Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

Published by Guset User, 2022-06-21 08:03:00

Description: หนังสือ1

Search

Read the Text Version

หนงั สอื -รหสั หนงั สอื +ช่ือหนงั สอื +อา่ น +พมิ พ์ ปกหนงั สอื คานา สารบญั บทของเนอื ้ หา บรรณานกุ รรม ประเภทของปก -เนอื ้ ความ -เนอื ้ ความ -เนอื ้ หาแตล่ ะบท -เนอื ้ ความ -ชื่อผ้แู ตง่ -ประเภทของสารบญั +อา่ น +พลกิ +พลกิ +พลกิ +พลกิ +อา่ น +อา่ น +อา่ น +อา่ น ตวั หนงั สอื หน้าหนงั สอื รูปภาพ -เนอื ้ หาแตล่ ะหน้า -อกั ชระ +ภาพ -ตวั สะกด +พลกิ +ดู +อา่ น



คำนำ หนงั สือเลม่ นจ้ี ัดทำข้นึ เพื่อใช้ในกำรเรียนกำรสอน รำยวิชำ คอมพิวเตอร์และสำรสนเทศเพ่ืองำนอำชีพ รหัสวิชำ 20001 - 2001 ตำมหลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชีพ (ปวช.) พุทธศักรำช2562ของสำนักงำน คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำกระทรวงศึกษำธิกำร เนื้อหำวิชำในหนังสือ มี7 หน่วย ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์และระบบสำรสนเทศระบบปฏิบัติกำร กำรใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ผลกระทบกำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศ กำรใช้โปรแกรมประมวลผลคำเพ่ือจัดทำเอกสำรใน งำนอำชีพ กำรใช้โปรแกรมตำรำงงำน กำรใช้โปรแกรมนำเสนอผลงำน จุดประสงค์กำรจัดทำเอกสำร ประกอบกำรสอน เพอ่ื ใช้ประกอบกำรเรียนกำรสอนให้กบั ผู้เรียน มคี วำมรูค้ วำมสำมำรถในกำรใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อปฏิบัติงำนต่ำง ๆในอำชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม และควำมรับผิดชอบในกำรใช้คอมพิวเตอร์มีกิจนิสัยกำร ทำงำนที่ดีเอกสำรประกอบกำรสอนรำยวิชำคอมพิวเตอร์และสำรสนเทศเพ่ืองำนอำชีพ เรียบเรียงขึ้นจำก เนื้อหำวิชำที่จำเป็นต่อกำรปฏิบัติงำนอำชีพในปัจจุบัน ผู้เขียนได้วิเครำะห์ออกแบบกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน ใบงำนมีควำมสอดคล้องกบงำนในอำชีพธุรกิจ เพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติแล้วเกิดองค์ควำมรู้มีทักษะเพิ่มขึ้น สำมำรถนำไปปฏบิ ตั งิ ำนได้ในอนำคต ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำ เอกสำรประกอบกำรสอนเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน ผู้เรียน และผสู้ นใจทัว่ ไปไดเ้ ป็นอยำ่ งดี ธงชัย ลำบญุ



สำรบัญ 1 2 หนว่ ยที่ 1 คอมพวิ เตอร์และระบบสำรสนเทศ 5 ขอ้ มูล 9 สำรสนเทศ 21 ควำมรูเ้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกบระบบคอมพวิ เตอร์ 28 องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ 29 แบบฝึกหดั หน่วยที่1 30 ใบงำน หน่วยท่ี1 แบบทดสอบหลังเรียน

1 สำระกำรเรียนรู้ 1. ขอ้ มูล 2. สำรสนเทศ 3. ควำมรเู้ บ้อื งต้นเก่ยี วกบระบบคอมพิวเตอร์ 4. องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์และสำรสนเทศ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. อธบิ ำยควำมรู้เก่ียวกบขอ้ มูลได้ 2. อธิบำยควำมร้เู กยี่ วกบสำรสนเทศได้ 3. อธบิ ำยควำมรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกบระบบคอมพิวเตอร์ได้ 4. อธิบำยควำมร้เู ก่ียวกบองค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์และสำรสนเทศได้ อดีตมนษุ ย์ยงั ไมม่ ีภาษาที่ใช้สาหรับการสื่อสาร เมื่อเกิดมีเหตกุ ารณ์(Event) อะไร เกิดขนึ ้ ก็ไมส่ ามารถถ่ายทอดหรือเผยแพร่แก่บคุ คลอื่นหรือสงั คมอ่ืนได้อย่างถูกต้อง ตรงกัน ระหว่างผ้สู ง่ สารกบผ้รู ับสาร ัั จงึ มีการคิดใช้สญั ลกั ษณ์(Symbol) หรือเคร่ืองหมาย ทา หน้ าที่ส่ือความหมายแทนเหตุการณ์ดังกลาว่าจึงมีการใช้ กฎและสูตร ( Rule & Formulation) เพื่ออธิบายเหตกุ ารณ์ดงั กล่าวว่าเกิดมาจากสาเหตใุ ด หรือเกิดมาจาก สารใดผสมกับสารใดเม่ือมนุษย์มีภาษา สาหรับการส่ือสารแล้วก็เกิดมีข้อมูล (Data) เก่ียวกบั เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ ว เกิดขนึ ้ มามากมายทงั้ จากภายในสงั คมเดียวกนั หรือจากสงั คม อ่ืนๆเพื่อให้ ได้ คาตอบที่ถูกต้ องทาให้ ต้ องมีการวิเคราะห์หรื อการประมวลผลข้ อมูล ให้ มี สถานภาพเป็นสารสนเทศ (Information) เป็นประโยชน์ตอ่ ผ้ใู ช้ผ้บู ริโภคเม่ือผ้บู ริโภคมี การสะสม เพ่ิมพูนสารสนเทศ มาก ๆ และมีการเรียนรู้(Learning) จนเกิดความเข้าใจ ( Understanding)แ ล ะ เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า ส า ร ส น เ ท ศ ท่ี มี เ ป็ น อ ง ค์ ค ว า ม รู้ (Knowledge) เนื่องจากมนษุ ย์เป็นผ้ทู ่ีมีสติ(สมั ปชญั ญะ) (Intellect)รู้จกั การใช้เหตุ และผล(Reasonable)กบความรู้ ของ ตนเกิดการพัฒนาความรู้ เป็ น ปั ญญา (Wisdom) ในที่สดุ

2 ข้อมูล (Data) ขอ้ มลู (Data) กำรทำงำนใด ๆ ที่ได้ผลดจี ำเป็นต้องมีข้อมูลท่ีถูกตอ้ งครอบคลมุ และตรงประเด็น เพอ่ื ประกอบ กำร ตัดสินใจในกำรเลือก เนื้อหำสำระ บคุ ลำกร และวธิ กี ำรปฏบิ ตั ิอย่ำงเหมำะสม โดยจำแนกหมวดหมู่และกำร ประมวลผลข้อมลู ที่เกี่ยวข้องทุกด้ำนอยำ่ งเปน็ ระบบ เรียกว่ำ “สำรสนเทศ” จงึ นับได้วำ่ ขอ้ มูลและสำรสนเทศมี ประโยชน์ต่อกำรดำเนนิ งำนของบคุ คลและ หน่วยงำน 1.ขอ้ มลู ขอ้ มลู คือ เหตกุ ำรณ์หรอื สถำนกำรณ์ท้ังท่เี กดิ ขน้ึ เองตำมธรรมชำติและเป็นสง่ิ ที่มนุษย์ สรำ้ งขน้ึ มี นกั วชิ ำกำรให้ควำมหมำยของขอ้ มูลไว้ดังนี้ ขอ้ มลู หมำยถึง คำ่ ของตัวแปรในเชิงคุณภำพหรอื เชิงปรมิ ำณ ท่ีอยู่ ในควำมควบคุมของ กลุ่มของสง่ิ ต่ำง ๆ กำรประมวลผลขอ้ มลู จะแสดงแทนด้วยโครงสร้ำงมักเปน็ โครงสรำ้ ง ตำรำง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสรำ้ งตน้ ไม(้ กลุ่มของจุดต่อท่ีมีควำมสัมพันธ์แบบพอ่ ลูก) หรือ โครงสร้ำง กรำฟ (กลุ่มของจุดต่อท่ีเชื่อมระหว่ำงกน) ั ข้อมูลโดยปกติเปน็ ผลจำกกำรวัดและ ทำใหเ้ หน็ ไดโ้ ดยใช้กรำฟหรือ ภำพ ข้อมูลในฐำนะมโนทัศน์นำมธรรม อำจมองได้วำเปน็ ระดับ ตำ่ ทสี่ ดุ ของภำวะนำมธรรมท่ีสืบทอดเปน็ สำรสนเทศและควำมรขู้ ้อมลู ดิบ หรือขอ้ มูลทย่ี งั ไมป่ ระมวลผล รวบรวมจำนวนและอกั ขระตำ่ ง ๆ มักเกดิ ขน้ึ ตำมปกติกำรประมวลผลข้อมูล เปน็ ระยะ และขอ้ มูลทปี่ ระมวลผลแลว้ จำกระยะหนึ่งอำจถอื เปน็ ขอ้ มลู ดิบของ ระยะถัดไป ข้อมูลสนำม คือ ข้อมลู ดบิ ทรี่ วบรวมจำกสภำพแวดล้อม ณ แหล่งกำเนดิ ที่ไม่อยู่ในกำรควบคุม ่ ขอ้ มลู เชงิ ทดลอง คือ ข้อมูลที่สร้ำงข้ึนภำยในสภำพแวดล้อมของกำรคน้ ควำ้ ทำงวทิ ยำศำสตร์ โดยกำรสงั เกต กำรบันทกึ (วิกพิ ีเดยี สำรำนกุ รมเสรี, 1 ธนั วำคม 2560) ขอ้ มลู หมำยถึง คำ่ ของตวั แปรในเชงิ คุณภำพหรือเชงิ ปริมำณท่ีอยใู่ นควำมควบคุมของ ่ กลุ่มของสงิ่ ต่ำง ๆ ขอ้ มูล หมำยถึง ข้อเท็จจริงท่ปี รำกฏให้เหน็ เปน็ ประจกั ษ์ สำมำรถรับรู้ไดด้ ว้ ยประสำทสัมผัส ท้ังหำ้ สำมำรถนบั ได้และไม่สำมำรถนับได้มีคุณลักษณะเปน็ วัตถสุ ิง่ ของ เหตกุ ำรณห์ รือ สถำนกำรณ์ท้ังทเ่ี กดิ ข้ึนเองตำมธรรมชำติและเปน็ สิ่งที่มนุษยส์ ร้ำงขนึ้ สิง่ ท่มี คี วำมหมำยใน ตวั มันเอง ซ่งึ อำจจะอยู่ในรูปของรูปภำพ แสง สีเสียง รส ขอ้ เท็จจรงิ หรอื คณุ สมบัติเป็นนำ้ หนัก แรงอุณหภูมิ จำนวน แทนคำ่ ดว้ ยตวั เลข ตัวอักษรข้อควำม (สทิ ธิชยั ประสำนวงศ์, 2556 : 18)

3 1) นักศึกษำ จัดเก็บข้อมูลเก่ียวกับรหัสประจำตัว (ตัวเลข) ช่ือ สกุล (ข้อควำม) ภำพนักศึกษำ (ภำพ) ภูมลิ ำเนำ (ขอ้ ควำม) เปน็ ตน้ 2) พนักงำน จัดเกบ็ ข้อมูลเกี่ยวกับรหสั พนกั งำน (ตัวเลข) ชอ่ื สกุล (ขอ้ ควำม) รปู ภำพ พนกั งำน (ภำพ) ตำแหน่ง (ขอ้ ควำม) เงินเดอื น (ตวั เลข)แผนกงำน (ขอ้ ควำม) เป็นต้น 3) สินค้ำ จัดเก็บข้อมูลเก่ียวกับรหัสสินค้ำ (ตัวเลขหรือข้อควำม) ช่ือสินค้ำ (ข้อควำม) ภำพสินค้ำ (ภำพ) สือ่ นำเสนอ(เสียง) เปน็ ตน้ ข้อมูล หมำยถึง รูปแบบของข้อเท็จจริงที่มีกำรรวบรวมไว้บำงคร้ังนิยมเรียกวำข้อมูลดิบ ่ (Raw Data) ซ่ึงอำจเป็นข้อมูลทอ่ี ยู่ในรูปแบบตัวอักษรแต่เพียงอย่ำงเดียวหรือข้อมูลประเภท มัลติมีเดียท่ีมีทั้งภำพและเสยี ง ประกอบ โดยมักนำมำเป็นส่วนนำเข้ำ (Input Unit) เพ่ือป้อนสู่ ระบบกำรทำงำนคอมพิวเตอร์(วิโรจน์ ชัยมูล, 2552 : 12) ข้อมูล หมำยถึง ข้อเท็จจริงที่มีกำรรวบรวมไว้และมีควำมหมำย อำจเกี่ยวข้องกบคน ส่ิงของหรือเหตุกำรณ์อ่ืน ๆ ในกำรประมวลของคอมพิวเตอร์นิยมใช้เป็นส่วนนำเข้ำพ้ืนฐำนเพื่อ ให้ได้สำรสนเทศสำหรับหรับกำรช่วย ตดั สินใจและนำเอำไปใช้ประโยชนอ์ ่นื ๆ อีกได้ตำมต้องกำร (วิโรจน์ ชยั มลู , 2552 : 154) กล่ำวโดยสรุป ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริง หรือเรื่องรำวเหตุกำรณ์ที่เก่ียวข้องกับ สิ่งต่ำง ๆ ท่ี เป็นตัวเลข ข้อควำม หรือรำยละเอียด อำจอยูในรูปแบบต่ำง ๆ เช่น ภำพ เสียง วิดีโอ ของคน สัตว์ส่ิงของ สถำนทกี่ ำรรวบรวมข้อมูลเปน็ กำรเร่ิมต้นในกำรดำเนนิ งำน กำรรวบรวม ขอ้ มูลท่ีดจี ะได้ข้อมูลท่ีรวดเร็วถูกต้อง แม่นยำครบถ้วนกำรรวบรวมข้อมูลเกี่ยวข้องกบเทคโนโลยี หลำยวิธีเช่น กำรใช้เคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์กำรใช้ เครอื่ งโทรสำรกำรใช้เครอ่ื งวัดค่ำตำ่ ง ๆ กำรใช้ สัญญำณดำวเทยี ม

4 2.ประเภทของขอ้ มูล ประเภทของข้อมูลสำมำรถแบ่งตำมเกณฑ์ได้หลำยวิธีเช่น กำรแบ่งประเภทตำม แหล่งที่มำและกำร แบง่ ประเภทตำมลักษณะกำรเกบ็ ข้อมูล 2.1 กำรแบ่งประเภทตำมแหล่งที่มำจัดเก็บข้อมูล เก่ียวกับรหัสประจำตัว(ตัวเลข)ชื่อสกุล (ข้อควำม) ภำพ นักศกึ ษำ (ภำพ) ภมู ลิ ำเนำ (ขอ้ ควำม) เปน็ ตน้ 2.1.1 ข้อมลปฐมภูมิ(Primary Data) หมำยถึง ข้อมูลท่ีได้จำกกำรรวบรวม หรือบันทึก จำก แหล่งข้อมูลโดยตรง อำจได้จำกกำรสอบถำม กำรสัมภำษณ์กำรสำรวจ และกำรจดบันทึก เหตุกำรณ์ต่ำง ๆ 2.1.2 ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data) หมำยถึง ข้อมูลท่ีมีผู้อ่ืนรวบรวมไว้เช่น สถิติกำรนำ สินค้ำเขำ้ และกำรสง่ สนิ คำ้ ออกเป็นต้น 2.2 กำรแบง่ ประเภทตำมลักษณะกำรเก็บข้อมูล 2.2.1 ข้อมูลที่ได้จำกกำรนับ ( Counting Data) เช่น จำนวนรถที่ผ่ำนเข้ำ – ออก หำ้ งสรรพสนิ ค้ำในชว่ งเวลำ 08.00–09.00 น. 2.2.2 ข้อมูลที่ได้จำกกำรวัด Measurement Data) เช่น กำรวัดระยะเวลำในกำรเดินทำง จำกบ้ำนมำยงั ที่ทำงำนของพนกั งำน 2.2.3 ข้อมูลท่ีได้จำกกำรสังเกต (Observation Data) เช่น ข้อมูลท่ีได้จำกกำรติดตำม หรือ เฝำ้ สงั เกตพฤตกิ รรม หรอื ปรำกฏกำรณ์ตำ่ ง ๆ 2.2.4 ข้อมลที่ได้จำกกำรสัมภำษณ์ (Interview Data) คือ ข้อมูลที่ได้จำกกำรถำมตอบ โดยตรงระหวำ่ งผูส้ ัมภำษณแ์ ละผูถ้ กู สัมภำษณ์ 2.3 จำแนกตำมลกั ษณะของขอ้ มลู สำมำรถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2ลกั ษณะดงั นี้ 2.3.1 ข้อมูลเชิงคุณภำพ (Qualitative Data) หมำยถึง ข้อมูลที่ไม่สำมำรถบอกได้ว่ำ มีค่ำ มำกหรือน้อย แต่จะสำมำรถบอกได้วำ่ ดีหรือไม่ดีหรือบอกลกั ษณะควำมเปน็ กล่มุ ของ ข้อมูลเช่น เพศศำสนำ สี ผม คณุ ภำพสนิ คำ้ ควำมพงึ พอใจ 2.3.2 ขอ้ มลู เชงิ ปริมำณ (Quantitative Data) หมำยถึง ขอ้ มูลที่สำมำรถวัดคำ่ ไดว้ ่ำมีค่ำมำก หรอื นอ้ ย ซึง่ สำมำรถวัดคำ่ ออกมำเปน็ ตวั เลขได้เชน่ คะแนนสอบ อุณหภูมิสว่ นสงู น้ำหนกั ปริมำณตำ่ ง ๆ

5 2.4 ข้อมลู เชิงปรมิ ำณ สำมำรถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2ลักษณะ ดังน้ี 2.4.1 ข้อมูลเชิงปริมำณแบบต่อเนื่อง (Continues Data) หมำยถึง ข้อมูลที่เป็น จำนวนจริง ซ่ึงสำมำรถบอกหรือระบุได้ทุกคำท่ีกำหนด เช่น จำนวน 0 – 1 ซ่ึงมีคำมำกมำยนับไม่ถ้วน และเป็นเส้นจำนวน แบบไมข่ ำดตอน 2.4.2 ข้อมูลเชิงปริมำณแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) หมำยถึง ข้อมูลท่ีเป็น จำนวนเต็ม หรือจำนวนนับ เชน่ 0,1,2,100 ฯลฯ หรือ0.1,0.2,0.3,…,…ซง่ึ ในชองว่ำง ของแต่ละค่ำของข้อมูลจะไม่มคี ่ำอื่นใด มำแทรก 2.5 จำแนกตำมระดับกำรวัด สำมำรถจำแนกระดับกำรวัดเปน็ 4 ชนิด ดงั นี้ 2.5.1 ขอ้ มูลระดับนำมบญั ญัต(ิ Nominal Scale) หมำยถงึ ข้อมลู ท่แี บง่ เป็นกล่มุ เป็นพวกเชน่ เพศอำชีพ ศำสนำผิวสีไม่สำมำรถนำมำจดั ลำดับ หรอื นำมำคำนวณได้ 2.5.2 ข้อมูลระดับอันดับ (Ordinal Scale) หมำยถึง ข้อมูลท่ีสำมำรถแบ่งเป็นกลุ่มได้ สำมำรถบอกอันดับท่ีของควำมแตกต่ำงได้แต่ไม่สำมำรถบอกระยะห่ำงของอันดับที่แน่นอน หรือไม่สำมำรถ เปรียบเทยี บได้วำ่ อนั ดับท่ีจดั นนั้ มคี วำมแตกตำ่ งกนของระยะหำ่ งเทำ่ ใด เช่น อันดับท่ีของกำรสอบของนกั ศึกษำ อันดับท่ีของผู้เข้ำประกวดนำงสำวไทย computer_1.indd 4 . 4 . . 2562 19:22:23 หน่วยท่ี 1 คอมพิวเตอร์ และระบบสำรสนเทศ 5 คอมพวิ เตอร์และสำรสนเทศเพอ่ื งำนอำชีพ 2.5.3 ข้อมูลระดับช่วงช้ัน อันตรภำค (Interval Scale) หมำยถึง กำรวัดค่ำข้อมูลท่ีมี ช่วง ห่ำงหรือระยะห่ำงเท่ำ ๆ กับ สำมำรถวัดค่ำได้แต่เป็นข้อมูลที่ไม่มีศูนย์แท้เช่น อุณหภูมิ คะแนนสอบ GPA คะแนน I.Q. 2.5.4 ข้อมูลระดบั อัตรำส่วน (Ratio Scale) หมำยถึง ขอ้ มูลทม่ี มี ำตรำวัดหรือระดบั กำรวดั ที่ สูงท่ีสุด คือ สำมำรถแบ่งกลุ่มได้จัดอันดับได้มีช่วงห่ำงของข้อมูลเท่ำ ๆ กับ ยังเป็น ข้อมูลท่ีมีศูนย์แท้เช่น นำ้ หนัก ส่วนสงู ระยะทำงรำยไดจ้ ำนวนต่ำง ๆ 2.6 แบง่ ตำมสภำพของข้อมลู แบ่งตำมสภำพของขอ้ มูล ดงั นี้ 2.6.1 ข้อมลส่วนบุคคล (Personal Data)คือข้อมูลท่ีเก่ียวกบข้อเท็จจริงส่วนตัวของ กลุ่ม ตวั อยำ่ งเช่น ช่อื สกลุ อำยุเพศอำชพี ศำสนำ เปน็ ต้น 2.6.2 ข้อมูลส่ิงแวดล้อม (Environmental Data) คือ ข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมของกลมุ่ ตัวอยำ่ ง เชน่ ลักษณะท้องถ่ินทกี่ ลุม่ ตวั อยำ่ งอำศยั 2.6.3 ข้อมูลพฤติกรรม (Behavioral Data) คือ ข้อมูลที่เป็นคุณลักษณะที่มีอยู่ในตัว ของ กลมุ่ ตวั อย่ำง เช่น คณุ ลักษณะด้ำนควำมสำมำรถดำ้ นสมอง คอื ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรียนด้ำน วิชำกำร หรือกำร เรียน เช่น ควำมรู้ควำมเข้ำใจ กำรวิเครำะห์ควำมถนัด สติปัญญำ ควำมสนใจ ควำมวิตกกังวลแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธ์ิมโนภำพเกี่ยวกบตนเอง กำรปฏิบัติกำรกระทำส่ิงต่ำง ๆ กำรรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเร่ิมต้นของกำร ดำเนนิ งำนกำรรวบรวมข้อมูลทีด่ ีจะได้ข้อมลู ทรี่ วดเรว็ ถกู ต้อง แม่นยำครบถว้ น ดังนนั้ ควำมรวดเร็วของข้อมูล จงึ ผกู พันกบเทคโนโลยี ซึง่ มี หลำยวิธีเชน่ กำรเชื่อมตอ่ กบระบบปลำยทำงเพอ่ื รับข้อมลู

6 สำรสนเทศ กำรนำเอำขอ้ มลู ทม่ี ีกำรเก็บรวบรวมไว้จำกสว่ นนำเขำ้ นำมำจัดเรียงวิเครำะห์ประมวลผลใหม่ 1. สำเหตุที่ทำให้เกิดสำรสนเทศ สำเหตุกำรกระจำยสำรสนเทศ เกย่ี วกบวทิ ยำกำรควำมรู้ หรอื สง่ิ ประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีส่ือสำร ยคุ ใหม่มีควำมเร็วในกำรส่ือสำรสงู ข้นึ สำมำรถเผยแพร่สำรสนเทศจำกแหลง่ หน่ึง ไปยังสถำนที่ตำ่ ง ๆ ทัว่ โลก ดงั นี้ 1.1 เมื่อมีวิทยำกำรควำมรู้เกิดสำรสนเทศ จำกนั้นก็จะมีกำรเผยแพร่ กระจำยสำรสนเทศ เกี่ยวกบั วิทยำกำรควำมรู้ หรือสงิ่ ประดิษฐผ์ ลิตภณั ฑ์ไปยังแหล่งต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นเคร่ืองมือสำคัญในกำรผลิตสำรสนเทศ เน่ืองจำกมี ควำม สะดวกในกำรป้อนข้อมูล กำรปรับปรุงแกไข้ กำรทำซ้ำ กำรเพ่ิมเติม ทำให้มีควำมสะดวก และง่ำยต่อกำรผลิต สำรสนเทศ 1.3 เทคโนโลยีสื่อสำรยคุ ใหม่มีควำมเรว็ ในกำรส่ือสำรสูงข้นึ สำมำรถเผยแพรส่ ำรสนเทศ จำก แหลง่ หนึ่งไปยงั สถำนที่ตำ่ ง ๆ ท่ัวโลกในเวลำเดยี วกนั กับเหตุกำรณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนจรงิ อีกท้ัง สำมำรถสง่ ผ่ำนข้อมูลได้ อยำ่ งหลำกหลำยรูปแบบพรอ้ ม ๆ กนในเวลำเดียวกัน 1.4 เทคโนโลยีกำรพิมพ์ ที่มีควำมสำมำรถในกำรผลิตสำรสนเทศสูงขึ้น สำมำรถผลิต สำรสนเทศได้ครั้งละจำนวนมำก ๆ ในเวลำสั้น ๆ มีสีสันเหมือนจริง ทำให้มีปริมำณสำรสนเทศ ใหม่ๆ เกิดข้ึน ตลอดเวลำ 1.5 ผู้ใช้มีควำมจำเป็นต้องใช้สำรสนเทศเพื่อกำรศึกษำ กำรค้นคว้ำวิจัยกำรพัฒนำคุณภำพ ชีวิต กำรตดั สินใจกำรแกไขปัญหำ กำรปฏบิ ตั งิ ำน 1.6 ผู้ใช้มีควำมต้องกำรใช้สำรสนเทศ ต้องกำรทรำบแหล่งท่ีอยู่ของสำรสนเทศ กำรเข้ำถึง สำรสนเทศ สำรสนเทศจำกตำ่ งประเทศ มคี วำมหลำกหลำยและตอ้ งกำรสำรสนเทศอยำ่ งรวดเรว็

7 2. สำรสนเทศ (Information) สำรสนเทศ มีนกั วิชำกำรให้ควำมหมำยของสำรสนเทศไวด้ งั น้ี สำรสนเทศ (Information) หมำยถึง กำรนำเอำข้อมูลที่มีกำรเก็บรวบรวมไว้จำกส่วนนำเข้ำ นำมำ จดั เรียง วิเครำะห์แปรรูป ประมวลผลใหมไ่ ดผ้ ลลัพธ์ที่มคี ุณค่ำข้อมูลผ่ำนกำรประมวลผล มสี ำระนำไปใช้งำนอ ยำงใดอย่ำงหนึ่ง (วิโรจน์ ชัยมูล, 2552 : 13) สำรสนเทศ หมำยถึง ควำมรู้หรือข้อมูลที่ได้ประมวลผลและมี สำระในตัวสำมำรถ สื่อควำมหมำยให้เกิดควำมเข้ำใจกบผู้ท่ีต้องกำรใช้ข้อมูลน้ันเป็นข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ สำมำรถ นำไปใช้ประโยชน์ต่อกำรดำเนินชีวิตของมนุษย์ได้(วิโรจน์ ชัยมูล, 2552 : 155) กล่ำวโดยสรุป สำรสนเทศ หมำยถึง ข้อมูลท่ีได้ผำนกระบวนกำรประมวลผลแล้ว ่ อำจใช้ วิธีง่ำย ๆ หรือข้อมูลที่ผ่ำนกำร ประมวลผลด้วยวิธีกำรท่ีเหมำะสมและถูกต้อง ่ เช่น กำรหำคำเฉลี่ย ่ หรือใช้เทคนิคข้ันสูง เช่น กำรวิจัย ดำเนินงำน เพ่อื เปลี่ยนแปลงสภำพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ ในรูปแบบ ทม่ี คี วำมสมั พันธห์ รือมคี วำมเกยี่ วข้องกันเพื่อ นำไปใช้ประโยชน์ในกำรตัดสินใจหรือตอบปัญหำ ต่ำง ๆ ได้สำรสนเทศประกอบด้วยข้อมูลด้ำนเอกสำร เสียง หรือภำพต่ำง ๆ แต่จัดเน้ือเรื่องให้อยู่ ในรูปแบบท่ีมีควำมหมำย สำรสนเทศไม่ได้จำกดเฉพำะเพียงตัวเลขเพียง อย่ำงเดียว สิ่งซ่ึงได้จำก กำรนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มำประมวลผล คือ สำรสนเทศ เพื่อนำสำรสนเทศมำใช้ ประโยชน์ ตำมวัตถุประสงค์เกิดผลลัพธ์ท่ีถูกต้องตรงตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้อำจเขียนแผนภำพแสดง ควำมสัมพนั ธร์ ะหว่ำงข้อมูลและสำรสนเทศ ดังภำพท1ี่ .1 2.1 คุณสมบัติของสำรสนเทศ คือ ข้อมูลข่ำวสำรท่ีผ่ำนกำรประมวลผลวิเครำะห์และ ส่ือควำมหมำยให้เกิด ควำมเข้ำใจตอ่ ผูอ้ ่นื ไดด้ ังนัน้ สำรสนเทศทดี่ ตี อ้ งมคี ุณสมบตั ดิ งั ต่อไปนี้ 2.1.1 มีควำมถูกตอ้ งรวดเร็วและเปน็ ปจั จุบนั 2.1.2 มคี วำมสมบูรณ์ของข้อมลู 2.1.3 มคี วำมชดั เจนกะทัดรัด 2.1.4 มคี วำมสอดคล้องกบควำมต้องกำร 2.2 ควำมสำคัญของสำรสนเทศ สำรสนเทศท่ีมีคุณค่ำ มีควำมทันสมัยและมีควำม ต่อเน่ืองทันต่อเหตุกำรณ์ ยอมเป็นสำรสนเทศที่มีควำมสำคญั ดังนี้ 2.2.1 ควำมสำคัญด้ำนกำรศึกษำ สำรสนเทศจะกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ศึกษำค้นคว้ำข้อมูล ด้วย ตนเองมำกขึ้น 2.2.2 ควำมสำคัญด้ำนสังคม สำรสนเทศช่วยพัฒนำสติปัญญำมนุษย์ช่วยพัฒนำ บุคลิกภำพ ส่วนบคุ คลให้อยูร่ ่วมกนั อยำ่ งสันตสิ ุข

8 3. บทบำทของสำรสนเทศ (Role of Information) สำรสนเทศมีบทบำทสำคัญตอกำรพัฒนำประเทศในด้ำนต่ำงๆ กำรนำสำรสนเทศไปใช้เพื่อ กำร บริหำรงำนในองค์กร 3 ด้ำน คือ ด้ำนกำรวำงแผน ด้ำนกำรตัดสินใจ และด้ำนกำรดำเนินงำน สำรสนเทศยังมี บทบำทในเชงิ เศรษฐกิจ ดงั น้ี 3.1 ช่วยลดควำมเส่ียงในกำรตัดสินใจ (Decision) ช่วยชี้แนวทำงในกำรแกไขปัญหำ (Problem Solving) 3.2 ช่วยสนับสนุนกำรจัดกำร (Management) สนับสนุนกำรดำเนินงำนขององค์กำร ให้มี ประสิทธิภำพ และเกิดประสิทธิผลมำกใช้ทดแทนทรัพยำกร (Resources) ทำงกำยภำพ เช่น กรณีกำรเรียน ทำงไกล ผู้เรียนที่เรียนนอกห้องเรียนสำมำรถเรียนรู้เรื่องต่ำง ๆ เช่นเดียวกับ ห้องเรียนจริงโดยไม่ต้องเดินทำง ไปเรยี นท่ีห้องเรียนนั้น 3.3 กำกับติดตำม (Monitoring) ใชเ้ พ่ือกำกับตดิ ตำมผลกำรปฏิบตั ิงำนและกำรตัดสินใจ เพ่ือ ดคู วำมกำวหน้ำของระบบกำรทำงำน 3.4 สำรสนเทศกำรโน้มน้ำว ชักจูงใจ (Motivation) ช่องทำงสำหรับกำร โฆษณำท่ีทำให้ ผู้ชม ผ้ฟู ัง ตัดสนิ ใจเลือกสินค้ำหรอื บริกำรนน้ั 3.4 สำรสนเทศกำรโน้มนำ้ ว ชักจู งใจ (Motivation) ชอ่ งทำงสำหรับกำรโฆษณำทที่ ำให้ ผู้ชม ผฟู้ ัง ตัดสนิ ใจเลอื กสินค้ำหรือบริกำรนน้ั 3.5 สำรสนเทศเป็นองค์ประกอบสำคัญของกำรศึกษำ (Education) คือ เป็นองค์ประกอบ สำคญั ของกำรศึกษำเพื่อพัฒนำกำรเรยี นรผู้ ำ่ นสอื่ ประเภทต่ำงๆจัดกำรเรียนกำรสอนสำหรับ สถำนศกึ ษำต่ำง ๆ 3.6 สำรสนเทศส่งเสริมวัฒนธรรมสันทนำกำร(Culture & Recreation) เป็นองค์ประกอบ สำคญั ดำ้ นกำรส่งเสริมตำ่ ง ๆ กำรเผยแพร่ในรูปแบบตำ่ ง ๆ เชน่ วีดิทศั น์โทรทศั นแ์ ละภำพยนตร์ 3.7 สำรสนเทศเป็นสินค้ำและบรกิ ำร(Goods & Services) สำมำรถซื้อขำยได้ 3.8 กำรดำเนินธุรกิจ ทำให้มีกำรแข่งขันกนระหวำ่ งธรุ กิจมำกข้ึน มีกำรพัฒนำองค์กรให้ กำว ทันกบั ขอ้ มูลขำ่ วสำร สง่ ประโยชน์ให้ประเทศชำตมิ กี ำรพัฒนำอยำ่ งต่อเนือ่ ง 3.9 กำรศึกษำ เทคโนโลยีสำรสนเทศช่วยให้กำรค้นหำข้อมูลทำงด้ำนกำรศึกษำง่ำยข้ึน และ กวำ้ งขวำงอยำงไรข้ ีดจำกัด ผู้เรียนมคี วำมสะดวกมำกขึน้ ในกำรค้นคว้ำวิจยั ต่ำง ๆ 3.10 กำรดำเนนิ ชีวิตประจำวัน ทำใหม้ ีควำมคลองตัวและควำมสะดวกรวดเร็วกจิ กรรมตำ่ ง ๆ ที่เกิดขึ้นในชวี ติ ประจำวันกส็ ำมำรถกระทำไดห้ ลำย ๆ งำนในเวลำเดยี วกนั หรือใชเ้ วลำน้อย กำรตดิ ต่อสอื่ สำรที่ เจริญกำวหนำ้ และทนั สมัยในปจั จบุ นั จึงทำให้โลกเป็นโลกไร้พรมแดน 4.ประโยชนข์ องสำรสนเทศ กำรใช้ประโยชน์จำกคอมพิวเตอร์กระจำยไปในทุกองค์กรเพื่อกำรปฏิบัติงำนท่ีรวดเร็ว เกิดกำร ประหยดั ต้นทนุ กำรดำเนนิ กำรอยำงมำก 1.1 ประสิทธภิ ำพ (Efficiency) ประสทิ ธภิ ำพของระบบสำรสนเทศ ดงั น้ี

9 1.1.1 ระบบสำรสนเทศทำให้กำรปฏิบัติงำนรวดเร็วใช้กระบวนกำรประมวลผลข้อมูล ซ่ึง สำมำรถเก็บรวบรวม กำรประมวลผล และกำรปรับปรงุ ข้อมูลใหท้ ันสมัยได้อย่ำงรวดเร็ว ระบบสำรสนเทศช่วย ในกำรจัดเก็บข้อมูลที่มีขนำดใหญ่ หรือมีปริมำณมำก และช่วยให้กำร เข้ำถึงข้อมูล(access) เหล่ำนั้นมีควำม รวดเร็ว 1.1.2 ช่วยลดต้นทุน ระบบสำรสนเทศช่วยทำให้กำรปฏิบัติงำนที่เกี่ยวข้องกบข้อมูล ั ซึ่งมี ปริมำณมำกมีควำมสลับซับซอ้ นสำมำรถดำเนนิ กำรโดยเร็วกำรตดิ ตอส่ือสำรได้รวดเร็ว ทำให้ เกดิ กำรประหยัด ต้นทนุ กำรดำเนนิ กำร 1.1.3 กำรติดต่อสื่อสำรเป็นไปอย่ำงรวดเร็ว กำรใช้เครือข่ำยทำงคอมพิวเตอร์ทำให้มีกำร ตดิ ต่อไดท้ ัว่ โลกภำยในเวลำทร่ี วดเร็ว เช่น กำรติดตอ่ ระหวำ่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกนั (machine to machine) หรือบุคคลกับบุคคล(human to human) หรือบุคคลกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ั (human to machine) และกำรติดต่อส่ือสำรดังกล่ำวจะทำให้ข้อมูล ท่ีเป็นท้ังข้อควำม เสียง ภำพน่ิงและ ภำพเคลอ่ื นไหวสำมำรถส่งไดท้ ันที องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ทำงำนอย่ำงเป็นระบบประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยท่ีมีหน้ำท่ีเฉพำะ กำรทำงำน ประสำนสัมพนั ธก์ นั เพอ่ื ให้งำนบรรลุตำมเป้ำหมำย ระบบคอมพิวเตอรป์ ระกอบดว้ ย บุคลำกร (People ware) ฮำร์ดแวร์(Hardware) ซอฟต์แวร์(Software) ข้อมูล (Data) สำรสนเทศ (Information)และกระบวนกำร ทำงำน (Procedure) 1. ฮำรด์ แวร์ (Hardware) ฮำร์ดแวร์มีผใู้ หค้ วำมหมำยคำว่ำ ฮำรด์ แวร์ดังน้ี ฮำรด์ แวร(์ Hardware) หมำยถึง ตวั เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์อน่ื ๆ ทีใ่ ชป้ ระกอบ ในกำรประมวลผลข้อมูลดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์ซึง่ สำมำรถแบงได้ ่ 3 สว่ นคือ 1) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2) หน่วยประมวลผลกลำง ่ หรือซีพียู(CPU : Central Processing Unit) 3) หน่วยแสดงผล (Output Unit) (สุจิตรำ อดุลย์เกษม, 2552 : 12) ฮำร์ดแวร์หมำยถึง อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกบ กำรใช้งำนร่วมกบคอมพิวเตอร์ เป็นส่ิงท่ีมองเห็น และจับต้องได้โดยมีทั้งที่ติดต้ังอยู่ภำยในและภำยนอก ตัวเครื่อง นิยมเรียกว่ำ Device ซ่ึงจะ ทำงำนประสำนกันต้ังแต่กำรป้อนข้อมูล (Input) กำรประมวลผล (Process) และกำรแสดงผลลัพธ์ (Output) ตำมระบบกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ (มะลิวรรณ์ พลำวุฑฒ์, 2558 : 11) โดยสรุป ฮำร์ดแวร์หมำยถึง ช้ินส่วนหรืออุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นเคร่ือง คอมพิวเตอร์ รวมถึงอุปกรณ์ต่อพวงต่ำง ๆ ด้วย ฮำร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำมำรถสัมผัสจับ ตอ้ งไดซ้ งึ่ สำมำรถ แบง่ ส่วนพื้นฐำนของฮำร์ดแวรเ์ ปน็ 4 หน่วยสำคญั ดังน้ี 1.1 หน่วยรับข้อมลู หรอื อนิ พตุ (Input Unit) ทำหนำ้ ทีร่ ับข้อมูลและโปรแกรมเข้ำเคร่อื ง เชน่ คยี ์บอรด์ หรอื แป้นพมิ พเ์ มำส์เคร่ืองสแกน เครอ่ื งรูดบัตร Digitizer เป็นต้น

10 1.2 ระบบประมวลผลกลำง หรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) ทำหน้ำท่ี ในกำรทำงำน ตำมคำส่ังท่ีปรำกฏอยู่ในโปรแกรม ในปัจจุบันซีพียูของเคร่ืองพีซีรู้จักในนำม ไมโครโปรเซสเซอร์(Micro Processor) หรือ Chip เช่น บริษัท IntelคือPentium หรือ Celeron ส่วนของบริษัท AMD คือ K6,K7 (Athlon) เป็นต้น ไมโครโปรเซสเซอร์มีหน้ำท่ีในกำรประมวลผล ข้อมูล ในลักษณะของกำรคำนวณและ เปรยี บเทยี บ โดยจะทำงำนตำมจังหวะเวลำท่ีแน่นอน เรียกว่ำ สัญญำณนำฬิกำ (Clock) เม่ือมกี ำรเคำะจังหวะ หนึ่งคร้ัง จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เรียก หน่วยที่ใช้ในกำรวัดควำมเร็วของซีพียูว่ำ “เฮิรตซ์” (Hertz) หมำยถึง กำรทำงำนได้กี่ครั้งใน จำนวน 1 วินำทีเช่น ซีพียูPentium4 มีควำมเร็ว 2.5 GHz หมำยถึง ทำงำนเร็ว 2,500 ล้ำนครั้งในหนึ่งวินำทีกรณีท่ีสัญญำณนำฬิกำเร็วจะทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องมีควำมเร็วสูง ซีพียูที่ทำงำน เร็ว มำกรำคำจะแพงขน้ึ 1.3 หนว่ ยเก็บข้อมูล (Storage) ซ่ึงสำมำรถแยกตำมหน้ำทเ่ี ปน็ 2ลักษณะ ดงั นี้ 1.3.1 หนว่ ยเกบ็ ข้อมล หลัก หรือควำมจำหลัก (Primary Storage หรือ Main Memory) ทำหน้ำท่ีเกบโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมำ จำกหน่วยรับข้อมูล เพ่ือเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลำง ทำกำรประมวลผลและรับผลลัพธ์ท่ีได้จำกกำร ประมวลผลเพื่อส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป ซึ่งหน่วยเกบข้อมูลแยกได้เป็น 2 ประเภท คือแรม (RAM : Random Access Memory) ท่สี ำมำรถ อำ่ นและเขียนข้อมลู ได้ในขณะที่เปิดเครื่องอยู่ แตเ่ มื่อปดิ เครื่องข้อมูล ในแรมจะหำยไป และ รอม (ROM : Read Only Memory) จะอ่ำนได้อย่ำงเดียว เช่น ไบออส (BIOS : Basic Input Output system)โปรแกรมฝงั ไวใ้ ชต้ อนสตำรต์ เครอื่ ง 1.3.2 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง(SecondaryStorage)ทำหน้ำท่ีเกบข้อมูล หรือโปรแกรม ที่จะ ป้อนเข้ำสู่หน่วยควำมจำหลักภำยในเครื่องก่อนทำกำรประมวลผลโดยซีพียูมีหน้ำที่จัดเกบ็ ผลลัพธ์จำกกำร ประมวลผล ในปัจจุบันหน่วยเกบข้อมูลสำรอง คือ ฮำร์ดดิสก์(Hard disk) หรือ แผนฟร็อปปีดิสก ่ (์ Floppy Disk) ซงึ่ เมือ่ ปดิ เครื่องข้อมลู จะยังคงเก็บอยู่ 1.4 หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอำต์พุต (Output Unit) โดยทำหน้ำท่ีในกำรแสดงผลลัพธ์ ที่ได้จำกกำร ประมวลผลเชน่ จอภำพและเครอื่ งพมิ พโ์ ดยทง้ั 4 สว่ นเช่ือมตอ่ กนด้วยบสั (Bus) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์มีผู้ให้ควำมหมำยคำว่ำ ซอฟต์แวร์ดังนี้ ซอฟต์แวร์หมำยถึง โปรแกรมหรือคำสังท่ีสั่งให้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทำงำนตำมควำมต้องกำร อยำงมีประสิทธิภำพ ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) ซอฟต์แวร์ประยุกต์โปรแกรมท่ีผใู้ ช้ คอมพิวเตอร์เขียนข้ึน เพื่อสังให้คอมพิวเตอร์ทำงำนอยำงใดอย่ำงหน่ึง เช่น โปรแกรมระบบเงินเดือน 2) ซอฟต์แวร์ระบบ โปรแกรมท่ีช่วยควบคุมกำรทำงำนของระบบคอมพิวเตอร์ให้ สำมำรถทำงำน ได้อยำงมีประสิทธิภำพ และช่วยให้ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์สำมำรถใช้งำนได้ด้วยควำม สะดวกสบำย เช่น ระบบปฏิบัติกำรคอมไพเลอร์ (สุจิตรำ อดุลย์เกษม, 2552 : 12-13) ซอฟต์แวร์หมำยถึง โปรแกรมหรือชุดของคำสังท่ีถูกเขียนขึ้นเพื่อสังให้คอมพิวเตอร์ทำงำน ซอฟต์แวร์จึงเปรียบเสมือนตัวเช่ือม ระหว่ำงผู้ใช้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้สำมำรถทำงำน ร่วมกนได้ ั แบ่งเป็น 1) ซอฟต์แวร์ระบบ 2) ซอฟต์แวร์ ประยกุ ต3์ ) ซอฟต์แวร์สำเร็จรปู (มนสั ชัย กีรตผิ จญ, 2558 : 15)

11 โดยสรุป ซอฟต์แวร์คือ โปรแกรมหรือชุดคำสังท่ีสั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำงำน และมีหน้ำท่ีควบคุม กำร ทำงำนของอุปกรณ์แวดล้อมตำง่ ๆ เช่น ฮำร์ดดิสก์ดิสกไดร์ฟ ์ ซีดีรอม กำร์ดอินเตอร์เฟสต่ำงๆ ซอฟต์แวร์เป็น สิ่งท่ีมองไม่เห็นจับต้องไม่ได้แต่รับรู้กำรทำงำน ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ และ ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ 1.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คือโปรแกรมท่ีใช้ในกำรควบคุมระบบกำรทำงำน ของ เครื่องคอมพิวเตอรท์ ้ังหมด เชน่ กำรบูตเครื่อง กำรสำเนำขอ้ มลู กำรจดั กำรระบบของดสิ ก์ ชดุ คำส่ังทีเ่ ขียนเป็น คำส่ังสำเร็จรูป โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์และมีมำพร้อมแล้วจำกโรงงำน ผู้ผลิต เพ่ือปฏิบัติควบคุมและมี ควำมสำมำรถในกำรยดื หยุ่นกำรประมวลผลของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (Operating System) โปรแกรมทใ่ี ชค้ วบคุมและ ติดตอ่ กับ อุปกรณ์ต่ำงๆ ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบของดิสก์กำรบริหำร หน่วยควำมจำ หำกจะ ทำงำนใดงำนหนึ่งโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในกำรทำงำนต้องติดต่อ กบซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้ำขำด ซอฟต์แวร์ชนิดนี้จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สำมำรถทำงำนได้ ตัวอยำงซอฟต์แวร์ เช่นโปรแกรม ระบบปฏบิ ตั ิกำรUnix, Linux,DOSและWindowsเวอร์ชนั ตำง ๆ 1.1.2 ตัวแปลภำษำ (Translator) จำก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจำก ภำษำที่มนุษย์เข้ำใจให้เป็นภำษำท่ีเครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือนล่ำมแปลภำษำ) เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้ ในกำร แปลภำษำระดับสูง ซึ่งเป็นภำษำใกล้เคียงภำษำมนุษย์ให้เป็นภำษำเครื่องก่อนประมวลผล ตัวแปลภำษำแบงอ อกเป็น2 ประเภท คือ คอมไพเลอร์(Compiler) และอินเตอร์พรีเตอร์(Interpreter) คอมไพเลอร์จะแปลคำสั่ งในโปรแกรมทั้งหมดก่อน แล้วทำกำรลิงก์(Link) เพื่อให้ได้คำส่ังท่ี เคร่ืองคอมพิวเตอร์เข้ำใจ อินเตอร์พรีเตอร์ จะแปลทีละประโยคคำสั่ง แล้วทำงำนตำมคำส่ังน้ัน กำรเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดข้ึนอยู่กับภำษำท่ีใช้เขียน โปรแกรม ั ตัวแปลภำษำมี2 ประเภท ดังนี้ 1) ภำษำแบบโครงสร้ำง เช่น ภำษำเบสิก (Basic), ภำษำปำสคำล (Pascal), ภำษำซี(C), ภำษำจำวำ (Java), ภำษำโคบอล(Cobol), ภำษำเอสคิวแอล(SQL) และภำษำเอชที เอ็ม แอล(HTML) 2) ภำษำแบบเชิงวัตถุ(Visual หรือ Object Oriented Programming) เช่น Visual Basic, Visual C หรือ Delphi เปน็ ตน้ 1.1.3 ยูติลิตี้โปรแกรม (Utility Program) คือ ซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เคร่ืองทำงำน มี ประสิทธิภำพเพ่ิม เช่น ช่วยในกำรตรวจสอบดิสก์ช่วยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ช่วยสำเนำ ข้อมูล ช่วยซ่อม อำกำรชำรุดของดิสก์ช่วยค้นหำและกำจัดไวรัส เป็นต้น โปรแกรมในกลุ่มนี้ ได้แก่โปรแกรม Norton, WinZip,Scanvirus,Sidekick,ScandiskและScreenSaver เป็นตน้ 1.1.4 ติดต้ังและปรับปรุงระบบ (Diagnostic Program) ซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับ กำรติดต้ัง ระบบ สำมำรถติดต่อและใชง้ ำนอุปกรณ์ตำ่ ง ๆ ท่ีนำมำติดต้ังระบบ เช่น โปรแกรม Setup และ Driver ต่ำง ๆ เช่น โปรแกรม Setup Microsoft Office, โปรแกรม Driver Sound, DriverPrinterและ DriverScanner เป็น ตน้ 1) ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software) โปรแกรมทำให้คอมพิวเตอร์ ทำงำนต่ำง ๆ ตำมที่ ผใู้ ช้ตอ้ งกำร เช่น งำนดำ้ นเอกสำร บญั ชีจดั เกบข้อมลู ็ จำแนกได้2 ประเภท ดังน้ี

12 1.1) ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะดำ้ น (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึง่ เขียน ขึ้นเพ่ือกำรทำงำนเฉพำะ เช่น โปรแกรมกำรทำบัญชีจ่ำยเงินเดือน โปรแกรม ระบบเช่ำซ้ือ โปรแกรมกำรทำ สินค้ำคงคลัง เป็นต้น มีเง่ือนไขแบบฟอร์มแตกต่ำงกนตำม ั ควำมต้องกำร หรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงำน ซึ่งสำมำรถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติมบำงส่วน ของโปรแกรมได้เพ่ือให้ตรงกบควำมต้องกำรของผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ประยกุ ต์โดยสว่ นใหญม่ กั ใช้ ภำษำระดับสูงพัฒนำ 1.2) ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป (General Purpose Software) เป็น โปรแกรมประยุกต์ท่ี มีผู้จัดทำเพื่องำนประเภทต่ำง ๆ โดยผู้ใช้บุคคลอ่ืน ๆ สำมำรถนำโปรแกรม นี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตน แต่ไม่สำมำรถดัดแปลงหรือแกไขโปรแกรมได้ ้ ผู้ใช้ไม่จำเป็น ต้องเขียนโปรแกรมเอง ซ่ึงเป็นกำรประหยัดเวลำ แรงงำน และค่ำใช้จ่ำยในกำรเขียนโปรแกรม ไม่ต้องใช้เวลำมำกในกำรฝึกและปฏิบัติมักใชง้ ำนในหน่วยงำนซงึ่ ขำดบุคลำกรที่มีควำมชำนำญ เป็นพิเศษในกำรเขียนโปรแกรม ตัวอย่ำงโปรแกรมสำเร็จรูปท่ีนิยมใช้คือ MS- Office, Lotus, AdobePhotoshop,SPSS, Internet Explorerและเกมตำ่ ง ๆ เปน็ ตน้ 3. บคุ ลำกร (Peopleware) บคุ ลำกรสำมำรถแบ่งบุคลำกรตำมหนำ้ ท่ีเกย่ี วขอ้ งตำมลักษณะงำนได้6 ดำ้ น ดังน้ี 3.1 นักวิเครำะห์และออกแบบระบบ (SA :Systems Analyst and Designer) ทำหน้ำท่ี ศึกษำและรวบรวมควำมต้องกำรของผู้ใช้ระบบ เป็นสื่อกลำงระหว่ำงผู้ใช้ระบบและนักเขียน โปรแกรม (Programmer) มีควำมรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ พื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม และ ควรจะเป็นผู้มีควำมคิด รเิ ริม่ สรำ้ งสรรคม์ มี นุษย์สมั พันธ์ท่ดี ี 3.2 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ บุคคลท่ีทำหน้ำท่ีเขียนซอฟต์แวร์ต่ำง ๆ หรือ เขียน โปรแกรม เพ่ือสั่งงำนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงำนตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้โดยเขียน ตำมแผนผังท่ี นักวเิ ครำะห์ระบบไดเ้ ขียนไว้ 3.3 ผู้ใช้ (User) ผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้ปฏิบัติหรือกำหนดควำมต้องกำรในกำรใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ว่ำทำงำนอะไรได้บ้ำง จะต้องเรียนรู้วิธีกำรใช้เครื่อง และวิธีกำรใช้งำนโปรแกรม เพื่อให้ โปรแกรมท่มี ีอยสู ำมำรถทำงำนไดต้ ำมท่ตี ้องกำร 3.4 ผู้ปฏิบัติกำร (Operator) สำหรับระบบขนำดใหญ่ เช่น เมนเฟรม จะต้องมีเจ้ำหน้ำท่ี คอมพิวเตอร์ที่คอยปิดและเปิดเคร่ือง เฝ้ำดูเม่ือมีปัญหำ ต้องแจ้ง System Programmer ผู้ดูแล ตรวจสอบแก ไขโปรแกรมระบบควบคมุ เคร่ือง ้ (System Software) 3.5 ผู้บริหำรฐำนข้อมูล (DBA : Database Administrator) ทำหน้ำที่ดูแลข้อมูลผ่ำนระบบ จดั กำรฐำนขอ้ มลู ควบคมุ ให้กำรทำงำนเปน็ ไปอย่ำงรำบรน่ื กำหนดสทิ ธก์ิ ำรใช้งำนข้อมูล กำหนดควำมปลอดภัย ดูแลดำต้ำเบสเซริ ์ฟเวอร(์ DatabaseServer) ใหท้ ำงำนอยำงปกติ 3.6 ผู้จัดกำรระบบ (SystemManager) คือผู้วำงนโยบำยกำรใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไป ตำม เป้ำหมำยของหน่วยงำน เป็นผู้ที่มีควำมหมำยต่อควำมสำเร็จ หรือล้มเหลวของกำรนำระบบ คอมพิวเตอร์เข้ำ มำใชง้ ำนเปน็ อย่ำงมำก

13 4. ขอ้ มลู และสำรสนเทศ (Data and Information) ข้อมลู และสำรสนเทศมีดังนี้ 4.1 ข้อมูล ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์หมำยถึง ข้อมูลดิบท่ีมีจำนวนมำก อำจอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวอักษร กรำฟิก ข้อเท็จจริงหรือเหตุกำรณ์ท่ีเกิดข้ึน แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ ต่ำง ๆ ตำม ควำมหมำยแทนสิง่ เหลำ่ นัน้ เป็นข้อมลู ท่ีต้องกำรได้รับกำรประมวลผลเพ่ือทรำบ ผลลัพธห์ รอื ตอ้ งกำรจัดเก็บให้ เปน็ ระบบระเบียบเพอื่ ใช้งำนต่อไปมดี ังนี้ 4.1.1 คะแนนสอบวิชำภำษำไทยของนกั เรยี น 4.1.2 อำยุของพนกั งำนในบริษัท ธณศรจำกดั 4.1.3 รำคำขำยของหนังสือในรำ้ นหนังสอื มีนแอนดม์ ำร์ค 4.1.4 คำตอบท่ีผ้ถู กู สำรวจตอบในแบบสอบถำม 4.2 สำรสนเทศ สำรสนเทศในระบบคอมพิวเตอร์หมำยถึงผลลัพธ์ที่คอมพิวเตอร์ประมวลผล ข้อมูล แล้วเพื่อนำไปใช้ตำมควำมประสงค์ของผู้ใชผ้ ลลพั ธ์นีเ้ รยี กว่ำ “สำรสนเทศ”(Information) ซ่ึงสำมำรถนำเขำ้ สู่ ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อกำรประมวลผล เช่น เป็นกำรวิเครำะห์เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม สังเครำะห์ประเมินรวมทั้ งปรบั ปรงุ ตำมท่ผี ู้ใชต้ ้องกำร ผ่ำนวิธกี ำรทไี่ ดก้ ำหนดเพอื่ นำ ข้อสรปุ ไปใช้งำนหรอื อำ้ งอิง เชน่ 4.2.1 เกรดเฉลี่ยของวชิ ำภำษำไทยของนักเรยี น 4.2.2 อำยุเฉลีย่ ของพนกั งำนในบรษิ ัท ชนิ วัตรจำกดั 4.2.3 รำคำขำยสงู สุดของหนังสอื ในร้ำนหนังสือดอกหญ้ำ 4.2.4 ข้อสรปุ จำกกำรสำรวจคำตอบในแบบสอบถำม 5. กระบวนกำรทำงำน (Procedure) กระบวนกำรทำงำนเพ่ือให้ไดผ้ ลลัพธต์ ำมต้องกำร ในกำรทำงำนกับคอมพวิ เตอร์ผใู้ ช้จำเปน็ ตอ้ งทรำบ ขั้นตอนกำรทำงำน เพื่อให้ได้งำนที่ถูกต้องและมีประสิทธิภำพ ซึ่งอำจจะมีขั้นตอน สลับซับซ้อนหลำยข้ันตอน จึงมีควำมจำเป็นท่ีจะต้องมีคู่มือกำรปฏิบัติงำน เช่น คู่มือผู้ใช้(User Manual) หรือคู่มือผู้ดูแลระบบ (Operation Manual) เป็นต้น กระบวนกำรทำงำน คือ กระบวนกำรหลักท่ีระบบคอมพิวเตอร์สำมำรถ ปฏิบัตงิ ำนได้ มีขน้ั ตอนกำรทำงำนท่ถี กู ตอ้ ง ดังน้ี 5.1 กำรประมวลผล (Processing) กำรคำนวณกำรเปรียบเทียบ กำรจัดกลุ่ม กำรเรียงลำดับ กำร ปรบั ปรงุ ขอ้ มลู กำรสรุป กำรแสดงผลเป็นต้น 5.2 กำรสร้ำงควำมน่ำเช่อื ถือ (Reliability) ระบบกำรรกั ษำควำมปลอดภัยและควำมแม่นยำ เทยี่ งตรง ในกำรทำงำน 5.3 กำรพัฒนำ (Development) กำรพัฒนำคำสงั่ หรือโปรแกรมเพื่อส่งั กำรให้ระบบ ฮำร์ดแวร์ทำงำน ตำมที่ผู้ใช้ประสงค์ กระบวนกำรทำงำน เพ่ือกำรทำงำนเฉพำะอยำงจำกคอมพิวเตอร์ ซ่ึงผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุก คน ต้องทรำบกำรทำงำนพื้นฐำนของเครื่องคอมพิวเตอร์เพ่ือท่ีจะสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง ตัวอยำง เช่น

14 กำรใช้เครื่องฝำกเงิน–ถอนเงินอัตโนมัติถ้ำต้องกำรถอนเงินจะต้องผำนกระบวนกำร ่ ต่ำง ๆ จำกเคร่ืองฝำก– ถอนเงินอัตโนมัตดิ งั น้ี 1) จอภำพแสดงขอ้ ควำมเตรยี มพร้อมท่ีจะทำงำน 2) สอดบตั รและพิมพร์ หสั ผใู้ ช้ 3) เลือกรำยกำร 4) ใสจ่ ำนวนเงินที่ตอ้ งกำร 5) รับเงิน 6) รับใบบนั ทกึ รำยกำรและบัตร กำรใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงำนในส่วนต่ำง ๆ นั้นมักจะมีข้ันตอนที่สลับซับซ้อน และ เก่ียวข้องกับชั่วง เวลำต่ำง ๆ ในกำรปฏิบัติงำนด้วยจึงต้องมีคู่มือกำรปฏิบัติงำนที่ชัดเจน เช่น คู่มือ สำหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual)ค่มู อื สำหรับผ้ใู ช(้ User Manual) เป็นต้น

15 สรุปหนว่ ยที่ 1 ข้อมูล คือ เหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์เกิดข้ึนเองตำมธรรมชำติและเป็นส่ิงที่ มนุษย์สร้ำงขึ้น ประเภทของข้อมูลสำมำรถแบ่งตำมเกณฑ์ได้หลำยวิธี เช่น กำรแบงประเภท ตำมแหล่งท่ีมำและแบ่ง ประเภทตำมลักษณะกำรเก็บข้อมูล สำรสนเทศ หมำยถึง ข้อมูล กำรนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มำ ประมวลผล เพื่อนำมำใชป้ ระโยชนต์ ำมวตั ถุประสงค์ ข้อมลู ทผ่ี ำ่ นกำรประมวลผลดว้ ยวิธกี ำรท่เี หมำะสมและ ถูกต้อง เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตรงตำม ควำมต้องกำรของผู้ใชค้ อมพิวเตอร์หมำยถึง อุปกรณ์ทำงอิเล็กทรอนิกส์ที่ ทำงำนภำยใต้ กำรควบคุมของชุดคำสั่งทำงอิเล็กทรอนกิ ส์ มหี นว่ ยควำมจำคอมพิวเตอรส์ ำมำรถป้อนข้อมูล ผ่ำนอุปกรณ์รับข้อมูลเข้ำสู่หน่วยประมวลผลกลำง คำนวณผลและแสดงผลลัพธ์ออกทำง อุปกรณ์แสดงผล ข้อมูลรูปแบบต่ำง ๆ ชวยงำนของมนุษย์ งำนท่ีมีข้ันตอนซ้ำๆ มีปริมำณมำก ๆ เม่ือนำคอมพิวเตอร์มำ ช่วยงำนกสำมำรถทำสำเร็จได้รวดเร็วข้ึน เกิดผลลัพธ์ท่ีถูกต้อง แม่นยำ น่ำเชื่อถือ คอมพิวเตอร์สำมำรถ จำแนกตำมหลักเกณฑ์ตำง่ ๆ เชน่ ตำมวัตถุประสงค์กำรใช้งำน ตำมลักษณะของข้อมูล ตำมขนำดของ คอมพิวเตอรค์ อมพวิ เตอร์ทำงำนอย่ำงเป็นระบบ (System) ภำยในระบบงำนของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย องค์ประกอบย่อยที่มหี นำ้ ท่ีเฉพำะ โดยกำรทำงำนประสำนสัมพันธ์กบั เพ่ือบรรลุตำมเป้ำหมำยในระบบงำนท่ี มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพียงอย่ำงเดียวจะไม่สำมำรถทำงำนได้ด้วยตัวเอง ซ่ึงหำกจะให้คอมพิวเตอร์ทำงำนได้ อย่ำงเป็นระบบ และมีประสิทธิภำพ ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ คือ บุคลำกร (Peopleware) ฮำร์ดแวร(์ Hardware) ซอฟต์แวร์(Software) ข้อมูล (Data) สำรสนเทศ(Information)และ กระบวนกำรทำงำน (Procedure)

16 คำช้ีแจง จงตอบคำถำมต่อไปน้ใี ห้สมบูรณ์ 1. จงจำแนกข้อมลู ตำมลกั ษณะของข้อมูล สำมำรถแบ่งออกได้เป็นกชี่ นิด คอื อะไรบำ้ ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. จงบอกประโยชน์ของระบบสำรสนเทศ ................................................................................................................................................................. ............. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... .......................... 3. จงอธบิ ำยข้อแตกต่ำงระหว่ำงขอ้ มูล (Data) และสำรสนเทศ (Information) มีขอ้ แตกตำ่ งกันอย่ำงไร .......................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. จงอธิบำยกำรจำแนกเคร่ืองคอมพิวเตอรต์ ำมขนำดของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ............................................................................................................................................ .................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จงอธิบำยองค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ประกอบดว้ ยอะไรบ้ำง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

17 ใบงำนที่ 1.1 เรอื่ ง กำรใช้คอมพิวเตอรแ์ ละระบบสำรสนเทศเพ่อื งำนอำชพี จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. อธบิ ำยควำมรู้เกี่ยวกบขอ้ มูลได้ 2. อธบิ ำยควำมรู้เกย่ี วกบสำรสนเทศได้ 3. อธบิ ำยควำมรเู้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ 4. อธบิ ำยควำมร้เู ก่ียวกับองค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์และสำรสนเทศได้ เงอ่ื นไข แบ่งกล่มุ กลุ่มละ2คน โดยกำรเรยี งตำมลำดบั เลขที่ เลขคู่กับเลขคี่ ส่ือกำรเรยี น เคร่ืองมอื อุปกรณ์ 1. ส่ือบันทกึ ขอ้ มลู (ฮำร์ดดสิ ก์) 2. เอกสำรประกอบกำรสอน 3. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ 4. เคร่ืองฉำยโปรเจก็ เตอร์ ลำดับขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน 1. แบ่งกลมุ่ กลุ่มละ2คน โดยกำรเรียงตำมลำดบั เลขท่ี เลขคกู่ ับเลขคี่ 2. อภิปรำยร่วมกนเก่ียวกับ -ควำมหมำยของข้อมูล -ควำมหมำยของสำรสนเทศ -องค์ประกอบของ ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละสำรสนเทศ 3. นำข้อมลู มำอภิปรำยแลกเปล่ยี นควำมคดิ เหน็ ซง่ึ กันและกันในกลุ่ม 4. ทุกกลุ่มนำเสนอรำยงำนหนำ้ หอ้ งเรียน กลุ่มที่ยังไม่นำเสนอรำยงำนจดบันทกึ ข้อมูล กลุ่มที่นำเสนอ อยู่ ณ ขณะนั้นแลว้ สง่ ครหู ลังหมดชั่วโมงเรยี นหน่วยที่1

18 คำสัง่ จงเลือกคำตอบท่ถี ูกต้องแลว้ กำเครอ่ื งหมำย x ลงในกระดำษคำตอบ 1. ข้อใดกล่ำวถงึ ควำมหมำยของข้อมลู ถูกต้อง ก. กำรสัมภำษณ์กำรสำรวจและกำรจดบันทึก ข. ค่ำของตวั แปรในเชงิ คณุ ภำพหรือเชิงปรมิ ำณ ค. ข้อมลู เหตุกำรณห์ รือสถำนกำรณ์ท้งั ทีเ่ กิดขน้ึ เองตำมธรรมชำตแิ ละเปน็ ส่งิ ทม่ี นุษยส์ ร้ำงข้นึ ง. ถกู ข้อข.และค 2. ขอ้ ใดคือแหล่งที่มำของขอ้ มลู ก. ข้อมูลปฐมภมู (ิ Primary Data) ข. ขอ้ มูลทุติยภมู ิ(Secondary Data) ค. จำกนิตยสำร หนงั สือพมิ พ์อนิ เทอร์เน็ต ง. ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data)และข้อมูลทตุ ิยภูม(ิ Secondary Data) 3. ข้อใดคอื ควำมหมำยของสำรสนเทศ ก. ชอ่ื สกลุ อำยุเพศอำชีพ ศำสนำ ข. ข้อมูลขำ่ วสำรทผี่ ่ำนกำรประมวลผลวเิ ครำะ่ห์ ค. กำรรวบรวมข้อมลู เป็นจดุ เร่มิ ต้นของกำรดำเนินงำน ง. ควำมรู้ควำมเข้ำใจกำรวเิ ครำะหค์ วำมถนัด สติปัญญำ 4. ขน้ั ตอนแรกของกำรประมวลผลขอ้ มลู ไปสูส่ ำรสนเทศคือขอ้ ใด ก. กำรรวบรวมขอ้ มลู ข. กำรหำแหล่งขอ้ มลู ค. กำรดูแลรกั ษำข้อมูล ง. กำรประมวลผลขอ้ มูล 5. ขอ้ ใดคือประโยชน์ของระบบสำรสนเทศ ก. ระบบสำรสนเทศช่วยในกำรเลือกผลติ สนิ คำ้ ข. ระบบสำรสนเทศทำใหก้ ำรปฏบิ ัตงิ ำนรวดเรว็ ค. ระบบสำรสนเทศช่วยให้มเี วลำในกำรทำกิจกรรมสว่ นตัว ง. ระบบสำรสนเทศมปี ระโยชนต์ ่อกำรปฏิบตั งิ ำน ดงั ข้อก.และข.

19 6. ขอ้ ใดกล่ำวถงึ ควำมหมำยของคอมพวิ เตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง ก. เครือ่ งคำนวณ เพือ่ กำรทำงำนซ้ำ ๆ มปี รมิ ำณมำก ๆ ข. เครอื่ งอิเลก็ ทรอนิกส์แบบอตั โนมัตเิ หมือนสมองกลแก้ปัญหำต่ำง ๆ ที่ง่ำย และซับซอ้ น ค. อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สท์ ่มี นษุ ยพ์ ัฒนำขนึ้ เพื่อช่วยงำนของมนุษย์ข้ันตอนซำ้ ๆ ปริมำณมำก ๆ ง. ควำมหมำยของคอมพวิ เตอรด์ งั ขอ้ ข.และค. 7. ข้อใดคอื กำรแบ่งประเภทคอมพวิ เตอร์ตำมวัตถุประสงค์กำรใชง้ ำนตำมลักษณะข้อมูล ก. คอมพวิ เตอร์ใชง้ ำนท่ัวไป ข. คอมพิวเตอร์ใชง้ ำนเฉพำะ ค. คอมพิวเตอร์ใชง้ ำนท่ัวไปและคอมพิวเตอรใ์ ช้งำนเฉพำะ ง. คอมพวิ เตอร์แบบ Analog Computerและ Digital Computer 8. ข้อใด ไม่ใช่ สว่ นประกอบระบบคอมพิวเตอร์ ก. หนว่ ยรับข้อมูล(Input Unit) ข. หน่วยแสดงผลข้อมูล(Output Unit) ค. หน่วยควบคมุ ทำงกำรประมวลผล(Memory Unit) ง. หน่วยประมวลผลกลำง (CentralProcessing Unit) 9. ข้อใดคอื ควำมหมำยของซอฟต์แวร์ ก. โปรแกรมควบคุมกำรทำงำนภำยใน CPU ข. โปรแกรมหรอื ชุดคำสังทส่ี ่ังใหฮ้ ำรด์ แวร์ทำงำน ค. กำหนดถงึ ประสิทธภิ ำพถงึ ควำมสำเรจ็ และควำมคมุ้ ค่ำในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์ ง. สือ่ กลำงระหว่ำงผู้ใชร้ ะบบและนกั เขียนโปรแกรม(Programmer) 10. ซอฟตแ์ วร์ประยุกต(์ ApplicationSoftware)ข้อใดกล่ำวถูกต้อง ก. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมท่ีทำให้คอมพิวเตอร์ทำงำนตำ่ ง ๆ ตำมท่ีผใู้ ช้ตอ้ งกำร ข. คอมไพเลอร์(Compiler)และอนิ เตอรพ์ รีเตอร(์ Interpreter)แปลคำสง่ั ในโปรแกรม ค. ซอฟต์แวร์กำรตดิ ตัง้ ระบบ เพือ่ ใหค้ อมพิวเตอร์สำมำรถติดตอและใช้งำนอปุ กรณต์ ่ำง ๆ ง. ซอฟต์แวรเ์ สริมช่วยใหเ้ ครอ่ื งทำงำนมีประสทิ ธภิ ำพมำกขึน้ เช่น ช่วยในกำรตรวจสอบดสิ ก์

20 บรรณำนกุ รม ผู้เรียบเรียง : ธงชัย ลำบุญ ผพู้ สิ ูจน์อกั ษร : อำนนท์ ปิ่นสุภำ https://www.ssobooks.com/wp-content/uploads/2021/10/20001-2001


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook