Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 6 เบญจรัตน์ 2-11 เลขที่9

หน่วยที่ 6 เบญจรัตน์ 2-11 เลขที่9

Description: หน่วยที่ 6 เบญจรัตน์ 2-11 เลขที่9

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 6 การศึกษาการ ดำเนินชีวิตของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย

แผนผังความคิด (MIND MAPPING) การศึกษาการดำเนินชีวิตของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. ความหมายของ 2. ประโยชน์ของการเชื่อมโยงผู้มี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่วนได้ส่วนเสียวนเสีย 3. ประเภทของ 4. พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้บริโภค 5. การศึกษาการดำเนินชีวิตของ 6. กระบวนการสร้างโอกาสให้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. มิติของการมีส่วนร่วม 8. ผู้มีส่วนได้เสียกับแบรนด์ ของแบรนด์ 9. แนวทางการเชื่อมโยง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความหมายของผู้มีส่ วนได้ส่ วนเสี ย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) หมายถึง กลุ่มหรือบุคคล ที่มีผลกระทบและ/หรือได้รับผลกระทบจากกิจกรรมทั้งหมด ขององค์กรและเป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ช่วยกำหนดคุณค่า ให้กับองค์กรองค์กรจึงมีความจำเป็นต้องสร้างความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเด็นต่างๆที่ เกี่ยวข้องทั้งจากกิจกรรมและกระบวนการตัดสินใจ

ประโยชน์ของการเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. สามารถนำไปสู่การพัฒนาสังคมอย่างเท่าเทียมและยั่งยืนกว่า 2. ก่อให้เกิดการผสมผสานรวมกันของทรัพยากร 3. ก่อให้เกิดความเข้าใจในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สลับซับซ้อน 4. ทำให้องค์กรสามารถเรียนรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 5. ให้ข้อมูล ความรู้ และสร้างอิทธิพลต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. สร้างความเชื่อถือระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภทของผู้มีส่ วนได้เสี ย 1. คู่แข่งขัน (Competitor) 2. ผู้บริโภค (Consumer) 3. พนักงาน (Employee) 4. ผู้ผลิตสินค้า (Supplier) 5. ผู้มีส่วนได้เสียรอง (Second Stakeholder) (COMPETITOR) (CONSUMER) (EMPLOYEE) (SECOND STAKEHOLDER)

พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้บริโภค 1. ระดับการบริโภค 2.ระดับการสนับสนุน (CONSUMING) (CONTRIBUTION) 3.ระดับการร่วมกันสร้างสรรค์ (CO-CREATION) การศึกษาการดำเนินชีวิตของผู้มีส่ วนได้ส่ วนเสี ย ธุรกิจส่วนใหญ่ได้ดำเนินการผนวกกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียนี้ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินธุรกิจ โดยการ กำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและวิธีการมีส่วนร่วมนั้น ขึ้นอยู่กับ ระดับความสำคัญและผลกระทบที่มีต่อกัน ทั้งนี้ การมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การพบปะพูด คุยแบบไม่เป็นทางการ การประชุม สัมมนา จนถึงการจัดทำแบบ สำรวจเพื่อประเมินผล และการทำแบบสอบถาม เพื่อให้มั่นใจว่าได้ มีการดำเนินการให้เป็ นไปตามความต้องการหรือความคาดหวัง ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

กระบวนการการสร้างโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจ 2.การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมกันปฏิบัติการ 3.การมีส่วนร่วมด้วยประโยชน์ที่เกิดขึ้นและได้รับ 4.การมีส่วนร่วมในการติดตาม ตรวจสอบ มิติของการมีส่ วนร่วมของแบรนด์ 1.การรับรู้ (Perception) 2.การสื่อสาร (Communication) 3.ประสบการณ์ (Experience) 4.คำมั่นสัญญา (Promise) ผู้มีส่ วนได้ส่ วนเสี ยกับแบรนด์ (BRAND STAKEHOLD ERS) ลักษณะเฉพาะของสายสัมพันธ์เปรียบได้กับสินค้าและบริการอย่าง หนึ่ง ซึ่งจะทำหน้ าที่แบ่งแยกกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่ม ออกจากกัน เพราะจะเป็นตัวกำหนดว่าอะไรคือคุณค่าเฉพาะที่ แบรนด์มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออะไรที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต้องการจากแบรนด์ โครงสร้างการดำเนินธุรกิจที่ประกอบไปด้วย เจ้าของธุรกิจ ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน และทีมงานที่ได้รับการ ว่าจ้างจากภายนอก หน่วยงานภาครัฐในฐานะหน่วยงานกลางที่ กำหนดมาตรฐานและข้อบังคับ แม้กระทั่งสื่อมวลชนซึ่งทำหน้ าที่ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์ไปสู่ผู้บริโภค

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับแบรนด์ (BRAND STAKEHOLDERS) 12.ก.กลุลุ่ม่มผูผู้ม้ีมีส่ส่ววนนไได้ด้ส่ส่ววนนเสเีสียยภภาายยในนอก แนวทางการเชื่อมโยงผู้มีส่ วนได้ส่ วนเสี ย (STAKEHOLDER ENGAGEME NT CONCEPTS) ปัจจุบันภาคธุรกิจถูกคาดหวังจากสังคมว่า ควรมีบทบาทมากขึ้น กว่าแต่ก่อน เนื่องจากการดำเนินการของธุรกิจนั้นส่งผลกระทบทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นไปได้ตั้งแต่ใน ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับโลก นอกจากนี้ ในหลาย ๆ กรณีจาก กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) และการเติบโตขึ้น อย่างมากของจำนวนองค์กรประเภทรัฐร่วมกับเอกชน (Public- Private Partnerships) ได้เพิ่มบทบาทขององค์กรภาคธุรกิจให้ ใกล้เคียงกับองค์กรภาครัฐมากขึ้น ผู้มีส่ วนได้ส่ วนเสี ยกับแบรนด์ (BRAND STAKEHOLDERS) การตอบสนองต่อบทบาททางภาคธุรกิจที่เพิ่มขึ้นในสังคมนี้ ทำให้ สมาชิกและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนิน ธุรกิจหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) เริ่มอ้างสิทธิของการ รับรู้ การเป็นที่ปรึกษา และความเกี่ยวข้องในการตัดสินทางธุรกิจ (Corporate decision-making) มากขึ้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook