Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

Published by krusumran, 2019-05-15 00:19:58

Description: ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

Search

Read the Text Version

ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูแกนกลาง กล‹มุ สาระการเรย� นรŒูวท� ยาศาสตร (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ‹มสาระการเร�ยนรูŒว�ทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ พมิ พ์คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ จำนวนพิมพ ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม ISBN 978-616-395-939-3 จัดพิมพ์และเผยแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด พิมพ์ท ี่ ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพ้ มิ พผ์ ู้โฆษณา

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไดด้ ำเนนิ การจดั ทำมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการจัดทำ สาระภมู ศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พรอ้ มทงั้ จดั ทำสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ของกลุ่มสาระการเรียนรู้และสาระดังกล่าวในแต่ละระดับช้ัน เพื่อให้เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยงาน ระดับท้องถ่ิน และสถานศึกษาทุกสังกัดท่ีจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา และจดั การเรยี นการสอน โดยจดั ทำเปน็ ๓ เลม่ ดงั นี ้ ๑. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒. ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๓. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนร้ ู สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ขอขอบคณุ ผทู้ มี่ สี ว่ นรว่ มจากทกุ หนว่ ยงาน และทุกภาคสว่ นทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ท้ังในและนอกกระทรวงศกึ ษาธิการ ซง่ึ ชว่ ยในการจัดทำเอกสารดังกลา่ ว ใหม้ คี วามสมบรู ณแ์ ละเหมาะสมสำหรบั การจดั การเรยี นการสอนในแตล่ ะระดบั ชนั้ สามารถพฒั นาผเู้ รยี น ให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วัดที่กำหนด (นายการุณ สกุลประดิษฐ)์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน



สารบัญ หน้า ๑ ๓ ๓ ๔ คำนำ ๖ บทนำ ๖ เป้าหมายของวทิ ยาศาสตร์ ๖ เรยี นร้อู ะไรในวทิ ยาศาสตร ์ ๘ สาระและมาตรฐานการเรียนรู ้ ๙ คุณภาพผเู้ รียน ๑๓ จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑๓ จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๓๘ จบชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ๗๙ จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๑๐๕ สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ๑๒๗ สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ๑๓๕ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ๑๓๕ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี ๑๖๙ วิทยาศาสตร์เพม่ิ เตมิ ๑๙๐ ผลการเรียนร้แู ละสาระการเรียนรู้เพม่ิ เตมิ ๒๒๑ สาระชวี วิทยา ๒๓๘ สาระเคม ี ๒๔๗ สาระฟสิ กิ ส์ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ อภิธานศัพท ์ คณะผูจ้ ัดทำ



กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ บทนำ ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ ได้กำหนดสาระ การเรียนรอู้ อกเป็น ๔ สาระ ได้แก่ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ และสาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มสี าระเพ่ิมเตมิ ๔ สาระ ไดแ้ ก่ สาระชวี วทิ ยา สาระเคมี สาระฟสิ กิ ส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ซง่ึ องคป์ ระกอบของหลกั สตู ร ท้ังในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้น มีความสำคัญอย่างย่ิงในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ให้ม ี ความตอ่ เนื่องเช่อื มโยงกนั ตัง้ แต่ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ จนถึงชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ สำหรบั กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียน เป็นพ้ืนฐาน เพ่ือให้สามารถนำความรู้น้ีไปใช้ในการดำรงชีวิตหรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้ วทิ ยาศาสตรไ์ ด้ โดยจดั เรยี งลำดบั ความยากงา่ ยของเนอ้ื หาแตล่ ะสาระในแตล่ ะระดบั ชน้ั ใหม้ กี ารเชอ่ื มโยง ความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะท่ีสำคัญทั้งทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความร ้ ู ด้วยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สามารถแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสนิ ใจ โดยใชข้ ้อมลู หลากหลายและประจักษ์พยานท่ตี รวจสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำคัญ ของการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อผู้เรียนมากท่ีสุด จึงได้จัดทำตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ข้ึน เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)  ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ตลอดจนหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหนงั สือเรยี น คมู่ ือครู สือ่ ประกอบการเรยี น การสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล โดยตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกันภายในสาระ การเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจน การเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ียังได้ปรับปรุงเพ่ือให้มี ความทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทียมกับ นานาชาติ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สรปุ เปน็ แผนภาพได้ ดังน ี้ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ - มาตรฐาน ว ๒.๑ - ว ๒.๓ สาระท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ - มาตรฐาน ว ๑.๑ - ว ๑.๓ - มาตรฐาน ว ๓.๑ - ว ๓.๒ สาระท่ี ๔ เทคโนโลย ี - มาตรฐาน ว ๔.๑ - ว ๔.๒ วิทยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ • สาระชวี วทิ ยา • สาระเคม ี • สาระฟิสิกส ์ • สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ  ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

เปา้ หมายของวทิ ยาศาสตร ์ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพอื่ ใหไ้ ดท้ ง้ั กระบวนการและความรู้ จากวธิ กี ารสงั เกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แลว้ นำผลทไี่ ด้ มาจดั ระบบเปน็ หลักการ แนวคดิ และองค์ความรู้ การจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์จึงมีเป้าหมายที่สำคญั ดงั นี้ ๑. เพอื่ ใหเ้ ข้าใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทเี่ ป็นพื้นฐานในวชิ าวทิ ยาศาสตร ์ ๒. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษา วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ๓. เพื่อใหม้ ที ักษะที่สำคัญในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดค้นทางเทคโนโลย ี ๔. เพ่ือให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และสภาพแวดล้อมในเชิงทมี่ ีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน ๕. เพอ่ื นำความรู้ ความเขา้ ใจ ในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยไี ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ตอ่ สงั คมและการดำรงชวี ิต ๖. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และ การจัดการ ทักษะในการส่อื สาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ ๗. เพื่อให้เป็นผู้ท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค ์ เรียนรูอ้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ีเน้นการ เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกข้ันตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับช้ัน โดยกำหนดสาระสำคญั ดงั น้ ี ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)  ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

✧ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั ชวี ติ ในสง่ิ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบของสง่ิ มชี วี ติ การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และววิ ฒั นาการของสิง่ มชี ีวิต ✧ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั ธรรมชาตขิ องสาร การเปลย่ี นแปลงของสาร การเคลอ่ื นที่ พลงั งาน และคลน่ื ✧ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั องคป์ ระกอบของเอกภพ ปฏสิ มั พนั ธ ์ ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ และผลต่อสิ่งมชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม ✧ เทคโนโลยี ● การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เก่ียวกับ เทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และส่งิ แวดล้อม ● วทิ ยาการคำนวณ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั การคดิ เชงิ คำนวณ การคดิ วเิ คราะห์ แกป้ ญั หา เป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร ในการแกป้ ญั หาท่พี บในชวี ิตจริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ สาระและมาตรฐานการเรยี นร ู้ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิต กบั สงิ่ มชี วี ติ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สง่ิ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ี ของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ที่ทำงานสมั พันธก์ นั รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมทมี่ ผี ลตอ่ สงิ่ มชี วี ติ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชวี ิต รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน ์  ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาต ิ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏิกริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคล่อื นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติ ของคลน่ื ปรากฏการณท์ ีเ่ ก่ยี วข้องกับเสียง แสง และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีสง่ ผลตอ่ สง่ิ มชี ีวิต และการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้ังผลตอ่ สงิ่ มชี ีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาระท่ี ๔ เทคโนโลย ี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิต สงั คม และส่ิงแวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้เู ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)  ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

คุณภาพผู้เรยี น จบชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ❖ เข้าใจลกั ษณะทว่ั ไปของสง่ิ มีชวี ติ และการดำรงชวี ิตของสง่ิ มชี ีวติ รอบตัว ❖ เข้าใจลักษณะท่ีปรากฏ ชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุท่ีใช้ทำวัตถุ และการเปล่ยี นแปลงของวสั ดุรอบตัว ❖ เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง การเคลือ่ นท่ขี องวตั ถุ พลงั งานไฟฟา้ และการผลิตไฟฟา้ การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น ❖ เขา้ ใจการปรากฏของดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และดาว ปรากฏการณก์ ารขนึ้ และตก ของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดิน และการใชป้ ระโยชน์ ลกั ษณะและความสำคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม ❖ ตง้ั คำถามหรอื กำหนดปญั หาเกย่ี วกบั สงิ่ ทจี่ ะเรยี นรตู้ ามทกี่ ำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจ ตรวจสอบด้วยการเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเร่ือง หรือด้วยการแสดง ทา่ ทางเพอื่ ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ ❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ข้ันตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารเบอ้ื งตน้ รักษาข้อมูลส่วนตวั ❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเร่ือง ท่ีจะศึกษาตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟัง ความคดิ เห็นผู้อ่ืน ❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยดั ซื่อสัตย์ จนงานลลุ ่วงเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกบั ผ้อู ่นื อย่างมคี วามสขุ ❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ ดำรงชวี ิต ศกึ ษาหาความรู้เพม่ิ เติม ทำโครงงานหรอื ช้นิ งานตามท่ีกำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ จบช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ❖ เข้าใจโครงสร้าง ลกั ษณะเฉพาะการปรับตวั ของส่ิงมีชีวิต รวมทั้งความสัมพนั ธ์ของ สิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ การทำหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของพืช และการทำงานของระบบย่อยอาหาร ของมนษุ ย์ ❖ เข้าใจสมบัตแิ ละการจำแนกกลุ่มของวสั ดุ สถานะและการเปลีย่ นสถานะของสสาร การละลาย การเปลยี่ นแปลงทางเคมี การเปลย่ี นแปลงทผี่ นั กลบั ไดแ้ ละผนั กลบั ไมไ่ ด้ และการแยกสาร อยา่ งง่าย  ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและ ผลของแรงตา่ ง ๆ ผลทเี่ กดิ จากแรงกระทำต่อวตั ถุ ความดัน หลกั การท่ีมีต่อวตั ถุ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย ปรากฏการณ์เบอ้ื งต้นของเสียง และแสง ❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏ ของดวงจันทร์ องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของ ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ❖ เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง หยาดน้ำฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิด ซากดกึ ดำบรรพ์ การเกดิ ลมบก ลมทะเล มรสมุ ลกั ษณะและผลกระทบของภยั ธรรมชาติ ธรณพี บิ ตั ภิ ยั การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณเ์ รือนกระจก ❖ ค้นหาข้อมูลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประเมนิ ความน่าเช่อื ถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกัน เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องตน เคารพสทิ ธขิ องผอู้ ื่น ❖ ต้ังคำถามหรือกำหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตาม ความสนใจ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสอดคล้องกับคำถามหรือปัญหา ทจี่ ะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทีเ่ หมาะสม ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ท้ังเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ ❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการ สำรวจตรวจสอบในรูปแบบท่ีเหมาะสม เพ่ือสื่อสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมี เหตผุ ลและหลักฐานอา้ งองิ ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ เรื่องท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลท่ีม ี หลักฐานอา้ งองิ และรบั ฟงั ความคดิ เห็นผูอ้ ่ืน ❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซอ่ื สตั ย์ จนงานลลุ ว่ งเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่นอย่างสร้างสรรค ์ ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงาน ของผู้คิดค้นและศึกษาหาความรู้เพ่มิ เตมิ ทำโครงงานหรือชิน้ งานตามทก่ี ำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ ❖ แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมอยา่ งร้คู ุณคา่ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)  ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

จบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการ ทำงานของระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกายมนุษย์ การดำรงชีวติ ของพืช การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงของยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ ขององค์ประกอบของระบบนิเวศและการถา่ ยทอดพลังงานในสง่ิ มชี ีวติ ❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิ สารผสม หลักการแยกสาร การเปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบัติทางกายภาพ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามกิ และวสั ดผุ สม ❖ เข้าใจการเคล่ือนท่ี แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงทป่ี รากฏในชวี ติ ประจำวนั สนามของแรง ความสมั พนั ธข์ องงาน พลงั งานจลน์ พลงั งานศกั ยโ์ นม้ ถว่ ง กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การตอ่ วงจรไฟฟ้าในบา้ น พลังงานไฟฟา้ และหลักการเบอ้ื งต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส ์ ❖ เข้าใจสมบัติของคล่ืน และลักษณะของคลื่นแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสงและทัศนอปุ กรณ์ ❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคล่ือนท ี่ ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างข้ึนข้างแรม การข้ึนและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้ำขึ้นน้ำลง ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ และความกา้ วหนา้ ของโครงการสำรวจอวกาศ ❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ทางธรณวี ิทยาบนผิวโลก ลกั ษณะช้ันหน้าตดั ดนิ กระบวนการเกดิ ดนิ แหลง่ น้ำผิวดิน แหลง่ น้ำใตด้ ิน กระบวนการเกดิ และผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณพี ิบตั ภิ ัย ❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสร้าง ผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม รวมทง้ั เลือกใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมอื ไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทง้ั คำนงึ ถงึ ทรพั ย์สินทางปญั ญา  ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

❖ นำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูล และสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างรเู้ ทา่ ทันและรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาท่ีเช่ือมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทาง วิทยาศาสตร์ที่มีการกำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐาน ที่สามารถนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือ ที่เหมาะสม เลือกใช้เคร่ืองมือและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพทไี่ ดผ้ ลเท่ยี งตรงและปลอดภยั ❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลท่ีได้จากการสำรวจตรวจสอบ จากพยานหลักฐาน โดยใช้ความรแู้ ละหลักการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการแปลความหมายและลงขอ้ สรุป และสื่อสารความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลย ี สารสนเทศเพ่อื ให้ผู้อนื่ เข้าใจได้อย่างเหมาะสม ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในส่ิงที่จะเรียนร้ ู มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการ ที่ให้ได้ผลถูกต้อง เช่ือถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของ ตนเอง รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมีข้อมูล และประจกั ษพ์ ยานใหมเ่ พิม่ ขน้ึ หรอื โตแ้ ยง้ จากเดมิ ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบท้ังด้านบวกและ ด้านลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อมและต่อบริบทอ่ืน ๆ และศึกษาหาความรู้ เพ่มิ เตมิ ทำโครงงานหรอื สร้างชน้ิ งานตามความสนใจ ❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการดูแลรักษาความสมดุล ของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ จบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ❖ เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของ มนษุ ย์ ภมู คิ มุ้ กนั ในรา่ งกายของมนษุ ยแ์ ละความผดิ ปกตขิ องระบบภมู คิ มุ้ กนั การใชป้ ระโยชนจ์ ากสาร ตา่ ง ๆ ทพ่ี ชื สรา้ งขน้ึ การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรม ววิ ฒั นาการ ท่ีทำให้เกิดความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)  ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

❖ เขา้ ใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภมู ศิ าสตรต์ า่ ง ๆ ของโลก การเปลยี่ นแปลง แทนทใี่ นระบบนเิ วศ ปัญหาและผลกระทบทม่ี ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม แนวทางในการ อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปญั หาส่ิงแวดล้อม ❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญท่ีเป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัต ิ บางประการของธาตุ การจดั เรยี งธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคและสมบตั ิ ต่าง ๆ ของสารท่ีมีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมี โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การเกิดปฏกิ ิริยาเคมี ปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และการเขยี นสมการเคมี ❖ เขา้ ใจปรมิ าณท่ีเกี่ยวกบั การเคลอ่ื นท่ี ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรง มวลและความเรง่ ผลของความเร่งที่มีต่อการเคล่ือนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ ระหวา่ งสนามแมเ่ หลก็ และกระแสไฟฟ้า และแรงภายในนิวเคลยี ส ❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยน พลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลน่ื การไดย้ นิ ปรากฏการณ์ทเี่ กย่ี วข้องกบั เสยี ง สีกับการมองเห็นสี คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ และประโยชนข์ องคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ ของแผ่นธรณีท่สี ัมพันธ์กับการเกดิ ลักษณะธรณีสณั ฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผน่ ดนิ ไหว ภเู ขาไฟ ระเบิด สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภยั ❖ เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ท่ีม ี ต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการหมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพ่ือลดกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมท้งั การแปลความหมายสญั ลกั ษณล์ มฟ้าอากาศท่ีสำคัญจากแผนท่อี ากาศ และขอ้ มลู สารสนเทศ ❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของ เอกภพ หลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของ กาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดและการสร้างพลังงาน ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์ และความสัมพันธร์ ะหวา่ งความส่องสว่างกบั โชตมิ าตรของดาวฤกษ์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปล่ียนแปลงสมบัติบางประการของ ดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห ์ ที่เอ้ือต่อการดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก รวมทั้งการสำรวจอวกาศและ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ 10 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

❖ ระบปุ ญั หา ตงั้ คำถามทจี่ ะสำรวจตรวจสอบ โดยมกี ารกำหนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ต้ังสมมติฐานท่ีเป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมตฐิ านท่เี ป็นไปได ้ ❖ ต้ังคำถามหรือกำหนดปัญหาท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของความรู้และความเข้าใจทาง วิทยาศาสตร์ ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงท่ีสามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า ได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งท่ีจะพบ เพื่อนำ ไปสกู่ ารสำรวจตรวจสอบ ออกแบบวธิ กี ารสำรวจตรวจสอบตามสมมตฐิ านทก่ี ำหนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีการในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้งในเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ และบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบอยา่ งเปน็ ระบบ ❖ วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุป เพอ่ื ตรวจสอบกบั สมมตฐิ านทตี่ ง้ั ไว้ ใหข้ อ้ เสนอแนะเพอ่ื ปรบั ปรงุ วธิ กี ารสำรวจตรวจสอบ จดั กระทำขอ้ มลู และนำเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ส่ือสารแนวคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจโดยมีหลักฐานอ้างอิง หรอื มีทฤษฎรี องรับ ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในการสืบเสาะ หาความรู้ โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการท่ีให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทางวิทยาศาสตร์อาจมกี ารเปลีย่ นแปลงได ้ ❖ แสดงถงึ ความพอใจและเหน็ คณุ คา่ ในการคน้ พบความรู้ พบคำตอบ หรอื แกป้ ญั หาได ้ ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เก่ียวกับผลของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และส่ิงแวดล้อม และยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผ้อู ืน่ ❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลย ี ประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยตี อ่ ชีวติ สังคม และส่ิงแวดล้อม ❖ ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานท่ีเป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือ สรา้ งช้ินงานตามความสนใจ ❖ แสดงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้และรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแล ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มของทอ้ งถิ่น ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 11 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

❖ วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีท่ีซับซ้อน การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยกี บั ศาสตรอ์ น่ื โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรอื คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรยี บเทียบ และตดั สนิ ใจเพอื่ เลือกใชเ้ ทคโนโลยี โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบ สร้างหรือพัฒนาผลงาน สำหรับแก้ปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ เครือ่ งมอื ได้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทง้ั คำนงึ ถึงทรพั ย์สินทางปญั ญา ❖ ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร เพือ่ รวบรวมขอ้ มูลในชีวิตจริงจากแหล่งตา่ ง ๆ และความรูจ้ ากศาสตร์อน่ื มาประยกุ ต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัย มีจริยธรรม 12 ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กบั สงิ่ มชี วี ติ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สงิ่ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมาย ของประชากร ปญั หาและผลกระทบทมี่ ตี อ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน ์ ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบชุ ือ่ พชื และสัตว์ทีอ่ าศัยอยูบ่ รเิ วณตา่ ง ๆ • บริเวณตา่ ง ๆ ในท้องถ่นิ เชน่ สนามหญ้า ใตต้ ้นไม้ จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ สวนหยอ่ ม แหลง่ นำ้ อาจพบพชื และสตั วห์ ลายชนดิ ๒. บอกสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมกับการดำรงชีวิต อาศยั อยู ่ ของสัตวใ์ นบรเิ วณท่อี าศยั อยู่ • บรเิ วณทแ่ี ตกตา่ งกนั อาจพบพชื และสตั วแ์ ตกตา่ งกนั เพราะสภาพแวดล้อมของแต่ละบรเิ วณจะม ี ความเหมาะสมตอ่ การดำรงชวี ติ ของพืชและสัตว์ ทอี่ าศยั อยใู่ นแต่ละบริเวณ เชน่ สระน้ำ มีน้ำเปน็ ทีอ่ ยอู่ าศัยของหอย ปลา สาหร่าย เป็นทห่ี ลบภัย และมแี หล่งอาหารของหอยและปลา บรเิ วณ ตน้ มะมว่ งมตี น้ มะมว่ งเปน็ แหลง่ ทอี่ ยู่ และมอี าหาร สำหรับกระรอกและมด • ถา้ สภาพแวดลอ้ มในบรเิ วณทพ่ี ชื และสัตว์อาศยั อยู่ มกี ารเปลย่ี นแปลง จะมีผลต่อการดำรงชวี ติ ของ พืชและสัตว ์ ป.๒ - - ป.๓ - - ป.๔ - - ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 13 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป.๕ ๑. บรรยายโครงสรา้ งและลกั ษณะของสิง่ มชี วี ติ • สงิ่ มชี ีวติ ทั้งพชื และสัตวม์ ีโครงสร้างและลักษณะ ทีเ่ หมาะสมกบั การดำรงชวี ิต ซ่งึ เป็นผลมาจาก ท่ีเหมาะสมในแตล่ ะแหลง่ ทอี่ ยู่ ซ่ึงเปน็ ผลมาจาก การปรับตวั ของส่ิงมีชวี ิตในแตล่ ะแหล่งท่ีอยู่ การปรับตัวของสิง่ มชี ีวติ เพ่อื ใหด้ ำรงชีวิตและ อยู่รอดไดใ้ นแต่ละแหลง่ ท่อี ยู่ เชน่ ผักตบชวามี ชอ่ งอากาศในกา้ นใบ ชว่ ยใหล้ อยนำ้ ได้ ตน้ โกงกาง ทข่ี ึ้นอย่ใู นป่าชายเลนมีรากคำ้ จุนทำให้ลำตน้ ไมล่ ้ม ปลามีครบี ช่วยในการเคลอ่ื นท่ใี นน้ำ ๒. อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวิตกับ • ในแหล่งทอ่ี ย่หู นงึ่ ๆ สิ่งมชี วี ติ จะมีความสมั พันธ์ สงิ่ มีชีวิต และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่งิ มีชวี ิต ซ่งึ กันและกันและสัมพันธก์ บั ส่ิงไม่มชี วี ิต เพ่ือ กับส่งิ ไมม่ ชี วี ติ เพ่ือประโยชนต์ อ่ การดำรงชีวิต ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต เช่น ความสมั พันธก์ ัน ๓. เขยี นโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าทข่ี อง ด้านการกนิ กนั เป็นอาหาร เป็นแหล่งท่อี ยู่อาศัย ส่ิงมชี วี ิตที่เป็นผผู้ ลิตและผู้บรโิ ภคในโซ่อาหาร หลบภยั และเลย้ี งดลู กู ออ่ น ใชอ้ ากาศในการหายใจ ๔. ตระหนักในคณุ ค่าของส่งิ แวดล้อมท่มี ีต่อการ • สงิ่ มชี วี ติ มกี ารกนิ กนั เปน็ อาหาร โดยกนิ ตอ่ กนั ดำรงชวี ิตของสง่ิ มีชีวิต โดยมีสว่ นร่วมในการดแู ล เปน็ ทอด ๆ ในรปู แบบของโซอ่ าหาร ทำใหส้ ามารถ รกั ษาสง่ิ แวดล้อม ระบบุ ทบาทหน้าท่ขี องสิ่งมชี ีวิตเป็นผ้ผู ลิตและ ผบู้ รโิ ภค ป.๖ - - ม.๑ - - ม.๒ - - ม.๓ ๑. อธิบายปฏสิ ัมพนั ธ์ขององค์ประกอบของ • ระบบนเิ วศประกอบด้วยองค์ประกอบท่ีมชี วี ิต ระบบนเิ วศที่ไดจ้ ากการสำรวจ เช่น พชื สตั ว์ จลุ นิ ทรยี ์ และองคป์ ระกอบท ี ่ ไม่มชี ีวิต เช่น แสง นำ้ อุณหภูมิ แร่ธาตุ แกส๊ องค์ประกอบเหลา่ นีม้ ปี ฏสิ ัมพันธ์กนั เชน่ พืชตอ้ งการแสง น้ำ และแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ในการสรา้ งอาหาร สัตว์ตอ้ งการอาหาร และ สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมในการดำรงชีวติ เชน่ อณุ หภมู ิ ความชื้น องค์ประกอบทง้ั สองส่วนน้ี จะตอ้ งมคี วามสัมพนั ธ์กนั อย่างเหมาะสม ระบบนเิ วศจึงจะสามารถคงอยูต่ อ่ ไปได้ 14 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. อธบิ ายรูปแบบความสมั พันธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ิต • ส่งิ มชี วี ติ กบั สง่ิ มชี วี ติ มีความสมั พันธก์ ันในรปู แบบ กบั สง่ิ มชี วี ติ รปู แบบตา่ ง ๆ ในแหลง่ ทอ่ี ยเู่ ดยี วกนั ต่าง ๆ เชน่ ภาวะพงึ่ พากนั ภาวะอิงอาศัย ทไี่ ดจ้ ากการสำรวจ ภาวะเหยือ่ กับผลู้ า่ ภาวะปรสติ • สิ่งมีชวี ติ ชนดิ เดยี วกนั ทอ่ี าศยั อย่รู ่วมกนั ใน แหล่งท่อี ยเู่ ดียวกนั ในชว่ งเวลาเดยี วกนั เรียกว่า ประชากร • กลมุ่ สิง่ มีชวี ิตประกอบดว้ ยประชากรของส่ิงมชี ีวติ หลาย ๆ ชนิด อาศัยอยู่รว่ มกนั ในแหล่งที่อยู่ เดียวกัน ๓. สรา้ งแบบจำลองในการอธบิ ายการถา่ ยทอด • กลมุ่ ส่งิ มีชวี ติ ในระบบนิเวศแบ่งตามหนา้ ท่ไี ดเ้ ปน็ พลังงานในสายใยอาหาร ๓ กลุ่ม ไดแ้ ก่ ผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และผู้ยอ่ ยสลาย ๔. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ของผ้ผู ลติ ผบู้ ริโภค และ สารอนิ ทรีย์ ส่งิ มีชีวิตทัง้ ๓ กลุม่ น้ี มีความ ผ้ยู อ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ใ์ นระบบนิเวศ สัมพันธ์กนั ผ้ผู ลติ เปน็ สิง่ มีชวี ติ ทีส่ ร้างอาหาร ๕. อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมชี ีวิตในโซ่อาหาร ไดเ้ อง โดยกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ๖. ตระหนักถงึ ความสัมพันธข์ องสิง่ มีชวี ิต และ ผบู้ รโิ ภค เป็นสงิ่ มชี วี ติ ท่ีไมส่ ามารถสรา้ งอาหาร ส่ิงแวดล้อมในระบบนเิ วศ โดยไมท่ ำลายสมดลุ ได้เอง และตอ้ งกินผู้ผลิตหรอื สง่ิ มชี ีวิตอื่น ของระบบนิเวศ เปน็ อาหาร เมือ่ ผผู้ ลิตและผู้บรโิ ภคตายลง จะถูก ยอ่ ยโดยผยู้ อ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ซ์ ึง่ จะเปลยี่ น สารอนิ ทรีย์เปน็ สารอนนิ ทรยี ์กลบั คืนส ่ ู สงิ่ แวดลอ้ ม ทำใหเ้ กดิ การหมนุ เวยี นสารเปน็ วฏั จกั ร จำนวนผผู้ ลติ ผบู้ รโิ ภค และผยู้ อ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ์ จะต้องมคี วามเหมาะสม จึงทำให้กลุม่ สงิ่ มชี วี ติ อยไู่ ดอ้ ยา่ งสมดุล • พลังงานถกู ถ่ายทอดจากผผู้ ลติ ไปยังผู้บริโภค ลำดับต่าง ๆ รวมทง้ั ผ้ยู อ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ์ ในรูปแบบสายใยอาหาร ท่ีประกอบดว้ ย โซอ่ าหาร หลายโซท่ ส่ี มั พนั ธก์ นั ในการถา่ ยทอดพลังงานใน โซอ่ าหาร พลงั งานทถ่ี ูกถ่ายทอดไปจะลดลง เรื่อย ๆ ตามลำดับของการบรโิ ภค • การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ อาจทำให้ มีสารพษิ สะสมอย่ใู นสง่ิ มีชีวิตได้ จนอาจก่อให้เกดิ อันตรายตอ่ ส่งิ มีชีวติ และทำลายสมดุลใน ระบบนิเวศ ดงั นน้ั การดแู ลรักษาระบบนิเวศ ให้เกดิ ความสมดลุ และคงอยู่ตลอดไปจึงเป็น ส่งิ สำคัญ ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 15 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๔ ๑. สืบคน้ ข้อมูลและอธบิ ายความสัมพันธ์ของสภาพ • บรเิ วณของโลกแตล่ ะบรเิ วณมสี ภาพทางภมู ศิ าสตร์ ทางภมู ศิ าสตร์บนโลกกับความหลากหลายของ ท่แี ตกตา่ งกนั แบ่งออกไดเ้ ป็นหลายเขตตาม ไบโอม และยกตัวอยา่ งไบโอมชนิดต่าง ๆ สภาพภูมิอากาศและปรมิ าณนำ้ ฝน ทำให้ม ี ระบบนิเวศทห่ี ลากหลายซ่งึ สง่ ผลให้เกิด ความหลากหลายของไบโอม ๒. สบื คน้ ขอ้ มูล อภปิ รายสาเหตุ และยกตวั อยา่ ง • การเปล่ยี นแปลงของระบบนเิ วศเกิดขึน้ ได ้ การเปลีย่ นแปลงแทนทีข่ องระบบนเิ วศ ตลอดเวลาทัง้ การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้นึ เอง ตามธรรมชาติและเกดิ จากการกระทำของมนุษย ์ • การเปลยี่ นแปลงแทนทเี่ ปน็ การเปลยี่ นแปลงของ กลมุ่ สิ่งมชี ีวิตท่เี กดิ ขึน้ อย่างช้า ๆ เปน็ เวลานาน ซ่งึ เปน็ ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งองคป์ ระกอบ ทางกายภาพและทางชวี ภาพ ส่งผลให้ระบบนิเวศ เปลีย่ นแปลงไปสสู่ มดลุ จนเกดิ สังคมสมบรู ณไ์ ด้ ๓. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ ายและยกตัวอยา่ งเกย่ี วกบั • การเปล่ยี นแปลงขององค์ประกอบในระบบนเิ วศ การเปลย่ี นแปลงขององคป์ ระกอบทางกายภาพ ท้ังทางกายภาพและทางชวี ภาพมีผลต่อการ และทางชวี ภาพที่มผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงขนาด เปลย่ี นแปลงขนาดของประชากร ของประชากรสิ่งมีชีวติ ในระบบนิเวศ ๔. สืบค้นขอ้ มูลและอภิปรายเกย่ี วกับปญั หาและ • มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาตโิ ดยปราศจาก ผลกระทบทมี่ ีต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ความระมดั ระวงั และมกี ารพฒั นาเทคโนโลยใี หม่ ๆ สง่ิ แวดลอ้ ม พรอ้ มทงั้ นำเสนอแนวทางในการ เพือ่ ช่วยอำนวยความสะดวกต่าง ๆ แกม่ นษุ ย ์ อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปญั หา สง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม และสง่ิ แวดล้อม • ปญั หาทเี่ กดิ กบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม บางปัญหาสง่ ผลกระทบในระดับท้องถ่นิ บางปญั หาก็สง่ ผลกระทบในระดบั ประเทศ และบางปัญหาส่งผลกระทบในระดบั โลก • การลดปริมาณการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ การกำจดั ของเสยี ทเ่ี ปน็ สาเหตขุ องปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม และการวางแผนจดั การทรัพยากรธรรมชาติที่ดี เปน็ ตวั อย่างของแนวทางในการอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และการลดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ท่เี กดิ ขึ้น เพอื่ ให้เกดิ การใชป้ ระโยชนท์ ย่ี ่ังยนื ม.๕ - - ม.๖ - - 16 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ยท์ ท่ี ำงานสมั พนั ธก์ นั ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ที่ ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื ทที่ ำงานสมั พนั ธก์ นั รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน ์ ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบชุ ื่อ บรรยายลักษณะและบอกหนา้ ท่ขี อง • มนษุ ยม์ สี ่วนตา่ ง ๆ ทีม่ ลี กั ษณะและหนา้ ท ่ี ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพืช แตกต่างกัน เพื่อใหเ้ หมาะสมในการดำรงชีวติ รวมทั้งบรรยายการทำหนา้ ทรี่ ว่ มกนั ของ เชน่ ตามีหนา้ ทไ่ี ว้มองดู โดยมีหนังตาและขนตา สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ยใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายใหก้ บั ตา หมู หี นา้ ทร่ี บั ฟงั เสยี ง จากข้อมูลทร่ี วบรวมได ้ โดยมใี บหแู ละรหู ู เพื่อเปน็ ทางผ่านของเสียง ๒. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของสว่ นตา่ ง ๆ ของ ปากมีหน้าที่พดู กินอาหาร มีชอ่ งปากและมี รา่ งกายตนเอง โดยการดแู ลสว่ นตา่ ง ๆ อย่าง ริมฝปี ากบนลา่ ง แขนและมอื มีหนา้ ทยี่ ก หยิบ จับ ถูกตอ้ ง ใหป้ ลอดภยั และรักษาความสะอาด มีท่อนแขนและน้ิวมือที่ขยบั ได้ สมองมหี นา้ ที่ อยูเ่ สมอ ควบคมุ การทำงานของส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย อยใู่ นกะโหลกศรี ษะ โดยสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย จะทำหน้าทีร่ ่วมกนั ในการทำกิจกรรม ในชีวิตประจำวัน • สัตวม์ หี ลายชนิด แตล่ ะชนดิ มสี ่วนต่าง ๆ ท่ีมี ลกั ษณะและหนา้ ท่ีแตกตา่ งกัน เพ่อื ใหเ้ หมาะสม ในการดำรงชีวติ เช่น ปลามีครีบเป็นแผ่น สว่ นกบ เตา่ แมว มขี า ๔ ขา และมีเทา้ สำหรับใช้ในการ เคลอ่ื นท ี่ • พชื มสี ว่ นต่าง ๆ ท่ีมลี กั ษณะและหนา้ ที่แตกตา่ งกนั เพอื่ ใหเ้ หมาะสมในการดำรงชวี ติ โดยทัว่ ไป รากมี ลักษณะเรยี วยาว และแตกแขนงเปน็ รากเล็ก ๆ ทำหนา้ ทด่ี ดู น้ำ ลำตน้ มีลกั ษณะเปน็ ทรงกระบอก ตง้ั ตรงและมกี งิ่ กา้ น ทำหนา้ ท่ชี ูก่งิ ก้าน ใบ และดอก ใบมลี กั ษณะเป็นแผน่ แบน ทำหน้าท่ี สร้างอาหาร นอกจากน้พี ชื หลายชนิด อาจมีดอก ทม่ี ีสี รูปร่างตา่ ง ๆ ทำหน้าทส่ี ืบพันธ์ุ รวมทง้ั มผี ล ที่มีเปลอื ก มเี นอ้ื ห่อหุ้มเมล็ด และมีเมลด็ ซง่ึ สามารถงอกเป็นตน้ ใหม่ได ้ ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 17 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง • มนุษย์ใชส้ ่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายในการทำ กิจกรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื การดำรงชีวิต มนุษยจ์ ึงควร ใช้สว่ นต่าง ๆ ของร่างกายอยา่ งถกู ตอ้ ง ปลอดภยั และรักษาความสะอาดอยเู่ สมอ เชน่ ใช้ตามอง ตัวหนงั สอื ในท่ที ม่ี แี สงสวา่ งเพยี งพอ ดูแลตาให้ ปลอดภยั จากอันตราย และรักษาความสะอาดตา อยู่เสมอ ป.๒ ๑. ระบุว่าพืชตอ้ งการแสงและน้ำ เพือ่ การเจรญิ • พชื ตอ้ งการน้ำ แสง เพ่ือการเจรญิ เติบโต เติบโต โดยใชข้ อ้ มลู จากหลักฐานเชิงประจกั ษ ์ ๒. ตระหนกั ถงึ ความจำเปน็ ทีพ่ ชื ต้องไดร้ บั น้ำและ แสงเพ่อื การเจรญิ เตบิ โต โดยดูแลพชื ให้ไดร้ บั สงิ่ ดังกล่าวอย่างเหมาะสม ๓. สรา้ งแบบจำลองที่บรรยายวฏั จักรชีวติ ของ • พชื ดอกเมือ่ เจริญเติบโตและมีดอก ดอกจะมกี าร พชื ดอก สบื พันธุเ์ ปลี่ยนแปลงไปเปน็ ผล ภายในผลมีเมลด็ เมอ่ื เมลด็ งอก ต้นอ่อนท่ีอยภู่ ายในเมล็ดจะเจริญ เตบิ โตเปน็ พชื ต้นใหม่ พชื ตน้ ใหม่จะเจรญิ เติบโต ออกดอกเพอ่ื สบื พนั ธม์ุ ีผลตอ่ ไปได้อกี หมนุ เวยี น ตอ่ เน่อื งเป็นวัฏจักรชวี ติ ของพชื ดอก ป.๓ ๑. บรรยายส่งิ ทีจ่ ำเป็นตอ่ การดำรงชวี ติ และการ • มนษุ ย์และสัตว์ต้องการอาหาร นำ้ และอากาศ เจรญิ เติบโตของมนุษยแ์ ละสัตว์ โดยใชข้ ้อมูล เพือ่ การดำรงชวี ิตและการเจรญิ เติบโต ท่รี วบรวมได ้ • อาหารชว่ ยให้ร่างกายแขง็ แรงและเจริญเติบโต ๒. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องอาหาร นำ้ และอากาศ น้ำชว่ ยให้รา่ งกายทำงานได้อย่างปกติ อากาศใช้ โดยการดูแลตนเองและสัตว์ใหไ้ ดร้ ับสงิ่ เหล่านี้ ในการหายใจ อยา่ งเหมาะสม ๓. สร้างแบบจำลองท่ีบรรยายวฏั จักรชวี ติ ของสตั ว์ • สัตวเ์ ม่ือเปน็ ตวั เตม็ วยั จะสืบพนั ธุ์มีลูก เมื่อลกู และเปรียบเทยี บวฏั จักรชวี ิตของสตั วบ์ างชนิด เจริญเตบิ โตเปน็ ตัวเต็มวัยกส็ บื พันธ์มุ ลี กู ตอ่ ไป ๔. ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของชวี ิตสตั ว์ โดยไมท่ ำให้ ได้อกี หมุนเวยี นต่อเนือ่ งเป็นวฏั จกั รชวี ติ ของสัตว ์ วฏั จกั รชีวิตของสตั ว์เปลีย่ นแปลง ซึง่ สัตวแ์ ตล่ ะชนิด เช่น ผีเส้อื กบ ไก่ มนุษย ์ จะมวี ฏั จักรชวี ิตทเ่ี ฉพาะและแตกต่างกนั 18 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๔ ๑. บรรยายหนา้ ท่ีของราก ลำต้น ใบ และดอก • สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ดอกทำหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ของพชื ดอก โดยใชข้ ้อมลู ทรี่ วบรวมได ้ - รากทำหนา้ ทดี่ ดู นำ้ และธาตอุ าหารขน้ึ ไปยงั ลำตน้ - ลำต้นทำหนา้ ท่ลี ำเลียงนำ้ ต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช - ใบทำหน้าท่สี รา้ งอาหาร อาหารทีพ่ ชื สรา้ งขึน้ คอื น้ำตาลซ่ึงจะเปลย่ี นเป็นแป้ง - ดอกทำหนา้ ทีส่ ืบพนั ธุ์ ประกอบด้วย ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ได้แก่ กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี ซง่ึ สว่ นประกอบ แตล่ ะสว่ นของดอกทำหน้าที่แตกตา่ งกนั ป.๕ - - ป.๖ ๑. ระบุสารอาหารและบอกประโยชนข์ อง • สารอาหารที่อยใู่ นอาหารมี ๖ ประเภท ได้แก่ สารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารทตี่ นเอง คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลอื แร่ วติ ามนิ รบั ประทาน และนำ้ ๒. บอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหาร • อาหารแต่ละชนิดประกอบด้วยสารอาหารท ี่ ใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถว้ น ในสัดสว่ นทเี่ หมาะสม แตกตา่ งกนั อาหารบางอยา่ งประกอบดว้ ยสารอาหาร กับเพศและวยั รวมทัง้ ความปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ ประเภทเดยี ว อาหารบางอยา่ งประกอบดว้ ย ๓. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของสารอาหาร โดยการ สารอาหารมากกวา่ หน่ึงประเภท เลอื กรบั ประทานอาหารท่มี สี ารอาหารครบถ้วน • สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชนต์ ่อรา่ งกาย ในสัดสว่ นทเี่ หมาะสมกบั เพศและวยั รวมทง้ั แตกตา่ งกัน โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ เปน็ สารอาหารทใ่ี หพ้ ลงั งานแกร่ า่ งกาย สว่ นเกลอื แร่ วิตามนิ และน้ำ เปน็ สารอาหารที่ไมใ่ ห้พลงั งาน แกร่ า่ งกาย แตช่ ่วยให้ร่างกายทำงานไดเ้ ปน็ ปกติ • การรับประทานอาหาร เพอื่ ใหร้ ่างกายเจริญ เตบิ โต มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามเพศ และวัย และมีสขุ ภาพดี จำเปน็ ตอ้ งรับประทาน ใหไ้ ดพ้ ลงั งานเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย และให้ไดส้ ารอาหารครบถ้วน ในสดั สว่ น ทเี่ หมาะสมกับเพศและวยั รวมทั้งตอ้ งคำนึงถงึ ชนิดและปริมาณของวตั ถุเจอื ปนในอาหาร เพื่อความปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 19 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. สรา้ งแบบจำลองระบบย่อยอาหาร และบรรยาย • ระบบยอ่ ยอาหารประกอบดว้ ยอวยั วะตา่ ง ๆ ได้แก่ หนา้ ทขี่ องอวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร รวมทั้ง ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไสเ้ ลก็ อธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ลำไสใ้ หญ่ ทวารหนกั ตับ และตบั อ่อน ซ่ึงทำ ๕. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของระบบยอ่ ยอาหาร หนา้ ทีร่ ่วมกันในการยอ่ ยและดดู ซมึ สารอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะ - ปากมีฟันชว่ ยบดเคย้ี วอาหารใหม้ ีขนาดเล็กลง ในระบบย่อยอาหารให้ทำงานเป็นปกต ิ และมลี นิ้ ชว่ ยคลกุ เคลา้ อาหารกับนำ้ ลาย ในนำ้ ลายมเี อนไซมย์ ่อยแป้งให้เปน็ น้ำตาล - หลอดอาหารทำหนา้ ท่ีลำเลยี งอาหารจากปาก ไปยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะอาหาร มีการยอ่ ยโปรตนี โดยกรดและเอนไซม์ที่สร้าง จากกระเพาะอาหาร - ลำไส้เล็กมีเอนไซม์ท่สี รา้ งจากผนังลำไส้เลก็ เอง และจากตบั ออ่ นทชี่ ว่ ยยอ่ ยโปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั โดยโปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และไขมัน ทผ่ี า่ นการย่อยจนเปน็ สารอาหารขนาดเลก็ พอ ท่จี ะดดู ซึมได้ รวมถงึ น้ำ เกลอื แร่ และวิตามิน จะถูกดดู ซมึ ทผี่ นังลำไสเ้ ล็กเขา้ สกู่ ระแสเลือด เพอื่ ลำเลียงไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ซ่งึ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน จะถูกนำไปใช้ เปน็ แหล่งพลังงานสำหรบั ใช้ในกจิ กรรมต่าง ๆ ส่วนน้ำ เกลือแร่ และวติ ามิน จะชว่ ยใหร้ ่างกาย ทำงานได้เปน็ ปกต ิ - ตับสร้างนำ้ ดีแลว้ ส่งมายังลำไสเ้ ลก็ ชว่ ยให้ไขมัน แตกตัว - ลำไสใ้ หญ่ทำหนา้ ทดี่ ูดน้ำและเกลือแร่ เปน็ บริเวณที่มีอาหารทย่ี อ่ ยไม่ไดห้ รือย่อยไม่หมด เปน็ กากอาหาร ซง่ึ จะถกู กำจดั ออกทางทวารหนกั • อวัยวะต่าง ๆ ในระบบย่อยอาหารมคี วามสำคญั จงึ ควรปฏิบัตติ น ดูแลรกั ษาอวยั วะใหท้ ำงาน เปน็ ปกติ 20 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. เปรยี บเทียบรปู ร่าง ลกั ษณะ และโครงสร้าง • เซลลเ์ ปน็ หนว่ ยพน้ื ฐานของสง่ิ มชี วี ติ สง่ิ มชี วี ติ ของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ รวมทง้ั บรรยายหนา้ ท่ี บางชนดิ มเี ซลลเ์ พยี งเซลลเ์ ดยี ว เชน่ อะมบี า ของผนังเซลล์ เย่ือห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซมึ พารามีเซยี ม ยีสต์ บางชนดิ มีหลายเซลล์ เชน่ นวิ เคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรีย พชื สัตว์ และคลอโรพลาสต์ • โครงสรา้ งพน้ื ฐานทพ่ี บทง้ั ในเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ ๒. ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใช้แสงศกึ ษาเซลล ์ และสามารถสงั เกตไดด้ ว้ ยกลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสง และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล ์ ได้แก่ เยอ่ื หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ และนิวเคลียส โครงสรา้ งทพี่ บในเซลล์พชื แต่ไมพ่ บในเซลลส์ ตั ว์ ได้แก่ ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ • โครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเซลลม์ หี นา้ ทแี่ ตกตา่ งกนั - ผนงั เซลล์ ทำหนา้ ทใี่ หค้ วามแขง็ แรงแกเ่ ซลล ์ - เยือ่ หมุ้ เซลล์ ทำหน้าท่หี ่อหุ้มเซลล์และควบคมุ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ - นวิ เคลียส ทำหนา้ ท่คี วบคมุ การทำงานของเซลล์ - ไซโทพลาซมึ มอี อรแ์ กเนลลท์ ท่ี ำหนา้ ทแี่ ตกตา่ งกนั - แวควิ โอล ทำหนา้ ท่ีเกบ็ นำ้ และสารตา่ ง ๆ - ไมโทคอนเดรยี ทำหนา้ ทเ่ี กย่ี วกบั การสลายสาร อาหารเพ่ือใหไ้ ดพ้ ลงั งานแก่เซลล ์ - คลอโรพลาสต์ เปน็ แหลง่ ท่เี กดิ การสังเคราะห์ ด้วยแสง ๓. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูปร่าง • เซลล์ของสิ่งมชี ีวิตมรี ูปร่าง ลักษณะ ท่ีหลากหลาย กบั การทำหน้าท่ีของเซลล์ และมคี วามเหมาะสมกบั หนา้ ทข่ี องเซลลน์ น้ั เชน่ เซลล์ประสาทสว่ นใหญ่ มเี สน้ ใยประสาทเป็น แขนงยาว นำกระแสประสาทไปยงั เซลล์อนื่ ๆ ท่ี อยู่ไกลออกไป เซลล์ขนราก เปน็ เซลลผ์ วิ ของราก ท่มี ีผนังเซลล์และเย่ือหมุ้ เซลล์ยนื่ ยาวออกมา ลักษณะคลา้ ยขนเส้นเล็ก ๆ เพ่ือเพิ่มพื้นทผี่ ิวใน การดูดน้ำและธาตุอาหาร ๔. อธิบายการจดั ระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริม่ จาก • พืชและสัตวเ์ ปน็ ส่งิ มีชวี ิตหลายเซลล์มกี ารจดั เซลล์ เน้ือเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น ระบบ โดยเรมิ่ จากเซลลไ์ ปเปน็ เนื้อเยอื่ อวยั วะ สิง่ มชี วี ิต ระบบอวยั วะ และสง่ิ มชี วี ติ ตามลำดบั เซลล์หลาย เซลลม์ ารวมกันเป็นเนอ้ื เยอ่ื เนอ้ื เยือ่ หลายชนิดมา รวมกนั และทำงานรว่ มกนั เปน็ อวยั วะ อวยั วะตา่ ง ๆ ทำงานร่วมกนั เปน็ ระบบอวยั วะ ระบบอวัยวะ ทุกระบบทำงานร่วมกนั เปน็ สง่ิ มีชีวติ ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 21 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๕. อธิบายกระบวนการแพรแ่ ละออสโมซิสจาก • เซลลม์ กี ารนำสารเขา้ สเู่ ซลล์ เพอื่ ใชใ้ นกระบวนการ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ และยกตัวอยา่ งการแพร่ ต่าง ๆ ของเซลล์ และมกี ารขจัดสารบางอย่าง และออสโมซสิ ในชวี ติ ประจำวนั ที่เซลล์ไม่ต้องการออกนอกเซลล์ การนำสารเขา้ และออกจากเซลล์มหี ลายวธิ ี เช่น การแพร่ เปน็ การเคลอื่ นทขี่ องสารจากบรเิ วณทมี่ คี วาม เขม้ ขน้ ของสารสงู ไปสบู่ ริเวณทีม่ ีความเข้มข้น ของสารตำ่ สว่ นออสโมซิส เปน็ การแพร่ของน้ำ ผา่ นเยอ่ื หมุ้ เซลล์ จากดา้ นทม่ี คี วามเข้มข้นของ สารละลายต่ำไปยงั ดา้ นทมี่ คี วามเข้มขน้ ของ สารละลายสูงกวา่ ๖. ระบุปัจจัยทจ่ี ำเป็นในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง • กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื ทีเ่ กดิ ข้นึ และผลผลติ ทีเ่ กดิ ขึน้ จากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง ในคลอโรพลาสต์ จำเปน็ ตอ้ งใชแ้ สง แกส๊ คารบ์ อนได- โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ออกไซด์ คลอโรฟลิ ล์ และนำ้ ผลผลิตทไ่ี ด้จาก การสังเคราะหด์ ้วยแสง ได้แก่ นำ้ ตาลและ แก๊สออกซิเจน ๗. อธิบายความสำคญั ของการสังเคราะห์ด้วยแสง • การสังเคราะห์ด้วยแสง เปน็ กระบวนการทสี่ ำคญั ของพืชต่อส่งิ มชี ีวติ และสง่ิ แวดล้อม ต่อสงิ่ มชี ีวติ เพราะเป็นกระบวนการเดียว ๘. ตระหนกั ในคุณคา่ ของพชื ท่มี ีตอ่ สิง่ มีชีวิตและ ทสี่ ามารถนำพลงั งานแสงมาเปล่ยี นเป็นพลงั งาน สิ่งแวดลอ้ ม โดยการรว่ มกนั ปลกู และดูแลรักษา ในรปู สารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละเกบ็ สะสมในรปู แบบ ตน้ ไมใ้ นโรงเรียนและชุมชน ต่าง ๆ ในโครงสรา้ งของพืช พชื จงึ เป็นแหล่ง อาหารและพลังงานทีส่ ำคัญของสง่ิ มชี วี ติ อื่น นอกจากนกี้ ระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงยงั เป็น กระบวนการหลักในการสร้างแกส๊ ออกซเิ จนใหก้ ับ บรรยากาศเพือ่ ให้สง่ิ มชี ีวติ อน่ื ใช้ในกระบวนการ หายใจ ๙. บรรยายลักษณะและหน้าท่ีของไซเลม็ และ • พืชมีไซเลม็ และโฟลเอ็ม ซง่ึ เป็นเน้อื เยอ่ื โฟลเอม็ มลี กั ษณะคลา้ ยทอ่ เรยี งตวั กนั เปน็ กลมุ่ เฉพาะท ่ี โดยไซเล็มทำหน้าท่ลี ำเลียงน้ำและธาตุอาหาร ๑๐. เขียนแผนภาพทีบ่ รรยายทิศทาง มที ศิ ทางลำเลียงจากรากไปสู่ลำตน้ ใบ และ การลำเลียงสารในไซเลม็ และโฟลเอ็ม สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื เพอ่ื ใชใ้ นการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ของพืช รวมถงึ กระบวนการอน่ื ๆ ส่วนโฟลเอ็มทำหน้าท ่ ี ลำเลียงอาหารท่ไี ด้จากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง มที ศิ ทางลำเลยี งจากบริเวณท่ีมีการสงั เคราะห์ด้วย แสงไปสสู่ ว่ นต่าง ๆ ของพืช 22 ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๑๑. อธบิ ายการสบื พันธแุ์ บบอาศัยเพศ และ • พชื ดอกทกุ ชนดิ สามารถสืบพันธแุ์ บบอาศัยเพศได้ ไมอ่ าศัยเพศของพืชดอก และบางชนิดสามารถสืบพันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศได้ ๑๒. อธบิ ายลักษณะโครงสรา้ งของดอกทีม่ ีส่วน ทำให้เกดิ การถ่ายเรณู รวมท้งั บรรยาย • การสืบพันธแ์ุ บบอาศยั เพศเปน็ การสืบพนั ธท์ุ มี่ ีการ การปฏสิ นธิของพชื ดอก การเกดิ ผลและเมลด็ ผสมกันของสเปิร์มกับเซลล์ไข่ การสบื พนั ธ ์ุ การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็ แบบอาศยั เพศของพชื ดอกเกดิ ขนึ้ ทด่ี อก โดยภายใน อบั เรณูของสว่ นเกสรเพศผมู้ เี รณู ซงึ่ ทำหนา้ ท ่ี ๑๓. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของสตั วท์ ่ชี ว่ ยในการ สรา้ งสเปริ ม์ ภายในออวุลของส่วนเกสรเพศเมีย ถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไมท่ ำลายชีวติ มถี ุงเอ็มบรโิ อ ทำหน้าทสี่ รา้ งเซลล์ไข ่ ของสัตว์ท่ีชว่ ยในการถ่ายเรณู • การสบื พนั ธแุ์ บบไมอ่ าศยั เพศ เปน็ การสบื พนั ธทุ์ ่พี ืช ตน้ ใหมไ่ ม่ได้เกดิ จากการปฏสิ นธิระหว่างสเปิร์ม กบั เซลล์ไข่ แตเ่ กดิ จากสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช เช่น ราก ลำต้น ใบ มกี ารเจริญเตบิ โตและพัฒนาขน้ึ มา เปน็ ต้นใหม่ได้ • การถ่ายเรณู คือ การเคล่ือนยา้ ยของเรณูจาก อับเรณไู ปยงั ยอดเกสรเพศเมยี ซ่งึ เก่ียวขอ้ งกบั ลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น สขี อง กลบี ดอก ตำแหนง่ ของเกสรเพศผูแ้ ละเกสรเพศ เมีย โดยมสี ิ่งท่ีช่วยในการถ่ายเรณู เช่น แมลง ลม • การถ่ายเรณูจะนำไปสูก่ ารปฏิสนธิ ซึ่งจะเกิดขนึ้ ที่ ถงุ เอ็มบรโิ อภายในออวุล หลงั การปฏสิ นธิจะได ้ ไซโกต และเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาตอ่ ไป เป็นเอ็มบรโิ อ ออวุลพฒั นาไปเป็นเมลด็ และรงั ไข่ พัฒนาไปเป็นผล • ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากตน้ เดิม โดย วธิ ีการต่าง ๆ เมอื่ เมลด็ ไปตกในสภาพแวดลอ้ มที่ เหมาะสมจะเกดิ การงอกของเมลด็ โดยเอ็มบริโอ ภายในเมลด็ จะเจริญออกมา โดยระยะแรก จะอาศยั อาหารที่สะสมภายในเมลด็ จนกระท่งั ใบแท้พัฒนา จนสามารถสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้ เต็มท่ี และสรา้ งอาหารได้เองตามปกต ิ ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 23 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๑๔. อธบิ ายความสำคัญของธาตุอาหาร • พืชตอ้ งการธาตอุ าหารทจ่ี ำเป็นหลายชนิดในการ บางชนิดทม่ี ีผลต่อการเจรญิ เติบโต เจรญิ เติบโตและการดำรงชวี ติ และการดำรงชีวติ ของพชื • พชื ตอ้ งการธาตอุ าหารบางชนดิ ในปรมิ าณมาก ไดแ้ ก่ ๑๕. เลอื กใช้ปุ๋ยที่มธี าตุอาหารเหมาะสมกบั พชื ใน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซยี ม สถานการณท์ ี่กำหนด แมกนเี ซยี ม และกำมะถนั ซง่ึ ในดนิ อาจมไี มเ่ พยี งพอ สำหรบั การเจริญเตบิ โตของพืช จงึ ตอ้ งมกี ารให้ ๑๖. เลือกวธิ ีการขยายพนั ธพุ์ ชื ใหเ้ หมาะสมกบั ธาตอุ าหารในรูปของปยุ๋ กับพชื อยา่ งเหมาะสม ความต้องการของมนษุ ย์ โดยใชค้ วามร ู้ เกย่ี วกับการสืบพันธขุ์ องพืช • มนุษยส์ ามารถนำความรเู้ รอ่ื งการสบื พนั ธ์ุ แบบอาศัยเพศและไม่อาศยั เพศ มาใชใ้ นการ ๑๗. อธบิ ายความสำคัญของเทคโนโลย ี ขยายพันธุเ์ พอ่ื เพม่ิ จำนวนพชื เช่น การใช้เมล็ด การเพาะเลยี้ งเนอื้ เย่อื พืชในการใช้ประโยชน์ ที่ได้จากการสบื พันธแ์ุ บบอาศัยเพศมาเพาะเลย้ี ง ด้านตา่ ง ๆ วธิ กี ารน้ีจะไดพ้ ชื ในปริมาณมาก แตอ่ าจมลี ักษณะ ทแ่ี ตกตา่ งไปจากพอ่ แม่ สว่ นการตอนกง่ิ การปกั ชำ ๑๘. ตระหนักถงึ ประโยชน์ของการขยายพันธุ์พชื การตอ่ กิ่ง การตดิ ตา การทาบก่ิง การเพาะเลี้ยง โดยการนำความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวัน เนอ้ื เยือ่ เปน็ การนำความรู้เรื่องการสบื พันธุ์แบบ ไม่อาศัยเพศของพชื มาใชใ้ นการขยายพันธ ุ์ เพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ชื ทมี่ ลี กั ษณะเหมอื นตน้ เดมิ ซงึ่ การขยายพนั ธ ์ุ แตล่ ะวธิ ี มขี ้นั ตอนแตกต่างกนั จึงควรเลือกให้ เหมาะสมกับความต้องการของมนษุ ย์ โดยตอ้ ง คำนงึ ถึงชนิดของพชื และลักษณะการสืบพนั ธ ์ุ ของพืช • เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื พืช เปน็ การนำ ความรูเ้ ก่ยี วกบั ปจั จัยทจี่ ำเป็นต่อการเจรญิ เติบโต ของพชื มาใช้ในการเพ่มิ จำนวนพชื และทำให้พชื สามารถเจริญเตบิ โตไดใ้ นหลอดทดลอง ซ่งึ จะได้ พชื จำนวนมากในระยะเวลาสน้ั และสามารถนำ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือมาประยุกต์ เพือ่ การอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื ปรบั ปรงุ พนั ธพ์ุ ชื ทม่ี คี วามสำคญั ทางเศรษฐกจิ การผลติ ยาและ สารสำคญั ในพืช และอืน่ ๆ 24 ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๒ ๑. ระบุอวัยวะและบรรยายหนา้ ท่ีของอวัยวะท่ี • ระบบหายใจมีอวยั วะต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่ เก่ยี วข้องในระบบหายใจ จมูก ท่อลม ปอด กะบงั ลม และกระดกู ซโ่ี ครง ๒. อธบิ ายกลไกการหายใจเขา้ และออก โดยใช้ • มนุษย์หายใจเขา้ เพื่อนำแก๊สออกซเิ จนเข้าสู่ แบบจำลอง รวมทัง้ อธบิ ายกระบวนการ รา่ งกายเพ่ือนำไปใชใ้ นเซลล์ และหายใจออก แลกเปล่ยี นแก๊ส เพื่อกำจดั แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ออกจาก ๓. ตระหนกั ถึงความสำคัญของระบบหายใจ รา่ งกาย โดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักษาอวัยวะ • อากาศเคล่อื นทีเ่ ขา้ และออกจากปอดได ้ ในระบบหายใจให้ทำงานเป็นปกต ิ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดนั ของอากาศภายในช่องอกซงึ่ เกยี่ วข้องกบั การทำงานของกะบงั ลม และกระดกู ซี่โครง • การแลกเปลยี่ นแก๊สออกซเิ จนกบั แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นรา่ งกาย เกดิ ขน้ึ บรเิ วณ ถงุ ลมในปอดกับหลอดเลือดฝอยทถี่ ุงลม และ ระหว่างหลอดเลอื ดฝอยกบั เนอ้ื เย่อื • การสบู บหุ รี่ การสูดอากาศทมี่ ีสารปนเป้ือน และ การเปน็ โรคเกยี่ วกับระบบหายใจบางโรค อาจทำให้เกิดโรคถุงลมโปง่ พอง ซึ่งมีผลใหค้ วามจุ อากาศของปอดลดลง ดังน้ันจงึ ควรดแู ลรักษา ระบบหายใจ ใหท้ ำหน้าท่ีเป็นปกติ ๔. ระบอุ วยั วะและบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะ • ระบบขับถ่ายมอี วยั วะที่เก่ียวข้อง คอื ไต ท่อไต ในระบบขบั ถา่ ยในการกำจดั ของเสยี ทางไต กระเพาะปสั สาวะ และทอ่ ปัสสาวะ โดยมไี ต ๕. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของระบบขับถ่าย ทำหน้าท่ีกำจัดของเสีย เชน่ ยเู รยี แอมโมเนยี ในการกำจัดของเสยี ทางไต โดยการบอก กรดยรู ิก รวมทั้งสารทร่ี ่างกายไมต่ อ้ งการออกจาก แนวทางในการปฏิบัตติ นทช่ี ว่ ยให้ระบบขับถา่ ย เลอื ด และควบคมุ สารทม่ี มี ากหรอื นอ้ ยเกนิ ไป ทำหนา้ ที่ได้อยา่ งปกต ิ เช่น นำ้ โดยขับออกมาในรูปของปสั สาวะ • การเลอื กรบั ประทานอาหารท่ีเหมาะสม เชน่ รบั ประทานอาหารท่ไี ม่มีรสเคม็ จัด การด่มื นำ้ สะอาดใหเ้ พียงพอ เปน็ แนวทางหน่ึงทชี่ ่วยให้ ระบบขบั ถา่ ยทำหนา้ ทไี่ ด้อยา่ งปกต ิ ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 25 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๖. บรรยายโครงสรา้ งและหน้าท่ีของหัวใจ • ระบบหมุนเวยี นเลือดประกอบด้วย หัวใจ หลอดเลือด และเลอื ด หลอดเลอื ด และเลือด • หวั ใจของมนษุ ยแ์ บง่ เป็น ๔ หอ้ ง ไดแ้ ก่ หัวใจ ๗. อธิบายการทำงานของระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ห้องบน ๒ ห้อง และหอ้ งล่าง ๒ ห้อง ระหวา่ ง โดยใช้แบบจำลอง หัวใจหอ้ งบนและหวั ใจห้องล่างมีล้ินหวั ใจกัน้ • หลอดเลือด แบง่ เปน็ หลอดเลือดอารเ์ ตอรี หลอดเลือดเวน หลอดเลือดฝอย ซึ่งมีโครงสรา้ ง ต่างกัน • เลือด ประกอบด้วย เซลล์เม็ดเลอื ด เพลตเลต และพลาสมา • การบบี และคลายตวั ของหวั ใจทำใหเ้ ลอื ดหมนุ เวยี น และลำเลียงสารอาหาร แกส๊ ของเสีย และสาร อนื่ ๆ ไปยงั อวัยวะและเซลลต์ ่าง ๆ ทว่ั ร่างกาย • เลอื ดทมี่ ปี รมิ าณแกส๊ ออกซเิ จนสงู จะออกจากหวั ใจ ไปยังเซลลต์ ่าง ๆ ทวั่ ร่างกาย ขณะเดยี วกนั แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากเซลลจ์ ะแพรเ่ ขา้ สเู่ ลอื ด และลำเลียงกลับเขา้ สหู่ วั ใจและถูกส่งไป แลกเปลย่ี นแก๊สที่ปอด ๘. ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการ • ชพี จรบอกถงึ จังหวะการเตน้ ของหัวใจ เปรียบเทียบอตั ราการเตน้ ของหัวใจ ขณะปกต ิ ซ่ึงอตั ราการเตน้ ของหวั ใจในขณะปกติและ และหลังทำกจิ กรรม หลังจากทำกิจกรรมตา่ ง ๆ จะแตกตา่ งกนั ๙. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของระบบหมนุ เวยี นเลอื ด สว่ นความดันเลอื ด ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดเกดิ จาก โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวยั วะ การทำงานของหวั ใจและหลอดเลอื ด ในระบบหมนุ เวียนเลือดให้ทำงานเป็นปกติ • อตั ราการเต้นของหวั ใจมีความแตกต่างกนั ใน แตล่ ะบคุ คล คนทเี่ ป็นโรคหวั ใจและหลอดเลือด จะสง่ ผลทำให้หวั ใจสบู ฉีดเลือดไมเ่ ปน็ ปกติ • การออกกำลังกาย การเลอื กรับประทานอาหาร การพักผอ่ น และการรกั ษาภาวะอารมณใ์ หเ้ ปน็ ปกติ จงึ เป็นทางเลือกหนึ่งในการดแู ลรักษาระบบ หมุนเวยี นเลือดให้เป็นปกติ 26 ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๑๐. ระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะใน • ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบดว้ ยสมอง ระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุม และไขสนั หลัง จะทำหน้าทีร่ ว่ มกับเสน้ ประสาท การทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย ซึง่ เปน็ ระบบประสาทรอบนอก ในการควบคมุ ๑๑. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของระบบประสาท การทำงานของอวยั วะต่าง ๆ รวมถึงการแสดง โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษา รวมถงึ พฤติกรรม เพอื่ การตอบสนองต่อสิง่ เร้า การปอ้ งกนั การกระทบกระเทอื นและอันตราย • เมื่อมีสิง่ เร้ามากระตุ้นหน่วยรบั ความรูส้ กึ จะเกดิ ตอ่ สมองและไขสนั หลงั กระแสประสาทสง่ ไปตามเซลลป์ ระสาทรบั ความรสู้ กึ ไปยังระบบประสาทส่วนกลาง แล้วส่ง กระแสประสาทมาตามเซลลป์ ระสาทสงั่ การ ไปยงั หนว่ ยปฏบิ ตั งิ าน เช่น กลา้ มเนอ้ื • ระบบประสาทเปน็ ระบบทีม่ คี วามซบั ซ้อนและมี ความสัมพนั ธ์กับทกุ ระบบในร่างกาย ดงั น้นั จงึ ควรปอ้ งกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ กี่ ระทบกระเทอื น ต่อสมอง หลกี เลีย่ งการใชส้ ารเสพตดิ หลีกเลี่ยง ภาวะเครียด และรบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชน ์ เพ่ือดูแลรักษาระบบประสาทใหท้ ำงานเป็นปกต ิ ๑๒. ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าทขี่ องอวยั วะใน • มนุษยม์ รี ะบบสืบพนั ธุ์ท่ีประกอบดว้ ยอวยั วะ ระบบสบื พันธ์ุของเพศชายและเพศหญิง ต่าง ๆ ทท่ี ำหน้าทเ่ี ฉพาะ โดยรงั ไขใ่ นเพศหญงิ โดยใช้แบบจำลอง จะทำหนา้ ทผี่ ลติ เซลล์ไข่ ส่วนอัณฑะในเพศชาย ๑๓. อธบิ ายผลของฮอรโ์ มนเพศชายและเพศหญงิ ที่ จะทำหน้าท่ีสรา้ งเซลลอ์ สจุ ิ ควบคุมการเปล่ยี นแปลงของร่างกาย เมอื่ เข้าสู่ • ฮอรโ์ มนเพศทำหนา้ ทีค่ วบคมุ การแสดงออกของ วยั หนมุ่ สาว ลกั ษณะทางเพศทแี่ ตกตา่ งกนั เมอื่ เขา้ สวู่ ยั หนมุ่ สาว ๑๔. ตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงของรา่ งกายเมอื่ จะมีการสรา้ งเซลลไ์ ขแ่ ละเซลล์อสุจิ การตกไข่ เข้าสู่วัยหน่มุ สาว โดยการดูแลรกั ษาร่างกาย การมรี อบเดือน และถา้ มกี ารปฏสิ นธขิ องเซลล์ไข่ และจิตใจของตนเองในชว่ งทม่ี ี และเซลล์อสุจิจะทำให้เกิดการตงั้ ครรภ ์ การเปล่ียนแปลง ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 27 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๑๕. อธิบายการตกไข่ การมปี ระจำเดือน • การมีประจำเดือน มีความสัมพนั ธ์กับการตกไข่ การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกต โดยเปน็ ผลจากการเปลยี่ นแปลงของระดบั ฮอรโ์ มน จนคลอดเปน็ ทารก เพศหญงิ ๑๖. เลือกวธิ ีการคมุ กำเนิดทเ่ี หมาะสมกบั • เมื่อเพศหญงิ มกี ารตกไขแ่ ละเซลลไ์ ขไ่ ด้รบั สถานการณท์ ก่ี ำหนด การปฏสิ นธกิ บั เซลลอ์ สจุ จิ ะทำให้ไดไ้ ซโกต ๑๗. ตระหนักถึงผลกระทบของการตัง้ ครรภ์ ไซโกตจะเจรญิ เปน็ เอ็มบริโอและฟีตัส กอ่ นวยั อนั ควร โดยการประพฤตติ นใหเ้ หมาะสม จนกระทง่ั คลอดเป็นทารก แต่ถ้าไมม่ กี ารปฏิสนธิ เซลลไ์ ขจ่ ะสลายตัว ผนังด้านในมดลกู รวมท้ัง หลอดเลือดจะสลายตัวและหลุดลอกออก เรยี กว่า ประจำเดอื น • การคมุ กำเนดิ เปน็ วิธีป้องกันไม่ให้เกิดการตงั้ ครรภ์ โดยปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กิดการปฏสิ นธหิ รือไมใ่ ห้มีการ ฝงั ตวั ของเอม็ บรโิ อ ซึง่ มีหลายวิธี เช่น การใช ้ ถงุ ยางอนามยั การกินยาคุมกำเนดิ ม.๓ - - ม.๔ ๑. อธบิ ายโครงสรา้ งและสมบตั ขิ องเยอ่ื หมุ้ เซลลท์ ี่ • เยอื่ หุ้มเซลลม์ โี ครงสร้างเป็นเยื่อหุม้ สองช้ันทม่ี ี สมั พนั ธ์กับการลำเลียงสาร และเปรียบเทยี บ ลพิ ิดเป็นองคป์ ระกอบ และมโี ปรตีนแทรกอย ู่ การลำเลยี งสารผ่านเย่อื หุ้มเซลลแ์ บบต่าง ๆ • สารท่ลี ะลายไดใ้ นลิพดิ และสารที่มีขนาดเลก็ สามารถแพรผ่ ่านเย่ือหุ้มเซลล์ได้โดยตรง ส่วนสาร ขนาดเล็กท่ีมปี ระจุตอ้ งลำเลียงผา่ นโปรตีนที่แทรก อยู่ท่ีเยื่อหุ้มเซลล์ ซง่ึ มี ๒ แบบ คอื การแพรแ่ บบ ฟาซิลเิ ทต และแอกทฟี ทรานสปอรต์ ในกรณสี าร ขนาดใหญ่ เช่น โปรตนี จะลำเลียงเขา้ โดย กระบวนการเอนโดไซโทซสิ หรือลำเลยี งออกโดย กระบวนการเอกโซไซโทซิส ๒. อธบิ ายการควบคมุ ดลุ ยภาพของนำ้ และสารใน • การรักษาดลุ ยภาพของนำ้ และสารในเลือด เลือดโดยการทำงานของไต เกดิ จากการทำงานของไต ซึ่งเป็นอวยั วะ ในระบบขบั ถา่ ยทมี่ คี วามสำคญั ในการกำจดั ของ เสียที่มีไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ รวมทัง้ น้ำและ สารที่มปี ริมาณเกินความต้องการของรา่ งกาย 28 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๓. อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพของกรด-เบสของ • การรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสในเลือดเกดิ จาก เลอื ดโดยการทำงานของไตและปอด การทำงานของไตที่ทำหน้าท่ขี บั หรือดูดกลับ ไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน และแอมโมเนียมไอออน และการทำงานของปอด ท่ีทำหนา้ ทก่ี ำจัดคาร์บอนไดออกไซด ์ ๔. อธิบายการควบคุมดลุ ยภาพของอุณหภูมิภายใน • การรกั ษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ภิ ายในร่างกาย ร่างกายโดยระบบหมนุ เวียนเลอื ด ผวิ หนงั และ เกิดจากการทำงานของระบบหมนุ เวียนเลอื ดท่ี กล้ามเนือ้ โครงร่าง ควบคุมปรมิ าณเลอื ดไปท่ผี ิวหนงั การทำงานของ ตอ่ มเหงื่อ และกล้ามเนื้อโครงรา่ ง ซึ่งสง่ ผลถงึ ปริมาณความรอ้ นทีถ่ กู เก็บหรือระบายออกจาก ร่างกาย ๕. อธิบาย และเขียนแผนผงั เก่ยี วกับการตอบสนอง • เม่อื เชื้อโรคหรือส่งิ แปลกปลอมอืน่ เขา้ สเู่ นื้อเยือ่ ของรา่ งกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะตอ่ ในรา่ งกาย รา่ งกายจะมีกลไกในการต่อตา้ นหรือ สิ่งแปลกปลอมของร่างกาย ทำลายสิ่งแปลกปลอมทงั้ แบบไมจ่ ำเพาะและ แบบจำเพาะ • เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวกลมุ่ ฟาโกไซตจ์ ะมกี ลไกในการ ต่อต้านหรอื ทำลายส่ิงแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ • กลไกในการตอ่ ตา้ นหรือทำลายสิง่ แปลกปลอม แบบจำเพาะเปน็ การทำงานของเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว ลิมโฟไซตช์ นิดบีและชนดิ ที ซึ่งเซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว ทัง้ สองชนดิ จะมตี วั รับแอนติเจน ทำใหเ้ ซลล ์ ทงั้ สองสามารถตอบสนองแบบจำเพาะตอ่ แอนตเิ จน นั้น ๆ ได้ • เซลลบ์ ีทำหน้าท่สี รา้ งแอนตบิ อดี ซงึ่ ช่วยในการ จบั กับส่ิงแปลกปลอมต่าง ๆ เพือ่ ทำลายต่อไป โดยระบบภมู ิคมุ้ กัน เซลล์ทีทำหนา้ ที่หลากหลาย เช่น กระตุ้นการทำงานของเซลล์บแี ละเซลลท์ ี ชนดิ อืน่ ทำลายเซลลท์ ่ตี ิดไวรสั และเซลล์ ทผ่ี ดิ ปกตอิ ืน่ ๆ ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 29 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๖. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรือ • บางกรณรี ่างกายอาจเกิดความผดิ ปกติของระบบ อาการที่เกิดจากความผิดปกตขิ องระบบ ภมู คิ มุ้ กนั เชน่ ภูมคิ ุ้มกนั ตอบสนองต่อแอนตเิ จน ภูมิคุ้มกัน บางชนิดอยา่ งรุนแรงมากเกนิ ไป หรือร่างกาย มีปฏกิ ริ ิยาตอบสนองต่อแอนติเจนของตนเอง อาจทำให้รา่ งกายเกิดอาการผดิ ปกตไิ ด้ ๗. อธิบายภาวะภูมคิ มุ้ กันบกพร่องท่มี สี าเหตุ • บคุ คลทีไ่ ด้รับเลอื ดหรือสารคัดหลง่ั ท่มี ีเชอื้ HIV มาจากการติดเช้ือ HIV ซงึ่ สามารถทำลายเซลลท์ ี ทำใหภ้ มู คิ มุ้ กนั บกพรอ่ ง และติดเช้อื ตา่ ง ๆ ได้ง่ายข้ึน ๘. ทดสอบ และบอกชนดิ ของสารอาหาร • กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงเป็นจุดเรม่ิ ต้น ของการสรา้ งนำ้ ตาลในพชื พชื เปล่ียนน้ำตาลไป ทีพ่ ืชสงั เคราะหไ์ ด้ ๙. สืบค้นข้อมูล อภปิ ราย และยกตวั อยา่ งเกีย่ วกบั เปน็ สารอาหารและสารอน่ื ๆ เชน่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ที่จำเปน็ ต่อการดำรงชวี ติ ของพชื การใชป้ ระโยชนจ์ ากสารตา่ ง ๆ ทีพ่ ืชบางชนิด และสัตว์ สร้างข้นึ • มนษุ ยส์ ามารถนำสารตา่ ง ๆ ทพ่ี ชื บางชนดิ สรา้ งขน้ึ ไปใชป้ ระโยชน์ เช่น ใช้เป็นยาหรอื สมนุ ไพร ในการรักษาโรคบางชนิด ใช้ในการไลแ่ มลง กำจัด ศตั รูพชื และสตั ว์ ใชใ้ นการยบั ยง้ั การเจรญิ เตบิ โต ของแบคทเี รยี และใชเ้ ป็นวตั ถดุ บิ ในอตุ สาหกรรม ๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ าย • ปจั จัยภายนอกทม่ี ีผลต่อการเจรญิ เตบิ โต เชน่ แสง เกี่ยวกบั ปจั จัยภายนอกท่ีมีผลต่อการ นำ้ ธาตอุ าหาร คารบ์ อนไดออกไซด์ และออกซเิ จน เจรญิ เตบิ โตของพชื ปจั จยั ภายใน เชน่ ฮอรโ์ มนพชื ซ่ึงพืชมีการ ๑๑. สืบคน้ ข้อมลู เกีย่ วกับสารควบคมุ การ สังเคราะห์ข้ึน เพือ่ ควบคุมการเจริญเติบโตในชว่ ง เจรญิ เตบิ โตของพชื ทม่ี นษุ ยส์ งั เคราะหข์ นึ้ ชวี ิตตา่ ง ๆ และยกตัวอย่างการนำมาประยกุ ตใ์ ช้ทางด้าน • มนุษย์มีการสงั เคราะหส์ ารควบคุมการเจรญิ เตบิ โต การเกษตรของพืช ของพชื โดยเลยี นแบบฮอรโ์ มนพชื เพ่อื นำมาใช้ ควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและเพ่ิมผลผลิตของพชื 30 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๑๒. สังเกต และอธิบายการตอบสนองของพืชตอ่ • การตอบสนองต่อสงิ่ เร้าของพืชแบ่งตามความ สง่ิ เรา้ ในรูปแบบต่าง ๆ ท่มี ผี ลตอ่ การดำรงชวี ิต สมั พันธ์กับทศิ ทางของสิง่ เรา้ ได้ ไดแ้ ก่ แบบท่มี ี ทศิ ทางสัมพันธก์ บั ทิศทางของสิง่ เร้า เช่น ดอกทานตะวันหนั เข้าหาแสง ปลายรากเจริญ เขา้ หาแรงโน้มถว่ งของโลก และแบบท่ีไมม่ ีทศิ ทาง สมั พนั ธ์กับทิศทางของสง่ิ เรา้ เชน่ การหบุ และบานของดอก หรอื การหบุ และกางของใบพืช บางชนดิ • การตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้าของพืชบางอยา่ งส่งผล ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต เชน่ การเจรญิ ในทศิ ทางเขา้ หา หรือตรงข้ามกับแรงโน้มถว่ งของโลก การเจรญิ ในทศิ ทางเขา้ หาหรอื ตรงขา้ มกับแสง และการ ตอบสนองตอ่ การสัมผัสส่ิงเร้า ม.๕ - - ม.๖ - - ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 31 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรมทม่ี ผี ลตอ่ สงิ่ มชี วี ติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของสิ่งมชี ีวิต รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน ์ ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ - - ป.๒ ๑. เปรียบเทยี บลกั ษณะของสิ่งมชี วี ติ และ • ส่ิงท่ีอย่รู อบตัวเรามที ง้ั ทีเ่ ปน็ ส่ิงมชี ีวติ และ สง่ิ ไมม่ ชี ีวติ สงิ่ มชี วี ติ ตอ้ งการอาหาร มกี ารหายใจ สง่ิ ไม่มชี ีวิต จากขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ เจรญิ เตบิ โต ขบั ถา่ ย เคลอ่ื นไหว ตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ และสืบพันธไุ์ ด้ลกู ท่ีมีลักษณะคล้ายคลงึ กบั พอ่ แม ่ ส่วนสิ่งไม่มชี วี ิตจะไม่มีลกั ษณะดงั กล่าว ป.๓ - - ป.๔ ๑. จำแนกสงิ่ มีชีวติ โดยใชค้ วามเหมอื น และ • สงิ่ มชี วี ิตมหี ลายชนิด สามารถจัดกลุม่ ได้ โดยใช้ ความแตกตา่ งของลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ิต ความเหมอื นและความแตกตา่ งของลกั ษณะตา่ ง ๆ ออกเป็นกลุม่ พชื กลุ่มสตั ว์ และกล่มุ ที่ไมใ่ ช่พชื เช่น กล่มุ พืชสรา้ งอาหารเองได้ และเคลือ่ นท่ีดว้ ย และสตั ว ์ ตนเองไม่ได้ กล่มุ สัตวก์ ินสงิ่ มชี วี ิตอ่ืนเป็นอาหาร และเคล่อื นท่ีได้ กลุ่มที่ไมใ่ ชพ่ ชื และสัตว์ เช่น เหด็ รา จลุ ินทรยี ์ ๒. จำแนกพชื ออกเปน็ พืชดอกและพชื ไม่มีดอก • การจำแนกพชื สามารถใชก้ ารมดี อกเป็นเกณฑ ์ โดยใชก้ ารมดี อกเป็นเกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มลู ในการจำแนก ได้เป็นพชื ดอกและพืชไม่มีดอก ท่รี วบรวมได้ ๓. จำแนกสตั ว์ออกเปน็ สัตวม์ กี ระดกู สันหลังและ • การจำแนกสัตว์ สามารถใช้การมกี ระดกู สนั หลัง สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั โดยใชก้ ารมกี ระดกู สนั หลงั เปน็ เกณฑใ์ นการจำแนก ไดเ้ ปน็ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ และสตั ว์ไม่มีกระดูกสนั หลงั ๔. บรรยายลักษณะเฉพาะท่สี ังเกตได้ของสัตว ์ • สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั มหี ลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา มกี ระดกู สนั หลังในกลมุ่ ปลา กลมุ่ สตั วส์ ะเทนิ นำ้ กลมุ่ สตั วส์ ะเทนิ นำ้ สะเทนิ บก กลมุ่ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน สะเทนิ บก กลมุ่ สตั ว์เลือ้ ยคลาน กลุม่ นก และ กลมุ่ นก และกลมุ่ สตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนำ้ นม ซงึ่ แตล่ ะกลมุ่ กลุ่มสัตว์เล้ยี งลกู ดว้ ยนำ้ นม และยกตวั อยา่ ง จะมีลกั ษณะเฉพาะทสี่ งั เกตได ้ ส่ิงมชี ีวติ ในแตล่ ะกลมุ่ 32 ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๕ ๑. อธิบายลักษณะทางพนั ธุกรรมทม่ี ีการถ่ายทอด • สงิ่ มีชีวิตทง้ั พืช สตั ว์ และมนุษย์ เมือ่ โตเต็มทีจ่ ะมี จากพ่อแมส่ ู่ลูกของพชื สัตว์ และมนุษย ์ การสบื พันธุเ์ พอ่ื เพ่มิ จำนวนและดำรงพันธุ์ โดยลูก ๒. แสดงความอยากรู้อยากเหน็ โดยการถามคำถาม ทเ่ี กดิ มาจะไดร้ บั การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม เกี่ยวกบั ลักษณะท่ีคลา้ ยคลงึ กนั ของตนเองกับ จากพอ่ แมท่ ำใหม้ ีลักษณะทางพันธุกรรมที่เฉพาะ พ่อแม่ แตกต่างจากสงิ่ มชี ีวิตชนิดอน่ื • พชื มีการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม เช่น ลกั ษณะของใบ สดี อก • สตั วม์ ีการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม เช่น สีขน ลักษณะของขน ลักษณะของหู • มนษุ ยม์ ีการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม เช่น เชงิ ผมทห่ี นา้ ผาก ลกั ยมิ้ ลกั ษณะหนงั ตา การหอ่ ลน้ิ ลกั ษณะของต่ิงหู ป.๖ - - ม.๑ - - ม.๒ - - ม.๓ ๑. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ยีน ดเี อน็ เอ และ • ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสง่ิ มชี วี ติ สามารถ โครโมโซม โดยใช้แบบจำลอง ถา่ ยทอดจากร่นุ หน่งึ ไปยงั อีกรนุ่ หน่ึงได้ โดยมยี ีน เป็นหน่วยควบคุมลกั ษณะทางพันธกุ รรม • โครโมโซมประกอบดว้ ย ดเี อ็นเอ และโปรตนี ขดอยใู่ นนิวเคลยี ส ยนี ดเี อน็ เอ และโครโมโซม มคี วามสมั พันธก์ นั โดยบางสว่ นของดีเอ็นเอ ทำหนา้ ที่เป็นยนี ทก่ี ำหนดลักษณะของสงิ่ มีชวี ิต • สิ่งมชี วี ิตทมี่ โี ครโมโซม ๒ ชดุ โครโมโซมทเี่ ปน็ คกู่ นั มกี ารเรยี งลำดับของยนี บนโครโมโซมเหมือนกนั เรยี กวา่ ฮอมอโลกสั โครโมโซม ยีนหนึง่ ท่ีอย ู่ บนค่ฮู อมอโลกสั โครโมโซม อาจมีรปู แบบ แตกตา่ งกนั เรยี กแตล่ ะรปู แบบของยนี ทต่ี า่ งกนั นวี้ า่ แอลลลี ซง่ึ การเขา้ คูก่ นั ของแอลลีลต่าง ๆ อาจ สง่ ผลทำใหส้ งิ่ มีชวี ติ มีลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ได ้ ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 33 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชั้น ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง • สงิ่ มีชวี ิตแตล่ ะชนดิ มจี ำนวนโครโมโซมคงท่ี มนษุ ย์ มจี ำนวนโครโมโซม ๒๓ คู่ เปน็ ออโตโซม ๒๒ คู่ และ โครโมโซมเพศ ๑ คู่ เพศหญิงมโี ครโมโซมเพศ เป็น XX เพศชายมีโครโมโซมเพศเป็น XY ๒. อธบิ ายการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมจาก • เมนเดลไดศ้ กึ ษาการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม การผสมโดยพจิ ารณาลกั ษณะเดยี วท่ีแอลลีลเดน่ ของตน้ ถ่วั ชนดิ หนึ่ง และนำมาสหู่ ลักการพ้ืนฐาน ขม่ แอลลลี ด้อยอย่างสมบูรณ ์ ของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของ ๓. อธบิ ายการเกดิ จโี นไทปแ์ ละฟีโนไทป์ของลูก สิง่ มีชวี ติ และคำนวณอัตราส่วนการเกดิ จโี นไทป ์ • สิง่ มีชีวิตทมี่ ีโครโมโซมเปน็ ๒ ชดุ ยนี แต่ละ และฟีโนไทป์ของรนุ่ ลกู ตำแหน่งบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี ๒ แอลลีล โดยแอลลลี หนง่ึ มาจากพอ่ และอีกแอลลีลมาจาก แม่ ซึง่ อาจมีรปู แบบเดียวกัน หรือแตกตา่ งกนั แอลลีลทีแ่ ตกตา่ งกนั นี้ แอลลีลหนงึ่ อาจมีการ แสดงออกขม่ อกี แอลลลี หนงึ่ ได้ เรยี กแอลลลี นนั้ วา่ เป็นแอลลีลเดน่ ส่วนแอลลีลท่ีถูกข่มอยา่ งสมบรู ณ์ เรยี กวา่ เป็นแอลลีลดอ้ ย • เมอื่ มกี ารสร้างเซลล์สืบพนั ธุ์ แอลลลี ทเ่ี ป็นคกู่ นั ในแตล่ ะฮอมอโลกสั โครโมโซมจะแยกจากกัน ไปสเู่ ซลลส์ บื พนั ธแุ์ ตล่ ะเซลล์ โดยแตล่ ะเซลลส์ บื พนั ธุ์ จะไดร้ บั เพยี ง ๑ แอลลลี และจะมาเขา้ คกู่ บั แอลลลี ทต่ี ำแหนง่ เดยี วกนั ของอกี เซลลส์ บื พนั ธห์ุ นงึ่ เมื่อเกดิ การปฏิสนธิ จนเกิดเปน็ จีโนไทป์และ แสดงฟโี นไทปใ์ นรนุ่ ลูก 34 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. อธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์แบบ • กระบวนการแบง่ เซลล์ของสิง่ มชี วี ติ มี ๒ แบบ คอื ไมโทซสิ และไมโอซิส ไมโทซสิ และไมโอซิส • ไมโทซิส เปน็ การแบ่งเซลลเ์ พ่อื เพ่มิ จำนวนเซลล์ รา่ งกาย ผลจากการแบ่งจะได้เซลล์ใหม่ ๒ เซลล์ ทมี่ ลี กั ษณะและจำนวนโครโมโซมเหมอื นเซลลต์ ง้ั ตน้ • ไมโอซิส เป็นการแบ่งเซลล์เพ่ือสร้างเซลล์สบื พนั ธ์ุ ผลจากการแบ่งจะได้เซลลใ์ หม่ ๔ เซลล์ ทมี่ ี จำนวนโครโมโซมเป็นครง่ึ หนง่ึ ของเซลล์ต้ังตน้ เมอื่ เกดิ การปฏิสนธขิ องเซลล์สืบพันธ์ุ ลูกจะได้รบั การถา่ ยทอดโครโมโซมชดุ หนงึ่ จากพอ่ และอกี ชดุ หน่งึ จากแม่ จงึ เป็นผลให้รนุ่ ลูกมจี ำนวน โครโมโซมเทา่ กบั รนุ่ พอ่ แมแ่ ละจะคงทใี่ นทกุ ๆ รนุ่ ๕. บอกไดว้ ่าการเปล่ียนแปลงของยนี หรอื โครโมโซม • การเปลี่ยนแปลงของยนี หรอื โครโมโซม ส่งผลให้ อาจทำใหเ้ กดิ โรคทางพนั ธกุ รรม พรอ้ มท้ัง เกดิ การเปลี่ยนแปลงลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของ ยกตวั อยา่ งโรคทางพนั ธกุ รรม ส่งิ มีชีวิต เชน่ โรคธาลัสซีเมียเกิดจากการ ๖. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความร้เู รอ่ื งโรคทาง เปลย่ี นแปลงของยนี กลมุ่ อาการดาวนเ์ กดิ จากการ พนั ธกุ รรม โดยรวู้ า่ กอ่ นแตง่ งานควรปรกึ ษาแพทย์ เปล่ียนแปลงจำนวนโครโมโซม เพื่อตรวจและวนิ ิจฉัยภาวะเสยี่ งของลกู ท่ีอาจ • โรคทางพนั ธกุ รรมสามารถถา่ ยทอดจากพอ่ แมไ่ ปสู่ เกิดโรคทางพนั ธกุ รรม ลกู ได้ ดงั นน้ั กอ่ นแตง่ งานและมบี ตุ รจงึ ควรปอ้ งกนั โดยการตรวจและวินจิ ฉัยภาวะเสย่ี งจากการ ถ่ายทอดโรคทางพนั ธกุ รรม ๗. อธิบายการใช้ประโยชนจ์ ากส่ิงมีชีวติ ดัดแปร • มนษุ ยเ์ ปล่ียนแปลงพันธุกรรมของสง่ิ มีชีวิตตาม พนั ธกุ รรม และผลกระทบท่ีอาจมีตอ่ มนษุ ย ์ ธรรมชาติ เพือ่ ใหไ้ ด้ส่งิ มีชีวติ ทมี่ ีลักษณะตาม และส่ิงแวดลอ้ ม โดยใชข้ ้อมลู ท่รี วบรวมได ้ ตอ้ งการ เรยี กสง่ิ มชี วี ติ นว้ี า่ สงิ่ มชี วี ติ ดดั แปรพนั ธกุ รรม ๘. ตระหนกั ถงึ ประโยชนแ์ ละผลกระทบของสง่ิ มชี วี ติ • ในปัจจุบันมนษุ ย์มกี ารใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิต ดดั แปรพนั ธกุ รรมทอี่ าจมตี อ่ มนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ดัดแปรพันธกุ รรมเปน็ จำนวนมาก เช่น การผลิต โดยการเผยแพรค่ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการโตแ้ ยง้ ทาง อาหาร การผลติ ยารกั ษาโรค การเกษตร อยา่ งไรกด็ ี วทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ มีข้อมูลสนบั สนนุ สังคมยังมีความกงั วลเกยี่ วกบั ผลกระทบของ สง่ิ มชี วี ติ ดดั แปรพันธกุ รรมท่ีมตี ่อสิ่งมีชีวิตและ ส่งิ แวดล้อม ซึ่งยังทำการติดตามศึกษาผลกระทบ ดงั กล่าว ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 35 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๙. เปรียบเทียบความหลากหลายทางชวี ภาพ • ความหลากหลายทางชวี ภาพ มี ๓ ระดับ ได้แก่ ในระดับชนดิ ส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศตา่ ง ๆ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความหลาก ๑๐. อธบิ ายความสำคญั ของความหลากหลายทาง หลายของชนิดส่ิงมชี ีวติ และความหลากหลาย ชีวภาพที่มตี อ่ การรักษาสมดลุ ของระบบนเิ วศ ทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพน้มี ี และต่อมนษุ ย์ ความสำคญั ต่อการรักษาสมดุลของระบบนเิ วศ ๑๑. แสดงความตระหนกั ในคุณค่าและความสำคัญ ระบบนเิ วศทม่ี ีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ของความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยมสี ว่ นรว่ ม จะรกั ษาสมดุลไดด้ กี วา่ ระบบนเิ วศท่ีมคี วาม ในการดูแลรกั ษาความหลากหลายทางชวี ภาพ หลากหลายทางชีวภาพตำ่ กว่า นอกจากน ี ้ ความหลากหลายทางชวี ภาพยงั มีความสำคัญ ตอ่ มนุษย์ในดา้ นต่าง ๆ เชน่ ใช้เป็นอาหาร ยารกั ษาโรค วตั ถดุ บิ ในอตุ สาหกรรมต่าง ๆ ดงั น้นั จงึ เปน็ หนา้ ที่ของทุกคนในการดแู ลรกั ษา ความหลากหลายทางชีวภาพให้คงอยู่ ม.๔ ๑. อธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ งยนี การสังเคราะห์ • ดีเอน็ เอ มีโครงสรา้ งประกอบดว้ ยนวิ คลโี อไทด ์ โปรตีน และลักษณะทางพนั ธุกรรม มาเรียงตอ่ กนั โดยยีนเปน็ ช่วงของสายดเี อน็ เอทีม่ ี ลำดับนิวคลโี อไทดท์ ีก่ ำหนดลกั ษณะของโปรตนี ทส่ี ังเคราะหข์ น้ึ ซงึ่ สง่ ผลใหเ้ กดิ ลกั ษณะทาง พนั ธกุ รรมตา่ ง ๆ ๒. อธบิ ายหลกั การถา่ ยทอดลกั ษณะที่ถูกควบคุม • ลักษณะบางลักษณะมโี อกาสพบในเพศชาย ดว้ ยยนี ทอี่ ยบู่ นโครโมโซมเพศและมลั ตเิ ปลิ แอลลลี และเพศหญงิ ไมเ่ ทา่ กนั เชน่ ตาบอดสี และฮโี มฟเี ลยี ซึง่ ควบคมุ โดยยีนบนโครโมโซมเพศ บางลักษณะ มีการควบคุมโดยยีนแบบมัลติเปลิ แอลลลี เชน่ หม่เู ลอื ดระบบ ABO ซงึ่ การถ่ายทอดลกั ษณะ ทางพนั ธกุ รรมดงั กลา่ วจัดเป็นสว่ นขยายของ พันธศุ าสตรเ์ มนเดล ๓. อธบิ ายผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงลำดับ • มวิ เทชนั ทีเ่ ปลยี่ นแปลงลำดบั นวิ คลีโอไทด์ หรอื นวิ คลโี อไทด์ในดเี อน็ เอตอ่ การแสดงลักษณะของ เปลีย่ นแปลงโครงสร้างหรอื จำนวนโครโมโซม สง่ิ มีชีวติ อาจสง่ ผลทำให้ลกั ษณะของส่งิ มชี ีวติ เปลีย่ นแปลง ๔. สบื คน้ ข้อมลู และยกตัวอย่างการนำมิวเทชนั ไปจากเดิม ซึ่งอาจมผี ลดีหรือผลเสีย ไปใชป้ ระโยชน์ • มนษุ ยใ์ ชห้ ลกั การของการเกดิ มวิ เทชนั ในการชกั นำ ใหไ้ ดส้ ิง่ มชี วี ติ ทม่ี ลี ักษณะท่ีแตกตา่ งจากเดมิ โดยการใชร้ งั สแี ละสารเคมตี ่าง ๆ 36 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๕. สืบคน้ ข้อมลู และอภิปรายผลของเทคโนโลย ี • มนุษยน์ ำความร้เู ทคโนโลยีทางดเี อน็ เอ ทางดีเอ็นเอที่มีต่อมนุษย์และสิง่ แวดลอ้ ม มาประยกุ ต์ใช้ทางดา้ นการแพทย์ และเภสชั กรรม เช่น การสรา้ งส่งิ มีชวี ิตดัดแปรพนั ธุกรรม เพ่ือผลิต ๖. สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบาย และยกตัวอย่าง ยาและวัคซีน ด้านการเกษตร เชน่ พืชดัดแปร ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวิต ซ่ึงเป็น พันธกุ รรมท่ีตา้ นทานโรคหรอื แมลง สตั ว์ดัดแปร ผลมาจากววิ ฒั นาการ พันธกุ รรมที่มีลักษณะตามทตี่ ้องการ และดา้ น นติ ิวทิ ยาศาสตร์ เช่น การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ม.๕ - เพื่อหาความสัมพนั ธ์ทางสายเลือด หรือเพ่อื หา - ผู้กระทำผดิ ม.๖ • การใชเ้ ทคโนโลยที างดเี อน็ เอในดา้ นตา่ ง ๆ ต้อง คำนึงถงึ ความปลอดภยั ทางชีวภาพ ชวี จรยิ ธรรม และผลกระทบทางด้านสงั คม • สง่ิ มชี วี ติ ทมี่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั มลี กั ษณะทปี่ รากฏให้เห็น แตกตา่ งกนั ซึ่งเป็นผลมาจากความหลากหลาย ของลักษณะทางพันธุกรรม ซึง่ เกดิ จากมวิ เทชัน รว่ มกบั การคดั เลือกโดยธรรมชาต ิ • ผลจากกระบวนการคดั เลอื กโดยธรรมชาติ ทำให้ สง่ิ มีชวี ิตท่ีมีลักษณะเหมาะสมในการดำรงชวี ิต สามารถปรบั ตัวให้อยู่รอดได้ในสงิ่ แวดล้อมนัน้ ๆ • กระบวนการคดั เลอื กโดยธรรมชาตเิ ป็นหลกั การ ท่สี ำคญั อยา่ งหนง่ึ ท่ที ำใหเ้ กดิ วิวัฒนาการของ สิง่ มชี ีวิต - - ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 37 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของสสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคม ี ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อธบิ ายสมบตั ทิ ่ีสงั เกตไดข้ องวัสดทุ ีใ่ ช้ทำวตั ถ ุ • วัสดุทีใ่ ชท้ ำวตั ถุทเี่ ปน็ ของเล่น ของใช้ มีหลายชนดิ ซง่ึ ทำจากวสั ดชุ นดิ เดยี วหรอื หลายชนดิ ประกอบกนั เช่น ผ้า แกว้ พลาสตกิ ยาง ไม้ อิฐ หิน กระดาษ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ โลหะ วัสดแุ ตล่ ะชนดิ มสี มบตั ทิ ีส่ ังเกตไดต้ า่ ง ๆ ๒. ระบชุ นิดของวัสดุและจดั กล่มุ วัสดุ เช่น สี นมุ่ แขง็ ขรุขระ เรียบ ใส ขนุ่ ยืดหดได้ ตามสมบตั ิที่สงั เกตได้ บิดงอได้ • สมบตั ทิ สี่ งั เกตไดข้ องวสั ดแุ ตล่ ะชนดิ อาจเหมอื นกนั ซ่ึงสามารถนำมาใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการจดั กลมุ่ วสั ดไุ ด ้ • วสั ดุบางอยา่ งสามารถนำมาประกอบกัน เพือ่ ทำเปน็ วตั ถตุ า่ ง ๆ เช่น ผา้ และกระดมุ ใชท้ ำเส้อื ไมแ้ ละโลหะ ใชท้ ำกระทะ ป.๒ ๑. เปรยี บเทยี บสมบตั ิการดดู ซับนำ้ ของวัสดุโดยใช้ • วสั ดุแตล่ ะชนิดมสี มบัติการดูดซับนำ้ แตกตา่ งกนั หลกั ฐานเชิงประจักษ์ และระบกุ ารนำสมบัต ิ จงึ นำไปทำวตั ถเุ พอื่ ใชป้ ระโยชนไ์ ด้แตกต่างกัน เชน่ การดดู ซบั นำ้ ของวสั ดไุ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทำวตั ถุ ใช้ผ้าท่ดี ดู ซบั น้ำได้มากทำผา้ เช็ดตัว ใชพ้ ลาสติก ในชวี ติ ประจำวนั ซง่ึ ไมด่ ดู ซับน้ำทำร่ม ๒. อธิบายสมบัติทสี่ งั เกตได้ของวัสดทุ เี่ กิดจาก • วัสดบุ างอยา่ งสามารถนำมาผสมกันซ่งึ ทำใหไ้ ด้ การนำวสั ดมุ าผสมกนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ ์ สมบัติทเี่ หมาะสม เพื่อนำไปใชป้ ระโยชนต์ าม ตอ้ งการ เช่น แป้งผสมนำ้ ตาลและกะทิ ใชท้ ำ ขนมไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเย่อื กระดาษใชท้ ำ กระปกุ ออมสนิ ปูนผสมหิน ทราย และน้ำใชท้ ำ คอนกรีต 38 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๓. เปรยี บเทยี บสมบัตทิ สี่ ังเกตไดข้ องวสั ดุ เพ่ือนำ • การนำวัสดมุ าทำเปน็ วตั ถใุ นการใช้งานตาม มาทำเป็นวัตถุในการใชง้ านตามวัตถปุ ระสงค์ วัตถุประสงคข์ น้ึ อยู่กับสมบตั ขิ องวัสดุ วัสดุที่ใช้ และอธิบายการนำวสั ดุทีใ่ ชแ้ ล้วกลบั มาใชใ้ หม่ แล้วอาจนำกลับมาใช้ใหมไ่ ด้ เชน่ กระดาษใชแ้ ลว้ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ ์ อาจนำมาทำเปน็ จรวดกระดาษ ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ ๔. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องการนำวสั ดทุ ใี่ ช้แล้ว ถุงใสข่ อง กลบั มาใช้ใหม่ โดยการนำวสั ดทุ ใ่ี ช้แลว้ กลับมา ใชใ้ หม่ ป.๓ ๑. อธิบายว่าวัตถปุ ระกอบขึ้นจากช้นิ ส่วนย่อย ๆ • วตั ถุอาจทำจากชนิ้ สว่ นยอ่ ย ๆ ซง่ึ แตล่ ะช้นิ ซ่งึ สามารถแยกออกจากกนั ได้และประกอบกนั มลี กั ษณะเหมอื นกนั มาประกอบเข้าด้วยกนั เม่อื เป็นวตั ถชุ นิ้ ใหม่ได้ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ ์ แยกช้นิ ส่วนย่อย ๆ แต่ละชิน้ ของวตั ถุออกจากกัน สามารถนำช้นิ สว่ นเหลา่ นน้ั มาประกอบเป็นวัตถุ ช้ินใหม่ได้ เช่น กำแพงบา้ นมกี ้อนอิฐหลาย ๆ ก้อนประกอบเข้าด้วยกนั และสามารถนำก้อนอฐิ จากกำแพงบ้านมาประกอบเป็นพนื้ ทางเดนิ ได ้ ๒. อธิบายการเปล่ยี นแปลงของวัสดุเม่ือทำให ้ • เมือ่ ให้ความร้อนหรือทำใหว้ ัสดรุ ้อนข้นึ และเมอื่ ร้อนขึ้นหรอื ทำใหเ้ ย็นลง โดยใช้หลักฐาน ลดความร้อนหรอื ทำให้วัสดุเยน็ ลง วสั ดจุ ะเกดิ เชิงประจกั ษ ์ การเปลี่ยนแปลงได้ เช่น สเี ปลีย่ น รูปรา่ งเปล่ียน ป.๔ ๑. เปรียบเทียบสมบตั ทิ างกายภาพดา้ นความแข็ง • วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกนั สภาพยดื หยนุ่ การนำความรอ้ น และการนำไฟฟา้ วสั ดุที่มคี วามแขง็ จะทนต่อแรงขูดขดี วสั ดุทม่ี ี ของวสั ดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์จาก การทดลองและระบุการนำสมบตั ิเรอื่ งความแขง็ สภาพยดื หยนุ่ จะเปล่ียนแปลงรปู รา่ งเมอ่ื มีแรง สภาพยดื หยนุ่ การนำความรอ้ น และการนำไฟฟา้ มากระทำและกลับสภาพเดมิ ได้ วสั ดทุ ี่ ของวัสดไุ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ผา่ นกระบวนการ นำความร้อนจะรอ้ นได้เร็วเม่อื ไดร้ บั ความรอ้ น ออกแบบชิน้ งาน และวสั ดทุ น่ี ำไฟฟา้ ได้ จะใหก้ ระแสไฟฟา้ ผา่ นได้ ๒. แลกเปลี่ยนความคดิ กบั ผอู้ น่ื โดยการอภิปราย ดงั นั้นจึงอาจนำสมบัติต่าง ๆ มาพจิ ารณาเพอ่ื ใชใ้ น เกยี่ วกบั สมบัติทางกายภาพของวสั ดุอยา่ งมี กระบวนการออกแบบชน้ิ งานเพ่ือใชป้ ระโยชน ์ เหตุผลจากการทดลอง ในชีวิตประจำวนั ตัวชี้วัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 39 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. เปรยี บเทยี บสมบตั ขิ องสสารทงั้ ๓ สถานะ จาก • วัสดเุ ปน็ สสารเพราะมีมวลและต้องการทอ่ี ยู่ ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการสังเกตมวล การตอ้ งการทอ่ี ยู่ สสารมีสถานะเปน็ ของแขง็ ของเหลว หรอื แก๊ส รปู ร่างและปรมิ าตรของสสาร ของแข็ง มีปรมิ าตรและรูปร่างคงท่ี ของเหลวมี ๔. ใชเ้ ครือ่ งมอื เพ่ือวัดมวล และปรมิ าตร ปริมาตรคงท่ี แตม่ ีรูปร่างเปล่ยี นไปตามภาชนะ ของสสารทั้ง ๓ สถานะ เฉพาะสว่ นทีบ่ รรจขุ องเหลว สว่ นแก๊สมีปรมิ าตร และรูปรา่ งเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจ ุ ป.๕ ๑. อธบิ ายการเปล่ยี นสถานะของสสาร เมื่อทำให้ • การเปล่ยี นสถานะของสสารเป็นการเปลี่ยนแปลง สสารรอ้ นข้ึนหรือเยน็ ลง โดยใช้หลกั ฐาน ทางกายภาพ เมอ่ื เพ่มิ ความรอ้ นใหก้ บั สสารถงึ เชิงประจักษ ์ ระดบั หนงึ่ จะทำใหส้ สารท่ีเปน็ ของแข็งเปลย่ี น สถานะเป็นของเหลว เรียกวา่ การหลอมเหลว และเมอื่ เพมิ่ ความรอ้ นตอ่ ไปจนถงึ อกี ระดบั หนงึ่ ของเหลวจะเปลีย่ นเปน็ แก๊ส เรยี กวา่ การกลายเปน็ ไอ แตเ่ มอ่ื ลดความรอ้ นลงถงึ ระดบั หนงึ่ แก๊สจะเปลีย่ นสถานะเป็นของเหลว เรยี กวา่ การควบแนน่ และถา้ ลดความรอ้ นต่อไปอีกจนถึง ระดับหนง่ึ ของเหลวจะเปล่ียนสถานะเป็นของแข็ง เรียกว่า การแข็งตวั สสารบางชนิดสามารถ เปลยี่ นสถานะจากของแขง็ เปน็ แกส๊ โดยไม่ผ่าน การเปน็ ของเหลว เรียกว่า การระเหิด ส่วนแกส๊ บางชนดิ สามารถเปล่ยี นสถานะเปน็ ของแข็ง โดยไมผ่ า่ นการเปน็ ของเหลว เรยี กวา่ การระเหดิ กลบั ๒. อธบิ ายการละลายของสารในนำ้ โดยใชห้ ลักฐาน • เมอ่ื ใสส่ ารลงในนำ้ แล้วสารน้นั รวมเปน็ เชงิ ประจกั ษ ์ เนอ้ื เดียวกนั กบั นำ้ ทวั่ ทุกส่วน แสดงวา่ สารเกิด การละลาย เรียกสารผสมทไ่ี ด้ว่าสารละลาย 40 ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. วเิ คราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงของสารเมื่อเกดิ การ • เม่อื ผสมสาร ๒ ชนดิ ขนึ้ ไปแล้วมสี ารใหม่เกดิ ขึ้น เปล่ียนแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐาน ซง่ึ มสี มบตั ิต่างจากสารเดิมหรือเมอื่ สารชนดิ เดียว เชิงประจกั ษ์ เกดิ การเปลย่ี นแปลงแล้วมสี ารใหม่เกิดข้ึน การเปลี่ยนแปลงน้เี รยี กว่า การเปลีย่ นแปลง ทางเคมี ซง่ึ สังเกตไดจ้ ากมีสีหรอื กลิน่ ต่างจาก สารเดิม หรอื มีฟองแก๊ส หรือมีตะกอนเกิดขึน้ หรือมกี ารเพ่ิมขน้ึ หรือลดลงของอณุ หภมู ิ ๔. วิเคราะห์และระบุการเปล่ียนแปลงทผ่ี ันกลับได้ • เมอื่ สารเกดิ การเปลี่ยนแปลงแลว้ สารสามารถ และการเปลย่ี นแปลงที่ผันกลับไม่ได้ เปลี่ยนกลับเปน็ สารเดมิ ได้ เป็นการเปล่ยี นแปลง ทผี่ นั กลบั ได้ เชน่ การหลอมเหลว การกลายเปน็ ไอ การละลาย แต่สารบางอย่างเกดิ การเปล่ยี นแปลง แลว้ ไม่สามารถเปลย่ี นกลับเป็นสารเดมิ ได้ เปน็ การเปล่ียนแปลงทผ่ี ันกลบั ไม่ได้ เช่น การเผาไหม้ การเกดิ สนมิ ป.๖ ๑. อธบิ ายและเปรียบเทยี บการแยกสารผสม • สารผสมประกอบดว้ ยสารตง้ั แต่ ๒ ชนดิ ขนึ้ ไปผสมกนั โดยการหยิบออก การรอ่ น การใชแ้ มเ่ หล็กดึงดดู เชน่ น้ำมันผสมนำ้ ขา้ วสารปนกรวดทราย วธิ กี าร การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอน ท่ีเหมาะสมในการแยกสารผสมข้นึ อยูก่ บั ลักษณะ โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ รวมทงั้ ระบวุ ิธี และสมบตั ิของสารที่ผสมกนั ถ้าองคป์ ระกอบของ แกป้ ัญหาในชีวิตประจำวนั เกยี่ วกบั การแยกสาร สารผสมเป็นของแข็งกบั ของแขง็ ท่ีมขี นาด แตกตา่ งกันอยา่ งชดั เจน อาจใชว้ ธิ กี ารหยบิ ออก หรือการร่อนผ่านวสั ดุทีม่ ีรู ถา้ มสี ารใดสารหนึ่ง เป็นสารแมเ่ หล็กอาจใชว้ ธิ ีการใช้แม่เหล็กดึงดูด ถ้าองคป์ ระกอบเป็นของแข็งที่ไม่ละลายใน ของเหลว อาจใช้วธิ กี ารรนิ ออก การกรอง หรอื การตกตะกอน ซง่ึ วธิ ีการแยกสารสามารถนำไปใช้ ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันได ้ ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) 41 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๑ ๑. อธบิ ายสมบตั ทิ างกายภาพบางประการของ • ธาตแุ ต่ละชนดิ มสี มบัติเฉพาะตัวและมีสมบตั ิ ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ โดยใชห้ ลักฐาน ทางกายภาพบางประการเหมือนกันและ เชิงประจกั ษท์ ่ไี ดจ้ ากการสงั เกตและการทดสอบ บางประการต่างกัน ซ่งึ สามารถนำมาจัดกลุม่ ธาตุ และใชส้ ารสนเทศที่ได้จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ เปน็ โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ธาตโุ ลหะมจี ดุ เดอื ด รวมทงั้ จัดกลุ่มธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และ จุดหลอมเหลวสงู มผี วิ มนั วาว นำความร้อน กึ่งโลหะ นำไฟฟา้ ดงึ เปน็ เสน้ หรอื ตเี ปน็ แผน่ บาง ๆ ได้ และ มคี วามหนาแน่นทง้ั สูงและตำ่ ธาตุอโลหะ มจี ุดเดอื ด จดุ หลอมเหลวต่ำ มผี วิ ไม่มันวาว ไมน่ ำความร้อน ไม่นำไฟฟา้ เปราะ แตกหักง่าย และมีความหนาแน่นตำ่ ธาตุกึ่งโลหะมีสมบตั ิ บางประการเหมอื นโลหะ และสมบตั ิบางประการ เหมอื นอโลหะ ๒. วเิ คราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ • ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ทส่ี ามารถแผร่ งั สไี ด้ และธาตุกัมมันตรังสี ทมี่ ตี อ่ สง่ิ มีชวี ิต สง่ิ แวดล้อม จัดเป็นธาตุกัมมันตรงั สี เศรษฐกจิ และสงั คม จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ • ธาตมุ ที ั้งประโยชนแ์ ละโทษ การใช้ธาตโุ ลหะ ๓. ตระหนักถึงคุณคา่ ของการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตุกัมมันตรงั สี ควรคำนึงถงึ ก่ึงโลหะ ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี โดยเสนอแนวทาง ผลกระทบตอ่ สง่ิ มีชีวิต สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกิจ การใชธ้ าตุอยา่ งปลอดภยั ค้มุ คา่ และสงั คม ๔. เปรยี บเทยี บจดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธิ์ • สารบริสุทธปิ์ ระกอบด้วยสารเพียงชนดิ เดียว และสารผสม โดยการวัดอณุ หภูมิ เขยี นกราฟ ส่วนสารผสมประกอบดว้ ยสารต้ังแต่ ๒ ชนิด แปลความหมายขอ้ มลู จากกราฟ หรอื สารสนเทศ ขนึ้ ไป สารบรสิ ทุ ธแ์ิ ตล่ ะชนดิ มสี มบตั บิ างประการ ที่เปน็ คา่ เฉพาะตัว เชน่ จดุ เดอื ดและ จดุ หลอมเหลวคงท่ี แตส่ ารผสมมีจดุ เดือด และจดุ หลอมเหลวไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนดิ และ สัดส่วนของสารทผ่ี สมอยดู่ ว้ ยกนั 42 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ชน้ั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕. อธิบายและเปรยี บเทยี บความหนาแนน่ ของ • สารบริสทุ ธแิ์ ต่ละชนดิ มีความหนาแน่น หรือ สารบรสิ ุทธิ์และสารผสม มวลตอ่ หน่ึงหน่วยปรมิ าตรคงที่ เป็นคา่ เฉพาะ ๖. ใช้เครือ่ งมอื เพ่อื วดั มวลและปริมาตรของ ของสารนน้ั ณ สถานะและอุณหภูมหิ นึง่ แตส่ ารผสมมีความหนาแนน่ ไม่คงท่ีขึ้นอยู่กับชนิด สารบริสทุ ธ์แิ ละสารผสม และสัดส่วนของสารทผี่ สมอยู่ด้วยกัน ๗. อธบิ ายเกีย่ วกบั ความสมั พันธร์ ะหว่างอะตอม • สารบริสทุ ธแ์ิ บ่งออกเปน็ ธาตุและสารประกอบ ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้แบบจำลอง ธาตปุ ระกอบดว้ ยอนภุ าคที่เลก็ ทีส่ ดุ ทยี่ ังแสดง และสารสนเทศ สมบตั ิของธาตนุ ้นั เรียกว่า อะตอม ธาตแุ ต่ละชนิด ประกอบดว้ ยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไม่ ๘. อธิบายโครงสร้างอะตอมท่ปี ระกอบดว้ ย สามารถแยกสลายเปน็ สารอื่นไดด้ ้วยวธิ ีทางเคมี โปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน โดยใช ้ ธาตเุ ขยี นแทนดว้ ยสัญลักษณธ์ าตุ สารประกอบ แบบจำลอง เกิดจากอะตอมของธาตตุ งั้ แต่ ๒ ชนดิ ขึน้ ไป รวมตวั กันทางเคมีในอตั ราสว่ นคงที่ มสี มบตั ิ แตกตา่ งจากธาตทุ เ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ สามารถ แยกเป็นธาตไุ ด้ด้วยวิธที างเคมี ธาตุและ สารประกอบสามารถเขยี นแทนไดด้ ว้ ยสตู รเคมี • อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และ อิเลก็ ตรอน โปรตอนมีประจุไฟฟา้ บวก ธาต ุ ชนดิ เดียวกันมจี ำนวนโปรตอนเทา่ กันและเปน็ คา่ เฉพาะของธาตนุ น้ั นวิ ตรอนเปน็ กลางทางไฟฟา้ สว่ นอเิ ลก็ ตรอนมีประจไุ ฟฟา้ ลบ เมื่ออะตอม มจี ำนวนโปรตอนเทา่ กบั จำนวนอเิ ลก็ ตรอน จะเปน็ กลางทางไฟฟ้า โปรตอนและนวิ ตรอน รวมกันตรงกลางอะตอมเรียกวา่ นิวเคลยี ส ส่วนอิเลก็ ตรอนเคลอ่ื นท่อี ยู่ในทวี่ ่างรอบนวิ เคลียส ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) 43 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑