Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนยุทธศาสตร์ สนข. ระยะ 4 ปี (ปี2566-2569) และคู่มือ

แผนยุทธศาสตร์ สนข. ระยะ 4 ปี (ปี2566-2569) และคู่มือ

Published by Tidarat CHAICHUM, 2022-08-09 04:30:16

Description: แผนยุทธศาสตร์ สนข. ระยะ 4 ปี (ปี2566-2569) และคู่มือ

Search

Read the Text Version

คำนำ การกำหนดนโยบายการบริหารงานขององค์กร ถือว่าเป็นหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารงานที่ดี ส่งผลให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายและตอบสนองความต้องการ ความคาดหวังของนิสิต บุคลากร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยดำเนินการผ่านกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ซึ่งมีส่วนสำคัญยิ่ง ในการทำให้ สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน บรรลวุ ิสัยทัศน์ขององคก์ ร ดังนั้น เพื่อให้สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน มีแผนยุทธศาสตร์ที่ทันสมัย สอดรับกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป และสามารถขับเคลื่อนให้บรรลุวิสัยทัศน์ ตามที่ได้กำหนดไว้ ผู้บริหารสำนักงานวิทยาเขต กำแพงแสนทุกระดับ จึงได้นำข้อมูลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก มาประกอบการกำหนด ประเด็นยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธห์ ลัก พร้อมทั้งกลไกการขบั เคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ สู่ความสำเร็จ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ได้ระดมความร่วมมือ ความคิดเห็นของบุคลากรทุกระดับ กำหนดเปน็ กรอบการดำเนินงานเพือ่ ให้บรรลตุ ามวิสัยทศั น์ และพันธกิจต่อไป งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ขอขอบพระคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่ได้ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566 – 2569) จึงได้แผนยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบุคลากรทุกท่านจะร่วมกัน ผลกั ดัน และขบั เคล่ือนแผนยุทธศาสตรใ์ ห้บรรลุเปา้ หมาย ตามทีไ่ ด้กำหนดไว้ต่อไป งานยทุ ธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ มถิ นุ ายน 2565 ก

1 รปู ข

สารจากผอู้ ำนวยการสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน การวางแผนยุทธศาสตร์ มีส่วนสำคัญยิ่งต่อการสร้าง ความเป็นผู้นำ (Leadership) หรือการสร้างภาพลักษณ์ (Image) ที่แสดงถึงจุดเด่นของส่วนงานในการวางแผน ยุทธศาสตร์ นั้น จะมีการกำหนดเป้าหมายรวมขององค์กรเพ่ือ ใช้ในการดำเนินงานในอนาคตที่เรียกว่า “วิสัยทัศน์” เป็น รูปแบบการวางแผนที่ช่วยให้ส่วนงานได้พัฒนาตนเองให้ทันกับ สภาพการเปล่ียนแปลงไดท้ นั ต่อสถานการณ์ จากการทบทวนวิสัยทัศน์และพันธกิจของสำนักงาน วิทยาเขตกำแพงแสน ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา สะท้อนให้ ผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้างาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งภายใน และภายนอก ได้รับทราบจุดเน้นของสำนักงานวิทยาเขต กำแพงแสน โดยภารกิจหลักของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ประกอบไปด้วย 1) ยกระดับการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดชีวติ ผา่ นนวัตกรรมการศึกษาและเครือข่ายความรู้ 2) สง่ เสริมการบูรณาการการวิจยั และบริการวิชาการ ร่วมกับเครือข่ายวิจัย เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและความผาสุกของสังคม 3) เพิ่มขีดความสามารถ และความสามารถในการฟื้นตัวขององค์กรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 4) เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ที่มงุ่ เน้นความเปน็ เลศิ และคุณธรรมจรยิ ธรรมเพือ่ เพ่ิมความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยง่ั ยืน เพอื่ ให้สำนักงาน วิทยาเขตกำแพงแสน ก้าวไปขา้ งหน้าอย่างมัน่ คงและยั่งยืน ในนามของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ขอขอบคุณคณะผู้บริหารสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน หัวหน้างาน และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ทุ่มเทพลังกาย พลังใจและเสียสละเวลา ในการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566 - 2569) สำหรับใช้พัฒนาสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ให้เป็น “ผู้นำการบริการ ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี สูอ่ งคก์ รเปน็ เลศิ ในระดบั ประเทศ” อย่างแทจ้ ริง นายวิโรจน์ ทองสุพรรณ ผู้อำนวยการสำนกั งานวทิ ยาเขตกำแพงแสน ค

สารบญั ง

คณะผู้บริหารสำนกั งานวิทยาเขตกำแพงแสน 1

บทสรปุ ผู้บรหิ าร 2

บทสรุปผบู้ ริหาร สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน กำหนดแนวทางการดำเนินงานของแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566 – 2569) สอดรบั กับกรอบทศิ ทางการดำเนนิ งาน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำแพงแสน โดยกำหนดวิสัยทัศน์ “ผู้นำการบริการด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยี สู่องค์กรเป็นเลิศในระดับประเทศ : Leader of services with innovation and technology to the excellent organization.” ภ า ย ใ ต้ ภารกิจ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ยกระดับการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านนวัตกรรมการศึกษา และเครือข่ายความรู้ 2) ส่งเสรมิ การบรู ณาการการวิจยั และบริการวิชาการรว่ มกบั เครือขา่ ยวจิ ัย เพือ่ สร้างความ เข้มแข็งให้กับชุมชนและความผาสุกของสังคม 3) เพิ่มขีดความสามารถและความสามารถในการฟื้นตัว ขององค์กรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 4) เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศและคุณธรรม จริยธรรมเพื่อเพิ่มความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน เพื่อให้การดำเนินงานของสำนักงานวิทยาเขต กำแพงแสน บรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกรอบทิศทางการดำเนินงาน จึงกำหนดยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ การดำเนนิ งานตามแนวทาง TOWS Metrix เพือ่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรแ์ ละผลักดันองค์กร สู่ความยัง่ ยืน โดยมุ่งเน้นการให้บริการด้วยนวัตกรรม นำประโยชน์จากเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยมาพัฒนาผลติ ภัณฑ์ บริการ และช่องทางการให้บริการ เพื่อส่งมอบคุณค่าและประสบการณ์ที่ดีให้แก่ลูกค้าอย่างรวดเร็วปลอดภัย ล้ำสมัย ตอบสนองต่อนิสิตและบุคลากร และช่วยให้องค์กรปรับปรุงขีดความสามารถในการแข่งขัน เป็นที่ยอมรับตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS : Kasetsart University Quality System) จึงไดก้ ำหนดยุทธศาสตรก์ ารดำเนนิ งาน ดงั นี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ยกระดับการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านนวัตกรรม การศกึ ษาและเครือขา่ ยความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 : สง่ เสริมการบูรณาการการวจิ ัยและบริการวิชาการร่วมกับเครือข่าย วจิ ัย เพ่อื สร้างความเข้มแขง็ ให้กับชมุ ชนและความผาสกุ ของสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : เพิ่มขีดความสามารถและความสามารถในการฟื้นตัวขององค์กร ดว้ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศ และคุณธรรม จรยิ ธรรมเพื่อเพิม่ ความได้เปรียบในการแข่งขันอยา่ งยัง่ ยืน 3

สรุปแผนปฏิบัตกิ ารจำแนกตามยทุ ธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ยกระดับการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านนวัตกรรม การศึกษาและเครือข่ายความรู้ มุ่งเน้นการส่งเสริม และสนับสนุนการให้บริการแก่นิสิต นักเรียน ซึ่งเป็น กลุ่มเป้าหมาย ในการจัดการเรียนการสอนที่เชื่อมโยงกับคณะวิชา ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน อีกท้ังเน้นการสร้างความร่วมมือกับโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 5,8,9 พร้อมทั้ง จดั ทำหลกั สตู ร ผลติ ภัณฑ์ รว่ มกบั ผู้ใช้บัณฑติ ท้ังภาครฐั และภาคเอกชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมการบูรณาการการวิจัยและบริการวิชาการร่วมกับเครือข่าย วิจัย เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและความผาสุกของสังคม มุ่งเน้นการส่งเสริม และสนับสนุน การให้บริการด้านการวิจัย และด้านบริการวิชาการ โดยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างคณะวิชา องค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน พร้อมทั้งส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวิจัย การบริการ วิชาการให้แก่ชุมชนและสังคม ก่อให้เกิดความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน สนองนโยบายยุทธศาสตร์ กระทรวง การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : เพิ่มขีดความสามารถและความสามารถในการฟืน้ ตัวขององค์กรด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรม มุ่งเน้นการเป็นองค์กรที่มีนวัตกรรมที่ล้ำสมัย รองรับการเปลี่ยนแปลง และยกระดับองค์กรสู่ดิจิทัล โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ บริการ ช่องทาง การให้บริการและการสื่อสารประชาสัมพันธบ์ นดิจทิ ลั แพลตฟอร์ม ทม่ี ีการเช่อื มโยงผลติ ภัณฑแ์ ละบริการต่าง ๆ เข้าด้วยกันรวมทั้งปรับปรุงการบริหารจัดการนวัตกรรมภายในองค์กรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล พรอ้ มท้งั ส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรดา้ นเทคโนโลยี เนน้ นวัตกรรมการบรกิ าร สมู่ าตรฐานระดบั ชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศและคุณธรรม จริยธรรมเพื่อเพิ่มความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน มุ่งเน้นการเป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการ และพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ สร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรตามค่านิยมองค์กร 5 ด้าน ประกอบด้วย 1. Innovation and Technology (นวัตกรรมและเทคโนโลยี) 2. Service Mind (จิตบริการ) 3. Teamwork happiness (ทำงานเป็นทีมอย่างมีความสุข) 4. Attitude (มีทัศนคติที่ดี สำนึกดี) 5. Responsibility (มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น) พร้อมทั้งส่งเสริมบุคลากรให้มีการสร้างความรู้ เสริมสร้างศักยภาพ วชิ าชีพ เพอื่ สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหอ้ งคก์ ร พรอ้ มทัง้ ยกระดับขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ในระยะยาว 4

บทนำ 5

ความเป็นมาสำนกั งานวทิ ยาเขตกำแพงแสน 6

7

ววิ ัฒนาการแผนยทุ ธศาสตร์สำนกั งานวทิ ยาเขตกำแพงแสน 8

วิสัยทศั น์สำนกั งานวิทยาเขตกำแพงแสน 9

กระบวนการจดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์สำนกั งานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 – 2569 1. วัตถปุ ระสงคข์ องการจดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์ 1.1 เพื่อระดมความคิดเห็นของส่วนงาน ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อกำหนดทิศทาง ของสำนกั งานวทิ ยาเขต และตอบสนองตอ่ กระแสความเปล่ยี นแปลงในปจั จุบนั 1.2 เป็นแผนแม่บท (Master Plan) เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี และแผนปฏบิ ตั กิ าร/แผนปฏบิ ัติราชการประจำปี (Action Plan) ของสำนกั งานวทิ ยาเขต 1.3 เพ่อื เป็นกรอบแนวทางในการจดั ทำคำของบประมาณ 2. กรอบการดำเนนิ งานทบทวนแผนยุทธศาสตร์ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเป็นกระบวนการที่สร้างประโยชน์ ให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดทั้งส่งผลต่อการขับเคลื่อนการบรรลุภารกิจและพันธกิจหลัก ของส่วนงาน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และปรับปรุงกระบวนการทำงานให้ดียิ่งขึ้น ในการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ จึงต้องมีการวิเคราะห์และพิจารณาปัจจัยสำคัญประกอบด้วย ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ข้อกำหนดที่สำคัญ (ความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน) และความสอดคล้องตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือในการกำหนดทิศทางความสำเร็จของสำนักงานวิทยาเขต การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566-2569) ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง บุคลากรผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมสัมมนา เชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดร่วมจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2566-2569) และนำเสนอคณะกรรมการประจำสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน และปรับแก้ไขจนกระท่ัง ได้เปน็ แผนยุทธศาสตร์ฉบบั น้ี โดยมกี รอบการดำเนนิ งาน 5 ขัน้ ตอน ดงั น้ี ข้ันตอนที่ 1 การรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ ดำเนินการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญในการวางแผนกลยุทธ์ ได้แก่ ผลการดำเนินการที่ผ่านมา แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทั้งระดับชาติและนานาชาติที่เกิดขึ้น (Mega trends) ความต้องการและความคาดหวังของผู้เรียน ลูกค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ ข้อมูลคู่แข่ง/คู่เทียบ นโยบาย ของกระทรวงอุดมศึกษาฯ นโยบายของภาครฐั และแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย ขัน้ ตอนที่ 2 การทบทวนวิสัยทศั น์ และ คา่ นยิ ม ผู้อำนวยการสำนักฯ ผู้อำนวยการกองฯ หัวหน้างาน และบุคลากรสำนักฯ ร่วมกันทบทวนเป้าหมาย ของการสร้างคุณค่าให้กับผู้เรียน ลูกค้ากลุ่มอื่น ส่วนงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญของสำนักฯ และ บูรณาการกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย เพื่อตอบสนองพันธกิจด้านการสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการบรหิ ารงานของวิทยาเขตกำแพงแสน ในส่วนของค่านิยม มีการทบทวนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ที่จำเป็นต่อการมุ่งสู่วิสัยทัศน์ เปรียบเทียบกับ วัฒนธรรมองค์กรที่มีอยู่ และกำหนดให้เป็นค่านิยมที่ผู้นำระดับสูงนำไปประพฤติเป็นแบบอย่างและถ่ายทอด สบู่ ุคลากรทุกระดบั ใหป้ ฏิบตั ติ าม 10

ข้ันตอนที่ 3 วิเคราะหป์ จั จัยภายในและภายนอก ผู้บริหารวิทยาเขตกำแพงแสน ผู้อำนวยการสำนักฯ ผู้อำนวยการกองฯ หัวหน้างาน และบุคลากรสำนักฯ ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศที่รวบรวมจากขั้นตอนที่ 1 แบ่งเป็นการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกโดยใช้ เครื่องมือ PESTLE Analysis และการวิเคราะห์ปัจจัยภายในโดยใช้เครื่องมือ 7M+N และวิเคราะห์สมรรถนะหลัก ขององค์กรโดยใช้เครื่องมือ VRIO Analysis เพื่อมาวิเคราะห์ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ โดยใช้ SWOT Analysis ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดกลยุทธ์ ผู้บริหารวิทยาเขตกำแพงแสน ผู้อำนวยการสำนักฯ ผู้อำนวยการกองฯ หัวหน้างาน และบุคลากรสำนักฯ นำข้อมูลจาก SWOT Analysis มาออกแบบกลยุทธ์ โดยใช้เครื่องมือ TOWS matrix Analysis เพื่อออกแบบ กลยทุ ธ์ทสี่ ามารถดำเนินการได้ รวมถงึ คน้ หาโอกาสเชงิ กลยุทธ์และโอกาสในการสรา้ งนวัตกรรม ขั้นตอนท่ี 5 กำหนดยุทธศาสตร์ (วัตถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ)์ ผู้บริหารวิทยาเขตกำแพงแสน ผู้อำนวยการสำนักฯ ผู้อำนวยการกองฯ หัวหน้างาน และบุคลากรสำนักฯ ร่วมกันกำหนดยุทธศาสตร์ (Strategic Objectives) และเป้าประสงค์ (Strategic Goals) และกำหนดกรอบเวลา ทงั้ ระยะสน้ั และระยะยาว ที่จะบรรลุแต่ละยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ท่สี ำคญั นอกจากนั้น ยังได้กำหนดและทบทวนระบบงานที่สำคัญที่สำนักฯ จะดำเนินการเองหรือให้ผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ พันธมิตร ดำเนินการ โดยพิจารณาจาก 1) ระบบงานที่มีความสำคัญต่อการส่ง มอบคุณค่า ตามความต้องการของผู้เรียน และลูกค้า 2) ระบบงานท่ีสำคัญต่อสมรรถนะหลักขององค์กรในปจั จุบันและอนาคต 3) ระบบงานที่สำนักฯ มีความได้เปรียบในการแข่งขัน (ต้นทุนต่ำกว่า Outsource) หรือมีประสิทธิผล ของการดำเนนิ การทีด่ ีกว่า ขน้ั ตอนที่ 6 การจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการ (Action Plan) ผู้บริหารวิทยาเขตกำแพงแสน ผู้อำนวยการสำนักฯ ผู้อำนวยการกองฯ หัวหน้างาน และบุคลากรสำนักฯ ร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการ ที่จำเป็นต่อการดำเนินการของแต่ละยุทธศาสตร์ โดยกำหนดผู้รับผิดชอบ แต่ละแผนปฏิบัติการ กำหนดวัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการ และกำหนดตัววัดที่สะท้อนการบรรลุผล (Lagging Indicator) รวมถึงออกแบบกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ และกำหนดระยะเวลาที่ต้องดำเนินการของ กจิ กรรม และกำหนดตวั ชีว้ ัดท่สี ำคัญที่ใช้ติดตามการดำเนินการของแต่ละแผนปฏิบตั ิการ (Leading Indicator) ขนั้ ตอนที่ 7 การจัดสรรทรัพยากร ผู้รับผิดชอบแผนปฏิบัติการ วิเคราะห์ความต้องการทั้งด้านงบประมาณ อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และทรัพยากรอื่น ๆ ที่จำเป็น ในการดำเนินการตามแผนฯ รวมถึง วิเคราะห์ความต้องการด้านบุคลากร ว่าจำเป็นต้องพัฒนาทักษะของบุคลากรที่มีอยู่ หรือต้องสรรหาว่าจ้างบุคลากรเพิ่ม หรือต้อง Outsource เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ และจัดทำเป็นแผนด้านบุคลากรที่สำคัญที่สนับสนุน แต่ละยุทธศาสตร์และนำไปเชื่อมโยงกับการประเมินขีดความสามารถและอัตรากำลัง เพื่อจัดทำเป็นแผนแม่บท ดา้ นบุคลากร (HR Master Plan) 11

ข้นั ตอนที่ 8 การถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ผู้บริหารระดับสูง ถ่ายทอดเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ผ่านการ ประชุมคณะกรรมการประจำสำนักฯ โครงการสัมมาทิฐิบุคลากรสำนักฯ และโครงการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน รวมถึงถ่ายทอดตัวชี้วัด ที่ใช้ในการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินการตาม แผนยุทธศาสตร์ ไปตามลำดบั ช้ันของการบรหิ ารโดยใช้เครื่องมอื Balanced Scorecard ขั้นตอนที่ 9 ติดตามและประเมินผล (ทุกเดือนทั้งแผนปฏิบัติการระยะสั้น (แผนปฏิบัติการประจำปี) และแผนปฏบิ ัติการระยะยาว (แผนตอ่ เนื่อง) ผูบ้ ริหารระดับสูง ตดิ ตามความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนปฏบิ ัติการทั้งระยะสั้น และระยะยาว ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการประจำสำนักฯ ทุกเดือน รวมถึงติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินการ ตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ทุก 3 เดือน นำมาประเมินผลเทียบผลกับค่าเป้าหมายผลการดำเนินการ หากได้ตามค่าเป้าหมายให้ดำเนินการต่อไป หากไม่ได้ตามค่าเป้าหมายให้ผู้รับผิดชอบนำไปเร่งขับเคลื่อนหรือ ปรบั เปลยี่ นวธิ กี ารดำเนนิ งานให้เหมาะสมกับสถานการณ์เพื่อให้เป็นไปตามค่าเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้ตอ่ ไป ขั้นตอนท่ี 10 การปรบั เปลย่ี นแผนปฏิบัตกิ าร ผู้รับผิดชอบแผนปฏิบัติการประจำปี นำผลจากการประเมินในขั้นตอนที่ 9 ไปใช้ในการปรับเปลี่ยน แผนปฏิบัติการ เมื่อพบว่ามีกรณีที่สถานการณ์บังคับทำให้ไม่สามารถดำเนินการตามแผนปฏิบัติการได้ หรือ เมื่อผลการดำเนินการไม่เป็นไปตามค่าเป้าหมาย หากจำเป็นต้องขอรับการจัดสรรทรัพยากรเพิ่มเติม โดยขออนมุ ัตผิ ่านผบู้ รหิ ารระดับกอง และผู้อำนวยการสำนักฯ เพื่อให้มัน่ ใจวา่ จะนำแผนปฏบิ ตั ิการใหม่ไปปฏิบัติได้ อยา่ งรวดเร็ว กรอบแนวคดิ ในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 12

การวเิ คราะห์ สภาพแวดลอ้ ม องคก์ ร 13

การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มองคก์ ร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลง จำเป็นต้องทำการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเพื่อหาจุดแข็ง จุดเด่น หรือข้อได้เปรียบ จุดอ่อน หรือข้อเสียเปรียบ โอกาสที่จะดำเนินการได้ และอุปสรรคที่อาจทำให้เป็นปัญหาในการดำเนินงานไม่บรรลุผล สำเร็จ จงึ ตอ้ งทำการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมองค์กรทั้งภายในและภายนอก ปัจจัยภายนอกองค์กร (External factors) ประกอบด้วย ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ แต่ส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการปฏิบัติงานที่เป็นทั้งโอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) ได้แก่ ผลการดำเนินงานในอดีตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ผลการดำเนนิ งานในอดีตของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ลกู คา้ และผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย ปัจจัยด้านการเมือง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และ ปัจจยั ดา้ นกฎหมาย ซ่งึ สามารถวิเคราะห์ได้ ดงั นี้ โอกาส (Opportunities) O1 นโยบายรฐั สนบั สนุนพลงั งานทางเลอื ก Green Economy เช่น solar roof top O2 ยทุ ธศาสตรช์ าติ สง่ เสรมิ smart farmer O3 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรในประเทศ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และการส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ ทำให้เกดิ ความต้องการการเรียนรตู้ ่อเน่ือง O4 เทคโนโลยี (ระบุ) ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้/การสนับสนุนการเรียนรู้ ผ่านหลากหลายช่องทาง (online,hybrid) เพม่ิ ชอ่ งทางการสอ่ื สาร/การเขา้ ถึง O5 BCG, zero waste อาจชว่ ยยกระดับภาพลักษณ์ท่ดี หี ากม่งุ เน้น SDGs O6 พฤตกิ รรมผู้เรียน Gen Z มคี วามตอ้ งการเปน็ ผ้ปู ระกอบการมากขึน้ (start-up, entreprenuer) ตอ้ งการ เรยี นรู้เฉพาะเรือ่ ง ต้องการเรยี นรู้เร็ว (ไม่เรียนเป็นปริญญา) O7 เทคโนโลยีทีห่ ลากหลาย (ระบุ) ชว่ ยลดตน้ ทนุ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการทำงาน O8 สงั คมวฒั นธรรมทเี่ ลอื่ นไหล ทำใหม้ นี กั ศกึ ษาต่างชาตมิ ากขึน้ มีตลาดแรงงานในต่างประเทศมากขน้ึ อุปสรรค (Threats) T1 นโยบายกระทรวงอุดมศึกษาฯ ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาในต่างประเทศมาจัดการเรียนการสอน ในประเทศ ทำให้มคี ู่แขง่ ทม่ี ีองคค์ วามร้แู ละเทคโนโลยีทมี่ ากกวา่ T2 โครงสรา้ งประชากรไทยท่ีมอี ัตราการเกดิ ลดลง ทำใหผ้ ู้เรียนในระบบลดลง ในขณะที่สถานศึกษาเพิ่มขนึ้ T3 ต้นทุนพลังงานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ต้นทุนการดำเนินการสูงขึ้น มีผลกระทบจากมลภาวะ PM 2.5 ทำใหต้ ้นทุนการดำเนนิ การสงู ขึน้ T4 นโยบายภาครฐั สนับสนุนงบประมาณสถาบนั การศึกษาน้อยลง T6 สงั คมวัฒนธรรมที่เลอื่ นไหล ทำใหม้ ีนักศึกษามีทางเลือกไปเรยี นในต่างประเทศ T7 เศรษฐกิจในประเทศไม่ดี ทำให้ผู้เรียน ผู้ปกครองมีข้อจำกัดด้านการเงิน หรือเลือกไปเรียนสายอาชีพ ผปู้ ระกอบการปดิ กิจการ การจ้างงานลดลง T8 การเรียนการสอนในระดับมัธยมไม่สอดคล้องกับการเรียนการสอนใน ระดับมหาวิทยาลัย และ ตลาดแรงงาน ทำให้มอี ตั ราการวา่ งงานของบัณฑติ สงู ขน้ึ 14

ปจั จยั ภายใน (Internal factors) เป็นปจั จัยท่มี อี ิทธิพลโดยตรงต่อการปฏบิ ัติงาน โดยใชก้ ารวิเคราะห์ การบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลง (7M+N) ประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคลากร ปัจจัยด้านการเงิน ปัจจัย ด้านทรัพยากร ปัจจัยด้านเครื่องมือ ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ปัจจัยด้านวิธีการปฏิบัติงาน ปัจจัย ดา้ นการตลาด และปจั จยั ดา้ นเครือข่ายอุปทาน ซง่ึ สามารถวเิ คราะหไ์ ด้ดังนี้ จดุ แขง็ (Strengths) S1 มพี ืน้ ท่ีและอาคารสถานทท่ี ่ีสามารถเพ่มิ ช่องทางในการหารายได้ S2 มหาวิทยาลัย และวิทยาเขตมชี ือ่ เสยี งในดา้ นการเกษตร ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ S3 มคี วามร่วมมอื กับหนว่ ยงานภายนอกทั้งในและต่างประเทศ รวมถงึ ชมุ ชนทส่ี ำคญั S4 บคุ ลากรมคี วามชำนาญเฉพาะด้าน สามารถนำเทคโนโลยไี ปประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นางาน และพรอ้ มเรียนรู้ S5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องคค์ วามรู้ท่สี ำคัญในการทำงาน จดุ อ่อน (Weaknesses) W1 งบประมาณสนบั สนนุ จากภาครัฐลดลง งบประมาณเงินรายไดจ้ ำกัด มภี าระหนใี้ นระยะยาวจากการลงทนุ W2 ขาดการตลาดและการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ผลติ ภณั ฑแ์ ละวทิ ยาเขตที่ทันสมัย เข้าถึงกลมุ่ ลูกค้าเป้าหมาย W3 อาคารสถานที่และครุภัณฑ์มีอายุการใช้งานนาน ต้องใช้งบประมาณในการซ่อมบำรุง และปรับเปลี่ยน ใหท้ นั สมยั W4 การจัดสรรอตั รากำลังไม่สอดคล้องกับภาระงาน บคุ ลากรระดบั ปฏบิ ัตกิ ารมีทักษะดา้ นการใช้เทคโนโลยที ี่จำกัด W5 ระเบียบการดำเนินการไม่คล่องตัว กระบวนการจัดซื้อรวมศูนย์ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ไม่เชือ่ มโยงกบั ผลลพั ธข์ ององคก์ ร W6 ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายอุปทานอย่างเต็มที่ในการสร้างคุณค่าเพิ่มให้กับผู้เรียน ลูกค้าและ ผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย 15

ความได้เปรียบเชิงยทุ ธศาสตร์ และความทา้ ทายเชิงยุทธศาสตร์ ความได้เปรียบเชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Advantage) SA1 โครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพทห่ี ลากหลาย ครบทุกดา้ น สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ รายได้ SA2 อตั รากำลงั มสี หวิชาชีพพร้อมรองรับภารกิจของสำนักงานวทิ ยาเขตกำแพงแสน และวทิ ยาเขตกำแพงแสน SA3 บุคลากรมคี วามชำนาญในสาขาอาชพี SA4 โครงสรา้ งพนื้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ SA5 มีระบบจองร้านค้า ระบบจองหอพัก ระบบรับเข้าศึกษาต่อ ฯลฯ ที่รองรับภารกิจของสำนักงานวิทยาเขต กำแพงแสน ท่ถี กู พฒั นาโดยบุคลากรของสำนักงานวทิ ยาเขตกำแพงแสน SA6 มีแหลง่ ผลิตน้ำดิบโดยไมม่ ีต้นทนุ ในการใชจ้ า่ ย ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Challenge) SC1 การบรหิ ารทรัพยส์ ินสำนกั งานวิทยาเขตกอ่ เกดิ ประโยชนส์ งู สุด SC2 นโยบายการบรหิ ารท่คี รอบคลุมทุกพนั ธกิจ SC3 มีระบบการบริหารจดั การท่มี ีประสทิ ธิภาพ และเป็นขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจของผู้บริหาร SC4 ผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรทกุ คน มคี วามร่วมมือในการทำงานและการทำงานเป็นทีม SC5 มรี ะบบการบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบคุ คลอยา่ งมีประสิทธิภาพ SC6 smart staff (บคุ ลากรทกุ ระดับมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ สมรรถนะตามที่องค์การคาดหวงั ) SC7 มีระบบการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของบุคลากรทั้งด้านทักษะ ความสามารถ สมรรถนะ ของบคุ ลากร SC8 มนี วัตกรรมและเทคโนโลยที ี่สนับสนนุ การปฏิบตั ิงานและการใหบ้ รกิ าร SC9 สารสนเทศที่มีคุณภาพ พร้อมใช้งาน สามารถเข้าถึงได้ง่าย รองรับความต้องการของบุคลากรและ ผ้รู ับบรกิ าร SC10 การบรู ณาการการใช้ทรัพยากรร่วมกนั SC11 ศนู ยร์ วมการให้บริการ One stop service SC12 มรี ะดบั ความพงึ พอใจและความผกู พันองค์กรอยู่ในระดบั ดมี าก SC13 พัฒนากระบวนการทำงานที่มีประสทิ ธภิ าพและยกระดับมาตรฐานงานทสี่ ำคัญ SC14 มีการจัดทำตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานเชิงคุณภาพและปริมาณ รายงานและการนำข้อมูลไปใช้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ SC15 สภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศ ในการปฏิบัตงิ านทท่ี นั สมัย SC16 การบริหารดา้ นเครื่องจกั รกลและอุปกรณ์การเกษตร ท่กี ่อให้เกดิ รายไดแ้ ละประสิทธิผล SC17 มีระบบการบริหารจัดการนำ้ เสยี ทมี่ ีประสิทธภิ าพ และไดม้ าตรฐาน SC18 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ที่หลากหลายสามารถถ่ายทอดให้เกิดการปฏิบัติงานที่ดี และสามารถ จดั กจิ กรรมส่งเสริมชุมชนให้เกดิ ความเขม้ แขง็ ได้ 16

การกำหนด กลยทุ ธ์ 17

การกำหนดกลยุทธ์ ผบู้ ริหารวทิ ยาเขตกำแพงแสน ผอู้ ำนวยการสำนักฯ ผูอ้ ำนวยการกองฯ หวั หนา้ งาน และบคุ ลากรสำนักฯ นำข้อมูลจาก SWOT Analysis มาออกแบบกลยุทธ์ โดยใช้เครื่องมือ TOWS matrix Analysis เพื่อออกแบบ กลยุทธ์ที่สามารถดำเนินการได้ รวมถึงค้นหาโอกาสเชิงกลยุทธ์และโอกาสในการสร้างนวัตกรรม ซึ่งสามารถ วิเคราะห์ออกมาได้ ดงั น้ี กลยทุ ธเ์ ชิงรกุ (SO/ Maxi-Maxi) S1O1 จัดทำโครงการพลังงานทดแทน โดยร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อลดการใช้พลังงาน เพ่มิ รายไดแ้ ละนำไปสกู่ ารวิจัย S1O1 ปลกู ปา่ ขายเปน็ carbon credit S2O6 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตร smart farmer คลินิก เทคโนโลยี onsite (ทำเอง) และบูรณาการ การถา่ ยทอดความรูร้ ่วมกับคณะวชิ า เชน่ ดา้ น smart farming S5O5 พฒั นา SDGs S2O8 ประชาสัมพันธ์หลักสูตร ผลิตภัณฑ์ วิทยาเขต ผ่านช่องทาง online, social media เพื่อสร้างการรับรู้ และเข้าถงึ กลุ่มเปา้ หมายนักศกึ ษาตา่ งชาติ S5O7 สง่ เสรมิ การแลกเปลีย่ นเรยี นรเู้ พอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในการทำงาน S3O2 เปน็ One Stop Service ในการพฒั นาชมุ ชนทสี่ ำคัญดา้ นการเปน็ smart farmer S4O1 พัฒนารถไฟฟา้ เชิงพาณชิ ย์ S3O1 โครงการตน้ แบบสง่ เสรมิ อาชพี สูช่ ุมชน (แบบกรมราชทัณฑ์) S4O4 พัฒนาโปรแกรมเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการทำงานภายในสำนกั งานวทิ ยาเขตกำแพงแสน กลยุทธเ์ ชงิ แกไ้ ข (WO/ Mini-Maxi) W1O2 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตร smart farmer คลินิก เทคโนโลยี onsite (ทำเอง) และบูรณาการ การถ่ายทอดความรูร้ ว่ มกับคณะวิชา เช่น ด้าน smart farming W1O3 พัฒนาหลกั สตู ร reskill, upskill ด้านเคร่อื งจักรการเกษตร onsite (ทำเอง) W2O4 ประชาสัมพันธ์หลักสูตร ผลิตภัณฑ์ วิทยาเขต ผ่านช่องทาง online, social media เพื่อสร้างการรับรู้ และเขา้ ถงึ กลุ่มเปา้ หมาย W3O5 ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีและ TPM ในการซอ่ มบำรุงอาคารสถานที่ W4O4 พัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรด้วย technology และพัฒนาบุคลากรด้าน technology ผ่าน hybrid learning, MOOCs เพื่อนำไปส่กู ารสรา้ งนวตั กรรมในการทำงาน W5O7 พฒั นาระบบในการจดั ซอื้ จดั จา้ ง เพอ่ื ลดขั้นตอนและเพ่มิ ความคล่องตัวในการปฏิบตั ิงาน W6O1 จัดทำโครงการพลังงานทดแทน โดยร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อลดการใช้พลังงาน เพม่ิ รายไดแ้ ละนำไปสู่การวจิ ยั 18

กลยทุ ธเ์ ชิงปอ้ งกนั (ST/ Maxi-Mini) S4T5 ประสานงานในการพัฒนาหลักสูตร short course เรื่องการลงทุน, entreprenuer, smart farming ทั้งดำเนนิ การเองและรว่ มมอื กบั สถาบนั การศกึ ษาในตา่ งประเทศ S1T3 จัดทำโครงการพลังงานทดแทน โดยร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อลดการใช้พลังงาน เพมิ่ รายได้และนำไปสู่การวจิ ยั S3T8 สร้าง partnership ร่วมกับโรงเรียนเป้าหมายในการจัดการเรียนที่เชื่อมโยงกับคณะวิชาของมหาวิทยาลัย เชือ่ มโยงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน S3T5 ประสานงานในการพฒั นาหลักสูตร upskill/reskill สำหรบั Gen Z S3T6 สร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่มีทุนสนับสนุนการแลกเปลี่ยน exchange students, exchange faculty members & staffs S2T3 ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตร smart farmer คลินิก เทคโนโลยี onsite (ทำเอง) และบูรณาการ การถา่ ยทอดความรู้รว่ มกบั คณะวิชา เชน่ ดา้ น smart farming, เกษตรปลอดภยั S4T4 พัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรด้วย technology และพัฒนาบุคลากรด้าน technology ผา่ น hybrid learning, MOOCs กลยุทธ์เชงิ รับ (WT/ Mini-Mini) W6T8 ประสานงานในการพฒั นาหลักสตู ร short course เพื่อพัฒนาความเขม้ แข็งให้กับชุมชน W6T2 ประสานงานในการพัฒนาหลักสูตร upskill/reskill การดูแลสุขภาพ well-being พัฒนาทักษะ สำหรับ ผสู้ ูงอายุ และศษิ ย์เก่า W3T5 พัฒนา co-working space สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ที่น่าประทับใจ ผ่านการรว่ มมอื กบั ภาคธรุ กิจ เอกชน W6T7 พัฒนาตลาดชมุ ชน เพ่ือสร้างความสมั พนั ธแ์ ละสนับสนนุ ชุมชน W3T3 ปรับเปลี่ยนครุภัณฑ์ที่ไม่ประหยัดพลังงานในอาคาร เช่น ระบบเครื่องปรับอากาศ โดยทำเป็นโครงการ ตวั อย่าง/ตน้ แบบดา้ นอนุรกั ษพ์ ลงั งาน W2T1 ปรบั เปล่ียนการประชาสัมพันธโ์ ดยใช้ influencer แนะนำหลักสูตร ผลิตภณั ฑ์ บริการ และวทิ ยาเขต W2T4 พฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม่จากงานวจิ ัยของคณะวิชา W1T1 ประสานงานในการสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เพื่อพัฒนาหลักสูตรร่วมกัน หรอื อบรมในต่างประเทศ (study tour) W2T5 สรา้ งสมั พันธ์กับกลมุ่ โรงเรียน เพ่อื ประชาสมั พนั ธห์ ลกั สตู ร 19

แผนยทุ ธศาสตร์ สำนักงานวิทยาเขต กำแพงแสน ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 – 2569 20

21

แผนยุทธศาสตร์สำนกั งานวทิ ยาเขตกำแพงแสน ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 – 2569 22

23

24

25

แผนที่ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Map) 26

27

ยทุ ธศาสตร์ สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 - 2569 วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 วัตถปุ ระสงค์เชิงยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ยกระดบั การสร้างประสบการณก์ ารเรียนร้ตู ลอดชีวติ สง่ เสรมิ การบูรณาการการวิจยั และบรกิ ารวชิ าการรว่ มกับเครือข่ายวจิ ัย ผา่ นนวตั กรรมการศกึ ษาและเครือข่ายความรู้ เพ่อื สร้างความเข้มแข็งใหก้ ับชมุ ชนและความผาสุกของสังคม กลยุทธ์ที่ 1 สร้าง partnership ร่วมกับโรงเรียนเป้าหมายในการ กลยุทธ์ที่ 1 สง่ เสริมความรว่ มมอื ของคณะวิชา องคก์ รภายนอก จัดการเรียนที่เชื่อมโยงกับคณะวิชาของมหาวิทยาลัย เชื่อมโยง (รัฐ/เอกชน) ในการวิจัย/บริการวิชาการด้านเกษตร สุขภาพ ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและความ ผาสุกของสงั คม 1.1 สรา้ งความร่วมมือกับโรงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย (เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา) 1.1 ศนู ย์ประสานงานดา้ นวจิ ยั และบริการวิชาการแบบเบด็ เสรจ็ กลยุทธ์ที่ 2 ประชาสัมพันธ์หลักสูตร ผลิตภัณฑ์ วิทยาเขตผ่านช่องทาง (One stop service) 1.2 สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกและชุมชนเพ่ือ online, social media เพ่อื สรา้ งการรับรู้ และเข้าถึงกล่มุ เป้าหมาย ขยายเครือข่ายความร่วมมือ 2.1 สร้างนวัตกรรมการประชาสัมพนั ธ์รูปแบบใหม่ที่มคี วามทันสมัยด้านหลักสูตรและ ผลติ ภณั ฑเ์ พื่อเพ่มิ ชอ่ งทางในการประชาสมั พันธ์ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและเผยแพร่งานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และงานสร้างสรรค์ 2.2 ส่งเสริมการตลาดเพอื่ สร้างการรับรู้ และเขา้ ถึงกลมุ่ เป้าหมาย 2.1 คลินกิ ใหค้ ำปรกึ ษาการตีพมิ พว์ ารสารนานาชาติ 2.2 สนบั สนุนการนำเสนอและผลงานตพี มิ พ์ระดบั นานาชาติ กลยทุ ธ์ท่ี 3 สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ของคณะวิชาและสถาบันการศึกษา ในต่างประเทศในการพฒั นาหลกั สตู ร short course, reskill, upskill กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและส่ิงสนับสนุน ที่ตอบสนองผู้เรียนในปัจจุบัน เช่น การลงทุน, entrepreneur, การผลิตงานวิจยั smart farming 3.1 พฒั นาศกั ยภาพ cluster นกั วจิ ัย 3.2 การพัฒนาชดุ วิชา EndNote Basic ในรปู แบบ MOOC 3.1 สง่ เสรมิ การพฒั นาหลกั สตู รรว่ มกับคณะวิชาและสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3.2 รว่ มมอื พฒั นาหลักสตู รการอบรม startup power กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.3 เสริมสร้างกระบวนการพัฒนาบัณฑิตสู่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้านนวัตกรรม ชมุ ชนและสังคมให้เกดิ ความเขม้ แขง็ อยา่ งยั่งยนื 4.1 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกและชุมชน การเกษตร สุขภาพและสงิ่ แวดล้อม เมอื งกำแพงแสน กลยุทธ์ที่ 4 สร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 4.2 คลินกิ เทคโนโลย/ี ออกหน่วยชมุ ชนนำงานวิจยั ไปเผยแพรส่ ูช่ ุมชน ที่มีทุนสนับสนุนการแลกเปลี่ยน exchange students, exchange faculty members & staffs กลยุทธ์ที่ 5 ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่สร้าง ประโยชน์ให้ชุมชนตาม SDGs 4.1 สนบั สนนุ นสิ ิตแลกเปลีย่ นทเี่ ป็น Inbound & Outbound 5.1 การถา่ ยทอดองคค์ วามรบู้ รกิ ารวิชาการ ด้านการเกษตร 4.2 สนบั สนุนอาจารย์แลกเปลีย่ นท่เี ป็น Inbound & Outbound 5.2 พฒั นาเพือ่ สรา้ งความสมั พันธ์ พฒั นาตลาดชมุ ชน และ 4.3 การสรา้ งความสัมพนั ธ์และประสานงานการแลกเปลยี่ นนสิ ิตกับมหาวิทยาลัยคูส่ ญั ญา 4.4 การประเมนิ ทกั ษะดา้ นภาษาใหก้ ับนสิ ติ สนับสนุนชุมชน กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนา Learning space & Learning environment เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมในการ เรียนรู้ที่น่าประทับใจ ผ่านการร่วมมือกับภาคธุรกิจ เอกชน 5.1 จดั ทำ Learning space ภายในอาคารเรียน/หอ้ งสมุด 5.2 จัดทำ Learning environment และส่งเสริมการพัฒนาสภาพแวดล้อม และการสร้าง คุณภาพชีวิต กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาสภาพแวดล้อมและระบบการบริหารจัดการ ทส่ี นับสนนุ การสรา้ งคณุ ชวี ิตท่ีดี 6.1 การสง่ เสรมิ คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของนิสติ และบุคลากร 6.2 การสร้างและพฒั นาความสมั พนั ธ์กับนิสติ 6.3 บริการทรัพยากรคดั สรรสำหรับการเรียนการสอน Non-Degree 6.4 พฒั นาสื่อการเรียนรูเ้ ชิงรกุ (Create Active Learning) 6.5 เปิดประสบการณ์การเรยี นรดู้ ว้ ยเทคโนโลยรี ปู แบบใหม่ 6.6 โครงการส่งนักกีฬาเขา้ ร่วมการแข่งขนั ในระดบั ตา่ ง ๆ ของนิสติ และบคุ ลากร 6.7 โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพสำหรบั นสิ ติ และบคุ ลากร 6.8 โครงการเดินวงิ่ เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน 6.9 โครงการขับเคลอื่ นแผนยทุ ธศาสตร์การสง่ เสรมิ และพัฒนากฬี า 6.10 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อขอรับการประเมินจากสถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล กลยุทธ์ที่ 7 เสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต มก. และตรงตามความตอ้ งการของตลาดงานและผใู้ ช้บัณฑติ 7.1 เสรมิ สรา้ งทกั ษะเพ่ือพัฒนาผ้ปู ระกอบการรนุ่ ใหม่ 7.2 ส่งเสริมหลกั คดิ ทักษะทางวิชาการและวชิ าชีพ 28

ยทุ ธศาสตร์ สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2566 – 2569 วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ที่ 3 วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ยกระดบั การสร้างประสบการณก์ ารเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ยกระดับการสร้างประสบการณก์ ารเรียนรตู้ ลอดชีวิต ผ่านนวัตกรรมการศึกษาและเครือข่ายความรู้ ผ่านนวัตกรรมการศึกษาและเครอื ขา่ ยความรู้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาบุคลากรด้าน technology ผ่าน hybrid กลยุทธ์ที่ 1 ผลักดันให้มีการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพ learning, MOOCs มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) 1.1 พัฒนาและส่งเสริมบุคลากรด้านการใช้โปรแกรมพื้นฐาน 1.1 พัฒนาระบบงาน กระบวนการทำงานโดยใช้การบริหาร ในการปฏิบัติงาน (hybrid) แบบ Lean Management 1.2 พัฒนาและส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพื้นฐาน 1.2 พัฒนาระบบบริหารและพัฒนาบุคลากรที่ตอบสนอง ในการปฏบิ ตั งิ าน ทศิ ทางการพฒั นามหาวิทยาลยั (HRM & HRD) 1.3 สร้างระบบพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีและทักษะการ 1.3 ส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรมที่เกิดจากการปรับปรุง ปรับปรงุ งานผ่านระบบ hybrid learning กระบวนงานในหน่วยงาน 1.4 โครงการพฒั นาทกั ษะบรกิ ารทางการพยาบาล กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรด้วย 2.1 ส่งเสริมบุคลากรทุกคนมีความก้าวหน้าในอาชีพ สอดคล้อง technology 2.1 พัฒนาโปรแกรมเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการทำงานภายในสำนกั กบั ค่าตอบแทนและสวสั ดกิ าร 2.2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและ TPM (total preventive 2.2 จดั สรรสวัสดกิ ารตามความต้องการข้นั พ้นื ฐานอย่างเหมาะสม 2.3 การปรับปรุงระบบการบริหารและพัฒนาบุคลากรให้เอ้ือ maintenance) ในการซ่อมบำรุงอาคารสถานที่ 2.3 พัฒนาระบบในการจัดซื้อจัดจ้าง เพื่อลดขั้นตอนและเพิ่ม ต่อการส่งเสรมิ คุณธรรมและจริยธรรม 2.4 การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีคุณธรรม ความคล่องตัวในการปฏบิ ัติงาน 2.4 โครงการพฒั นาระบบฐานข้อมลู ผรู้ บั บรกิ าร จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ 2.5 พัฒนาระบบ KPS Digital Collections 2.6 พฒั นาระบบ Open House KPS’s knowledge Online กลยุทธท์ ี่ 3 สง่ เสริมพฤติกรรมทพี่ ึงประสงคต์ ามคา่ นิยม 3.1 การสร้างแรงจูงใจให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการทำงานและ กลยทุ ธ์ที่ 3 ส่งเสรมิ การแลกเปลีย่ นเรียนรูเ้ พือ่ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ลในการทำงาน ลดช่องวา่ งความแตกต่างของบคุ ลากรทุกกลุม่ 3.1 ส่งเสรมิ และพัฒนา COP เพ่ือการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ภายใน/ 3.2 การสมั มาทิฐิของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน 3.3 การสำนักงานน่าอยู่ น่าดู นา่ มอง ภายนอกสำนักงานวทิ ยาเขตกำแพงแสน 3.2 สง่ เสริมและสนับสนุนการประกวดผลงานจากการจัดการความรู้ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาวิทยาเขตให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (UI GreenMetric) 4.1 ปรับเปลี่ยนครุภัณฑ์ที่ไม่ประหยัดพลังงานในอาคาร เช่น ระบบเครื่องปรับอากาศ โดยทำเป็นโครงการตัวอย่าง/ ตน้ แบบด้านอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 4.2 ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน โดยร่วมมือกับหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน เพื่อลดการใช้พลังงาน เพิ่มรายได้ และ นำไปสกู่ ารวิจัย 4.3 โครงการเพม่ิ พน้ื ท่ีปลูกต้นไม้เพอ่ื ขายเป็น carbon credit 4.4 ประยุกต์ใช้พลังงานทดแทนในการปฏิบัติงานและเชิงพาณิชย์ เช่น พัฒนารถไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ พัฒนาระบบสูบน้ำพลังงาน แสงอาทิตย์ โดรนเพ่ือการเกษตร หุน่ ยนต์ตัดหญ้า 29

เปา้ ประสงค์ เชิงกลยุทธ์ STRATEGIC GOAL 30

วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ยกระดบั การสรา้ งประสบการณ์การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ผา่ นนวตั กรรมการศึกษาและเครอื ข่ายความรู้ Leverage life-long learning experience through innovative education and knowledge network. เปา้ ประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ หนว่ ย เป้าหมายตัวชี้วัด 2566 2567 2568 2569 1. ร้อยละของบัณฑิตที่มีทักษะตรงตามความ ร้อยละ 40 60 80 80 ตอ้ งการของผใู้ ช้บัณฑติ 2. ร้อยละของบัณฑิตมีทักษะ Entrepreneur รอ้ ยละ 40 60 80 80 ระดับ 3 3. ระดับความพึงพอใจโดยรวมของผู้เรียนต่อ ค่าเฉลยี่ ≥ 3.90 ≥ 4.00 ≥ 4.10 ≥ 4.20 สภาพแวดล้อมในการเรยี นรู้ 4. ระดับการแนะนำบอกต่อในประสบการณ์ที่ดี คา่ เฉลย่ี ≥ 3.90 ≥ 4.00 ≥ 4.10 ≥ 4.20 ในสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ที่วิทยาเขต กำแพงแสน 5. ระดับความเป็นนานาชาติของวิทยาเขต องคป์ ระกอบ 2 4 5 - กำแพงแสน (จำนวน 5 องค์ประกอบ) 31

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยุทธท์ ่ี 2 ส่งเสริมการบูรณาการการวิจัยและบริการวิชาการร่วมกับเครือข่ายวิจัย เพ่ือสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนและความผาสุกของสังคม Promote integrated solutions to complex issues to strengthen communities and societal well-being through collaborative research network. เป้าประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ หน่วย เปา้ หมายตัวชี้วดั ค่าเฉลย่ี 2566 2567 2568 2569 1. ระดบั ความพึงพอใจต่อการบรกิ ารด้านการวิจัย ≥ 3.51 ≥ 3.61 ≥ 3.71 ≥ 3.81 และการบรกิ ารวิชาการ คา่ เฉลี่ย 2. ค่าเฉลี่ย Social Return on Investment ≥1:1 ≥1:2 ≥1:3 ≥1:4 (SROI) จากการบริการวิชาการเพื่อชุมชนและ สงั คม 32

วัตถุประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มขีดความสามารถและความสามารถในการฟ้ืนตัวขององค์กรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม Drive up organizational capability and organizational resilience through technology and innovation. เปา้ ประสงค์เชงิ กลยุทธ์ หน่วย เปา้ หมายตัวชี้วัด 2566 2567 2568 2569 1. รอ้ ยละของบคุ ลากรมที กั ษะด้านเทคโนโลยี ร้อยละ 40 60 80 100 2. จำนวนนวัตกรรมที่เกิดจากการปรับปรุง กระบวนการ ≥ 6 ≥ 8 ≥ 10 ≥ 12 กระบวนการหรือได้รับการพัฒนาปรับปรงุ /นวัตกรรม 3. ระดับความพึงพอใจของนิสิตในด้านความปลอดภยั ค่าเฉลย่ี ≥ 4.40 ≥ 4.50 ≥ 4.60 ≥ 4.70 พน้ื ท่สี ีเขยี ว สภาพแวดลอ้ ม 4. ร้อยละความสำเร็จของการจัดกิจกรรม รอ้ ยละ 80 100 100 100 ที่ตอบสนองต่ออันดับการจัด UI Green Metric ระดบั ประเทศของมหาวิทยาลัย มีคะแนนมากกว่า ≥ 90 5. การลดต้นทุนการใช้ทรัพยากรด้านพลังงานใน รอ้ ยละ 20 30 40 50 การดำเนินการลดลง เม่อื เทียบกับปีฐาน 6. มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการบริหารจัดการทรัพยากร รอ้ ยละ >1.5% >1.5% >1.5% >1.5% ของสำนกั งานวทิ ยาเขตกำแพงแสน 33

วัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ที่ 4 เสริมสรา้ งวัฒนธรรมองค์กรท่ีมุ่งเน้นความเป็นเลิศและคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเพ่ิมความได้เปรยี บ ในการแข่งขนั อย่างยัง่ ยืน Build-up High-Performing culture and good governance to accelerate sustainable competitive advantage เปา้ ประสงค์เชิงกลยุทธ์ หนว่ ย เป้าหมายตัวช้ีวดั คะแนน 2566 2567 2568 2569 1. ผลการประเมินในระบบคุณภาพมหาวิทยาลัย 210 230 250 270 เกษตรศาสตร์ (KUQS) ของสำนักงานวิทยาเขต คา่ เฉลี่ย กำแพงแสน ≥ 3.90 ≥ 4.00 ≥ 4.10 ≥ 4.20 2. ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากร ร้อยละ ที่มีความก้าวหน้าในอาชีพ ต่อค่าตอบแทนและ 100 100 100 100 สวสั ดกิ าร คา่ เฉลี่ย 3. บุคลากรที่เข้าสู่ตำแหนง่ ทางวิชาชพี /วชิ าการ ใน รอ้ ยละ ≥ 3.90 ≥ 4.00 ≥ 4.10 ≥ 4.20 ระดับของผู้ปฏิบัติการ/งาน สู่ระดับชำนาญการ/ รอ้ ยละ 100 100 100 100 งาน ร้อยละ 100 ภายในระยะเวลา 4 ปี นับตั้งแต่ 60 80 80 100 ได้รบั เข้าบรรจุ 4. ระดบั ความพงึ พอใจและความผกู พันองค์กร 5. ร้อยละ 100 ของบุคลากรไมผ่ ิดจรรยาบรรณ 6. ร้อยละของบุคลากรได้รบั การพฒั นาตามค่านยิ ม 34

โครงการ/กจิ กรรม ขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ ACTION PLAN 35

โครงการ/กจิ กรรม ขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยุทธท์ ่ี 1 ยกระดบั การสรา้ งประสบการณ์การเรียนรูต้ ลอดชีวิตผ่านนวตั กรรมการศึกษาและเครอื ข่ายความรู้ Leverage life-long learning experience through innovative education and knowledge network. โครงการ/กิจกรรม ตัวช้วี ัด หน่วยนบั เปา้ หมายตวั ช้วี ดั ผูร้ บั ผิดชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ 1. สร้างความร่วมมือกับโรงเรียน ร้อยละโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 5 10 15 20 กลุ่มเปา้ หมาย (เขตพ้นื ที่การศกึ ษา ที่สมัครเข้าศึกษาต่อเฉพาะเขต มัธยมศึกษาเขต 5 (สิงห์บุรี ลพบุรี ที่รับผิดชอบเพิ่มขึ้น (จากปีฐาน อ่างทอง ชัยนาท) มัธยมศึกษาเขต 8 2565) (ราชบุรี กาญจนบุรี) มัธยมศึกษาเขต 9 (สพุ รรณบุรี นครปฐม) รวม 8 จังหวดั 2. สร้างนวัตกรรมการประชา- 1. ร้อยละการสมัครจาก รอ้ ยละ 5 5 10 10 งานบริการ สัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่มีความ โรงเรียนทท่ี ำ MOU เพมิ่ มากขน้ึ 6,000 6,500 7,000 7,500 การศึกษา ทันสมัย ด้านหลักสูตร และ 2. จำนวน enrollment นักเรียน คน กองบรหิ าร ผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มช่องทาง ใหมผ่ า่ น digital platform การศกึ ษา ในการประชาสัมพนั ธ์ 3. ส่งเสริมการตลาดเพื่อสร้าง 1. จำนวนนักเรียนที่เข้าศกึ ษา คน 16,000 16,500 17,000 17,500 การรบั รู้ และเข้าถึงกล่มุ เปา้ หมาย ต่อเพิ่มมากข้ึน 2. ร้อยละ enrollment จาก ร้อยละ 5 10 15 20 การแนะนำบอกต่อ (referral rate) 4. ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร ร้อยละของนิสิตที่เข้าร่วม ร้อยละ 8 12 16 20 ร่วมกับคณะวิชาและสถาบัน โครงการ/กิจกรรมผู้ประกอบการ การศกึ ษาในตา่ งประเทศ รุ่นใหมต่ อ่ จำนวนนิสติ ท้ังหมด 5. ร่วมมือพัฒนาหลักสูตรการ จำนวนหลกั สูตรการอบรม จำนวน 2 3 4 5 กองบริหาร อบรม startup power กจิ การนสิ ติ 6. เสริมสร้างกระบวนการ ร้อยละของจำนวนบัณฑิต รอ้ ยละ 4 6 10 16 พัฒนาบัณฑิตสู่ผู้ประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการสามารถ รุ่นใหม่ ดา้ นนวตั กรรม การเกษตร เป็นผูป้ ระกอบการรนุ่ ใหม่ สุขภาพและส่ิงแวดลอ้ ม 7. สนับสนุนนิสิตแลกเปลี่ยน 1. จำนวนนิสิตแลกเปลี่ยนที่เปน็ คน 10 15 20 25 งานวิเทศ ท่ีเปน็ Inbound & Outbound Inbound (รวมทั้งนิสิตในระดับ คน 10 15 ประชาสมั พนั ธ์ และชมุ ชน ปริญญาตรี และบัณฑติ ศกึ ษา) 20 25 สมั พันธ์ 2. จำนวนนิสิตแลกเปลี่ยนที่เปน็ Outbound (รวมทง้ั นสิ ติ ในระดบั กองบริหารทั่วไป ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา) 36

โครงการ/กจิ กรรม ตวั ชี้วดั หนว่ ยนบั เปา้ หมายตัวช้วี ัด ผู้รบั ผดิ ชอบ 2566 2567 2568 345 2569 โครงการ 246 8. สนับสนุนอาจารยแ์ ลกเปล่ียน ร้อยละของอาจารย์แลกเปลี่ยน ร้อยละ >10 >10 >15 6 งานวิเทศ ทเี่ ปน็ Inbound & Outbound ที่เป็น Inbound ต่ออาจารย์ 1 >1 >2 ประชาสมั พนั ธ์ และชุมชน ประจำทั้งหมด 1 >1 >2 สมั พนั ธ์ 9. การสร้างความสัมพันธ์และ จำนวน MOU การแลกเปลย่ี น จำนวน >6 >7 >8 8 ประสานงานการแลกเปลี่ยน นิสติ กบั มหาวิทยาลยั คูส่ ัญญา นสิ ิตกับมหาวทิ ยาลยั คสู่ ัญญา >6 >7 >8 กองบรหิ ารทั่วไป 345 10. การประเมินทักษะด้าน ร้อยละของนิสิตปริญญาตรีท่ี ร้อยละ 369 >15 กองบริหาร ภาษาใหก้ บั นสิ ติ ผา่ นเกณฑภ์ าษาองั กฤษ ระดบั B2 การศกึ ษา 122 11. จัดทำ Learning space จำนวนพื้นท่ี LP จำนวน 3.90 4.00 4.10 >3 กองบริหาร ภายในอาคารเรียน / ห้องสมดุ กจิ การนสิ ติ และ สำนักงานบริหาร 12. จัดทำ L e a r n i n g จำนวนพื้นที่ LP จำนวน จดั การทรัพยากร environment และส่งเสริม การเรยี นรู้ การพัฒนาสภาพแวดล้อมและ การสรา้ งคุณภาพชีวติ >3 กองบริการกลาง และสำนกั งาน 13. การส่งเสริมคุณภาพชีวิต 1. ระดับความผูกพันของ ระดบั บรหิ ารจดั การ และความเป็นอยู่ของนิสิตและ บุคลากรที่มีต่อสำนักงาน ทรัพยากรการ บุคลากร วิทยาเขตกำแพงแสน โดย เรยี นรู้ ใช้เคร่อื งมือ NPS >9 งานบรหิ าร 2. ระดับความผูกพันของนิสิต ระดบั ทรัพยากรบุคคล ที่มีต่อสำนักงานวิทยาเขต และนิติการ กำแพงแสน โดยใชเ้ ครือ่ งมอื NPS กองบริหารท่วั ไป 14. การสร้างและพัฒนาความ ร้อยละของการมาเรียนต่อเนื่อง รอ้ ยละ >9 สมั พันธก์ บั นิสิต ของกลมุ่ ผเู้ รยี น ReSkill/UpSkill กองบรหิ าร 6 กจิ การนิสติ 15. บริการทรัพยากรคัดสรร จำนวนรายวิชาในหลักสูตร จำนวน 12 งานบริการ สำหรับการเรียนการสอน Non- Non-Degree ที่เปิดการเรียน ทรัพยากรการ Degree การสอนในวทิ ยาเขตกำแพงแสน เรียนรู้ สำนกั งาน มีชุดทรัพยากรสารสนเทศ บริหารจดั การ ในการใหบ้ รกิ าร ทรพั ยากรการ เรยี นรู้ 16. พัฒนาสื่อการเรียนรู้เชิงรุก จำนวนสื่อการเรียนรู้รูปแบบ จำนวน (Create Active Learning) ใหม่ 2 งานสนบั สนนุ 17. เปดิ ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระดับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ คา่ เฉลยี่ การเรยี นรู้ ดว้ ยเทคโนโลยีรปู แบบใหม่ ต่อกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.20 ตลอดชีวติ สำนักงานบรหิ าร จัดการทรพั ยากร การเรยี นรู้ 37

โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วดั หน่วยนับ เปา้ หมายตวั ช้ีวัด ผรู้ ับผดิ ชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ 18. โครงการส่งนักกีฬาเข้าร่วม จำนวนรางวัลระดบั มหาวิทยาลัย รางวลั >2 >3 >4 >5 การแข่งขันในระดับต่าง ๆ ของ ขนึ้ ไป นสิ ติ และบุคลากร 19. โครงการส่งเสริมสุขภาพ จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริม กิจกรรม >8 >1 >1 >1 กองบริหาร สำหรบั นสิ ติ และบุคลากร สขุ ภาพ 0 2 4 การกฬี า 20. โครงการเดนิ ว่งิ เกษตรศาสตร์ จำนวนผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม คน >4,000 >5,000 >6,000 >7,000 ทอ่ งเทีย่ ว และ กำแพงแสน ศลิ ปวฒั นธรรม 21. โครงการขับเคลื่อนแผน จำนวนกิจกรรม กจิ กรรม >8 >10 >12 >14 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ พฒั นากีฬา 22. พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ร้อยละระบบงานที่ได้รับการ ร้อยละ 20 40 50 70 สถานพยาบาล เพื่อขอรับการประเมินจากสถาบัน พัฒนา มหาวิทยาลยั รับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล เกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน 23. เสริมสร้างทักษะเพื่อพัฒนา จำนวนโครงการ/กิจกรรม จำนวน 2 4 6 8 ผูป้ ระกอบการรนุ่ ใหม่ เสริมหลักสูตรที่มีการส่งเสริม ให้ผู้เรียนมคี วามรดู้ ้านการเป็น ผู้ประกอบการและ/หรือนำไป พฒั นาสร้างรายไดร้ ะหว่างเรยี น กองบรหิ าร กจิ การนิสติ 24. ส่งเสริมหลักคิดทักษะทาง จำนวนโครงการ/กิจกรรม จำนวน 2 4 6 8 วิชาการและวิชาชพี เสริมหลักคิดทักษะทาง วชิ าการและวิชาชพี 38

วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธท์ ่ี 2 ส่งเสริมการบูรณาการการวิจัยและบริการวิชาการร่วมกับเครือข่ายวิจัย เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนและความผาสุกของสังคม Promote integrated solutions to complex issues to strengthen communities and societal well-being through collaborative research network. โครงการ/กจิ กรรม ตัวช้วี ดั หนว่ ยนบั เปา้ หมายตวั ชี้วัด ผ้รู บั ผดิ ชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ 1. ศูนย์ประสานงานด้านวิจัย ร้อยละความสำเร็จของแผน รอ้ ยละ 50 80 100 - กองบรหิ าร และบริการวิชาการแบบเบด็ เสร็จ จดั ตั้ง การวิจัยและ (One stop service) บรกิ ารวิชาการ 2. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน จำนวนเครือขา่ ยทเี่ พม่ิ ข้นึ จำนวน 1 2 3 4 กองบรหิ าร ภายนอกและชุมชนเพื่อขยาย การกีฬา เครือข่ายความรว่ มมือ ทอ่ งเทย่ี ว และ ศิลปวฒั นธรรม 3. คลินิกให้คำปรึกษาการตีพิมพ์ จำนวนผลงาน ผลงาน 10 15 20 25 กองบรหิ าร วารสารนานาชาติ การวจิ ยั ฯ รว่ มกบั งานวเิ ทศฯ กองบรหิ ารทวั่ ไป 4. สนับสนุนการนำเสนอและ จำนวนโครงการที่ได้รับทุน จำนวน 10 15 20 25 กองบรหิ าร ผลงานตีพมิ พ์ระดับนานาชาติ สนับสนนุ การวิจัยและ บริการวิชาการ 5. พัฒนาศักยภาพ cluster จำนวน Cluster กลมุ่ นกั วจิ ัย จำนวน 3 3 4 4 งานบรหิ าร กลมุ่ นกั วิจัย การวิจัยฯ รว่ มกับ ฝ่ายเครือ่ ง จกั กรกลการ เกษตรแหง่ ชาติ 6. การพัฒนาชุดวิชา EndNote ระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบ คา่ เฉลย่ี ≥3.51 ≥3.61 ≥3.71 ≥3.81 งานบริการ Basic ในรปู แบบ MOOC บรกิ ารที่สนับสนนุ การวิจยั ฯ ทรัพยากรการ เรียนรู้ สำนักงาน บรหิ ารจดั การ ทรพั ยากรการเรยี นรู้ 7. บูรณาการความร่วมมือกับ จำนวน MOU จำนวน 1 2 3 4 กองบรหิ าร หน่วยงานภายนอกและชุมชน การกฬี า เมืองกำแพงแสน ทอ่ งเท่ยี ว และ ศลิ ปวฒั นธรรม 39

โครงการ/กิจกรรม ตัวช้วี ดั หนว่ ยนบั เป้าหมายตัวช้ีวัด ผ้รู ับผิดชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ 8. คลินิกเทคโนโลยี/ออกหน่วย จำนวนชุมชน จำนวน 5 6 7 8 งานบรกิ าร ชุมชนนำงานวิจัยไปเผยแพร่สู่ วิชาการ ชมุ ชน กองบรหิ าร การวจิ ยั และ บริการวิชาการ 9. การถ่ายทอดองค์ความรู้ จำนวนองคค์ วามรู้ จำนวน 2 4 6 8 ฝ่ายเครือ่ ง บริการวชิ าการ ด้านการเกษตร จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม/ขอรับ คน 50 60 70 80 จักรกลการเกษตร บรกิ าร แหง่ ชาติ 10. พัฒนาเพื่อสร้างความสัมพันธ์ ร้อยละความสำเรจ็ ร้อยละ 20 40 60 80 กองบรหิ าร พัฒนาตลาดชุมชน และสนับสนนุ การกฬี า ชุมชน ทอ่ งเท่ยี ว และ ศิลปวฒั นธรรม ร่วมกับกองบริหาร ทรพั ยส์ ิน 40

วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ท่ี 3 เพ่ิมขีดความสามารถและความสามารถในการฟ้ืนตัวขององค์กรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม Drive up organizational capability and organizational resilience through technology and innovation. โครงการ/กิจกรรม ตวั ช้ีวดั หน่วยนบั เป้าหมายตวั ชี้วดั ผู้รบั ผิดชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ 1. พัฒนาและส่งเสริมบุคลากร ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการ ร้อยละ 40 60 80 100 งานบริหาร ด้านการใช้โปรแกรมพื้นฐาน พัฒนาความรูด้ า้ นเทคโนโลยี ทรพั ยากรบคุ คลฯ ในการปฏบิ ตั งิ าน (hybrid) รว่ มกบั งาน เทคโนโลยี สารสนเทศ 2. พัฒนาและส่งเสริมการ จำนวนกระบวนการที่ปรับปรุง กระบวนการ ≥6 ≥8 ≥10 ≥12 งานเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพื้นฐาน โดยเทคโนโลยี สารสนเทศ ในการปฏบิ ัตงิ าน /นวตั กรรม กองบริการกลาง 3. สร้างระบบพัฒนาบุคลากร ร้อยละความสำเร็จของการ รอ้ ยละ 20 40 60 100 งานบรหิ าร ด้านเทคโนโลยีและทักษะการ สรา้ งระบบ ทรัพยากรบคุ คลฯ ปรับปรุงงานผ่านระบบ hybrid รว่ มกบั learning งานเทคโนโลยี สารสนเทศ 4. โครงการพัฒนาทักษะบริการ จำนวนบุคลากรที่ได้รับการ คน 2 3 4 5 สถานพยาบาล ทางการพยาบาล อบรมทักษะเฉพาะทางทางการ มหาวทิ ยาลยั พยาบาล เกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน 5. พัฒนาโปรแกรมเพื่อเพิ่ม จำนวนโปรแกรม จำนวน ≥6 ≥8 ≥10 ≥12 งานเทคโนโลยี ประสิทธิภาพในการทำงาน สารสนเทศ ภายในสำนัก กองบรกิ ารกลาง 6. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและ มีผลิตภัณฑ์ที่เสียหาย หรือ จำนวน 0 0 0 0 งานอาคารและ TPM (total preventive maintenance) ไม่ได้คุณภาพเป็นศูนย์ (Zero สถานท่ี ในการซ่อมบำรงุ อาคารสถานท่ี defects) กองบริการกลาง 7. พัฒนาระบบในการจัดซื้อ ร้อยละความสำเร็จของการ ร้อยละ 20 40 60 100 งานคลังและพสั ดุ จัดจ้าง เพื่อลดขั้นตอนและเพ่ิม สรา้ งระบบ กองบรหิ ารทวั่ ไป ความคลอ่ งตวั ในการปฏบิ ัติงาน 8 . โ ค ร ง ก า ร พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ร้อยละความสำเร็จการพัฒนา รอ้ ยละ 20 40 60 100 สถานพยาบาล ฐานขอ้ มูลผ้รู บั บรกิ าร ระบบฐานข้อมูล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต กำแพงแสน 41

โครงการ/กิจกรรม ตวั ชว้ี ัด หน่วยนับ เปา้ หมายตัวชี้วดั ผู้รับผิดชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ 9. พัฒนาระบบ KPS Digital ร้อยละความสำเร็จของการ ร้อยละ 20 40 60 100 งานพฒั นา Collections สร้างระบบ ทรพั ยากร สารสนเทศ สำนกั งานบริหาร จดั การทรพั ยากร การเรยี นรู้ 10. พฒั นาระบบ Open House ร ้ อ ย ล ะ ค ว า ม ส ำ เ ร ็ จ ก า ร รอ้ ยละ 20 40 60 100 งานสนับสนุนการ KPS’s knowledge Online ใหบ้ รกิ ารของระบบ เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต สำนักงานบริหาร จดั การทรพั ยากร การเรยี นรู้ 11. ส่งเสริมและพัฒนา COP จำนวน Best Practices ที่เกิด แนวปฏิบัติ 5 10 15 20 เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการปรับปรุงกระบวนการ ภายใน/ภายนอกสำนักงาน ในหนว่ ยงาน 28 32 36 งานบรหิ าร วทิ ยาเขตกำแพงแสน ทรัพยากรบคุ คล 12. ส่งเสริมและสนับสนุนการ จำนวนแนวปฏิบัติที่ดีที่ได้รับ แนวปฏิบตั ิ 24 ประกวดผลงานจากการจัดการ รางวัลในระดับมหาวิทยาลัย และนติ กิ าร กองบรหิ ารทัว่ ไป ความรู้ หรือระดับประเทศ 13. ปรับเปลี่ยนครุภัณฑ์ที่ไม่ จำนวนการปรับเปลี่ยนครุภัณฑ์ จำนวน 5 10 15 20 งานอาคารและ ประหยัดพลังงานในอาคาร เช่น ที่ไมป่ ระหยัดพลังงาน สถานท่ี ระบบเครื่องปรับอากาศ โดยทำ กองบริการกลาง เป็นโครงการตัวอย่าง/ต้นแบบ ด้านอนุรกั ษพ์ ลงั งาน 14. ส่งเสริมการใช้พลังงาน 1. จำนวน MOU ส่งเสริมการ จำนวน 1 2 3 4 ทดแทน โดยร่วมมือกับหน่วยงาน ใช้พลงั งานทดแทน ภาครัฐและเอกชน เพื่อลดการ 2. จำนวนงานวิจัยในด้านการ จำนวน 1 2 3 4 กองบริการกลาง ใช้พลังงาน เพิ่มรายได้และ อนรุ ักษพ์ ลังงาน นำไปสกู่ ารวจิ ัย 15. โครงการเพิ่มพื้นที่ปลูกต้นไม้ จำนวนพน้ื ทป่ี ลกู ตน้ ไม้เพมิ่ ขน้ึ ไร่ 20 40 60 80 งานยานพาหนะและ เพ่ือขายเปน็ carbon credit ภูมทิ ัศน์ กองบริการกลาง 16. ประยุกต์ใช้พลงั งานทดแทน จำนวนโปรแกรมใช้พลังงาน จำนวน 1 2 3 4 กองบริการกลาง ในการปฏิบัติงานและเชิงพาณิชย์ ทดแทนในการปฏบิ ตั ิงาน เช่น พัฒนารถไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ พัฒนาระบบสูบน้ำพลังงาน แสงอาทิตย์ โดรนเพื่อการเกษตร หุ่นยนต์ตัดหญ้า 42

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยุทธท์ ่ี 4 เสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองค์กรท่ีมงุ่ เนน้ ความเปน็ เลิศและคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเพอ่ื เพมิ่ ความได้เปรยี บ ในการแข่งขันอยา่ งย่ังยนื Build-up High-Performing culture and good governance to accelerate sustainable competitive advantage โครงการ/กิจกรรม ตวั ช้ีวดั หนว่ ยนบั เป้าหมายตวั ชีว้ ัด ผรู้ ับผิดชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ 1. พัฒนาระบบงาน/กระบวนการ จำนวนการปรบั ปรุงกระบวนการ กระบวนการ ≥6 ≥8 ≥10 ≥12 งานยุทธศาสตร์และ ทำงานโดยใช้การบริหารแบบ หรือไดร้ ับการพัฒนาปรบั ปรุง พัฒนาคณุ ภาพ Lean Management กองบรหิ ารทว่ั ไป 2. พัฒนาระบบบริหารและ ร้อยละความสำเร็จของการ รอ้ ยละ 20 40 60 100 งานบริหาร พัฒนาบุคลากรที่ตอบสนอง สรา้ งระบบ ทรัพยากรบคุ คล ทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย และนิตกิ าร (HRM & HRD) กองบริหารท่วั ไป 3. ส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรม จำนวนนวัตกรรมที่เกิดจาก กระบวนการ ≥6 ≥8 ≥10 ≥12 กองบรหิ ารทวั่ ไป ท่ีเกดิ จากการปรบั ปรุงกระบวนงาน การปรับปรุงกระบวนการ ในหนว่ ยงาน ในหนว่ ยงาน 4. ส่งเสริมบุคลากรทุกคนมี บุคลากรที่เข้าสู่ตำแหน่งทาง รอ้ ยละ 100 100 100 100 ความก้าวหน้าในอาชีพสอดคล้อง วิชาชีพ/วิชาการ ในระดับของ กับค่าตอบแทนและสวสั ดกิ าร ผู้ปฏิบัติการ/งาน สู่ระดับชำนาญ การ/งาน ร้อยละ 100 ภายใน ระยะเวลา 4 ปี นับตั้งแต่ ไดร้ บั เขา้ บรรจุ 5. จัดสรรสวัสดิการตามความ ผลการประเมินความพึงพอใจ คา่ เฉลี่ย ≥3.90 ≥4.00 ≥4.10 ≥4.20 งานบริหาร ต้องการขน้ั พ้ืนฐานอยา่ งเหมาะสม ของบุคลากรที่มีความก้าวหน้า ทรัพยากรบคุ คล ในอาชีพ ต่อค่าตอบแทนและ และนิติการ สวสั ดกิ าร กองบรหิ ารทว่ั ไป 6. การปรับปรุงระบบการบริหาร จำนวนการปรับปรุงกระบวนการ กระบวนการ ≥2 ≥4 ≥6 ≥8 และพัฒนาบุคลากรให้เอื้อต่อ หรอื ไดร้ ับการพัฒนาปรบั ปรงุ การส่งเสริมคุณธรรม และ จริยธรรม 7. การส่งเสริมและพัฒนา จำนวนผู้นำต้นแบบ ด้าน คน 1234 บุคลากรทุกระดับให้มีคุณธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คน ≥6 ≥8 ≥10 ≥12 จริยธรรม และจรรยาบรรณ มกี ิจกรรมที่สำคัญ จำนวนบุคลากรที่ได้รับการ ยกย่องเชดิ ชเู กียรติ 43

โครงการ/กจิ กรรม ตวั ช้ีวัด หนว่ ยนบั เปา้ หมายตวั ช้วี ัด ผู้รับผิดชอบ 2566 2567 2568 2569 โครงการ งานบริหาร 8. การสร้างแรงจูงใจให้เกิด ร้อยละของบุคลากรได้รับ ร้อยละ 60 80 80 100 ทรัพยากรบคุ คล ผลสัมฤทธิ์ในการทำงานและ การพฒั นาตามค่านยิ ม และนติ กิ าร ลดช่องว่างความแตกต่างของ กองบริหารทั่วไป บุคลากรทกุ กลุ่ม งานอำนวยการ กองบรหิ ารท่ัวไป 9. การสัมมาทิฐิของสำนักงาน จำนวนกจิ กรรม กิจกรรม 2 4 6 8 วทิ ยาเขตกำแพงแสน 10. การสร้างสำนักงานน่าอยู่ จำนวนกจิ กรรม กิจกรรม 2 4 6 8 นา่ ดู นา่ มอง 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook