Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 8 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคม

หน่วยที่ 8 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคม

Published by Doungkamon woungrung, 2018-09-05 21:55:31

Description: หน่วยที่ 8 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคม

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง หนว่ ยท่ี 8 การใชค้ อมพิวเตอร์ในสังคม โดย นางสาวพรทพิ ย์ พลบารุง รหัสประจาตวั นักศกึ ษา 6132040006 สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ ระดับชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู เสนอ คุณครู อภสิ ร สิงห์พันธุ์ รายงานฉบบั น้ี เป็นส่วนหนงึ่ ของวชิ าระบบสารสนเทศเพอ่ื การจักการ รหสั วชิ า ( 3204-2150 ) ระดบั ชนั้ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูงสาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเทศบาลพระพุทธบาท ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561

รายงาน เรื่อง หนว่ ยท่ี 8 การใชค้ อมพิวเตอร์ในสังคม โดย นางสาวพรทพิ ย์ พลบารุง รหัสประจาตวั นักศกึ ษา 6132040006 สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ ระดับชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู เสนอ คุณครู อภสิ ร สิงห์พันธุ์ รายงานฉบบั น้ี เป็นส่วนหนงึ่ ของวชิ าระบบสารสนเทศเพอ่ื การจักการ รหสั วชิ า ( 3204-2150 ) ระดบั ชนั้ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูงสาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเทศบาลพระพุทธบาท ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561

คำนำ รายงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสูง สาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ รายงานนีท้ าขึ้นเพื่อให้ความรู้เก่ียวกบั การใช้คอมพวิ เตอร์ในสังคม และหวงั วา่ จะเป็นประโยชน์ไม่มากก็นอ้ ย ถา้ ผิดพลาดประการใดตอ้ งขออภัย ณ ท่นี ้ี นางสาวพรทิพย์ พลบารุง ผจู้ ดั ทา

สารบญัเรอ่ื ง หน้าคานา 1สารบญั 3หนว่ ยท่ี 8 การใชค้ อมพิวเตอร์ในสงั คม 5 - 8.1 การประกอบวิชาชพี ในสังคมสารสนเทศ - 8.2 จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ - 8.3 ระบบความปลอดภัยในการใชส้ ารสนเทศบรรณานุกรม

1 หนว่ ยท่ี 8 การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นสังคม8.1 การประกอบวิชาชีพในสังคมสารสนเทศ ในสงั คมสารสนเทศมีผู้ประกอบการ ตา่ งๆที่จาเปน็ ต้องใชค้ วามรแู้ ละทักษะเกยี่ วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี เหลา่ น้ันไดแ้ ก่1. Chief information officer หรอื เรารจู้ ักในนามของ CIO เป็นตาแหนง่ ของผนู้ าหรือผบู้ รหิ าร ด้านระบบสารสนเทศขององค์กร2. นักวิเคราะห์ระบบ(System Analysts) และนักออกแบบระบบ(System Designer)เป็นผูท้ ่มี ี ความรใู้ นทางวิทยาการคอมพิวเตอร์เปน็ อยา่ งดี มีประสบการณ์ในการพัฒนาโปรแกรม3. นกั พัฒนาโปรแกรม หรอื Programmer คอื ผพู้ ัฒนาโปรแกรมเพื่อนาไปใชง้ านดา้ นต่างๆ ภายในองค์กร4. ผบู้ ริหารระบบเครือขา่ ย Network administration มีหนา้ ทีใ่ นการออกแบบระบบเครือข่ายไม่ วา่ เปน็ LAN หรอื Wan5. นักพฒั นาโปรแกรมระบบ (System Programmer) เป็นผู้ท่ีต้องมีความรู้ในเร่ืองฮารด์ แวร์ใน ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละโปรแกรมปฏบิ ตั กิ าร (OS)เป็นอยา่ งดี6. ผบู้ ริหารระดบั ฐานข้อมูล (Database administration : DBA) คือผู้บริหารระดบั ฐานขอ้ มูล มี หนา้ ทีร่ ับผิดชอบดา้ นการออกแบบสถาปตั ยกรรมฐานข้อมลู7. Internet site specialist เป็นผ้สู ร้างและดแู ล World Wide Web pages ตา่ งๆขององค์กร บนอินเตอร์เน็ต8. Computer Operator เป็นผ้คู วบคมุ การใช้อุปกรณต์ า่ งๆในระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญท่ ี่ทา หนา้ ที่เป็นแม่ขา่ ยหรือ Server ให้สามารถทางานสัมพันธ์กันและในกรณรี ะบบหยุดการทางาน9. User liaison เปน็ ผู้ใชท้ ่ีคุ้นเคยกบั ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเฉพาะงานด้านต่างๆ10. PC specialist เป็นนักคอมพิวเตอรห์ รือบุคคลทไ่ี ด้รบั การอบรมมาเพ่ือจดั การด้านการใช้ PC และอปุ กรณ์ท่ีเกย่ี วข้องกับระบบ PCการจัดการสภาพท่ที างาน การจัดการสถานที่ทางานหรือการจัดสภาพที่ทางานเป็นศาสตร์หนึ่งที่กาเนิดขึ้นอันเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร มีชื่อเรียกว่า Ergonomics ซึ่งจัดเป็นศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบในองค์ประกอบสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (User interface) อาคาร สถานที่ แสงไฟ สภาพแวดล้อมในหน่วยงาน การระบายอากาศ การควบคุมอุณหภูมิฯลฯ ซ่ึงล้วนแล้วแต่มีผลกระทบต่อการ

2ดาเนินงานของผู้ประกอบการกลุ่ม Knowledge Worker ท้ังน้ีเน่ืองจากสภาพที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมเป็นบ่อเกิดของความเครียดและเป็นอันตรายต่อสรีระในทุกส่วน ดังนั้นผู้ประกอบการด้านฮาร์ดแวร์ในปัจจุบันจะต้องคานวณส่วนประกอบทุกช้ินในระบบคอมพิวเตอร์ให้เหมาะส มกับสรีระของมนษุ ย์การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคต ในแวดวงเทคโนโลยีสารสนเทศ มีระยะท่ีส่ันและมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วสังคมไร้พรมแดนเป็นสัญลักษณ์แห่งโลกยุคปัจจุบัน ในสังคมมนุษย์โลกสามารถติต่อสื่อสารรับทราบข่าวความรู้ถึงกันได้อย่างรวดเร็ว เนื่องมาจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั่นเองดังน้ันนักศึกษาจึงสามารถหาความรู้ได้อย่างไม่จากัดบนระบบอินเตอร์เน็ต ทรัพยากรบุคคลของชาติมีพฤติกรรมการเรียนรู้ท่ีเปลย่ี นไปอย่างมากจงึ ทาให้ร้จู ักการใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์มากขึ้นและมีการสอนผา่ นทางอนิ เตอร์เน็ตท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งด้านสาธารณสุขก็มีระบบแพทย์ออนไลน์(Telemedicine)สามารถรว่ มมอื กนั ในการรักษาโรคแกผ่ ู้ป่วยในกรณีท่ีรา้ ยแรงหรือต้องการผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะโรค

38.2 จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ใช้อนิ เตอรเ์ นต็ ทกุ คนทเี่ ป็นสมาชิกเครอื ข่ายมจี านวนมากมายขยายขนาดมากขึ้นอย่างไม่คาดถึงจะต้องเข้าใจกฎหมายข้อบังคับของเครือข่ายน้ันต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้ร่วมใช้บริการคนอืน่ และจะตอ้ งรบั ผิดชอบตอ่ การกระทาของตนเองที่เขา้ ไปขอใชบ้ ริการตา่ งๆจรรยาบรรณทีผ่ ู้ใชอ้ ินเตอร์เนต็ ยดึ ถือเป็นบทการปฏบิ ัตเิ พ่อื เตือนความจา 1. ต้องไมใ่ ช้คอมพิวเตอรท์ าร้ายหรอื ละเมิดผู้อ่นื 2. ตอ้ งไมร่ บกวนการทางานของผู้อ่ืน 3. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรือแก้ไขเปดิ ดูแฟม้ ของผู้อ่นื 4. ตอ้ งไม่ใช้คอมพวิ เตอร์เพ่ือทาการโจรกรรมข้อมลู ข่าวสาร 5. ตอ้ งไมใชค้ อมพวิ เตอรส์ ร้างหลักฐานท่ีเป็นเท็จ 6. ตอ้ งไมค่ ัดลอกโปรแกรมผ้อู ืน่ ที่มลี ิขสิทธิ์ 7. ต้องไมล่ ะเมดิ การใชท้ รพั ยากรคอมพิวเตอร์โดยตนเองไม่มีสิทธ์ิ 8. ตอ้ งไมน่ าผลงานของผู้อ่นื มาเปน็ ของตน 9. ตอ้ งคานึงถงึ สิ่งทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ กบั สังคมอนั ติดตามมาจากการกระทา 10. ต้องใชค้ อมพิวเตอร์โดยเคราพกฎระเบยี บ กติกา มารยาท สารสนเทศส่วนบคุ คล (Personal Information) ปัจจุบนั น้ีท้งั องค์กรของรัฐและเอกชนล้วนแล้วได้รับความสะดวกในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า ซึ่งเป็นส่ิงที่บุคคลมีสิทธิ์ในข้อมูลของตน ปัจจุบันมีความเส่ียงในเรื่องความปลอดภัย จะเห็นได้ว่าเร่ืองของสารสนเทศส่วนบุคคลสามารถนาไปใช้ได้ท้ังในทางที่ดีและไม่ดี ดังน้ันผู้เก่ียวข้องจะต้องตระหนักถึงบทบาทและจรรยาบรรณในการประกอบอาชพี ของตนที่เกีย่ วข้องกับขอ้ มลู สว่ นบุคคลของผูอ้ น่ื อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์จัดเป็นความสามารถอีกระดับหนึ่งของกลุ่มผู้ปฏิบัติการที่มักจะเป็นเด็กวัยรุ่นที่ศึกษาและฝึกทักษะเฉพาะทางทาให้ต้องมีการเข้มงวดเกี่ยวกับเร่ืองกฎหมายลิขสิทธ์ิ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและหาทางปอ้ งกันท้งั ทางดา้ นเทคนคิ และด้านศลี ธรรมตอ่ ไป กฎขอ้ บงั คับทางศลี ธรรมท่วั ไป 1. ทาประโยชน์ใหส้ งั คมและความผาสุกของมนษุ ย์ 2. ไม่ทาอนั ตรายแกผ่ ู้อ่นื 3. ซอ่ื สัตย์และไวว้ างใจได้ 4. ยตุ ธิ รรมและการกระทาที่ไมแ่ บ่งแยกกดี กัน 5. ใหเ้ กียรตแิ ละสิทธใิ นทรพั ย์สิน

4คอมพวิ เตอร์และระบบความปลอดภยั ในส่วนของฮาร์ดแวร์จัดเปน็ ส่ิงท่ีสาคัญที่สดุ เพราะหากฮาร์ดแวรเ์ สยี หรอื ติดขัดระบบสารสนเทศทั้งระบบไมก่ ็ทางานไมไ่ ด้เลย ส่วนทคี่ วรระมัดระวังประการแรกไดแ้ ก่ ระบบไฟฟ้าเพราะคอมพิวเตอร์ทางานไดด้ ว้ ยไฟฟา้ ดังนน้ั หากเกิดกรณที ่ีไฟฟ้าดับหรอื ลัดวงจรจะทาให้คอมพวิ เตอร์หยดุ ทางานทันที เกดิ ความเสยี หายแกร่ ะบบ โดยส่วนรวมทางออกของการแก้ปัญหาความเป็นไปได้สงู ที่สดุ คอื การใชเ้ คร่ืองกาเนิดไฟฟ้าสารองหรือ UPS (Uninyerruptible power source)เพอื่ จาหน่ายกระแสไฟฟ้าสารองทันที ท่ีไฟฟา้ ดบั ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับซอฟตแ์ วร์ การท่ีโปรแกรมเมอรส์ ามารถเขียนคาสง่ั เพ่มิ เติมลงไปในซอฟต์แวร์ของระบบสารสนเทศ ในกรณีทขี่ ้อมูลมจี านวนมากและการแกไ้ ขหรือเพ่มิ เติมคาสง่ัเล็กนอ้ ยเฉพาะสว่ นนัน้ สังเกตได้ยากมาก แต่อาจเกิดความเสียหายใหญ่หลวงเมอื่ เกิดข้ึนทุกวนัความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information System Security)ควรพจิ ารณาทั้งดา้ นอุปกรณแ์ ละชดุ คาสง่ั ด้านอปุ กรณน์ นั้ สามารถป้องกันได้เช่นเดยี ว กบักรณีของศูนย์คอมพิวเตอร์ ส่วนชุดคาส่งั นั้นสามารถป้องกันได้โดยการเขียนคาสงั่ ท่ีอนุญาตเฉพาะผู้มีอานาจเก่ียวข้องเข้าสู่ระบบสารสนเทศได้เท่านั้น โดยเฉพาะระบบออนไลน์ผู้ใช้ต้องมี User IDและ Password บางระบบอาจใช้ลายเซ็นกากับอีกทีเพื่อป้องกันการเข้าสู่ระบบที่ ผิดกฎหมายกฎหมายลิขสทิ ธ์ิของคอมพิวเตอร์ พระราชบญั ญัตลิ ิขสิทธ์ิ กฎหมายลิขสทิ ธมิ์ วี ัตถปุ ระสงค์ใหค้ วามคุ้มครอง ป้องกันผลประโยชน์ทงั้ ทางเศรษฐกจิ และทางศีลธรรมซ่ึงบุคคลพึงได้รบั จากผลงานสร้างสรรค์อนั เกดิ จากความนึกคดิ และสติปญั ญาของตน ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 เพื่อใช้บังคับแทนพระราชบญั ญัติลิขสทิ ธิ์ พ.ศ. 2521 โดยมผี ลบงั คบั ใชว้ ันที่ 21 มนี าคม 2538 พระราชบญั ญัตลิ ิขสิทธิ์ใหค้ วามค้มุ ครองตอ่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยจัดให้เป็นผลงานทางวรรณกรรมประเภทหนง่ึ งานที่ได้จดั ทาข้นึ ก่อนวนั ท่ีพระราชบญั ญตั นิ ี้ใชบ้ ังคบั และเป็นงานที่ได้รบั ความคุ้มครองลขิ สทิ ธติ์ ามพระราชบญั ญตั ินี้ จะได้รับความคุ้มครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญตั ิบญั ญตั ิสิบประกาศของการใช้คอมพิวเตอร์ดงั น้ี1. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์ทารา้ ยผอู้ ื่น2. ไม่รบกวนจนงานคอมพวิ เตอร์ของผู้อ่นื เสยี หาย3. ไม่แอบดแู ฟม้ ขอ้ มลู ของผู้อื่นเสียหาย

5 4. ไม่ใชค้ อมพวิ เตอรล์ กั ขโมย 5. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์เพอื่ เป็นพยานเทจ็8.3 ระบบความปลอดภยั ในการใชส้ ารสนเทศ ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information System Security) ควรพิจารณาทั้งด้านอุปกรณ์และชุดคาสั่ง ด้านอุปกรณ์น้ันสามารถป้องกันได้เช่นเดียวกับกรณีของศูนย์คอมพิวเตอร์สว่ นชุดคาสัง่ นน้ั สามารถป้องกนั ไดโ้ ดยการเขียนคาสั่งท่ีอนุญาตเฉพาะผู้มีอานาจเก่ยี วข้องเข้าสู่ระบบสารสนเทศได้เท่านัน้ โดยเฉพาะระบบออนไลน์ผใู้ ชต้ ้องมี User ID และ Password บางระบบอาจใช้ลายเซน็ ต์กากบั อกี ทเี พอ่ื ป้องกันการเข้าสู่ระบบทผี่ ิดกฏหมาย ส่งิ ทต่ี ้องคานงึ ถงึ ในการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ 1. ระบบรกั ษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศตอ้ งป้องกัน(สม่าเสมอ)ทุกองคป์ ระกอบ 2. ระบบรักษาความม่ันคงปลอดภยั ของระบบสารสนเทศป้องกันตามมลู ค่า 3. การรักษาความมนั่ คงปลอดภัยของระบบรักษาความมน่ั คงปลอดภัยขงระบบสารสนเทศ ข้อควรระวงั และแนวทางการปอ้ งกันการใช้เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 1. ถา้ คอมพิวเตอร์มโี อกาสถูกขโมย ให้ปอ้ งกันโดยการลอ็ กมนั 2. ถ้าไฟล์มโี อกาสท่ีจะถกู ทาลายใหป้ ้องกนั โดยการสารอง(Backup) ข้อควรระวังในการเข้าไปยงั โลกไซเบอร์ 1. บตั รเครดติ และการแอบอา้ ง 2. ให้หมายเลขบัตรเครดติ เฉพาะบรษิ ทั ทท่ี า่ นไวว้ างใจได้เท่านัน้ 3. ใชร้ หัสผ่านอย่างนอ้ ย 10 ตัวอกั ขระ (ควรผสมกนั ระหวา่ งตวั อกั ษรและตวั เลข) 4. การปอ้ งกนั ข้อมูลส่วนบุคคล พจิ ารณาอย่างรอบคอบก่อนการใหข้ ้อมูลสว่ นตวั 5. การป้องกนั การติดตามการท่องเวบ็ ไซต์ ใชโ้ ปรแกรม เชน่ Surf Secret เพ่อื ปอ้ งกนั การ ตดิ ตามการท่องเว็บไซต์ โปรแกรมจะทางานคล้ายกบั ป้องกันไวรสั และลบขา่ วสาร/ โฆษณาท่ีเกิดข้นึ เมื่อผูใ้ ชท้ างเว็บไซต์ 6. การหลีกเหลยี่ ง สแปมเมล 7. การป้องกนั ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเครือข่าย 8. การปอ้ งกนั ไวรสั คอมพิวเตอร์

บรรณานกุ รม1. หน่วยที8่ การใชค้ อมพิวเตอร์ในสังคม. (ระบบออนไลน์) สบื ค้นไดจ้ าก http://kib-chatura.blogspot.com/2011/01/8_30.html สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 4 กนั ยายน 2561


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook