Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประโยคเดียวรวมซ้อน

ประโยคเดียวรวมซ้อน

Published by Maii kodchakorn., 2020-12-14 04:22:04

Description: ประโยคเดียวรวมซ้อน

Search

Read the Text Version

ประโยค ความเดยี ว ความรวม ความซอ น

ประโยค ประโยค คือ หนวยทางภาษา ที่เกิดจากการนาํ คําหลายๆ คํา หรือกลมุ คาํ มาเรยี งตอ กัน อยา งเปนระบบ คาํ แตละคาํ มคี วามสมั พนั ธก ัน และมใี จความสมบูรณ แสดงใหร ู วา ใคร ทําอะไร ท่ไี หน

๑. สวนประกอบของประโยค ประโยคท่ีสมบูรณ จะประกอบดวย สว นสําคัญทขี่ าดไมได ๒ สวน ๑. ภาคประธาน คอื คําหรือกลุมคําทท่ี ําหนา ที่เปน ผแู สดงกิริยาหรือเปนผกู ระทํา เพ่มิ เติม ๒. ภาคแสดง คือ คําหรอื กลุมคําทแี่ สดงการกระทําของภาคประธาน ประกอบดวย บทกริยา บทขยายกรยิ า บทกรรม และบทขยายกรรม

บทกรยิ า อกรรมกริยา เชน ฝนตก, ดอกไมหอม เพ่มิ เติม สกรรมกริยา เชน รัฐบาลออกกฎหมาย, ฉันกินขา ว วิกตรรถกรยิ า เชน นายสีเปน พอคา , เธอเหมอื นพอ (มักใชกรยิ าคาํ วา เปน เหมือน คลา ย คือ ดุจ ประหน่งึ แปลวา เปน ตน)



สว นขยายของประโยคอาจเปนคํา กลมุ คาํ หรือประโยคทมี่ าขยายสวนตา งๆ เพ่อื ให ประโยคมีใจความชัดเจนยิง่ ขึ้น เชน  พนกั งานรกั ษาความสะอาดเกบ็ กระเปา สตางคได (“รักษาความสะอาด” เปนกลมุ คําทีม่ าขยายประธาน “พนักงาน”)  พวกเรายนิ ดตี อ นรับนกั เรยี นแลกเปลี่ยน (“แลกเปลยี่ น” เปน คําท่มี าขยาย “นักเรยี น” ซึง่ ทาํ หนา ทีเ่ ปน กรรม)  นารรี อ งไหจนนาํ้ ตาเปน สายเลอื ด (“จนน้ําตาเปน สายเลือด” เปนประโยคท่ีมาขยาย “รองไห” ซ่งึ ทําหนาทเี่ ปนคาํ กรยิ า)

ประโยคคอื ขอ ความท่ีมใี จความสมบูรณม คี รบทั้ง ภาคประธาน และภาคแสดง ประโยคทส่ี มบูรณจ ะตองมี สว นประกอบอยางนอ ย ๒ สวน คอื ๑. ประธาน ๒. กรยิ า แตบ างประโยคจะตองมสี ว นประกอบ ๓ สวนจึงจะสมบรู ณ คือ ๑. ประธาน ๒. กรยิ า ๓. กรรม

ทงั้ นีท้ ง้ั ๓ สวนสามารถมสี ว นขยายซ่ึงเปน ไดทงั้ คํา วลี และประโยคเพื่อเพมิ่ ความหมาย ใหช ัดเจนข้นึ ได ดังนั้นโครงสรา งโดยรวมของประโยค คอื ประโยค = ภาคประธาน + ภาคแสดง = ประธาน + กรยิ า + (กรรม) = ประธาน + (ขยายประธาน) + กริยา + (ขยายกรยิ า) + (กรรม) + (ขยายกรรม) หากตองการเชือ่ มประโยคหลายประโยคเขาดว ยกันใหเตมิ คาํ สนั ธานในตาํ แหนงท่ี ถูกตอ ง เชน ประโยค + คําสันธาน + ประโยค หรือ สนั ธาน + ประโยค + ประโยค ประโยคความซอ นท่ีใชค ําสนั ธาน ท่ี ซึ่ง อนั ผู

๒. ชนดิ ของประโยค ชนดิ ของประโยคจําแนกไดหลายวิธี ๒.๑ จาํ แนกตามเจตนา มี ๓ ชนดิ ๑) แจง ใหท ราบ ๒) ถามใหต อบ ๓) บอกใหทํา

๒.๒ จําแนกตามรปู ประโยค มี ๕ ชนดิ คือ ๑) ประโยคประธาน คือประโยคทมี่ ีผกู ระทําเปนประธานขน้ึ ตน ประโยค เชน - นองรอ งไห - พ่ีเตะบอล - แมวกินปลา - เด็กดเี ปน ท่รี ักของทุกคน ๒) ประโยคกรรม คือ ประโยคท่นี ําผถู กู กระทาํ หรอื กรรม ขนึ้ ตน ประโยค เชน - หมูยาง - ประตูเปด - นองถูกแมดุ - บานหลังน้ีใครซือ้

๓) ประโยคกริยา คือ ประโยคทน่ี าํ คํากริยามาขึ้นตนประโยคแลว ตามดวย ประธาน กรยิ าทน่ี าํ มาขน้ึ ตน ประโยคได ไดแก เกดิ มี ปรากฏ เชน - เกิดแผน ดินไหวในประเทศญ่ีปุน - มขี องอรอ ยมากมายใหล ้มิ ลอง - ปรากฏเหตุการณสรุ ิยุปราคา

๔) ประโยคการิต คอื ประโยคที่ประธานรองถกู ประธานหลกั ของประโยค “สง่ั ” จะมกี รยิ า “ให” เปน กรยิ าสําคัญ เชน - ครสู ัง่ ใหห ัวหนาหองรวบรวมรายงานมาสงพรงุ นี้ (“ครู”เปนประธานหลักสงั่ ให “หัวหนาหอง” ซง่ึ เปนประธานรองทาํ กริยา “รวบรวมมาสง ” โดยมี “รายงาน” เปนกรรม) - แมบ อกใหซ ื้อไอศกรมี (“แม” เปนประธานหลกั สง่ั ให“ ฉนั ”ซง่ึ เปน ประธานรองทํากรยิ า“ซื้อ” มี “ไอศกรีม” เปน กรรม)

๕) ประโยคกรยิ าสภาวมาลา คือ ประโยคทนี่ าํ คาํ นามมาเปนประธาน กรรม หรือสวนขยายโดยไมใ ส การ ความ เชน - กนิ อาหารมปี ระโยชนทําใหส ุขภาพแขง็ แรง (“กิน” เปน กริยาแตทาํ หนา ท่ีเปนประธานของประโยคไดเหมือนคาํ นาม “การ กนิ ”) - หวั เราะบอยๆ มผี ลตอ สุขภาพจติ ทด่ี ี (“หัวเราะ” เปน กริยาแตท าํ หนา ทเ่ี ปนประธานของประโยคไดเ หมือนคํานาม “การหัวเราะ”)

๒.๓ จําแนกตามโครงสรา งของประโยค มี ๓ ชนิด ๑) ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) คือ ประโยคทม่ี ปี ระธานและกริยา สาํ คัญเพียงบทเดยี ว ไมม ีคาํ เชื่อมปรากฏ เชน - คนไทยมอี ธั ยาศยั ดี - แมไปซื้อผา ท่พี าหรุ ัด - แมร กั ลูกทุกคน - พอ เดนิ

๒) ประโยความรวม (อเนกกรรถประโยค) คอื ประโยคท่ีรวมประโยคความ เดยี วต้งั แต ๒ ประโยคขึ้นไปเปนประโยคเดยี วกัน โดยมคี ําเชือ่ มเชื่อมประโยคเหลาน้ัน เขาดว ยกนั แบงออกเปน ๔ ประเภท ตามชนดิ ของคาํ เช่ือมและความสัมพนั ธข อง เนื้อความในประโยค ดังนี้  ประโยคความรวมท่มี ีความคลอยตามกัน (และ, แลว , ครั้น...จงึ , แลว ...ก,็ พอ...ก็ ฯลฯ )  ประโยคความรวมท่มี คี วามขดั แยงกนั ( แต, แตวา, แตทวา, ถึง...ก็, กวา ...ก็ ฯลฯ)

 ประโยคความรวมท่มี คี วามใหเลอื ก (หรอื , มฉิ ะนน้ั , ไมเ ชนนัน้ , หรือไมก ,็ หรอื ...ไม, ไม...ก)็  ประโยคความรวมทีม่ คี วามเปนเหตุเปน ผลกนั คือ ประโยคหนึ่งเปน ประโยคเหตุ และประโยคหนึ่งเปน ประโยคผล (จึง, เพราะ, เพราะเหตุวา, ดังน้ัน...จึง, เพราะ...จึง ฯลฯ)

การสงั เกตประโยคความรวม มี ๒ ลกั ษณะ เพิ่มเตมิ ๑. สังเกตสันธาน หรอื คําเชือ่ ม ๒. มีกรยิ ามากกวา ๑ ตวั

๓) ประโยคความซอน (สงั กรประโยค) คอื ประโยคทป่ี ระกอบดวย ประโยคความเดียวตง้ั แต ๒ ประโยคขึ้นไป ประโยคความเดียวทม่ี ใี จความ สําคญั จะเปน ประโยคหลัก (มขุ ยประโยค) และมีประโยคยอย (อนุ ประโยค) ทาํ หนา ที่ขยายความสวนใดสวนหนง่ึ ของประโยคหลักใหชัดเจน โดยมีคาํ เชอ่ื มท้ัง ๒ ประโยคเขา ดว ยกนั อาจกลาวไดว า ประโยคความซอน คือ “ประโยคขยายประโยค” แบงออกเปน ๓ ชนดิ ประโยคยอ ยทที่ าํ หนา ท่ขี ยายประโยค หลกั จะตอ งมกี รยิ าดวย จึงจะเปน ประโยคความซอ น ขอ สังเกต

 ประโยคยอยทีท่ ําหนาทีแ่ ทนนาม (นามานุประโยค) ทําหนา ทเ่ี ปน บทประธาน บทกรรม หรือสวนเตมิ เตม็ ของประโยคกไ็ ด มคี าํ เช่ือมคือ ให, วา เช่อื มประโยค หรอื อาจไมมคี ําเชื่อมเลยก็ได - คณุ ครบู อกวา โรงเรียนใกลจ ะปด แลว - ฉนั ชอบขนมทาํ จากผลไม (ขนมจากผลไม)  ประโยคยอ ยทําหนา ทขี่ ยายประธาน กรรม และ สว นเติม เต็มของประโยคหลัก (คณุ านปุ ระโยค) มีคําเช่ือม ผ,ู ท่ี, ซงึ่ , อัน - เด็กที่อยูในหอ งขา ง ๆ กําลงั รองเพลง - นชิ าเปน นกั เรยี นท่ีไดรับรางวัลเรยี นดี

 ประโยคยอยทาํ หนา ทข่ี ยายคํากริยา หรอื คาํ วเิ ศษณใ น ประโยคหลกั (วเิ ศษณานุประโยค) มีคาํ เชือ่ ม เมื่อ, จน - ฉนั กลับบา นเมอ่ื แมน อนแลว - เธอพดู ชาจนฉนั งวง

เปรยี บเทยี บประโยคทั้ง ๓ แบบ ประโยคความเดียว - นอ งกินขนมอยา งมคี วามสุข พ่ีซอ้ื ขนมมาจากตางประเทศ ประโยคความรวม - นองกินขนมอยางมคี วามสุข เพราะพี่ซื้อขนมมาจากตา งประเทศ ประโยคความซอน - นองกนิ ขนมทพ่ี ซี่ ้ือมาฝากจากตา งประเทศอยางมคี วามสุข

วธิ สี ังเกตโครงสรางประโยคแบบงา ย ๆ ประโยคความเดียว - มี ๑ประธาน ๑ กรยิ า ไมม คี าํ เช่ือม ประโยคความรวม - มกี ริยามากกวา ๑ ตวั - มปี ระโยคมากกวา ๑ ประโยค มีความสาํ คัญเทา กนั - ตําแหนง ประโยคมกั อยูแ ยกจากกนั - มคี ําเชอื่ มเชือ่ มประโยคเขาดวยกัน คําเชอ่ื มจะบอกความสมั พันธร ะหวางประโยค ประโยคความซอน - มกี ริยามากกวา ๑ ตัว - มีประโยคมากกวา ๑ ประโยค มีประโยคหลกั และประโยคยอยทาํ หนาทข่ี ยาย สวนประกอบในประโยคหลัก - ประโยคยอยตองมีคํากริยาดว ย - มีคําเชอ่ื มเชอื่ มระหวา งประโยคดังที่กลา วไวแ ลว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook