิบัติงานฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานตามโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน มีรายละเอียดของกระบวนงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการลงพื้นที่ เกบ็ ข้อมลู ครัวเรอื นเปราะบาง โดย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 2 (สสว.2) ได้จัดทำสมุดพกครอบครัว (ฉบับย่อ) ขึ้นเพื่อใช้ในการลงเกบ็ ข้อมูลเบ้ืองต้นทีจ่ ำเป็น และประหยัดงบประมาณ ซึ่งใช้ Google forms ควบคู่ กนั เพือ่ เก็บขอ้ มลู ทจ่ี ำเป็น เชน่ ละติจดู ลองจิจดู บา้ นเลขที่ และรปู ถ่ายผู้ประสบปัญหาทางสงั คม และใช้ Google sheets เพื่อกรอกรายละเอียดของผู้ประสบปัญหาทางสังคม วิเคราะห์ รวบรวม และสรุปข้อมูลที่รวดเร็ว และ สามารถดขู ้อมลู ไดท้ นั ที สำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 2 (สสว.2) หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ คู่มอื ฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชน์ในการ ดำเนินงาน กับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ตามโครงการบูรณาการ เพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวติ กลมุ่ เปราะบางรายครัวเรือน ต่อไป คณะผูจ้ ดั ทำ สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 2 พฤษภาคม 2564

ข สารบญั คำนำ หน้า สารบญั ก บทนำ ข-ค - ความเปน็ มาของโครงการฯ ง-จ 1. ขั้นตอนและวิธีการประสานงานเพื่อเตรียมการลงพื้นที่ โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น 1 1 1. พมจ. จัดทำข้อมลู ครวั เรือนเปราะบางจากขอ้ มลู 2 ฐาน 1 - TPMAP Logbook 2 - บรกิ ารของกระทรวง พม. (เงินชว่ ยเหลอื และเงินสงเคราะห์ต่างๆ) 3 4-6 2. คดั กรองรายชื่อแยกตามหมู่ และทีม่ าของแหลง่ ขอ้ มลู 3. การประชุมชแ้ี จงโครงการและคดั กรองข้อมลู ร่วมกบั อปท. 4. การซักซอ้ มบุคลากรและเตรียมเอกสาร 2. ขั้นตอนการสร้างระบบ Google forms สร้าง Google sheet รูปแบบตารางในการทำระบบ 7 บนั ทึกขอ้ มูลออนไลนก์ ลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น 7 8 - สร้าง Google Forms ผ่านทาง Google Drive 9 - การสรา้ งแบบฟอร์ม 10 กรณีท่ี 1 การสรา้ งคำถาม เพ่อื เกบ็ ข้อมลู ประกอบสมดุ พกครอบครวั ฯ ฉบบั เตม็ 10 11-12 - วธิ กี ารสรา้ งคำถาม 13 - วธิ กี ารแชร์แบบฟอร์ม 13 - วิธีการสร้าง Google sheet จากแบบฟอรม์ ทเี่ ราสรา้ งคำถาม 14 - การแชร์ขอ้ มลู ลิงกร์ ูปภาพในตารางใหส้ ามารถเข้าถงึ และดรู ูปถาพได้ กรณีที่ 2 ใช้สมุดพกครอบครัวฉบบั ยอ่ ลงเก็บข้อมลู - สรา้ งคำถามแบบฟอรม์ เกบ็ ขอ้ มลู เพอื่ นำมาเปน็ ฐานขอ้ มลู วิเคราะหป์ ระมวลผล - วธิ กี ารเปิดแชร์ลงิ ก์ Google sheet จากแบบฟอร์มที่สร้างคำถาม

ค สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 3. การบันทึกข้อมูลการลงพื้นที่เก็บข้อมูลครัวเรือนโครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต กลมุ่ เปราะบางรายครัวเรอื น - สิ่งทีเ่ จา้ หนา้ ทีต่ ้องมี และการแนะนำการใช้งานแอปพลเิ คชันท่ีใช้ในการปกั มดุ ละตจิ ดู ลองจจิ ดู 15-18 ท้ัง 2 ระบบ (android,ios) เมอ่ื อยู่ ณ พน้ื ท่ี - ตัวอย่าง การบันทกึ รปู ภาพเคส ภายนอกบา้ น ภายในบา้ น 19 - การบันทกึ ขอ้ มลู ลงใน Google forms ทสี่ ร้างไว้ ขณะลงพน้ื ท่ี 20 - การเรยี กใช้แบบฟอร์มผา่ น Line OA สำหรับหนว่ ยงานทม่ี ี LINE OA 21 - ตวั อย่างการลงข้อมลู ผา่ นระบบ Google Sheet และการตรวจสอบข้อมลู 22-23 4. การประมวลผลข้อมูลครวั เรอื นเปราะบาง - วิธกี ารการคดั กรองข้อมูลกลมุ่ ครัวเรอื นเปราะบางตามระดบั การชว่ ยเหลือ 3 ระดบั 24-28 - ตัวอย่างการขับเคล่อื นของ สสว.2 โดยการสรปุ การกรองขอ้ มูลเป็นตวั เลข 29-30 5. Model กระบวนการทำงาน 31 คณะผ้จู ดั ทำ ฉ

ง โครงการบรู ณาการเพอื่ พฒั นาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน หลักการและเหตุผล ประเทศไทยมียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน โดยมวี สิ ยั ทศั น์ “ประเทศไทยมีความมนั่ คง มั่งค่ัง ยั่งยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งครอบคลุม 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ โดยยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับกระทรวง พม. ครอบคลุมในยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ รวมถึง ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ซ่ึงทผี่ า่ นมา รฐั บาลและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องได้มีมาตรการและการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมลำ้ อย่าง ต่อเนื่อง อาทิ การจัดตั้งศูนย์อํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืน ตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 347/2563 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2563 เพื่อเป็นการขจดั ความ ยากจน ลดความเหลื่อมล้ำของประชาชนในประเทศ รวมทั้ง การพัฒนาคนทุกช่วงวัย ส่งผลให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข ได้รับผลประโยชนจ์ ากการพฒั นามากข้ึน ประกอบกบั ในปัจจุบัน สถานการณ์ปัญหาสังคมที่มีความซับซ้อนมากข้ึน รวมทั้งวิกฤตเศรษฐกิจ ปัญหาการเข้าถึงบริการ ภาครัฐ และสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิค 19 ซึ่งทวีความรุนแรง ส่งผลกระทบต่อคนทุกช่วงวัยทุกกลุ่มอาชีพ โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง อาทิ ครอบครวั ยากจนท่ีมเี ดก็ เลก็ ครอบครวั แมเ่ ลย้ี งเดย่ี ว ผู้สูงอายุ คนพิการ ผปู้ ว่ ยติดเตียง ผทู้ ีอ่ ยใู่ นภาวะยากลาํ บาก โดยข้อมูลจากสำนกั งานสถิติแหง่ ชาติ พบว่า ปี พ.ศ. 2562 ครวั เรือนทม่ี คี วามยากจนท่ัวประเทศ 1,305,000 ครัวเรอื น (สำนักงานสถิติ แหง่ ชาติ ขอ้ มลู ณ มกราคม พ.ศ. 2564) ข้อมูลสถิตคิ รวั เรอื นเปราะบางของสำนักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จากระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai people Map and Analysis Platform : TPMAP) พบว่า มีคนเปราะบางจำนวน 10,754,205 คน อยู่ในครัวเรือนเปราะบาง จำนวน 4,104,450 ครัวเรือน (สถิติครัวเรอื นเปราะบางจากระบบ TPMAP ข้อมูล ณ มกราคม 2564) ดังนั้น จากข้อมูลและ สถานการณ์ดังกลา่ ว ทำใหม้ ีความจาํ เป็นทีต่ ้องมกี ารขบั เคลอื่ นเพอ่ื แก้ไขปญั หาความยากจน และพัฒนาคุณภาพชีวิต ของคนทกุ ชว่ งวัยอย่างบูรณาการและต่อเนอ่ื ง เพ่ือแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเป็นองคร์ วม และครอบคลมุ ในทุกมิติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งมีพันธกิจในการพัฒนาคนและสังคม ให้มคี ุณภาพ เต็มศักยภาพ มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง สร้างเสริมเครือข่ายจากทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วม พัฒนาสังคม จัดระบบสวัสดิการท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทของประเทศไทย เพ่อื ให้ประชาชนมีหลกั ประกนั และมีความมน่ั คง ในชีวติ โดย ให้ความสำคัญกบั กลุ่มประชาชนผู้ไดร้ บั ผลกระทบทีอ่ ยอู่ าศัยในพ้ืนทภี่ ูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศได้เล็งเห็น ความสำคัญ ของการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ประชาชนกลมุ่ เปราะบางให้สามารถดำรงชีวติ ได้ดว้ ยตนเองอย่างย่งั ยืน จึงจัดทำ “โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน” ขึ้น โดยเน้นการ ดำเนินการแบบบูรณาการ กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนที่เกี่ยวข้องในระดับ จังหวดั อำเภอ ตำบล และภาคี ครอื ข่ายในพ้ืนที่ เพื่อใหค้ วามชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปราะบาง ลดความเหลอ่ื มล้ำและพัฒนา คนทกุ ชว่ งวัย ตามหลักปรชั ญา ของเมารถดำรงชีวิต และสามารถพง่ึ พาตนเองได้ โดยไมท่ ิ้งใครไว้ขา้ งหลงั ตอ่ ไป

จ การลงนาม 1 กลไกการทางาน รปู แบบ รปู แบบ

1 ขัน้ ตอนและวธิ ีการประสานงานเพอ่ื เตรยี มการลงพ้ืนที่ โครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกลมุ่ เปราะบางรายครัวเรอื น 1. พมจ. จัดทำข้อมูลครัวเรือนเปราะบางจากข้อมูล 2 ฐาน ดงั นี้ TPMAP Logbook Info ภาพรวมขอ้ มูลจาก TPMAP

2 บรกิ ารของกระทรวง พม. (เงินชว่ ยเหลือและเงนิ สงเคราะต่างๆ) 2. คดั กรองรายชอ่ื แยกตามหม่แู ละที่มาของแหล่งข้อมลู เช่น - ข้อมลู จาก TPMAP (ด้านสุขภาพ รายได้ ความเปน็ อยู่) - จากเงินสงเคราะห์ประเภทต่างๆ (รายได้น้อยไรท้ ่ีพึ่ง เงินอุดหนุนเดก็ แรกเกิด) เป็นตน้ รวมข้อมูลรายชือ่ จากTPMAP และบรกิ าร พม.

3 3. การประชุมช้แี จงโครงการและคดั กรองข้อมูลรว่ มกับ อปท. - เขา้ พบผูน้ ำท้องถิน่ ช้แี จงท่ีมาและแนวทางการปฏบิ ัตขิ องโครงการฯ - นำเสนอข้อมลู ครัวเรอื นเปราะบางในเขตรับผดิ ชอบ (TPMAP + บริการ พม.) - หาผู้ประสานงานหลักเพื่อส่งข้อมูลให้ทางอปท.จัดกลุ่มแยกตามรายหมู่ และรายชื่อผู้นำท้องถ่ิน ในการนำพาเข้าพบครัวเรือนเปราะบาง - จัดประชุมคณะทำงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็ ระดับตำบลเพ่ือคัดกรองครวั เรอื นทไ่ี ม่เขา้ เกณฑ์

4 ** อปท.จะดำเนินการคัดกรองครัวเรือนที่ไม่เข้าเกณฑ์ครัวเรือนเปราะบางและอาจจะมีครัวเรือนที่เพิ่มเติม จาก อปท. ให้นำมารวมในหม่นู ้ันเพอ่ื ลงเย่ยี มสอบข้อเทจ็ จรงิ ดงั น้ี จำนวนครวั เรอื นที่ต้องลงสำรวจข้อเท็จจริงของ อบต.บุญมี 4. การซักซ้อมบุคลากรและเตรียมเอกสาร - ขอ้ มูลรายชอื่ ครวั เรือนเปราะบางตามหมู่ที่ อปท.คัดเลือก และจัดทำแผนการลงพน้ื ที่ - สมดุ พกครอบครวั ฉบับย่อ โดย สสว.2 จัดทำขึน้ เพอ่ื การประเมินครวั เรือนและนำมาวเิ คราะหข์ ้อมลู จัดระดบั ครัวเรือนเปราะบาง การลงพื้นท่ีเยยี่ มบ้านครวั เรือนเปราะบาง ณ องค์การบริหารสว่ นตำบลทา่ บญุ มี อ.เกาะจันทร์ จงั หวัดชลบุรี วันองั คารท่ี 20 เมษายน พ.ศ.2564

5 รายชอื่ ประกอบการลงพน้ื ท่ี แผนการลงพืน้ ที่ อบต.ท่าบุญมี วนั ท่ี 7 เม.ย.64 แผนการลงพืน้ ท่ี อบต.ท่าบุญมี วนั ท่ี 9 เม.ย.64 xxxx xxxx xxxx xxxx xxxx รายชอื่ จนท. , จำนวนครวั เรอื น , ผปู้ ระสานทอ้ งถน่ิ / ท้องที่

6 สมดุ พกครอบครวั ฉบับยอ่

7 ข้ันตอนการสรา้ งระบบ google forms สรา้ ง google sheet รูปแบบตารางในการทำระบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ออนไลน์ กล่มุ เปราะบางรายครัวเรอื น หลงั จากลงชอ่ื เข้าใช้ บญั ชี Gmail แล้ว 1. เขา้ ไปสร้าง Google Form ผา่ นทาง Google Drive ดังรปู 2. การสร้าง Form ใหม่ 1.คลกิ คำวา่ \"ใหม่\" --> 2.ไปที่ \"เพิ่มเติม\" 3. เลอื ก \"Google ฟอร์ม\" --> 4. เลอื ก \"แบบฟอรม์ เปล่า\"

8 3. การสร้างแบบฟอร์มคำถาม ท่แี นะนำมี อยู่ 2 กรณี คอื - ใชส้ มุดพกครอบครัวฯ ฉบับเตม็ ลงเก็บข้อมูล (เนน้ เกบ็ คลงั ข้อมูลรูปภาพ/ละติจูด ลองจิจูด ในระบบสารสนเทศเท่าน้ัน) ข้อดี มีการกรอกข้อมูลจบในเล่มเดียว แต่ยังมีระบบช่วยเก็บรูปและตรวจสอบรายชอื่ ที่ตรงกัน - ใช้สมุดพกครอบครัวฯ ฉบับย่อ ลงเก็บข้อมูล (เน้นเก็บข้อมูลรายละเอียดสภาพปัญหา ประเด็นต่างๆ ข้อมูล รูปภาพ/ละติจูด ลองจิจูด ลงในระบบสารสนเทศ) ข้อดี มีระบบสารสนเทศที่ง่ายต่อการ วเิ คราะห์ประมวลผล และตรวจสอบขอ้ มลู ได้ทันทหี ลังจากลงพื้นท่ี แต่มีข้ันตอนการกรอกขอ้ มูลที่เพิ่มข้นึ 3.1 ตัวอยา่ งกรณีท่ี 1 การสร้างคำถาม เพอื่ เก็บข้อมูลประกอบสมดุ พกครอบครัวฯ ฉบบั เตม็ ให้ทำแบบฟอร์ม ในการรวบรวมข้อมูลกลุม่ ครัวเรือนเปราะบาง โดยกำหนดคำถามเชน่ ชื่อ-สกลุ ของผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คมหรอื ผู้ให้ขอ้ มลู บา้ นเลขท่ี หมู่ที่ ละตจิ ูด ลองจจิ ดู รูปภาพผู้ประสบปัญหา ทางสังคมหรือ ผู้ให้ข้อมูล รูปภาพภายนอกบ้าน รูปภาพภายในบ้าน ดังตัวอย่างการสร้างดังรูป แนะนำให้ใชต้ อนลงพน้ื ทโี่ ดยทนั ทเี ม่ือถึงบ้านเคสท่ีลงเย่ียม (การสร้างแบบฟอร์มควรเลอื กประเภท คำถามแบบเลอื กจำเปน็ ตอ้ งกรอกขอ้ มลู เกือบทั้งหมด ยกเวน้ เป็นครัวเรอื นพบใหม่) ลิงกต์ วั อย่าง กรณที ่ี 1 การสร้างคำถามแบบใช้สมดุ พกครอบครัวฯ ฉบบั เตม็ ลงเกบ็ ข้อมลู คลกิ ทนี่ ่ี https://forms.gle/JFMqwMvx8MjaUEWq7

9 3.1.1 การสร้างคำถาม แบบคำตอบสนั้ หรอื ยาวก็ได้ ดังรูป 3.1.2 การสร้างคำถามใหส้ ามารถอัปโหลดรูปภาพได้ ดังรปู เพ่ือใหเ้ กิดการสรา้ งลิงกด์ ูรูปภาพได้ อัตโนมตั ิ(แนะนำให้ทำคำถามละ 1 รปู ท่เี ดน่ ก็เพียงพอแล้ว เพอ่ื ไมใ่ ห้การสร้างลิงกร์ ูปที่ยาวเกินไป) ไปที่ เพม่ิ คำถาม -->กำหนดชือ่ คำถาม -->อปั โหลดไฟล์ -->อนญุ าตไฟลบ์ างประเภทเทา่ นนั้ -->เลือกรูปภาพ -->จำนวนไฟล์สูงสุด 1 -->ขนาดไฟลส์ งู สดุ 10 MB ดำเนนิ การตรวจสอบข้อมลู คำถามใหเ้ รยี บร้อยแล้วและทำการแชรแ์ บบฟอรม์ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีบันทึกข้อมูล ดำเนินการทดลองกรอกข้อมลู พร้อมอปั โหลดรูปภาพให้เกดิ การแชร์รปู ภาพ เพื่อให้ผบู้ ันทกึ ดูข้อมลู หลงั ลงขอ้ มลู เสรจ็

10 วธิ ีการแชร์แบบฟอร์ม 1.ไปท่ีสง่ แบบฟอร์ม -->2.ลงิ ก์ -->3.ตัด URL ใหส้ ัน้ ลง ดังรูป วธิ ีการสรา้ ง google sheet จากแบบฟอร์มทเี่ ราสรา้ งคำถาม ไปท่กี ารตอบกลับ  กดที่ -->ไอคอนสเี ขียว -->สรา้ งสเปรตชที ใหม่ -->สร้าง

11 .เมือ่ กดสรา้ ง และทำการทดสอบอัปโหลดขอ้ มูลลงในแบบฟอร์มแล้ว จะปรากฏ Google sheet ตวั อยา่ งกรณีท่ี 1 การใชส้ มุดพกครอบครวั ฉบับเตม็ ดังภาพ (สามารถตกแต่งตารางได้อิสระ ทำไดเ้ หมอื นเราตกแตง่ ตาราง EXCEL) การแชร์ขอ้ มูลลงิ ก์รูปภาพในตารางใหส้ ามารถเข้าถึงและดูรปู ภาพได้ ครงั้ แรกเมอ่ื เราทดสอบและสรา้ งสปรตชที ใหม่ ถึงเราจะมีข้อมูลครบแลว้ แตจ่ ะไม่สามารถกดดรู ูปภาพไดเ้ ลย มีแค่ลงิ ก์แตไ่ มม่ สี ทิ ธิ์เข้าถงึ ขอ้ มลู ให้ไปทำการเปดิ สทิ ธิ์ก่อน โดยดำเนนิ การต่อไปนี้ ไปที่ Google Drive ที่เราสร้างฟอร์ม ค้นหาโฟลเดอร์ (File responses) ให้ทำการเปลี่ยนชื่อและ เมื่อเข้าไปข้างใน โฟลเดอร์ (File responses) จะพบกับ โฟลเดอร์ทั้ง 3 ที่เราสร้างการอัปโหลดไฟล์ไว้ จะเปน็ เหมอื นคลงั เกบ็ ของแตล่ ะหัวขอ้ คำถามทีเ่ ราต้องการให้อัปโหลดไฟล์ ดงั รูป ไปที่ โฟลเดอร์ (File responsesทเี่ ราตงั้ ช่อื คลิก -->รบั ลงิ ก์

12 เปดิ สิทธ์เิ ข้าถงึ โดยไปท่ี จำกัด เปล่ยี นเปน็ ทกุ คนที่มลี งิ ก์

13 3.2 ตัวอยา่ งกรณที ่ี 2 ใชส้ มดุ พกครอบครวั ฯ ฉบบั ย่อ ลงเกบ็ ขอ้ มลู สร้างคำถามแบบฟอร์มเก็บข้อมูลทั้งหมด ในการรวบรวมข้อมูลกลุ่มครัวเรือนเปราะบาง โดยกำหนดคำถาม เช่น บ้านเลขที่ หมู่ที่ ตำบล อำเภอ คำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล เลขประจำตวั ประชาชน ข้อมูล TPMAP/ด้าน บริการ พม. เบอร์โทรศัพท์ สภาพปัญหาของผู้ประสบปัญหา ทางสังคม ประเด็นทางสังคม ครัวเรือนที่ช่วยเหลือตนเองได้ ครัวเรอื นทีต่ ้องสงเคราะห์ ครัวเรือนท่ี ต้องช่วยเหลือและพัฒนาทุกมิติ ละติจูด ลองจิจูด รูปภาพผู้ประสบปัญหาทางสังคมหรือผู้ให้ข้อมลู รูปภาพภายนอกบ้าน รูปภาพภายในบ้าน ครัวเรือนพบใหม่ ชื่อผู้บันทึก ดังตัวอย่างการสร้างดังรปู (แนะนำ) ให้เลอื กจำเป็นต้องกรอกข้อมูล แค่เฉพาะ บ้านเลขท่ี หมู่ท่ี ชอ่ื -นามสกุล สถานะ ละติจูด ลองจิจดู รปู ภาพผู้ประสบปญั หาทางสังคมหรือผใู้ ห้ขอ้ มูล รูปภาพภายนอกบ้าน รปู ภาพภายในบ้าน ชื่อผู้บันทกึ ) เพื่อให้เป็นฐานข้อมูลแบบเรียลไทม์ สะดวกตอ่ การใช้ขณะลงพื้นท่ีโดยทันทีเมื่อถึงบ้าน เคสท่ลี งเยีย่ มจะได้ไม่สับสนเมอื่ ลงเก็บขอ้ มลู รูปภาพเปน็ จำนวนมากในแต่ละวนั ที่ลง ส่วนช่องที่เหลือ ใหเ้ ว้นวา่ งไว้ หลงั กลับมาจากลงพ้นื ที่ ให้มากรอกข้อมูลทสี่ ำนักงานเพม่ิ เตมิ ดังตวั อย่าง ตัวอย่าง กรณีท่ี 2 ใชส้ มดุ พกครอบครัวฯ ฉบับย่อ ลงเกบ็ ข้อมลู คลกิ ที่นี่ https://forms.gle/hbxmR2nSgA M7S6wF8 ส่วนวิธกี ารสรา้ งคำถามแบบฟอร์มนั้น จะเหมือนกับ ตวั อย่างกรณที ี่ 1 การใช้ฉบับเต็ม

14 ตวั อยา่ ง google sheet แบบฟอรม์ สร้างคำถามตัวอยา่ งกรณี ท่ี 2 การใชส้ มดุ พกฯ ฉบบั ยอ่ (ต่อ) วธิ กี ารเปดิ แชรล์ งิ ก์ google sheet จากแบบฟอร์มท่ีเราสรา้ งคำถาม ใหเ้ จา้ หน้าทเี่ ขา้ ดูและแกไ้ ขได้ ดังน้ี ไปท่ี -->1.แชร์ -->2.เปล่ียนเป็นทกุ คนท่ีมลี ิงก์ -->3.ตก้ิ ถูกทุกคนท่ีมีลิงก์ -->4.ต้กิ ถูกท่ี เอดิเตอร์ --> 5.คดั ลอกลิงก์ไปส่งใหเ้ จ้าหน้าที่ท่ีบันทกึ ขอ้ มูล

15 การบนั ทึกขอ้ มูลการลงพ้ืนทเ่ี กบ็ ข้อมลู ครัวเรอื น โครงการบรู ณาการเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตกลมุ่ เปราะบางรายครวั เรือน เมื่อประสานงานพื้นที่ และเตรียมแบบฟอร์มในการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ต่อไปจะเป็น การกล่าวถึงวธิ ีการและลำดับข้ันตอนในการบันทึกข้อมูลครวั เรอื นชองผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม 1. เมอื่ ข้าราชการ/เจา้ หน้าท่ี ไปถงึ ยังพนื้ ท่ีหนา้ งานแลว้ ใหท้ ำการแบ่งกลมุ่ เพอ่ื กระจายทีม ไปยงั บา้ น ครัวเรอื นตา่ งๆโดยมที างเทศบาลหรือ อบต. ท่ีได้ประสานงานไว้เบื้องต้น จะเป็นผ้นู ำพาไปยังบ้านของ ครวั เรอื นโดยผา่ นผนู้ ำทอ้ งที่ สิ่งที่เจา้ หนา้ ทตี่ อ้ งมี คอื 1.1 โทรศัพท์มือถือพร้อมอินเตอร์เน็ต ที่ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นละติจูด ลองจิจูด เพื่อยิงพิกัดของ ครัวเรือนเม่อื อยู่ ณ พน้ื ท่ี - ระบบแอนดรอยส์ สามารถดาวนโ์ หลดได้ท่ี Play Store แล้วคน้ หาแอปพลิเคช่นั Latitude Longitude หรือ แผนท่ี GPS ละตจิ ูด ลองจจิ ดู ตามภาพทร่ี ะบุ เพื่อเรมิ่ ตน้ ใช้งาน - สำหรับ โทรศัพทม์ ือถือ ระบบ IOS แนะนำใหค้ ัดลอกพกิ ัดจาก Google map จะง่ายกว่า โดยกดค้างให้ ปักหมดุ สีแดง และดา้ นล่างของขอบจอใหป้ ัดข้ึน จะเห็นตัวเลขพกิ ัดจึงคดั ลอกมาใส่ฟอรม์ Google map

16 ** เปิดตำแหนง่ ที่เครื่องโทรศัพท์มือถือ ** กดคา้ งทีอ่ ยู่ ปัจจบุ นั ใหข้ นึ้ หมุดสีแดง

17 - ทด่ี ้านลา่ งขอบจอล่างมือถือให้ปัดขึน้ กดคัดลอกละตจิ ดู ลองติจูด ลงในช่อง Google forms ทีส่ รา้ ง ไว้ 1.2 สมดุ พกครอบครวั ฉบับย่อ (แผ่นเดยี วหน้าหลัง) (หนา้ ) (หลัง)

18 1.3 รา่ งกายและจติ ใจท่ีพร้อมชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม (ขอ้ แนะนำ ขา้ ราชการ/เจ้าหน้าที่ ควรแตง่ กายใหเ้ หมาะสม และตดิ บตั รแสดงตนทุกคร้ังท่ีลงพื้นท่ี) 2. ผู้นำท้องที่พาข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ ไปยังบ้านผู้ประสบปัญหาตามแผนการลงพื้นที่ เมื่อไปถึง เจ้าหน้าท่ีควรแสตงตนว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้ามาสำรวจความต้องการเพื่อให้การช่วยเหลือ แก่ผู้ประสบปัญหา และทำการบันทึกพิกัดบ้าน (ละติจูด ลองจิจูด) ที่หน้าบ้านของผู้ประสบปัญหา เพื่อความสะดวกในการเดินทางเยี่ยมบ้านครั้งถัดไป โดยอาจจะจดบันทึกไว้ก่อน หรือคัดลอกเก็บไว้ ตามความถนดั ของแต่ละท่าน และทำการ ปักหมดุ ลงพิกดั GPS (ละติจูด ลองจิจดู ) บนโทรศัพท์มอื ถือทุกครั้ง ตำแหน่งเลขพิกดั ละติจดู ลองจิจดู ทตี่ อ้ งจดบันทกึ หากตอ้ งการคัดลอกพิกัด คลิกทีน่ ี่ แล้วนำไปบันทกึ ใน Google Forms กดจดุ น้เี พ่ือปรบั ใหส้ ถานะพนื้ ทเ่ี ป็นทต่ี ั้งปัจจุบนั

19 3. เริ่มพูดคุยสอบถามทุกข์สุขของผู้ประสบปัญหา สอบถามความเป็นอยู่ สมาชิกในครัวเรือน และ ความต้องการที่จะให้ภาครัฐสนับสนุนและช่วยเหลือ ด้วยเทคนิคและความรู้ของสหวิชาชีพ และบันทึกลงสมุดพกครอบครัวฉบับย่อ เพื่อนำไปบันทึกอย่างละเอียดต่อในฉบับเต็ม ระหว่างพูดคุย สอบถามปัญหากับผู้ประสบปัญหาทางสังคม ให้ขออนุญาตบันทึกภาพครัวเรือน ซึ่งประกอบไปด้วย รูปภาพผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม ภาพหนา้ บ้าน ภาพภายในบา้ น และภาพอื่นทเ่ี หน็ วา่ มสี ่วนเกี่ยวข้อง รปู ภาพเคส รูปภาพภายในบ้าน รปู ภาพภายนอกบ้าน 4. เมื่อได้ข้อมูลของผู้ประสบปัญหาทางสังคม ได้แก่ GPS (พิกัดละติจูด ลองจิจูด) ข้อมูลสภาพปัญหา รปู ถ่าย ครบถว้ นแลว้ ให้ทำการบันทกึ ข้อมูลท่ีได้มา ลงแบบบนั ทึกออนไลน์ 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ Google Forms ท่ไี ดส้ รา้ งไว้กอ่ นแล้วนั้น

20 Google Forms 4.1 Google Form เมื่อกดเข้ามาจะปรากฏหนา้ ต่างทั้งหมดดังภาพ ให้กรอกข้อมูลท่ีจำเปน็ สำคญั ได้แก่ บ้านเลขที่ หมู่ที่ พิกัดละติจูด ลองจิจูด ที่ได้จดหรือบันทึกไว้ ชื่อเคสผู้ประสบปัญหาทางสังคม แล้วก็เพิ่มรูปภาพ ที่ถ่ายไว้ในตอนเยี่ยมเคส แล้วกด ส่ง ข้อมูลที่กรอกทั้งหมด จะลิงก์ไปอยู่ในฟอร์มต่อไป Google Sheet เพื่อเป็น ข้อมูลเบื้องต้นในการกรอกข้อมูลสภาพของผู้ประสบปัญหาทางสังคมต่อไป (แนะนำให้ทำการอัปโหลดข้อมูล บนฟอร์มทันที เพอ่ื ป้องกันการสับสนรูปภาพและพกิ ัดทีม่ จี ำนวนมาก หากวนั ทีเ่ ราลงเย่ียมมหี ลายบ้าน) หมายเหตุ : ใส่ชอ่ื - นามสกุล พรอ้ มกบั รูปภาพให้ตรงกัน ลิงกต์ วั อยา่ ง กรณที ี่ 1 การสร้างคำถามแบบใชส้ มุดพกครอบครวั ฯ ฉบบั เต็มลงเกบ็ ข้อมูล คลิกท่ีน่ี https://forms.gle/JFMqwMvx8MjaUEWq7 หมายเหตุ : สสว.2 ใชง้ านผ่าน LINE Official Account สสว.2 ในการดงึ Google Forms การกรอกข้อมลู พกิ ดั เเละรูป

21 ** สำหรับหน่วยงานใดท่ีมี LINE OA สามารถนำไปปรบั ใช้ เพ่ือง่ายตอ่ การทำงาน ** โดย สสว.2 ดำเนนิ การดงั นี้ 1. เข้าไปท่หี นา้ ตา่ งสนทนา แล้วพมิ พ์คียเ์ วดิ ทีต่ ้งั ไว้ เปน็ ตวั เลขหรือขอ้ ความ เชน่ 27 แบบฟอรม์ เปน็ ตน้ 2. จะปรากฏข้อความอตั โนมตั ิขึ้นเป็นลงิ กแ์ บบฟอร์ม 2.1 Google Forms 2.2 Google Sheet 3. สามารถคลกิ ไปทลี่ ิงกเ์ พอื่ เขา้ สู่โหมดการบันทึกข้อมลู ต่อไป

22 Google Sheet 5. ในส่วนของการกรอกข้อมูล สภาพปัญหา ข้อมูลรูปภาพ และGPS (ละติจูด ลองจิจูด) จะอยกู่ ับส่วนเดยี วกนั กับฟอรม์ Google Forms ตามข้อ 4.1 5.1 หลังจากได้ข้อมูล Excel จากการคัดกรองครัวเรือนที่เข้าเกณฑ์ครัวเรือนเปราะบางและอาจจะมี ครัวเรือนที่เพิ่มเติมจาก อปท. นำไฟล์ข้อมูลทั้งหมดลงระบบ Google Sheet โดยการกด Ctrl+A (คลุมรายชื่อ ทั้งหมด) Ctrl+C (คัดลอก) (Ctrl+V) ไปวางลงระบบ Google Sheet เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบครัวเรือน สามารถกรอกสภาพปญั หาและยา้ ยขอ้ มูลรูปภาพ GPS (ละติจูด ลองจิจดู ) ลงในระบบ * ข้อดีของการใช้ Google Sheet คือ เจ้าหน้าที่สามารถบันทึกข้อมูลได้พร้อมกันทุกท่าน และบันทึก อตั โนมตั ิ แต่การทำงานต้องใช้ Internet (ระวงั !! ลบขอ้ มลู ของผู้อนื่ ระบบจะ SAVE ขอ้ มูลเม่อื มกี ารแกไ้ ข) 5.2 Google Sheet จะมีลักษณะคล้าย Excel เพราะต้องมีการใช้สูตรคำนวณเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล กรองเพื่อหาผู้ประสบปัญหาทีต่ ้องเข้าช่วยเหลือเปน็ อันดับต้นๆ โดยใน Google Sheet จะใช้ข้อมูลที่ได้มาตอนลง พื้นที่จากสมุดพกครอบครัวฉบับย่อมากรอกเพิ่มเติม ได้แก่ บ้านเลขที่ เบอร์ติดต่อ สมาชิกท่ีอาศัยอยู่ด้วยกัน สภาพปัญหาความเป็นอยู่ในครอบครัว (มีคนสูงอายุ คนพิการ เด็ก หรือไม่) ความต้องการช่วยเหลือจากภาครัฐ โดยเราจะกรอกภาพรวมในช่อง สภาพปัญหา เล่าเรื่องราวทั้งหมดที่ได้รับรู้มา และทำเครื่องหมายในช่องท่ี เห็นสมควรคัดเลือกอยู่ในเกณฑ์ใด (ควรเริ่มสร้างคำถามให้เลือกใน google Forms ด้วย) โดยมี 3 ระดับ ได้แก่ 1.ครัวเรือนที่ช่วยเหลือตนเองได้ 2.ครัวเรือนที่ต้องสงเคราะห์ 3.ครัวเรือนที่ต้องช่วยเหลือและพัฒนาทุกมิติ หลังจากที่ลงพื้นที่แล้วพร้อมใส่ชื่อผู้บันทึก เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล และนำผลส่งต่อที่ประชุมเพื่อหาข้อสรุป ในการชว่ ยเหลอื ตอ่ ไป

23 - หลงั จากบันทึกขอ้ มลู กรอกข้อมูลสภาพปัญหาเสร็จแลว้ นั้น - ควรตรวจสอบข้อมูลแต่ละช่องอีกครั้งในการกรอกข้อมูลนั้นครบถ้วนแล้วหรือไม่ เช่น GPS (ละติจูด ลองจจิ ดู ) ข้อมลู สภาพปัญหา ชอ่ื ผ้บู นั ทกึ หมายเหตุ ฯลฯ

24 การประมวลผลของข้อมลู ครวั เรอื นเปราะบาง วิธกี ารกรองข้อมูล - เมอ่ื เชค็ ข้อมูลวา่ ข้อมลู ครบถ้วนแล้ว - ให้กรองข้อมลู กลุม่ ครัวเรอื นทตี่ อ้ งสงเคราะห์ และกลมุ่ ที่ต้องชว่ ยเหลอื และพัฒนาทุกมติ ิ - ไปที่เครอื่ งหมายตัวกรอง คลิกสรา้ งตัวกรอง - มรี ูปสญั ลกั ษณ์ ขนึ้ ในชอ่ งบนสดุ ดงั รูป คลกิ ที่สญั ลักษณ์

25 - คลกิ ท่สี ญั ลกั ษณ์ จะขึน้ รูปหนา้ ต่างตวั กรอง (ครัวเรอื นทีต่ อ้ งสงเคราะห์) 1. คลกิ ท่ลี า้ ง เพ่อื เลือกขอ้ มลู 2. เลือก TRUE เลอื กข้อมลู ทีล่ งข้อมลู ไว้ 3. ตกลง 1. คลกิ ท่ลี า้ ง 2. เลือก TRUE 3. ตก-ลง - จะปรากฏเครื่องหมาย ดังรปู

26 - หลงั จากน้นั คัดกรอง หมู่ แยกแต่ละหมู่ ตามลำดบั 1. คลกิ ทีล่ า้ ง 2. เลอื กหมู่ท่ี 1 ตามล - 3. ตกลง - Google Sheet จะทำการกรองข้อมูลในสว่ นทเี่ ลือกไวใ้ ห้ (หม่ทู ่ี / ครวั เรือนต้องการสงเคราะห์)

27 ขนั้ ตอนที่ 1 : กรองข้อมูลครัวเรอื นท่ชี ว่ ยเหลอื ตนเองได้ หมู่ 1 จำนวน 9 ครัวเรือน ข้ันตอนที่ 2 : จากการกรองข้อมูลครัวเรือนท่ีต้องสงเคราะห์จะเห็นได้ว่า หมู่ 1 มีครัวเรือนที่ต้องสงเคราะห์ จำนวน 4 ครัวเรือน

28 ข้นั ตอนท่ี 3 : จากการกรองข้อมลู จะเห็นได้วา่ หมู่ 1 มคี รัวเรือนท่ีต้องช่วยเหลอื และพฒั นาทุกมติ ิ จำนวน 1 ครวั เรอื น - ทำใหส้ ามารถกรองข้อมูลแตล่ ะหมู่ รวมถึงการกรองข้อมลู แตล่ ะสว่ นทีเ่ ราต้องการกรองข้อมูลได้อีกด้วย - ทำตามขน้ั ตอนตามน้ที ุกหมู่ ทุกครัวเรือน เพื่อคดั กรองข้อมูลออกมาเปน็ รายครัวเรือน - เพื่อคัดกรองในการช่วยเหลอื แตล่ ะลำดบั ต่อไป

29 ตวั อยา่ ง สสว.2 - โครงการบูรณาการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ กล่มุ เปราะบางรายครัวเรอื น จงั หวดั ชลบรุ ี - โดย สสว.2 ได้ลงพื้นท่ใี น ตำบลท่าบญุ มี อำเภอเกาะจนั ทร์ จังหวดั ชลบุรี สำรวจจากข้อมูล ดงั น้ี หมู่ ฐานขอ้ มูล TPMAP บริการ พม. ครวั เรือนเพมิ่ เตมิ พืน้ ท่คี ดั เลอื กมา รวม (ครวั เรอื น) จากผ้นู ำชุมชน (เพ่มิ เติม) กลุ่มเปา้ หมาย (การประชุมคณะทำงาน) 1 9 14 4 0 7 16 7 20 25 3 1 0 1 1 19 35 8 0 0 8 0 15 40 1 0 15 91 6 45 56 6 6 27 42 5 23 60 5 3 0 10 69 299 74 10 1 8 36 39 1 90 20 19 10 0 15 0 11 0 11 7 12 4 4 2 รวม 64 126 40

30 - จากการลงพน้ื ท่ี และลงบันทึกขอ้ มูล กรอกข้อมูลสภาพปัญหา ในระบบ Google Sheet แล้วนั้น - ผลสรปุ จากการกรองข้อมูลแล้วได้ข้อมูล ดังนี้ ข้อมูลครัวเรอื นเปราะบางตามระดบั การช่วยเหลอื 3 ระดับ หมู่ ครัวเรอื นท่ี ครวั เรือนทีต่ ้อง ครวั เรือนทีต่ อ้ งช่วยเหลือ รวม ช่วยเหลอื ตนเองได้ สงเคราะห์ และพัฒนาทุกมิติ 12 4 17 21 5 39 33 8 2 13 40 0 00 52 10 2 14 62 3 16 74 9 0 13 8 16 16 9 41 9 16 15 7 38 10 20 13 1 34 11 4 9 3 16 12 5 4 1 10 รวม 75 96 30 201 สรปุ - ข้อมูลครัวเรือนเปราะบางตามระดับการช่วยเหลือ 3 ระดับ ในพื้นที่บลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบรุ ี รวมทั้งสน้ิ 201 ครัวเรือน โดยแต่ละระดบั มจี ำนวน ดงั นี้ 1. ครัวเรือนทีช่ ว่ ยเหลือตนเองได้ จำนวน 75 ครัวเรือน 2. ครัวเรือนท่ตี ้องสงเคราะห์ จำนวน 96 ครัวเรือน 3. ครัวเรอื นทตี่ ้องช่วยเหลือและพฒั นาทกุ มติ ิ 30 ครวั เรือน (เร่งดว่ น)

31 Model กระบวนการทำงาน วเิ คราะห์ร่วมรายครวั เรือน 1) หน่วยงานสรุปข้อมูลจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านครัวเรือนเปราะบาง จัดลำดับครัวเรือน นำเสนอใน การประชุม One Home พม. เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ช่วยเหลือตามภารกิจของกระทรวง พม. และการช่วยเหลือ ของภาคีเครอื ข่าย 12 กระทรวง ก่อนนำข้อมลู ไปเสนอคณะทำงานในพ้นื ท่ี 2.การประชุมกับคณะทำงานในพน้ื ท่ี ประกอบดว้ ย หน่วยงาน One Hone พม. หน่วยงานภาคีเครือข่าย คณะทำงาน ผู้นำชุมชน อพม. เพื่อร่วมกันวางแผนวิเคราะห์จัดทำแผนพัฒนาครัวเรือนเปราะบาง ระยะส้นั ระยะกลาง ระยะยาว และการวิเคราะหโ์ ครงการเพอื่ การแกไ้ ขเชงิ มิตพิ น้ื ท่ี การจดั ทำแผนพฒั นาครัวเรอื นเปราะบาง การกำหนดแผนระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว ร่วมกับการแก้ไข 5 มิติ ได้แก่ การศึกษา ความเป็นอยู่ รายได้ สขุ ภาพ และการเขา้ ถงึ บรกิ ารของรฐั ซ่ึงสามารถปรบั แกไ้ ขตามสถานการณ์ที่เปลีย่ นแปลงตามหลกั P-D-C-A การตดิ ตามประเมนิ ผล การติดตามผลการพัฒนาครัวเรือนเปราะบาง เพื่อประะเมินการดำเนินงานตามแผนพัฒนาครัวเรือน เปราะบาง ตามหลกั เกณฑท์ ี่กำหนด การจัดเวทสี รปุ บทเรียน การประชมุ ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการบรู ณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุม่ ครัวเรือนเปราะบาง เพื่อหา จุดแข็ง และจุดอ่อน นำไปปรับปรุงกระบวนงานที่ตอบสนองการแก้ไขกลุ่มครัวเรือนเปราะบางอย่างรวดเร็วและ มีประสิทธภิ าพ ที่มา : ทีมเลขานุการ ปพม. 8 เม.ย. 64

ฉ คณะผู้จดั ทำ นางร่งุ ทิวา สุดแดน ผ้อู ำนวยการสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 2 ทปี่ รกึ ษา นางสดุ ารัตน์ ทฤษฎิคุณ นักพัฒนาสังคมชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน นายณฐั วุฒิ สินธาราศริ กิ ลุ ชัย นกั พัฒนาสังคมชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน นางสาวสุวมิ ล นอ้ ยใจรกั ษ์ นกั พัฒนาสงั คมชำนาญการ คณะทำงาน นายสิทธิชยั แสนทวีสุข เจา้ พนักงานพฒั นาสังคมปฏิบัตงิ าน คณะทำงาน นายสุบิน จุญพนั ธ์ นกั พฒั นาสงั คม คณะทำงาน นายสุรพงษ์ ตนุ แสน นักพฒั นาสังคม คณะทำงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook