Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการนิเทศติดตามการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเอกชน

รายงานผลการนิเทศติดตามการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเอกชน

Published by WB Channel, 2021-09-15 13:11:13

Description: สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี

Search

Read the Text Version

คำนำ เอกสาร “รายงานผลการนิเทศติดตามเพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เอกชน” เล่มนี้ จัดทําขึ้นเพือ่ สรปุ ผลการนเิ ทศ ติดตาม และส่งเสริมการดําเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษา ภายในสถานศึกษาเอกชนให้ดําเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง การประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และสํานักงานการศึกษาเอกชนจงั หวัดใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนา ส่งเสริม กํากับ ดูแล และติดตามตรวจสอบการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเอกชนในสังกัด ให้มี ประสิทธิภาพตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่องแนวปฏิบัติการ ดําเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 ที่กําหนดเป็นแนวปฏิบัติใน การขับเคลอื่ นการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเอกชนให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนให้ สถานศึกษาเอกชนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน นําไปใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพพร้อมรับการประเมนิ จากหนว่ ยงานภายนอก สํานกั งานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี ขอขอบคณุ คณะทํางานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วม ในการจัดทํารายงานผลการนิเทศติดตามเพ่ือส่งเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเอกชน หวังเป็น อย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มนี้จะสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาเอกชนจงั หวดั ปตั ตานี ใหม้ คี ณุ ภาพและบรรลุตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ สาํ นักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวัดปตั ตานี กนั ยายน 2564 ก

สำรบญั เร่อื ง หน้า สว่ นท่ี 1 บทนาํ 1 1. ความเป็นมา 2 2. วตั ถปุ ระสงค์ 3 3. กลมุ่ เป้าหมาย 3 สว่ นท่ี 2 แนวทางการดาํ เนนิ การประกนั คุณภาพแนวใหม่ 4 1. บทบาทและความรบั ผิดชอบการดําเนนิ งานประกนั คณุ ภาพการศึกษา 5 ระดบั สถานศกึ ษา 5 ระดบั สํานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน 6 ระดบั สํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวดั 6 7 2. การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา 9 บทบาทคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา 9 ก่อนการประเมนิ 9 ระหว่างการประเมิน 10 หลงั การประเมนิ 10 3. ขอ้ ควรตระหนักในการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา 12 ส่วนที่ 3 สรุปผลการนิเทศติดตามการดาํ เนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 13 19 ตอนท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐาน 26 ตอนท่ี 2 การดําเนนิ งานตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 26 ตอนที่ 3 ผลการดาํ เนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 29 33 ระดับปฐมวัย 33 ระดบั ขน้ั พน้ื ฐาน 36 ตอนที่ 4 นวตั กรรม / แบบอยา่ งทด่ี ี (Innovation / Best Practice) ระดบั ปฐมวัย ระดับขัน้ พนื้ ฐาน ข

สำรบญั (ต่อ) ภาคผนวก เร่ือง หน้า 39 ตอนท่ี 5 ความโดดเด่นของสถานศึกษา 40 ตอนท่ี 6 ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 41 42 ภาคผนวก ก กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.2561 46 ภาคผนวก ข ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเรือ่ งใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย 52 ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานและระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ 56 ภาคผนวก ค ประกาศสาํ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน 59 เรอื่ งแนวปฏบิ ัตกิ ารดาํ เนนิ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษาระดับปฐมวัย และระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพ.ศ.2561 68 ภาคผนวก ง แบบรายงานผลการสร้าง หรอื พฒั นานวตั กรรม / แบบอยา่ งทด่ี ี 73 ภาคผนวก จ ประเด็นและแนวทางการนิเทศตดิ ตามการดําเนนิ งาน ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 96 ภาคผนวก ฉ กรอบแนวทางการประเมนิ คุณภาพรอบส่ี ภาคผนวก ช แบบนิเทศตดิ ตามเพ่อื ส่งเสริมการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน 104 สถานศกึ ษาเอกชน 109 ภาคผนวก ซ แบบสรุปการนเิ ทศตดิ ตามเพอ่ื ส่งเสรมิ การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษาเอกชน ภาคผนวก ฌ ประมวลภาพการนเิ ทศออนไลน์ ภาคผนวก ญ คณะทาํ งานจดั ทํารายงานผลการนิเทศติดตามประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศึกษาเอกชน ค

สำรบัญตำรำง ตาราง หนา้ ตาราง 1 จํานวนโรงเรียนเอกชนประเภทสามญั ศึกษาสงั กดั สาํ นกั งานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตั ตานี 13 ตาราง 2 สถานศึกษามีการกาํ หนดมาตรฐานการศึกษา 19 ตาราง 3 สถานศกึ ษามีการจัดทาํ แผนพัฒนาการจัดการศึกษา 20 ตาราง 4 สถานศกึ ษามกี ารดําเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 21 ตาราง 5 สถานศึกษามกี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา 22 ตาราง 6 สถานศกึ ษามีการติดตามผลการดําเนินการเพ่อื พฒั นาสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพตาม 23 มาตรฐานการศกึ ษา 24 ตาราง 7 สถานศกึ ษาจดั ทํารายงานผลการประเมินตนเอง และจัดสง่ ใหแ้ กห่ นว่ ยงานตน้ สังกัด 25 หนว่ ยงานท่ีกาํ กับดแู ล 26 ตาราง 8 สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาคุณภาพอยา่ งต่อเนอ่ื ง 27 ตาราง 9 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ (ปฐมวัย) 28 ตาราง 10 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ (ปฐมวัย) 29 ตาราง 11 มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เป็นสําคญั (ปฐมวยั ) 30 ตาราง 12 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ดา้ นผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผ้เู รียน (ข้นั พน้ื ฐาน) 31 ตาราง 13 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น ด้านคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น (ข้ันพ้นื ฐาน) 32 ตาราง 14 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ (ขัน้ พนื้ ฐาน) ตาราง 15 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สําคัญ (ขั้นพ้ืนฐาน) ง

ส่วนท่ี 1 บทนำ 1

ส่วนที่ 1 บทนำ 1 ควำมเป็นมำ เนื่องจากการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการท่ีสร้างความม่ันใจแก่ทุกฝ่าย ที่เก่ียวข้องว่า “การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและจะรักษาไว้ซ่ึงคุณภาพ” ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เมื่อวันท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ 2561 กฎกระทรวงดงั กลา่ วมีสาระสําคัญทส่ี ถานศึกษา หนว่ ยงานต้นสังกัด และหน่วยงานท่ีกํากับดูแล สถานศึกษาต้องนําไปดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้พัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ตาม บทบาทหนา้ ท่ีทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวงฯ ดงั นี้ 1. ใหย้ กเลกิ กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 2. ให้ความหมายของ “การประกันคุณภาพการศึกษา” คือ การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ และแต่ละประเภท โดยมีกลไก ในการ ควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดข้ึน เพื่อให้เกิดการพัฒนาและ สร้างความ เชื่อมั่นให้แกผ่ ูท้ ี่เก่ียวข้องว่าสถานศึกษาน้ันสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา และ บรรลเุ ปา้ ประสงคข์ องหนว่ ยงานตน้ สงั กัด หรือหนว่ ยงานท่ีกํากบั ดแู ลสถานศึกษา 3. กําหนดแนวดาํ เนนิ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไป ตาม มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด พร้อมท้ัง จัดทาํ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาที่มุง่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดําเนินการตามแผน ทก่ี าํ หนดไว้ จดั ให้มกี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่ หน่วยงานตน้ สงั กัด หรือหน่วยงานท่ีกาํ กบั ดแู ลสถานศกึ ษาเป็นประจําทกุ ปี 4. กาํ หนดแนวดําเนินงานของหนว่ ยงานต้นสังกดั หรือหน่วยงานท่ีกาํ กับดูแลสถานศกึ ษา เพอื่ ให้ การ ดําเนินงานการประกันคณุ ภาพการศึกษาเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 4.1 ใหม้ ีหนา้ ทใี่ นการให้คําปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาํ สถานศึกษา เพ่อื ให้การ ประกัน คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาพฒั นาอย่างต่อเนื่อง 4.2 เม่ือไดร้ บั รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาแล้ว ให้จัดสง่ รายงาน ดังกลา่ ว พร้อมกบั ประเด็นต่าง ๆ ท่ตี อ้ งการใหม้ ีการประเมินผลและการตดิ ตามตรวจสอบซ่งึ รวบรวมได้จาก หน่วยงาน ท่ีเก่ยี วข้องหรือจากผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียกบั สถานศึกษาแห่งนนั้ ใหแ้ ก่สาํ นักงานรบั รองมาตรฐานและ ประเมิน คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) เพอื่ ใช้เป็นขอ้ มูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก 4.3 ใหต้ ดิ ตามผลการดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา เพ่อื นาํ ไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 2

สํานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนเป็นหน่วยงานต้นสังกัดท่ีกํากับดูแลสถานศึกษา เอกชน ได้จัดทําประกาศสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เร่ือง แนวปฏิบัติการดําเนินงาน ประกัน คุณภาพการศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 ข้ึน เพื่อให้สํานักงาน ศึกษาธกิ าร จงั หวัด และสาํ นกั งานการศึกษาเอกชนจงั หวดั (สงขลา ปตั ตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล) ใช้เป็น แนวปฏิบัติใน การดําเนินงานเพ่ือพัฒนา ส่งเสริม กํากับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิด ประสิทธภิ าพ ตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา และสถานศึกษาใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้เป็นระบบตาม กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ดังน้ัน สํานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดปัตตานี จึงจัดทํารายงานผลการนิเทศติดตามเพ่ือส่งเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาเอกชน โรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี เพื่อติดตามผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ระดับ การศึกษาปฐมวัย และ ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสรุปผลการนิเทศติดตามการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเอกชนประเภท สามัญศกึ ษา สงั กัดสาํ นกั งานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดปตั ตานี 2. เพอ่ื ให้หนว่ ยงานตน้ สังกดั และหน่วยงานท่ีกํากับดูแลใช้เป็นแนวปฏิบัติในการ ดําเนินงานเพ่ือ พัฒนา ส่งเสริม กํากับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการ พัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษา 3. เพ่อื สถานศกึ ษาใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นระบบ ตามกฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ 3. กลุม่ เป้ำหมำย กลุ่มเป้าหมายในการนิเทศติดตามการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเอกชนประเภท สามัญศึกษา สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี จํานวนทั้งสิ้น 130 โรง โดยแยกตามระดับ การศกึ ษาดังน้ี 1. โรงเรียนทเ่ี ปดิ สอนระดับ ปฐมวยั จาํ นวน 88 โรง 2. โรงเรียนท่เี ปดิ สอนระดับ การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน จาํ นวน 124 โรง 3

สว่ นที่ 2 แนวทำง กำรดำเนนิ กำรประกนั คณุ ภำพ กำรศึกษำแนวใหม่ 4

ส่วนท่ี 2 แนวทำงกำรดำเนินกำร ประกนั คุณภำพแนวใหม่ แนวทางการดําเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประเภทสามัญศึกษา ให้มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 บรรลุตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ทีม่ ีการปรบั เปลยี่ นรปู แบบและวธิ ีการประเมินทแ่ี ตกตา่ ง ไปจากเดิม มสี าระสําคญั ดงั นี้ 1. บทบำทและควำมรบั ผดิ ชอบกำรดำเนนิ งำนประกันคณุ ภำพกำรศึกษำ ระดบั สถำนศึกษำ ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ต่ ล ะ แ ห่ ง จั ด ใ ห้ มี ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า และดําเนนิ การให้เปน็ ไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ดังน้ี 1. กํ าหน ด ม าตร ฐ าน กา รศึก ษา ของ สถา นศึ กษา ให้เ ป็น ไปต าม มาต รฐ า นก ารศึ กษ า ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด และประกาศค่าเป้าหมายความสําเร็จของสถานศึกษาตามสภาพ ความพรอ้ มและบรบิ ทของสถานศกึ ษา 2. จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา 3. ดําเนนิ การตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีกําหนดไว้ 4. ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ที่สถานศึกษากําหนด ด้วยวิธีการและเคร่ืองมือที่หลากหลาย เหมาะสม อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 คร้ัง พร้อมท้ัง นําผลการประเมินมาจัดทําเป็นบทสรุปของผู้บริหาร ให้ผู้บริหารใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาเปน็ ระยะๆ อย่างต่อเนอ่ื ง 5. ติดตามผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการ ประจาํ ปี ใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นระยะๆ อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 คร้ัง และนํา ผลการติดตามไปใชป้ ระโยชน์ในการปรับปรงุ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา 6. จดั ทํารายงานผลการประเมินตนเองที่เป็นผลจากการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สะท้อนคุณภาพของผู้เรียน และผลสําเร็จของการ บรหิ ารจดั การศึกษา ดงั น้ี 6.1 รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้สถานศึกษาจัดทํารายงานตาม กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีได้ดําเนินการทุกกิจกรรม โครงการ งาน ท่ี ส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา ตามแนวทางท่ีสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศกึ ษาเอกชนกําหนด เพอ่ื ให้ได้ขอ้ มลู ครอบคลมุ ตามท่หี น่วยงานตอ้ งการนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ในการวางแผน และ กําหนดนโยบายพฒั นาคุณภาพการศึกษา 5

6.2 นําเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการบริหารโรงเรียนให้ความ เห็นชอบ แล้วเผยแพร่ต่อสาธารณชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง รวมทั้งส่งให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงาน ท่ีกํากับ ดูแลสถานศึกษาเป็นประจําทุกปี ดงั นี้ 1) โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ส่งกลุ่มงานโรงเรียนสามัญศึกษา สํานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน 2) โรงเรียนในส่วนภูมิภาค ส่งสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สําหรับ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ คอื ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตลู และสงขลา สง่ สํานักงานการศึกษาเอกชนจงั หวัด 7. พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ โดยนําผลจากการประเมินตนเอง และข้อเสนอแนะ จาก หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา ของสถานศึกษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง 8. ให้ความร่วมมือกับสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) ในการประเมินคุณภาพภายนอกและขณะเข้าทําการประเมินสถานศึกษา พร้อมท้ังปรับปรุงพัฒนา คุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามข้อเสนอแนะ ระดับสำนกั งำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน 1. ส่งเสริม สนับสนุน ให้คําปรึกษา ช่วยเหลือสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษา 2. ศึกษา วิเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) และรวบรวมประเด็น ท่ีต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบท่ีได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับ สถานศึกษา ไปยังสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพื่อใช้เป็น ข้อมลู และแนวทางในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก 3. ติดตามผลการดําเนินงานปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามขอ้ เสนอแนะของสาํ นกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพ่ือนําไปสู่ การพัฒนาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4. ประสานความร่วมมือกับสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) ในการประเมินคุณภาพภายนอก ระดบั สำนกั งำนกำรศึกษำเอกชนจังหวัด 1. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ตลอดจนให้คําปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนําสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่ง อย่างต่อเน่ือง พร้อมทง้ั สรปุ เปน็ ภาพรวมของจังหวัดสง่ สํานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน 2. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ท่ีจะได้รับ การประเมินคุณภาพภายนอก พร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ ท่ีได้จากหน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น และจัดส่งไปยังสํานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทาง ในการ ประเมินคุณภาพภายนอก 3. ติดตามผลการดําเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม ข้อเสนอแนะของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพ่ือนําไปสู่ การพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 6

4. ให้ความร่วมมือกับสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) ในการประเมินคุณภาพภายนอก 2. กำรประเมินคณุ ภำพกำรศกึ ษำภำยในสถำนศกึ ษำ การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ยึดหลักการสําคัญ คือ ให้เป็นหน้าที่ของสถานศึกษา ในการกาํ หนดวนั ประเมิน แตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมิน กาํ หนดวิธีการประเมนิ ดาํ เนนิ การประเมนิ 2.1 หลักการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาแนวใหม่ มุ่งเน้นกระบวนการตัดสิน คุณภาพของสถานศึกษาโดยการประเมินแบบองค์รวม (holistic assessment) เป็นการประเมินและตัดสิน ผลการประเมินโดยอาศยั ความเชย่ี วชาญ (expert judgment) เทียบกับเกณฑห์ รือมาตรฐานที่กําหนดไว้ มีการ ตรวจสอบและทบทวนผลการประเมินโดยบุคคลระดับเดียวกัน (peer review) โดยอาศัยเทคนิค การสังเกต การสัมภาษณ์เชิงลกึ การวเิ คราะห์รอ่ งรอยหลักฐานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ที่เป็นร่องรอยเชิง ประจักษ์ (evidence based ) และการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) แก่สถานศึกษา เพ่ือนําไปสู่การ ปรับปรุงและพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ัง 4 กระบวนการหลักในการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน สถานศกึ ษา มีดงั นี้ คอื 2.1.1 ประเมินแบบองค์รวม (holistic assessment) เป็นการประเมินตามบริบท ของ สถานศึกษาที่แท้จริงโดยให้ความสําคัญกับข้อมูลเชิงคุณภาพผนวกกับเชิงปริมาณควบคู่กันไป แต่การ ตัดสิน คุณภาพของสถานศึกษาให้ใช้เกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการท่ีไม่แยกส่วน หรือแยก องค์ประกอบ ในการกําหนดคะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผลการดําเนินงานหรือ กระบวนการดําเนินงาน การประเมินแบบองค์รวมเป็นวิธีการให้คะแนนสิ่งที่จะประเมิน ยึดความสัมพันธ์กัน อยู่ภายใน ซึ่งพิจารณาจากภาพรวมตามเกณฑ์ หรือมาตรฐานท่ีกําหนด และมีการอธิบายระดับคุณภาพไว้ ชัดเจนด้วยวิธกี าร ประเมนิ หลาย ๆ วธิ ี อีกนัยหนง่ึ กค็ ือ การพิจารณาคุณภาพผลงาน หรือคุณภาพความสําเร็จ ทุกมาตรฐานโดยรวม แล้วจงึ ตัดสินให้ระดับคุณภาพเพยี งค่าเดียว การประเมินแบบองค์รวมหรือการประเมินแบบบูรณาการ (integrated assessment) มีลกั ษณะสําคัญ ดงั นี้ 1) มุ่งประเมินงาน หรือกิจกรรมขององค์กรในภาพรวมมากกว่าจะประเมิน องคป์ ระกอบยอ่ ยๆ 2) ส่วนย่อยหรอื หน่วยยอ่ ยจะถูกประเมนิ รวมไปด้วยกนั 3) ต้องใชผู้ประเมินท่ีเช่ียวชาญมีประสบการณ (professional judgment) จะช่วย ลดเวลา การประเมนิ ลงได้มาก และชว่ ยขจัดความไมน่ ่าเชอื่ ถือในการประเมนิ ได้ 4) ประเมินอยู่บนพ้ืนฐานของร่องรอยหลักฐานท่ีดําเนินงานอยู่แล้ว (evidence based) ซงึ่ ร่องรอยหลักฐานเป็นได้ทั้งงานเอกสาร และไม่ใช่เอกสาร ท่ีรวบรวมได้จาก 2 แหล่ง คือ ผู้ประเมิน และผู้ถูก ประเมิน ควรเก็บร่องรอยหลักฐานโดยใช้หลาย ๆ วิธี เก็บและใช้ร่องรอยหลักฐานหลายเหตุการณ์ จะทําให้การ ประเมนิ น่าเช่อื ถอื ขึน้ 7

2.1.2 ประเมินและตัดสินผลโดยอาศัยความเช่ียวชาญ (expert judgment) ผู้ ประเมนิ ตอ้ ง เปน็ ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญสามารถช้ีร่องรอยที่สะท้อนศักยภาพของส่ิงที่จะประเมินเฉพาะที่จําเป็น และสามารถ ตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษา แล้วนําผลท่ีได้มาเทียบกับเกณฑ์ คณุ ภาพ ทส่ี ถานศกึ ษากําหนดไว้ การประเมินและตัดสินผลโดยอาศัยความเช่ียวชาญ มีแนวคิดในการประเมิน ดังน้ี 1) ใชท้ ักษะ/ความสามารถในการสังเกตของผ้ปู ระเมิน ความสําคัญ) 2) มีความไวต่อการรับรู้สิ่งที่บอบบาง/ซับซ้อน ที่ยากแก่การเข้าใจ (แต่มี 3) อาศัยประสบการณ์ทีช่ าํ นาญการก่อนหนา้ ในการเข้าถึงคุณคา่ ในสงิ่ ทปี่ ระเมนิ 4) ใช้การพจิ ารณาและทําความเข้าใจอย่างละเอยี ดประณีตในส่ิงท่ีประเมิน 5) ใช้วิธีการเชิงคุณภาพ (ด้วยภาษาหรือรูปภาพ) เพ่ือแสดงให้เห็นถึงคุณค่าในสิ่งที่ ประเมนิ เป็นหลัก (แต่ไมไ่ ดป้ ฏิเสธการใช้ตัวเลขเพ่ือประกอบการพรรณนาสิ่งท่ีประเมิน ให้ผู้อ่ืนรับรู้และเข้าใจ ได้ง่าย) 6) ดําเนินการด้วยรูปแบบวิธีการท่ียืดหยุ่น ไม่เป็นทางการ ไม่มีกฎเกณฑ์ หรือสูตร สําเร็จ มักเกิดขึน้ แบบฉบั พลัน (มากกว่าการวางแผน/กําหนดวธิ ีการเขม้ งวดไว้ล่วงหน้า) 7) เน้นรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมผัสส่ิงที่ประเมิน โดยผ่านการตรวจเย่ียมหรือ เข้า ชม (site visit) เพ่ือรับร้แู ละเขา้ ใจสงิ่ ท่ปี ระเมินด้วยประสบการณ์ตรงของตนเอง 8) ใช้ข้อมูลหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างส่วนประกอบมิตสิ ําคัญ ต่าง ๆ กับการมีคุณค่าหรือคุณภาพของส่ิงที่ประเมิน ผู้ประเมินรับรู้และเข้าใจได้จากความเช่ียวชาญ และเห็น ความสัมพันธ์เชิงคุณภาพ (perception of qualitative relationships) และมีประสบการณ์เก่ียวข้องถือว่า เปน็ สิง่ สําคญั ในการประเมนิ 9) ใช้ข้อมูลหลักฐานในบทวิพากษ์วิจารณ์ (criticism) ที่สะท้อนทัศนะ/มุมมอง เกี่ยวกับส่ิงท่ี ประเมินจากความเช่ียวชาญและประสบการณ์ของผู้ประเมินควรหลากหลาย ไม่จํากัดเฉพาะผู้ ประเมินรายใด รายหนึ่ง คณะผู้ประเมินควรตระหนักถึงเน้ือหาและรูปแบบของข้อความในบทวิพากษ์วิจารณ์ โดยอาจเจาะลึก บางประเด็นหรือขยายมุมมองให้กว้างขวางเป็นที่เข้าใจได้โดยทั่วไป ไม่ควรตัดมุมมองใด ๆ ออกไป 10) ใช้วิธีการประเมินเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ช่วยให้บุคคลที่ต้องการทราบผล การประเมนิ รบั รูแ้ ละเข้าใจถึงคณุ คา่ หรือคุณภาพของส่ิงท่ีประเมินกระจา่ งชดั ข้ึน 2.1.3 ประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence based assessment) เป็น การเก็บ รวบรวมข้อมูล สังเคราะห์ และตีความข้อมูลจากหลักฐานท่ีมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็นองค์ประกอบ สําคัญ ในการตัดสินใจของผู้ประเมิน เป็นได้ท้ังงานเอกสาร และไม่ใช่เอกสาร โดยเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวม ข้อมลู ทีเ่ หมาะสม และสะท้อนคุณภาพการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน มีเป้าหมายการประเมินเพื่อการพัฒนา ลดภาระการจัดเก็บข้อมูล และเอกสารที่ไม่จําเป็นในการประเมิน แตข่ อ้ มูลตอ้ งมีความน่าเชอื่ ถอื และสามารถตรวจสอบผลการประเมินไดต้ ามสภาพบริบทของสถานศึกษา 8

2.14 ตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (peer review) เป็นการตรวจทานและตัดสินผลโดยผู้ประเมินเป็นคู่ หรือผู้ประเมินกลุ่มเล็ก ๆ ทําหน้าที่ร่วมกัน พิจารณาตัดสินผล การประเมินแบบองค์รวมเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กําหนด การทํา peer review เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ควรมีการทําความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงประโยชน์ที่จะได้รับ มุ่งเน้นเร่ืองการให้ข้อมูล ย้อนกลับอย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อนําไปพฒั นาตนเอง เน้นการทาํ งานในฐานะกลั ยาณมิตร peer review ศัพท์บัญญัติเป็นภาษาไทยใช้คําว่า พิชญพิจารณ์ เป็นกระบวนการ ตรวจเยี่ยม ตดิ ตามประเมิน โดยคณะกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒทิ ี่มีความร้คู วามสามารถ และประสบการณ์ ในการ ปฏิบตั งิ านที่คลา้ ยกนั เพอื่ รว่ มกันวเิ คราะห์ และใหข้ อ้ สงั เกต ขอ้ เสนอแนะเชงิ พฒั นาในการปฏบิ ัติงาน เป้าหมายของกระบวนการพิชญพิจารณ์ ต้องมีการส่ือสารเพ่ือชี้ให้เห็นประโยชน์ ท่ีจะได้จาก การพิจารณ์ ผู้ที่ทําหน้าที่พิชญพิจารณ์ต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการทํางานในลักษณะ เดียวกับ ผู้ถูกพิจารณ์ ในกรณีของการพิจารณ์การประเมินคุณภาพภายใน ควรเป็นบุคคลท่ีอยู่บริบทเดียวกัน หรือสัมพันธ์ กับสถานศึกษาท่ีจะไปพิจารณ์ เป็นผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนด ผ่านการ พัฒนาให้เป็น ผู้เข้าใจบทบาทหน้าท่ีและการปฏิบัติงานในกระบวนการพิชญพิจารณ์เป็นผู้ที่มีใจเป็นกลาง ปราศจากอคติ ในการพจิ ารณ์ ไมม่ สี ่วนได้ส่วนเสียกบั สถานศกึ ษาทเี่ ขา้ ไปพิจารณ์ 2.2 คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา คณะกรรมการจะต้องศึกษา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ค่าเป้าหมายความสําเร็จ ประเด็นพิจารณา/ประเด็นการพัฒนา หรือเกณฑ์คุณภาพที่กําหนดให้เข้าใจถ่องแท้ก่อนดําเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาของตน หลังประเมินให้สรุปและแจ้งข้อค้นพบจากการประเมินพร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการปรับปรุง /พัฒนาคุณภาพ การศึกษาแก่คณะครู บุคลากร และผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ ง รวมทัง้ สรุปและเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) บทบำทคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพกำรศกึ ษำภำยในสถำนศึกษำ ก่อนกำรประเมนิ 1) ศึกษาเอกสารแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนประปฏิบัติการ ประจําปี รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) รายงานผลการติดตามผลการดําเนินการเพื่อ พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ฯลฯ 2) จัดทํากําหนดการตรวจเย่ียมสถานศึกษาร่วมกับคณะผู้ประเมินโดยการปรึกษาหารือกับ ผู้บริหาร สถานศึกษา ระหว่ำงกำรประเมิน 1) กํากบั ดูแลการตรวจเยย่ี มสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาํ หนด 2) ประสานงานการประเมินให้สอดคล้องสัมพันธ์กันไมํซ่ ้าซ้อนโดยเฉพาะช่วงเวลาที่ มกี าร แยกย้ายกนั ประเมนิ เฉพาะเรอื่ ง 3) ร่วมกบั คณะผ้ปู ระเมินสรปุ ผลการประเมนิ เปน็ ระยะๆ ภาพรวม 4) พิจารณาผลการประเมินและตัดสินผลการประเมินเป็นรายมาตรฐานและใน 9

5) สรุปและแจ้งข้อค้นพบจากการประเมินพร้อมทั้งข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/ พัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งไม่ป็นทางการด้วยวาจาต่อสถานศึกษา 6) ใหค้ ําแนะนําและช้ีประเด็นสาํ คญั ในการปรบั ปรุงแก้ไขหรือพัฒนาแกส่ ถานศึกษา หลังกำรประเมนิ 1) กาํ กับการจดั ทาํ และสง่ รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) - รายงานผลการประเมนิ ตนเองระหว่างปีให้ผู้บริหารเขียนสรุปเพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา - รายงานผลการประเมินตนเองเม่ือสิ้นปีการศึกษาให้นําส่งหน่วยงานต้นสังกัด หรอื หนว่ ยงานที่กาํ กับดแู ลสถานศึกษาทุกปี และเผยแพรใ่ หผ้ ทู้ ีเ่ กยี่ วขอ้ งทราบ 2) ร่วมรบั ผิดชอบผลการประเมนิ และรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) 3) วิเคราะห์ผลการประเมิน และนําผลการประเมินไปใช้ในการวางแผนพัฒนา คณุ ภาพ การจัดการศึกษาให้มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ข้ึน 3. ขอ้ ควรตระหนกั ในกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศกึ ษำ 3.1 ผู้ประเมินควรมีความรู้สึก และเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทั้งในด้าน ภาระงาน โครงสรา้ ง เทคนิคตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ในการบริหาร การจัดการเรียนรู้ และมีประสบการณ์เพียงพอ เพ่ือช่วย ช้ีแนะการปรับปรุง/พัฒนาสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน และตรงประเด็น เกิดประโยชน์ต่อสถานศึกษา อย่าง แท้จรงิ 3.2 ผ้ปู ระเมนิ ควรวิเคราะห์ อภิปรายด้วยใจเปน็ กลาง โดยพิจารณาจากหลักฐานและข้อมูล ท่ีเก็บ รวบรวมจากหลายๆ ด้าน ทั้งข้อมูลปัจจุบัน และผลการประเมินการดําเนินงานที่ผ่านมา (อาจพิจารณา ย้อนหลัง 3 ปี) ท้งั น้ี เพ่อื ใหท้ ราบถงึ ความก้าวหน้าในการพัฒนาว่าอย่ใู นระดับใด 3.3 ส่ิงที่มีคุณค่ามากที่สุดที่ได้รับจากการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา คือ การได้รับ ข้อ ช้ีแนะ คําแนะนํา แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติได้จริง ดังน้ัน ผู้ประเมินจึงควรรู้ ความเคลอื่ นไหวของการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในเร่อื งการพฒั นาการเรียนการสอน 3.4 การกําหนดระยะเวลาดําเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้สถานศึกษา กําหนดเองตามความเหมาะสม แต่ควรสอดคล้องกับสภาพและบริบทของการดําเนินงานเพื่อความสะดวก ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลกั ฐาน เช่น แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติ การ ประจําปี แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกหลังสอน รายงานการประชุม ผลการดําเนินงาน โครงการ กิจกรรม เป็นต้น จะเห็นได้ว่าเอกสารหลักฐานต่าง ๆ น้ัน เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ไม่ใช่การสร้างเอกสารหลักฐาน เพิม่ เตมิ 3.5 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในสว่ นของการสังเกต และสัมภาษณ์ ควรกระทําด้วยความระมัดระวัง ต้องสร้างความรสู้ ึกเป็นมิตรมากกว่าการจบั ผดิ หรอื การกลา่ วโทษ และควรพูดคุยสอบถามด้วยความสุภาพและ สร้างความไว้วางใจเปน็ อันดบั แรก กอ่ นท่จี ะสอบถามเพ่ือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ต่อไป 10

3.6 การแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินภายในสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาอาจแต่งตั้งจาก บุคลากรในสถานศึกษา หรือผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ด้านการบริหาร จัด การศึกษา ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จะทําให้การประเมินมีความน่าเชื่อถือได้ผลการประเมิน ท่ีมี ความเทยี่ งตรงเปน็ ที่ยอมรบั ของผู้ทเ่ี ก่ียวข้อง สรุปการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เมื่อผู้บริหารสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ ประเมินภายในแล้ว คณะกรรมการจะรว่ มกันวางแผนการประเมนิ จัดเตรียมเครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูล ตาม มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา กาํ หนดปฏิทนิ การประเมิน และดาํ เนินการประเมิน ภายหลังเสร็จส้ิน การ ประเมิน คณะกรรมการจะร่วมกนั จัดกระทําข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลท้ังเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ พร้อมจัดทํา รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และนําส่ง หน่วยงานต้นสังกัด หรอื หน่วยงานท่ีกํากบั ดูแลสถานศกึ ษาทุกปี พรอ้ มท้ังเผยแพร่ใหผ้ ทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ทราบ 11

ส่วนท่ี 3 สรุปผล กำรนเิ ทศตดิ ตำมกำรดำเนินงำน ประกนั คณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำ 12

สว่ นที่ สรปุ ผลกำรนเิ ทศติดตำม สรุปผลการนิเทศติดตามการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของสถานศึกษาเอกชน ประเภทสามัญศึกษา สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID- 19 สํานกั งานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดปัตตานี จึงได้เปลี่ยนแปลง รูปแบบการนิเทศติดตามการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนเอกชน จากการลงพื้นท่ีจริง เป็นการนิเทศ ผ่านโปรแกรม Google Meet โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรยี นเอกชนประเภทสามัญศึกษา จํานวน 130 โรง โดยได้รวบรวมแบบนิเทศติดตามจากผู้รับผิดชอบงาน ประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรียน และนาํ ผลมาวิเคราะหเ์ ป็นภาพรวมของจังหวัด ซง่ึ แบ่งออกเปน็ 6 ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพื้นฐำน 1. หนว่ ยงานสาํ นกั งานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั ปัตตานี 2. งบประมาณท่ใี ช้ จํานวน 12,000 บาท 3. โรงเรยี นทีอ่ ยู่ในความรบั ผิดชอบทงั้ หมด จํานวน 132 โรง ไดร้ บั การนิเทศ จํานวน 130 โรง ตำรำง 1 จํานวนโรงเรียนเอกชนประเภทสามญั ศกึ ษาสังกัดสาํ นกั งานการศกึ ษาเอกชนจังหวดั ปตั ตานี ที่ โรงเรียน ขนำดโรงเรยี น จำนวนนกั เรียน (คน) 1 อสิ ลำมอนุสรณว์ ิทยำ เลก็ 26 2 ศกึ ษำธรรมวทิ ยำ เล็ก 27 3 เจรญิ อนุสรณศ์ ำสตรว์ ทิ ยำ เลก็ 29 4 พิทักษ์ศำสตรอ์ นสุ รณ์ เล็ก 30 5 อสิ ลำมบำรุงศำสน์วิทยำ เล็ก 34 6 นูรลู ฮดี ำยะห์อลั อิสลำมยี ะห์ เลก็ 47 7 อัลเอำกอฟอสิ ลำมวิทยำ เลก็ 49 8 ศรทั ธำชนวิทยำ เลก็ 67 9 นรู ุลมฮู ัมมำดี เล็ก 71 10 อตั ตัรบยี ะฮ์อิสลำมยี ะฮ์ เลก็ 80 11 ปอซนั พฒั นำ เลก็ 84 12 สนั นิธอิ ิสลำม เลก็ 95 13 สำยธำรเมตตำธรรมวทิ ยำ เล็ก 102 14 แสงเมตตำวทิ ยำ เลก็ 105 13

ท่ี โรงเรยี น ขนำดโรงเรยี น จำนวนนักเรยี น (คน) 15 อำลำวศี ึกษำศำสน์ เล็ก 106 16 ดำรุลบำฮีรอัลอิสลำมวี ิทยำ เลก็ 116 17 ลำหยงั วิทยำมูลนธิ ิ เลก็ 124 18 อรณุ อสิ ลำมวทิ ยำ เลก็ 132 19 อำลำวีวิทยพัฒน์ เลก็ 133 20 สตรีพฒั นศกึ ษำหะยีนิเซำะ อำเก็บอไุ ร-บำเพญ็ เลก็ 141 21 อรุณวทิ ย์พทิ ยำนสุ รณ์ เล็ก 141 22 ลัดดำวทิ ยำ เล็ก 147 23 วทิ ยำศลี เลก็ 150 24 แสงธรรมศกึ ษำปตั ตำนี เลก็ 150 25 เอกภำพพัฒนำ เล็ก 151 26 ปรชี ำญำณวิทยำ เล็ก 155 27 ศรีปตั ตำนีวิทยำ เล็ก 157 28 นซั รีวิทยำ เล็ก 159 29 อัลฮสุ นยี ะห์อสิ ลำมวทิ ยำ เล็ก 162 30 ดำรุสสอลีฮีน เลก็ 166 31 ปัญญำพัฒนพ์ ิทยำ เลก็ 174 32 อนบุ ำลป่ำทรำยวิทยำ เล็ก 174 33 อำมำนะวทิ ยำ เลก็ 184 34 อิสลำมสำมัคคี เล็ก 186 35 ปูลำพัฒนำวิทยำ เล็ก 193 36 อะเดร์รอซะอสิ ลำมียะห์ เล็ก 199 37 แสงปญั ญำวทิ ยำ เลก็ 204 38 ดรณุ วิทยำ เล็ก 205 39 อะหม์ ำดวี ิทยำมลู นิธิ เล็ก 208 40 ปัญญำธรรมอนุสรณ์ เลก็ 215 41 จริยธรรมอสิ ลำมวทิ ยำ เล็ก 220 42 ปญั ญำวทิ ย์ เลก็ 229 43 อสิ ลำมพัฒนปัญญำ เล็ก 229 44 ผดงุ ศำสน์วทิ ยำ เล็ก 231 45 ศำสน์อสิ ลำม เล็ก 233 14

ท่ี โรงเรยี น ขนำดโรงเรยี น จำนวนนักเรยี น (คน) 46 วัฒนำอสิ ลำม เลก็ 243 47 พทิ ักษ์ศำสน์วิทยำมูลนธิ ิ เล็ก 244 48 นติ อิ ิสลำม เล็ก 250 49 เตรียมวทิ ยำ เลก็ 251 50 อนุบำลเลิศประชำ เล็ก 256 51 ปัตตำนีวิทยำ เล็ก 261 52 เพชรชนู เุ ครำะห์ เลก็ 277 53 ดรุณมุสลิมวทิ ยำ เลก็ 286 54 บำ้ นดอนวิทยำมูลนธิ ิ เลก็ 290 55 สำส์นวทิ ยำ เลก็ 296 56 เจรญิ ศรีศกึ ษำ กลำง 307 57 อลั -กุรอำนและภำษำกำลำมลุ ลอฮ กลำง 316 58 เชำวน์ปญั ญำ กลำง 327 59 ศำนติธรรมวิทยำ กลำง 328 60 ศำลำฟี กลำง 332 61 วิทยำอิสลำมมลู นธิ ิ กลำง 339 62 ศำนติวทิ ยำโสร่ง กลำง 345 63 อบิ นูอัฟฟำนบรู ณวิทย์ กลำง 349 64 สรรเสรญิ วทิ ยำคำร กลำง 357 65 กตู งวทิ ยำ กลำง 360 66 อรุณศำสนว์ ิทยำ กลำง 366 67 อรุณศำสนศ์ ึกษำ กลำง 369 68 ภกั ดวี ิทยำ กลำง 382 69 ปัตตำนีดำรสุ ลำม กลำง 401 70 มุสลิมสนั ติชน กลำง 404 71 อสิ ลำมศำสนว์ ทิ ยำ กลำง 410 72 จรยิ อิสลำมศึกษำอนสุ รณ์ กลำง 435 73 รำษฎร์ประชำนเุ ครำะห์ กลำง 451 74 บำรุงมุสลมี นี กลำง 469 75 ศรพี ฒั นศำสตร์ กลำง 472 76 ยะหรง่ิ วิทยำ กลำง 475 15

ที่ โรงเรยี น ขนำดโรงเรียน จำนวนนกั เรียน (คน) 77 มลู นิธสิ นั ตวิ ทิ ยำ กลำง 484 78 ฮ่ัวหนำมูลนิธิ กลำง 505 79 บูรณำกำรศึกษำวิทยำ กลำง 528 80 อำรยธรรมศำสน์ กลำง 552 81 สนั ติศำสน์วทิ ยำ กลำง 556 82 อลั ยำมีอะหอ์ ลั อสิ ลำมยี ะห์ กลำง 559 83 ยวุ อิสลำมวิทยำมลู นิธิ กลำง 578 84 ปยู ดุ ประชำรักษ์ กลำง 579 85 อิสลำมนิติวิทย์ กลำง 588 86 แหลมทองอุปถมั ภ์ กลำง 607 87 ทวีวิทยำอสิ ลำม กลำง 612 88 มฮู มั มำดียะห์ กลำง 625 89 มสุ ลมิ พฒั นศำสตร์ กลำง 654 90 จ้องฮัว้ กลำง 661 91 อนบุ ำลปัญญำศำสน์ กลำง 664 92 นูรุลอิสลำมภูมีวิทยำ กลำง 667 93 วรคำมินอนสุ รณ์ กลำง 724 94 ปฏิบตั ิธรรมมลู นิธิ กลำง 779 95 มัสญิดตะลุบัน กลำง 801 96 ธรรมพทิ ยำคำร กลำง 858 97 พัฒนศำสตร์ กลำง 871 98 บำกงพทิ ยำ กลำง 942 99 สำมำรถดีวทิ ยำ ใหญ่ 1021 100 ลำลอวทิ ยำ ใหญ่ 1107 101 ซอลฮี ยี ะห์ ใหญ่ 1125 102 สง่ เสรมิ อสิ ลำมศึกษำ ใหญ่ 1131 103 อนบุ ำลแสงสันตปิ อซนั ใหญ่ 1131 104 อสิ ลำมพฒั นำ ใหญ่ 1152 105 จิปิภพพทิ ยำ ใหญ่ 1157 106 สำมคั คธี รรมวทิ ยำ ใหญ่ 1219 107 ดำรลุ บำรอกะฮุ ใหญ่ 1257 16

ท่ี โรงเรียน ขนำดโรงเรยี น จำนวนนักเรียน (คน) 108 บำรงุ อิสลำม ใหญ่ 1257 109 ศำสนส์ ำมัคคี ใหญ่ 1339 110 แสงประทปี วิทยำ ใหญ่ 1344 111 มูลนธิ ชิ ุมชนอิสลำมศกึ ษำ ใหญ่ 1496 112 พฒั นำอิสลำม ใหญ่ 1515 113 อัลอิสลำมียะหว์ ทิ ยำมูลนธิ ิ ใหญ่ 1675 114 สง่ เสรมิ ศำสน์ ใหญ่ 1722 115 นำวำวทิ ย์ ใหญ่ 1735 116 อสิ ลำมประชำสงเครำะห์ ใหญ่ 1745 117 ดำรลุ อลู ูมวทิ ยำ ใหญ่ 1748 118 เตรยี มศึกษำวทิ ยำ ใหญ่ 1764 119 ศำสนูปถัมภ์ ใหญ่ 1776 120 ศำสนศกึ ษำ ใหญ่ 1825 121 พีระยำนำวินคลองหนิ วทิ ยำ ใหญ่ 1931 122 วฒั นธรรมอิสลำม 2112 123 รศั มีสถำปนำ ใหญพ่ เิ ศษ 2269 124 อำมำนะศักดิ์ ใหญ่พเิ ศษ 2279 125 มลู นิธอิ ำซซิ สถำน ใหญพ่ ิเศษ 2484 126 สมบรู ณศ์ ำสน์อิสลำม ใหญ่พเิ ศษ 2596 127 จงรกั สตั ยว์ ิทยำ ใหญพ่ เิ ศษ 3457 128 สำยบรุ อี ิสลำมวิทยำ ใหญ่พิเศษ 3601 129 ดรุณศำสน์วิทยำ ใหญพ่ เิ ศษ 3785 130 ประสำนวิทยำมูลนธิ ิ ใหญพ่ ิเศษ 4107 131 ปญั ญำอนศุ ำสน์วทิ ยำ เปดิ ใหม่ปกี ำรศึกษำ 2564 ใหญ่พิเศษ 45 132 อนุสรณพ์ ฒั นำ เปิดใหม่ปีกำรศกึ ษำ 2564 13 เลก็ รวมจำนวนนกั เรยี นทงั้ สน้ิ เล็ก 91,182 17

แผนภูมิ 1 จำนวนโรงเรยี นแยกตำมขนำดของโรงเรยี น ขนำดใหญ่, 23, 17% ขนำดใหญพ่ ิเศษ, 9, 7% ขนำดเล็ก, 57, 43% ขนำดกลำง, 43, 33% ขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ จำกตำรำง 1 จํานวนโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษาสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดปัตตานี จํานวนทั้งส้ิน 132 โรง ได้รับการนิเทศจํานวน 130 โรง และ 2 โรงยังไม่ได้รับการนิเทศ เนื่องจากเป็นโรงเรียนเปิดใหม่ปีการศึกษา 2564 และมีจํานวนนักเรียนท้ังหมด 91,182 คน เม่ือจําแนกเป็น ตามขนาด พบว่า โรงเรียนขนาดเล็ก (จํานวนนักเรียน 1-300 คน) มีจํานวน 57 โรง คิดเป็นร้อยละ 43 โรงเรยี นขนาดกลาง (จาํ นวนนักเรียน 301-1000 คน) มีจาํ นวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 33 โรงเรียนขนาดใหญ่ (จํานวนนกั เรยี น 1001-2000 คน) มจี ํานวน 23 โรง คิดเป็นร้อยละ 17 และโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ (จํานวน นักเรียน 2001 คน ข้ึนไป) มีจาํ นวน 9 โรง คิดเปน็ ร้อยละ 7 18

ตอนท่ี 2 กำรดำเนนิ งำนตำมกฎกระทรวงกำรประกนั คุณภำพกำรศึกษำ พ.ศ. 2561 ตำรำงที่ 2 สถานศึกษามกี ารกําหนดมาตรฐานการศึกษา ผลกำรดำเนินงำน (จำนวนโรง) ขอ้ เสนอ แนะ ประเด็นกำรนเิ ทศติดตำม ดาํ เนินการ อยู่ระหว่าง ไม่ 1. สถำนศกึ ษำมีกำรกำหนดมำตรฐำนกำรศกึ ษำ แล้ว ดําเนนิ การ ดําเนินการ 1 ศึกษามาตรฐานการศึกษาทก่ี ระทรวง 123 7 0 ศึกษาธิการ ประกาศ และเอกสารอ่นื ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง 124 6 0 2 จดั ทํามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 122 8 0 3 กําหนดคา่ เป้าหมายความสาํ เรจ็ ของมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 4 นาํ มาตรฐานการศกึ ษาและค่าเป้าหมาย 121 9 0 ความสาํ เรจ็ เสนอคณะกรรมการบรหิ าร โรงเรียนให้ความเหน็ ชอบ 5 ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 120 10 0 และคา่ เปา้ หมายความสาํ เรจ็ ใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งท้ัง ภายในและภายนอกทราบ แผนภูมิ 2 แสดงผลการดาํ เนนิ งานประเดน็ การนิเทศตดิ ตาม ดา้ นท่ี 1 สถานศกึ ษามีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา 150 123 124 122 121 120 100 50 7 0 6 0 8 0 9 0 10 0 0 ข้อ1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ข้อ4 ข้อ5 ดําเนนิ การแล้ว อยรู่ ะหว่างดําเนินการ ไมด่ าํ เนนิ การ 19

จำกตำรำง 2 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ด้านที่ 1 สถานศึกษามีการกําหนด มาตรฐานการศึกษา โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉล่ีย 122 โรง และ อยู่ระหว่าง ดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 8 โรง เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่ 2 จัดทํามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาได้ดําเนินการมากท่ีสุด คือ 124 โรง โดยที่ ข้อท่ี 5 ประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และค่าเป้าหมายความสําเร็จให้ผู้เก่ียวข้องทั้งภายในและภายนอกทราบ สถานศึกษาดําเนินการน้อยที่สุด คอื 120 โรง ตำรำงที่ 3 สถานศกึ ษามีการจัดทาํ แผนพฒั นาการจดั การศึกษา ผลกำรดำเนินงำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเด็นกำรนเิ ทศตดิ ตำม ดาํ เนนิ การ อยู่ระหวา่ ง ไม่ แลว้ ดําเนนิ การ ดําเนนิ การ 2. สถำนศกึ ษำมีกำรจัดทำแผนพฒั นำกำรจดั กำรศึกษำ 1 แต่งตัง้ คณะกรรมการจดั ทาแผนพัฒนาการจัด 123 5 2 การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 2 วิเคราะหข์ ้อมลู สารสนเทศเกย่ี วกบั สภาพ 120 8 2 ภายในและภายนอกสถานศึกษา 125 4 1 3 กาหนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ 121 7 2 ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ 118 9 3 4 กาหนดแผนการดาเนินงานและงบประมาณ 5 กาหนดวิธีการนาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา สกู่ ารปฏิบตั ิ 150 123 แผนภูมิ 3 แสดงผลการดาํ เนนิ งานประเด็นการนเิ ทศติดตาม 100 ด้านที่ 2 สถานศกึ ษามีการจัดทําแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา 120 125 121 118 50 52 82 41 72 93 0 ข้อ1 ข้อ2 ข้อ3 ขอ้ 4 ข้อ5 ดําเนินการแลว้ อยู่ระหว่างดาํ เนนิ การ ไม่ดําเนินการ 20

จำกตำรำง 3 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ด้านที่ 2. สถานศึกษามีการจัดทํา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉลี่ย 121.40 โรง อยู่ ระหว่างดาํ เนินการ มีคา่ เฉล่ยี 6.60 โรง และไมด่ ําเนินการ มีค่าเฉล่ีย 2.00 เม่อื พิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่ 3 กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ สถานศึกษาได้ดําเนินการมากที่สุด คือ 125 โรง โดยท่ี ขอ้ ท่ี 5 กาํ หนดวิธกี ารนําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา สู่การปฏิบัติ สถานศึกษาดําเนินการน้อยที่สุด คอื 118 โรง ตำรำงที่ 4 สถานศึกษามกี ารดําเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ผลกำรดำเนินงำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเดน็ กำรนเิ ทศตดิ ตำม ดาํ เนนิ การ อยรู่ ะหวา่ ง ไม่ แล้ว ดาํ เนินการ ดาํ เนินการ 3. สถำนศึกษำมีกำรดำเนนิ งำนตำมแผนพฒั นำกำรจดั กำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ 1 จดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี 125 5 0 2 จัดทาปฏทิ นิ การปฏบิ ัตงิ าน 122 7 1 3 นาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีไปใช้ 120 10 4 กากบั ตดิ ตาม และประเมินผลการดาเนนิ งาน 119 10 1 ตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 5 สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการ 117 11 2 ประจาปี แผนภูมิ 4 แสดงผลการดาํ เนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ด้านที่ 3 สถานศกึ ษามีการดําเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 140 125 122 120 119 117 120 100 80 60 40 20 5 0 7 1 10 0 10 1 11 2 0 ข้อ1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ข้อ4 ข้อ5 ดําเนนิ การแล้ว อยู่ระหว่างดําเนนิ การ ไมด่ าํ เนนิ การ 21

จำกตำรำง 4 ผลการดาํ เนนิ งานประเด็นการนิเทศติดตาม ด้านท่ี 3 สถานศึกษามีการดําเนินงาน ตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉล่ีย 120.60 โรง และ อยรู่ ะหว่างดําเนินการ มีค่าเฉล่ีย 8.60 โรง และไม่ดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 0.80 เมื่อพิจารณา รายข้อ พบว่า ข้อท่ี 1 จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี สถานศึกษาได้ดําเนินการมากที่สุด คือ 125 โรง โดยท่ี ข้อท่ี 5 สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการประจาปี สถานศกึ ษาดําเนนิ การนอ้ ยท่ีสดุ คอื 117 โรง ตำรำงท่ี 5 สถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเด็นกำรนเิ ทศติดตำม ดาํ เนนิ การ อยรู่ ะหว่าง ไม่ แล้ว ดําเนินการ ดําเนนิ การ 4. สถำนศึกษำมกี ำรประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภำพกำรศกึ ษำภำยในสถำนศึกษำ 1 แต่งตง้ั คณะกรรมการประเมนิ ผลและตรวจสอบ 122 7 1 คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา 115 14 1 2 กาหนดปฏทิ ินการประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา 112 17 1 3 สรา้ งเครื่องมือการประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา 114 13 3 4 ดาเนนิ งานการประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพ การศกึ ษาภายในสถานศึกษา 5 จดั ทารายงานผลการประเมนิ และตรวจสอบ 114 14 2 คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา แผนภูมิ 5 แสดงผลการดําเนินงานประเดน็ การนิเทศติดตาม ด้านท่ี 4 สถานศกึ ษามีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา 150 122 115 112 114 114 100 50 17 1 0 71 14 1 13 3 14 2 ขอ้ 1 ข้อ2 ข้อ3 ขอ้ 4 ข้อ5 ดาํ เนินการแลว้ อยรู่ ะหวา่ งดาํ เนินการ ไม่ดาํ เนนิ การ 22

จำกตำรำง 5 ผลการดําเนนิ งานประเด็นการนเิ ทศตดิ ตาม ด้านที่ 4 สถานศึกษามีการประเมินผลและ ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โดยภาพรวม พบวา่ สถานศกึ ษาดาํ เนนิ การแล้ว มีค่าเฉลีย่ 115.40 โรง และ อยู่ระหว่างดําเนินการ มีค่าเฉล่ีย 13.00 โรง และไม่ดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 1.60 เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ขอ้ ที่ 1แต่งต้งั คณะกรรมการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สถานศึกษาได้ ดําเนินการมากที่สุด คือ 122 โรง โดยท่ี ข้อท่ี 3 สร้างเคร่ืองมือการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาดําเนินการน้อยท่ีสดุ คอื 112 โรง ตำรำงที่ 6 สถานศึกษามีการติดตามผลการดําเนินการเพือ่ พฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ผลกำรดำเนินงำน (จำนวนโรง) ขอ้ เสนอ แนะ ประเดน็ กำรนิเทศติดตำม ดาํ เนินการ อยูร่ ะหวา่ ง ไม่ แลว้ ดาํ เนนิ การ ดําเนินการ 5. สถำนศึกษำมกี ำรติดตำมผลกำรดำเนนิ กำรเพ่อื พฒั นำสถำนศึกษำให้มีคุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ 1 แต่งตั้งผรู้ บั ผดิ ชอบในการติดตามผลการดาเนนิ การ 121 9 0 เพอ่ื พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา 2 กาหนดปฏทิ นิ ปฏบิ ัตงิ านติดตามผลการดาเนนิ การ 114 15 1 เพื่อพฒั นาสถานศึกษาให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา 3 สรา้ งและใชเ้ ครอ่ื งมือตดิ ตามผลการดาเนินการเพอ่ื 111 16 3 พัฒนาสถานศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา 4 รวบรวมและสรุปขอ้ มูลการติดตามผลการดาเนินงาน 112 15 3 5 รายงานผลการดาเนินการเพ่ือพฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ ี 112 16 2 คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา แผนภมู ิ 6 แสดงผลการดาํ เนนิ งานประเด็นการนิเทศติดตาม ดา้ นที่ 5 สถานศกึ ษามกี ารติดตามผลการดาํ เนนิ การเพ่อื พฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 150 121 114 111 112 112 100 50 9 0 15 1 16 3 15 3 16 2 0 ขอ้ 1 ข้อ2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ข้อ5 ดาํ เนินการแล้ว อยรู่ ะหว่างดาํ เนินการ ไมด่ าํ เนินการ 23

จำกตำรำง 6 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ด้านท่ี 5 สถานศึกษามีการติดตามผลการ ดําเนนิ การเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการ แล้ว มีค่าเฉลี่ย 114.00 โรง และ อยู่ระหว่างดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 14.20 โรง และไม่ดําเนินการ มีค่าเฉล่ีย 1.80 เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่ 1แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการติดตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาได้ดําเนินการมากที่สุด คือ 121 โรง โดยที่ ข้อที่ 3 สร้างและใช้ เคร่ืองมือติดตามผลการดําเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษา ดําเนินการน้อยที่สดุ คือ 111 โรง ตำรำงที่ 7 สถานศึกษาจดั ทาํ รายงานผลการประเมินตนเอง และจัดสง่ ให้แกห่ นว่ ยงานตน้ สงั กดั หน่วยงานทกี่ ํากับดแู ล ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ขอ้ เสนอ แนะ ประเด็นกำรนิเทศติดตำม ดาํ เนนิ การ อยู่ระหวา่ ง ไม่ แลว้ ดาํ เนินการ ดาํ เนินการ 6. สถำนศึกษำจัดทำรำยงำนผลกำรประเมินตนเอง และจัดส่งให้แกห่ นว่ ยงำนต้นสงั กัด หน่วยงำนท่กี ำกับดูแล 1 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทารายงาน ผลการ 126 4 0 ประเมนิ ตนเอง 2 รวบรวมข้อมูลสารสนเทศและขอ้ มูลอ่ืน ๆ 119 11 0 3 สรปุ และจัดทารายงานผลการประเมนิ ตนเอง 119 11 0 4 นาเสนอคณะกรรมการบริหารโรงเรียน 120 10 0 1 พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ 5 ส่งหนว่ ยงานต้นสงั กดั หรือหนว่ ยงานท่ีกากับ 121 8 ดูแล หน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งและเผยแพรต่ ่อ สาธารณชน แผนภมู ิ 7 แสดงผลการดาํ เนินงานประเดน็ การนเิ ทศติดตาม ดา้ นที่ 6 สถานศึกษาจดั ทาํ รายงานผลการประเมินตนเอง และจัดส่งใหแ้ ก่หน่วยงานตน้ สังกัด 150 126 หน่วยงานท่กี ํากับดแู ล 121 114 119 120 100 50 11 0 11 0 10 0 0 40 81 ขอ้ 1 ข้อ2 ข้อ3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ดําเนินการแล้ว อย่รู ะหว่างดําเนินการ ไม่ดาํ เนนิ การ 24

จำกตำรำง 7 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ด้านท่ี 6 สถานศึกษาจัดทํารายงานผล การประเมินตนเอง และจัดส่งให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉล่ีย 121.00 โรง และ อยู่ระหว่างดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 8.80 โรง และไม่ดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 0.20 เม่ือ พิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ี 1 แต่งต้ังคณะกรรมการจัดทํารายงาน ผลการประเมินตนเอง สถานศึกษาได้ ดาํ เนินการมากที่สุด คือ 126 โรง โดยท่ี ข้อที่ 2 รวบรวมข้อมูลสารสนเทศและข้อมูลอื่น ๆ และข้อที่ 3 สรุปและ จัดทํารายงานผลการประเมินตนเอง สถานศึกษาดําเนินการน้อยท่สี ดุ คอื 111 โรง ตำรำงท่ี 8 สถานศกึ ษามีการพฒั นาคณุ ภาพอย่างต่อเนือ่ ง ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเดน็ กำรนเิ ทศตดิ ตำม ดาํ เนินการ อยู่ระหว่าง ไม่ 7. สถำนศึกษำมีกำรพฒั นำคุณภำพอย่ำงตอ่ เน่อื ง แลว้ ดําเนินการ ดาํ เนนิ การ 1 ใช้ข้อมูลสารสนเทศท่ไี ด้จากการประเมนิ จากแหล่ง 111 18 1 ต่างๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษามาพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษา 108 20 2 2 วางแผนใชข้ อ้ มลู สารสนเทศโดยกาหนดรูปแบบ 104 21 5 แนวทางและแบบแผนไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพ 102 24 4 การศกึ ษาในด้านต่างๆ ตามบรบิ ทของสถานศึกษา 3 นาผลท่ีไดจ้ ากการปฏบิ ัตไิ ปใช้สะทอ้ นกลบั และมกี าร แลกเปลย่ี นเรยี นรูด้ ว้ ยการจดั การความรู้ (KM) หรอื จดั ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (PLC) ฯลฯ เพื่อการ พฒั นาการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง 4 สร้างเครือข่ายและผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา 150 แผนภมู ิ 8 แสดงผลการดาํ เนนิ งานประเด็นการนเิ ทศตดิ ตาม 111 ดา้ นที่ 7 สถานศึกษามกี ารพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งต่อเน่อื ง 100 108 104 102 50 20 21 24 18 2 5 4 1 ข้อ2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 0 ขอ้ 1 ดาํ เนินการแล้ว อยูร่ ะหว่างดาํ เนนิ การ ไม่ดาํ เนินการ 25

จำกตำรำง 8 ผลการดาํ เนินงานประเดน็ การนิเทศตดิ ตาม ด้านท่ี 7สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพ อยา่ งต่อเนอื่ ง โดยภาพรวม พบว่า สถานศกึ ษาดาํ เนินการแลว้ มคี ่าเฉลย่ี 106.25 โรง และ อยูร่ ะหว่างดําเนินการ มคี า่ เฉล่ยี 20.75 โรง และไมด่ ําเนินการ มีค่าเฉล่ีย 3.00 เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่ 1 ใช้ข้อมูลสารสนเทศ ทีไ่ ด้จากการประเมนิ จากแหลง่ ต่างๆ ท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษามาพัฒนาคุณภาพการศึกษา สถานศึกษา ไดด้ าํ เนนิ การมากทส่ี ดุ คอื 111 โรง โดยท่ี ข้อท่ี 4 สร้างเครือขา่ ยและผูม้ ีสว่ นร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สถานศกึ ษาดําเนินการน้อยทส่ี ุด คือ 102 โรง ตอนท่ี 3 ผลกำรดำเนนิ งำนตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ ระดับปฐมวัย ตำรำงที่ 9 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเดน็ กำรนเิ ทศตดิ ตำม ดาํ เนินการ อยรู่ ะหว่าง ไม่ มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของเด็ก แลว้ ดําเนินการ ดําเนินการ 1 มพี ัฒนาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสัยที่ 86 2 0 ดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ 2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ 86 2 0 86 2 0 แสดงออกทางอารมณ์ได้ 3 มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเองและ 85 3 0 เปน็ สมาชิกท่ีดขี องสงั คม 4 มพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะ การคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ แผนภูมิ 9 แสดงผลการดาํ เนนิ งานประเดน็ การนเิ ทศติดตาม 100 86 86 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพ8ข6องเด็ก 85 80 60 40 20 2 0 20 20 30 0 ข้อ2 ข้อ3 ขอ้ 4 ขอ้ 1 ดําเนินการแล้ว อยรู่ ะหวา่ งดําเนนิ การ ไม่ดาํ เนินการ 26

จำกตำรำง 9 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ระดับปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ ของเด็ก โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉลี่ย 85.75 โรง และ อยู่ระหว่างดําเนินการ มี ค่าเฉลี่ย 2.25 โรง เมอื่ พิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ี 1 ถึง ข้อท่ี 3 สถานศึกษาได้ดําเนินการมากท่ีสุด คือ 86 โรง โดยที่ ข้อที่ 4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ สถานศึกษา ดาํ เนนิ การนอ้ ยท่สี ุด คือ 85 โรง ตำรำงท่ี 10 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเดน็ กำรนิเทศตดิ ตำม ดาํ เนินการ อยรู่ ะหวา่ ง ไม่ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร แล้ว ดําเนนิ การ ดําเนินการ 1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้งั 4 ดา้ น 85 3 0 สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถน่ิ 2 จัดครใู ห้เพยี งพอกบั ช้ันเรยี น 86 2 0 3 ส่งเสริมใหค้ รมู ีความเชี่ยวชาญด้านการจดั 86 2 0 ประสบการณ์ 4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพอื่ การเรยี นรู้อยา่ ง 84 4 0 ปลอดภยั และเพียงพอ 5 ใหบ้ รกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ 80 8 0 เพือ่ สนับสนนุ การจัดประสบการณ์ 6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งทุก 84 4 0 ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม 100 85 แผนภูมิ 10 แสดงผลการดําเนินงานประเดน็ การนเิ ทศติดตาม 84 80 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 86 86 84 80 60 40 20 3 0 2 0 2 0 4 0 8 0 4 0 0 ขอ้ 1 ขอ้ 2 ข้อ3 ข้อ4 ขอ้ 5 ข้อ6 ดาํ เนินการแล้ว อยูร่ ะหว่างดาํ เนนิ การ ไมด่ ําเนินการ 27

จำกตำรำง 10 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉลี่ย 84.17 โรง และ อยรู่ ะหว่างดําเนนิ การ มีคา่ เฉล่ยี 3.83 โรง เมื่อพจิ ารณารายข้อ พบว่า ข้อที่ 2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน และ ข้อที่ 3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ สถานศึกษาได้ดําเนินการมากที่สุด คือ 86 โรง โดยที่ ข้อท่ี 5 ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์ สถานศึกษาดําเนนิ การน้อยทส่ี ดุ คอื 80 โรง ตำรำงท่ี 11 มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสาํ คญั ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ขอ้ เสนอ แนะ ประเด็นกำรนิเทศตดิ ตำม ดาํ เนนิ การ อยู่ระหวา่ ง ไม่ แลว้ ดําเนนิ การ ดาํ เนินการ มำตรฐำนท่ี 3 กำรจดั ประสบกำรณท์ ่ีเน้นเด็กเปน็ สำคญั 1 มีหลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ 4 ดา้ น 86 2 0 สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถิ่น 2 จัดครใู หเ้ พียงพอกบั ชั้นเรยี น 84 4 0 3 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชย่ี วชาญด้านการจัด 82 6 0 ประสบการณ์ 4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่อื การเรยี นรอู้ ยา่ ง 84 4 0 ปลอดภัยและเพียงพอ 100 แผนภมู ิ 11 แสดงผลการดําเนนิ งานประเด็นการนิเทศตดิ ตาม 86 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสําคัญ 80 84 82 84 60 40 20 40 60 40 20 ขอ้ 2 ข้อ3 ขอ้ 4 0 ข้อ1 ดําเนนิ การแล้ว อยรู่ ะหว่างดาํ เนนิ การ ไมด่ ําเนนิ การ 28

จำกตำรำง 11 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ระดับปฐมวัย มาตรฐานท่ี 3 การจัด ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสําคัญ พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉลี่ย 84.00 โรง และ อยู่ระหว่าง ดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 4.00 โรง เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ี 1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น สถานศึกษาได้ดําเนินการมากท่ีสุด คือ 86 โรง โดยท่ี ข้อที่ 3 ส่งเสริมให้ครูมี ความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ สถานศึกษาดาํ เนนิ การน้อยทส่ี ุด คอื 82 โรง ระดับกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำน ตำรำงท่ี 12 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รียน (ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรยี น) ผลกำรดำเนินงำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเด็นกำรนเิ ทศตดิ ตำม ดาํ เนินการ อยรู่ ะหว่าง ไม่ แล้ว ดําเนินการ ดาํ เนนิ การ มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของผู้เรียน (ผลสัมฤทธิ์ทำงวชิ ำกำรของผู้เรียน) 1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร และการ 122 2 0 คิดคานวณ 2 มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมี 122 2 0 121 3 0 วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น และ แกป้ ัญหา 3 มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 4 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 124 0 0 การส่อื สาร 5 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 122 2 0 6 มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี ่องาน 121 3 0 อาชีพ แผนภูมิ 12 แสดงผลการดําเนินงานประเดน็ การนิเทศตดิ ตาม มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น (ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น) 150 122 122 121 124 122 121 100 50 20 20 30 00 20 30 0 ขอ้ 1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 ดําเนนิ การแล้ว อยรู่ ะหว่างดําเนินการ ไมด่ าํ เนินการ 29

จำกตำรำง 12 ผลการดําเนินงานประเดน็ การนิเทศติดตาม ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉลี่ย 122 โรง และ อยู่ระหว่างดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 2 โรง เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ี 4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร สถานศกึ ษาได้ดาํ เนินการทกุ โรง คอื 124 โรง โดย ที่ ข้อที่ 4 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และ ข้อที่ 6 มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องาน อาชีพ สถานศกึ ษาดําเนนิ การนอ้ ยที่สดุ คอื 121 โรง ตำรำงที่ 13 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน (คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น) ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเดน็ กำรนเิ ทศตดิ ตำม ดําเนนิ การ อยู่ระหวา่ ง ไม่ แล้ว ดําเนนิ การ ดําเนนิ การ มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของผเู้ รยี น (คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น) 1 การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ตี ามที่ 124 0 0 สถานศึกษากาหนด 2 มีความภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย 124 0 0 3 มกี ารยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ ง 124 0 0 123 1 0 และหลากหลาย 4 มสี ขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม แผนภมู ิ 13 แสดงผลการดาํ เนนิ งานประเดน็ การนิเทศตดิ ตาม 140 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน (คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน) 124 124 124 123 120 100 80 60 40 20 00 00 10 00 ขอ้ 2 ข้อ3 ขอ้ 4 0 ข้อ1 ดาํ เนินการแล้ว อยู่ระหว่างดําเนินการ ไม่ดําเนนิ การ 30

จำกตำรำง 13 ผลการดําเนนิ งานประเด็นการนิเทศติดตาม ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มคี ่าเฉล่ีย 123.75 โรง และ อยรู่ ะหว่างดาํ เนนิ การ มีคา่ เฉลย่ี 0.25 โรง เมือ่ พิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่ 1 ถึงข้อ ที่ 3 สถานศกึ ษาได้ดาํ เนนิ การแลว้ คอื 124 โรง โดยที่ ขอ้ ท่ี 4 สถานศึกษาดําเนนิ การจํานวน 123 โรง ตำรำงที่ 14 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ขอ้ เสนอ แนะ ประเดน็ กำรนเิ ทศตดิ ตำม ดาํ เนนิ การ อยู่ระหวา่ ง ไม่ มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร แลว้ ดําเนินการ ดาํ เนนิ การ 1 มีเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศกึ ษา 123 1 0 กาหนดชดั เจน 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 122 2 0 3 ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการที่เน้นคุณภาพผเู้ รียนรอบ 121 3 0 ด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย 120 4 0 4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทาง วิชาชพี 5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ตอ่ 121 3 0 การจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ 6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การ 118 6 0 บริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ แผนภูมิ 14 แสดงผลการดาํ เนินงานประเดน็ การนิเทศตดิ ตาม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 150 123 122 121 120 121 118 100 50 10 20 30 40 30 60 0 ขอ้ 1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ข้อ4 ขอ้ 5 ข้อ6 ดาํ เนนิ การแล้ว อยู่ระหวา่ งดําเนนิ การ ไม่ดาํ เนินการ 31

จำกตำรำง 14 ผลการดําเนนิ งานประเดน็ การนเิ ทศติดตาม ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มาตรฐาน ที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ โดยภาพรวม พบว่า สถานศกึ ษาดาํ เนินการแล้ว มคี ่าเฉล่ยี 120.83 โรง และ อยู่ระหวา่ งดาํ เนินการ มีค่าเฉลย่ี 3.17 โรง เมอื่ พิจารณารายข้อ พบว่า ขอ้ ที่ 1 มเี ป้าหมาย วิสัยทศั น์ และ พันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชดั เจน สถานศกึ ษาได้ดําเนนิ การแลว้ คอื 123 โรง โดยท่ี ขอ้ ที่ 3 จดั ระบเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้ สถานศึกษาดาํ เนนิ การจํานวน 118 โรง ตำรำงท่ี 15 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สําคญั ผลกำรดำเนนิ งำน (จำนวนโรง) ข้อเสนอ แนะ ประเด็นกำรนเิ ทศตดิ ตำม ดําเนนิ การ อยู่ระหว่าง ไม่ แล้ว ดาํ เนนิ การ ดาํ เนินการ มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ 1 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และ 123 1 0 สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ ได้ 2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ ี่ 120 4 0 เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 3 มีการบริหารจดั การช้นั เรียนเชิงบวก 122 2 0 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ 121 3 0 และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 5 มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั 122 2 0 เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ แผนภมู ิ 15 แสดงผลการดาํ เนนิ งานประเดน็ การนิเทศติดตาม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สําคญั 150 123 120 122 121 122 100 50 10 40 20 30 20 0 ขอ้ 1 ข้อ2 ข้อ3 ข้อ4 ข้อ5 ดาํ เนินการแล้ว อยูร่ ะหว่างดาํ เนินการ ไม่ดําเนินการ 32

จำกตำรำง 15 ผลการดําเนินงานประเด็นการนิเทศติดตาม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน ท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาดําเนินการแล้ว มีค่าเฉลี่ย 121.60 โรง และ อยู่ระหว่างดําเนินการ มีค่าเฉลี่ย 2.40 โรง เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อท่ี 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิตได้ สถานศึกษา ได้ดําเนินการมากท่ีสุด คือ 123 โรง โดยที่ ข้อที่ 2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรยี นรู้ สถานศึกษาดาํ เนินการนอ้ ยทส่ี ุด 120 โรง ตอนที่ 4 นวัตกรรม / แบบอย่ำงทีด่ ี (Innovation / Best Practice) ระดับปฐมวยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ที่ ชอ่ื นวตั กรรม/แบบอยำ่ งทีด่ ี 1 กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรูแ้ บบ project approach 2 กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนกรี ออาตี/กจิ กรรมดอู า 3 crw model 4 การจัดการเรียนการสอนแบบ Stem ศึกษา 5 การจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะทางดา้ นภาษาโดยใช้ภาพประกอบ 6 การพัฒนาทกั ษะการพูดโดยห่นุ มือ 7 การพัฒนาหลักสูตร การเรยี นการสอน และการวดั การประเมนิ ผล 8 การสอนทางไกลและชดุ การสอน (Tele Conference and Learning Packages) 9 กิจกรรมสภ่ี าษา 10 กจิ กรรมหน้าเสาธง/หนูรักสขุ ภาพ 11 ของเลน่ เชิงแก้ปัญหาและความคิดสรา้ งสรรค์ ARTERA 12 โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาตร์นอ้ ย 13 โครงการห้องเรยี น MEP 14 นวตั กรรมการศึกษาชน้ั เรยี น (Lesson Study) และวิธกี ารแบบเปิด (Open Approach) 15 นวตั กรรมหนงั ส่ือ Big Book 33

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ ที่ ช่อื นวตั กรรม/แบบอยำ่ งท่ีดี 16 แบบเรยี นอสิ ลามศกึ ษา(ฟัรดอู ีน) 17 ผเู้ รยี นมสี ุขภาพแขง็ แรงและมสี มรรถภาพทางกายและน้าํ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ 18 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มที ักษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ 19 เรียนปนเลน่ /วงลอ้ พาเพลิน 20 สื่อกระดานคณิตคิดสนกุ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ที่ ชอ่ื นวัตกรรม/แบบอย่ำงท่ีดี 1 โครงการเยยี่ มบ้าน 2 crw model 3 การจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเปน็ สําคัญ 4 การจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการอิสลามศกึ ษา 5 การจัดตารางสอนแบบยดื หย่นุ (Flexible Scheduling) 6 การใช้กระบวนการ PDCA 7 การใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศได้ 8 กจิ กรรมนเิ ทศครูผสู้ อน กจิ กรรมอบรมหลกั สูตรแผนการจดั การเรยี นรู้ งานวนั วิชาการ 9 กิจกรรมผลติ ส่อื และนวตั กรรมปฐมวัย 10 กิจกรรมอบรมหลักสตู ร แผนจัดการเรยี นรู้ 11 โครงการ Small pondok in School (SPS) ปอเนาะเล็กในโรงเรยี นใหญ่ 12 โครงการการผลติ สอื้ สรา้ งสรรค์ เพ่ือพัฒนาการเรยี นร้เู ด็กปฐมวัย 13 โครงการปรับปรงุ หอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์ 34

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ท่ี ช่อื นวัตกรรม/แบบอยำ่ งท่ีดี 14 โครงการระบบสารสนเทศเพอื่ การบริหารสถานศึกษา 15 งานวนั วิชาการ งานวิจัยในชั้นเรยี น กจิ กรรมพัฒนาครู 16 จดั กิจกรรม การแปรงฟนั ให้สะอาด รกั ฟัน 17 ชุมชนการเรยี นรู้วิชาชีพ(plc) 18 ทกุ ฝ่ายมีการกําหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย ท่ีชดั เจน 19 นวตั กรรมการศึกษาชัน้ เรยี น (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปิด (Open Approach) 20 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ เเละจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อ ตอ่ การจัดการเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ 21 มกี ระบวนการจดั ประสบการณ์ สอ่ื การสอน โครงการและกจิ กรรมต่างๆท่ีมีการบูรณาการอสิ ลาม 22 มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสีด่ า้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถน่ิ 23 รายงานการปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู รปฐมวยั โดยใช้กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม 24 ส่งเสรมิ การเรียนรู้แบบ (project approach) 25 หอ้ งโสตทศั นูปกรณแ์ ละห้องการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเป็นสําคัญ ที่ ช่อื นวตั กรรม/แบบอยำ่ งท่ีดี 1 นวตั กรรมการศกึ ษาช้นั เรียน (Lesson Study) และวิธกี ารแบบเปดิ (Open Approach) 2 EF GUIDELINE นวัตกรรมการออกแบบการสอนเพอ่ื พฒั นาทักษะสมองส่วนหน้าในเด็กปฐมวัย 3 การจดั การเรยี นการสอนแบบ Stem ศกึ ษา 4 การจัดการเรยี นการสอนอัล-กรุ อาน/กรี ออาตี 5 การใชป้ ระสบการณจ์ รงิ ของผ้เู รียนเปน็ ฐานในการพัฒนาการเรยี นรทู้ งั้ 4 ดา้ น 6 กจิ กรรมนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย 35

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เปน็ สาํ คญั ที่ ชอ่ื นวตั กรรม/แบบอย่ำงทีด่ ี 7 โครงการการจัดการเรียนรูข้ องเดก็ ปฐมวยั ตามเเนว PLC การใชส้ ่อื เทคโนโลยใี นการจัดกิจกรรม 8 โครงการพฒั นาความสามารถนอ้ งหนูสู่ความสขุ 9 นิทานสง่ เสรมิ ภาษาสาํ หรบั เด็กปฐมวยั 10 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์โดยตรง 11 การสอนทางไกลและทํากิจกรรมจากบทเรียนสาํ เรจ็ รปู 12 โครงการหนนู ้อยเดก็ ดี มีจติ อาสาเพอ่ื พฒั นาชุมชนและสังคม 13 โครงการหนูน้อยวยั ใส หัวใจกจิ กรรม 14 มีการประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาํ ผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจัด ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ 15 ให้ความรู้ และฝกึ การรักษาความสะอาด มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ระดบั ขัน้ พ้ืนฐำน ที่ ชอื่ นวตั กรรม/แบบอยำ่ งที่ดี 1 กิจกรรมตอ่ ตา้ นยาเสพติด TO BE NUMBER ONE 2 กิจกรรมสง่ กฬี าและดนตรี (วงมฟุ ลีููน) 3 นวัตกรรมการศกึ ษาช้นั เรยี น (Lesson Study) และวธิ กี ารแบบเปดิ (Open Approach) 4 OMO MODEL SCALE UP BIZ เพม่ิ มูลคา่ ธุรกจิ พลิกเศรษฐกิจชุมชน 5 Magnetic Model 6 crw model 7 การสอนทางไกลและชุดการสอน (Tele Conference and Learning Packages) 8 การสอนแบบโครงงานด้วยฐานวจิ ัย 36

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ที่ ชอื่ นวัตกรรม/แบบอย่ำงทีด่ ี 9 กจิ กรรมชุมนุมสร้างสรรค์ 10 การเรียนกีตาบด้ังเดมิ 11 คลีนคิ อา่ นเขียน 12 โครงการห้องเรยี นพิเศษเนน้ อัล-กรุ อา่ น วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร์ และภาษา (Qur’anic Science Math & Languas: QSML) 13 โครงงานต้ฝู ักไข่ ตู้ปลูกผักอจั ฉรยิ ะ 14 สื่อการสอนออนไลน์ ผ่าน New Google site 15 หลกั สูตรทอ้ งถิน่ , ภาษาอังกฤษพงิ กุ (Pingu's English) มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ท่ี ชือ่ นวัตกรรม/แบบอย่ำงทีด่ ี 1 นวัตกรรมการศกึ ษาชนั้ เรยี น (Lesson Study) และวธิ ีการแบบเปดิ (Open Approach) 2 นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การระบบมักตบั Head of Department Tarbiah 3 โครงการ Small pondok in School (SPS) ปอเนาะเล็กในโรงเรียนใหญ่ 4 การจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการอิสลามศกึ ษา 5 การจดั ตารางสอนแบบยดื หยุ่น (Flexible Scheduling) 6 จัดบรรยากาศการเรยี นการสอนแบบคาทอลกิ 7 นํารอ่ งพนื้ ท่ีนวตั กรรม 8 บริหารจัดการในรูปแบบการกระจายอาํ นาจตรวจ P.D.C.A 9 บรกิ ารสือ่ การสอนและสื่อ ICT 10 ผูบ้ ริหารเป็นผู้นําที่ดี 37

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สําคัญ ท่ี ชอื่ นวัตกรรม/แบบอยำ่ งทีด่ ี 1 ด้านการพัฒนาศักยภาพนกั เรยี น กจิ กรรมแขงขันทกั ษะทางวชิ าการจากหน่วยงานภายในและภายนอก ตามโครงการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ 2 Lesson Study &Open Approach 3 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ PLC 4 การจัดการเรยี นการสอนอัล-กุรอาน/กีรออาตี 5 การสอนทางไกลและทาํ กิจกรรมจากบทเรียนสาํ เรจ็ รูป 6 กจิ กรรมชุมนมุ สรา้ งสรรค์ 7 กิจกรรมร้ัวผนงั ต้นไม้พดู ได้ 8 การผลติ ส่อื และใชส้ อ่ื การสอน(โปรเจคเตอร์) เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้ 9 โครงการ STEM Education 10 โครงการพัฒนาการบรหิ ารงานมภี าวะผ้นู าํ และมคี วามสามารถในการบริหารจัดการ 11 โครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษด้านวิทยาศาสตรบ์ ูรณาการวิชาอสิ ลามศกึ ษา (Science Math Ability: SMA) 12 จดั การเรยี นการสอนท่สี ง่ เสริมการคิดวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการ Active Learning 13 แผนธรุ กิจและพฒั นา SOLUTION ดา้ นการแพทย์ สขุ ภาพ สาธารณสุขและโภชนาการ 14 สอ่ื การสอนออนไลน์ ผา่ น New Google site 15 เสรมิ สรา้ งใหน้ ักเรยี น เรียนรู้นอกหอ้ งเรียนโดย 38

ตอนที่ 5 ควำมโดดเดน่ ของสถำนศกึ ษำ ได้รับกำรยอมรับเปน็ ต้นแบบระดบั (จำนวนโรง) ควำมโดดเด่นของสถำนศกึ ษำ นานาชาติ ชาติ ท้องถน่ิ /ภูมภิ าค (C3) (C2) (C1) รางวัลพระราชทาน 21 ความสามารถทาง วชิ าการและเทคโนโลยีของนักเรยี น 1 ต้นแบบการบรหิ ารจัดการวิถีโรงเรียนพระราชทาน 1 ความสามารถทาง วิชาการและเทคโนโลยขี องนักเรียน ปกี ารศึกษา 2562 (โอลิมปกิ ระดับชาติ) 1 โอลิมปิกวชิ าการระดับชาติคณิตศาสตร์โอลมิ ปิก ระดบั ชาติ Thailand Mathematical Olympiad 1 (TMO) โอลมิ ปกิ วิชาการระดับชาติ ดาราศาสตรโ์ อลิมปกิ 1 ระดับชาติ Thailand Astronomy Olympiad (TAO) โอลิมปิกวิชาการระดบั ชาติ สาขาคอมพวิ เตอร์ 1 Thailand Olympiad informatics (TOI) 1 ส่งิ ประดษิ ฐจ์ ากวัสดุเหลอื ใช้ 1 โครงการคดั เลือกนักกอรีอัลกรอุ า่ นสู่เวทสี ากลประจําปี 1 2563 2 การแขง่ ขันกิจกรรมเสริมหลกั สูตรประเภทโครงงานอาชพี 1 งานมหกรรมวิชาการและวชิ าชพี จงั หวัดชายแดนใต้ 1 การแขง่ ขันจินตคณติ กิจกรรมตอ่ ตา้ นยาเสพติด TO BE NUMBER ONE ความสามารถทาง วชิ าการและเทคโนโลยขี องนกั เรียน ปีการศกึ ษา 2562 (โอลิมปิกวชิ าการ ค่าย 2) 39

ไดร้ ับกำรยอมรบั เปน็ ต้นแบบระดบั (จำนวนโรง) ควำมโดดเดน่ ของสถำนศึกษำ นานาชาติ ชาติ ทอ้ งถน่ิ /ภมู ภิ าค (C3) (C2) (C1) โครงการทดสอบความรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์ วชิ าภาษาไทย วิชาภาษาต่างประเทศ(บรษิ ทั เสรมิ ปัญญา จํากัด) 1 โครงการ Small pondok in School (SPS) ปอเนาะ เลก็ ในโรงเรียนใหญ่ 1 ประกวดระเบยี บแถวลูกเสือ 1 ตอนที่ 6 ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ หากสถานการณ์การแพร่ระบาด โควิด 19 บรรเทาลง อยากให้สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชนควรดําเนินการโครงการเก่ียวกับแนวทางการดําเนินการประกันคุณภาพแนวใหม่ สู่สถานศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นระบบ ตามกฎกระทรวงการประกัน คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.2561 ลงชอ่ื ............................................................ผู้รายงานขอ้ มลู (นายคอเล็ด หะยแี วูามะ) ตําแหน่ง พนกั งานจดั กิจกรรมการศกึ ษา ลงชอ่ื ............................................................ผู้ตรวจรายงาน ( นายาชญานินทร์ อซี อ) ตาํ แหน่ง ครูชํานาญการ ปฏิบตั ิหนา้ ที่ หวั หน้ากลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 40

ภำคผนวก 41

ภำคผนวก ก กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 42

43

44

45