ตัวชวี้ ดั ที่ 6 : ร้อยละของโครงการนวตั กรรมท่ไี ดร้ ับรางวลั ตอ่ โครงการนวัตกรรมท้ังหมด หนว่ ยวดั : ร้อยละ กลมุ่ ตวั ช้ีวัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 15 20 25 ผกู้ ำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝ่ายวิจยั นวัตกรรม และวิเทศสัมพันธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทับทิมทอง คำอธิบำย : แสดงถึงความสามารถในการแข่งขันและความเป็นเลิศทางวิชาการ อันเน่ืองจากความสามารถ ในการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ใหเ้ กิดข้ึน นวัตกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงท่ีมีความหมายเพื่อปรับปรุงหลักสูตร การจัดการศึกษา วิจัย และบริการฯ กระบวนการ การปฏิบัติการ และรูปแบบธุรกิจของสถาบัน หรือประสิทธิผลของ สถาบัน รวมท้ังสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นวัตกรรมควรนาสถาบันไปสู่มิติใหม่ของ ผลการดาเนนิ การ การสร้างนวัตกรรมจาเปน็ ตอ้ งมสี ภาวะแวดล้อมที่เก้ือหนุน กระบวนการในการระบุ โอกาสเชิงกลยุทธ์ และการแสวงหาประเด็นท่ีผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างรอบด้านว่าสมควร ท่ีจะเสี่ยง นวัตกรรมเป็นแนวคิดที่แตกต่างจากการปรับปรุงให้ดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง (Incremental continuous improvement) แต่เติมเต็มซึ่งกันและกัน สถาบันทปี่ ระสบความสาเร็จใช้ท้ังนวัตกรรม และการปรับปรุงอยา่ งตอ่ เน่ือง เพื่อใหม้ ผี ลการดาเนนิ งานท่ีดขี ึน้ สูตรกำรคำนวณ : จานวนโครงการนวัตกรรมทไี่ ดร้ บั รางวัลระดบั ชาติ หรอื ระดบั นานาชาติ X100 จานวนโครงการนวัตกรรมทงั้ หมด เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 25 ≥ 5 ≥ 10 ≥ 15 ≥ 20 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานโครงการนวัตกรรมทไี่ ดร้ ับรางวลั ระดับชาติ รายงานโครงการนวัตกรรมท่ีได้รับรางวลั ระดับนานาชาติ รายงานโครงการนวัตกรรมท้งั หมด ผรู้ ับผิดชอบ : สว่ นงาน/กองบริหารการวิจยั และบริการวชิ าการ 93
รายละเอยี ด คาอธิบายตัวชว้ี ัด ตามแผนยุทธศาสตร์ 94
ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 1 พัฒนำและบริหำรหลักสูตร นวตั กรรม เทคโนโลยี เพอ่ื กำรเรียนร้ตู ลอดชีวิต เปา้ ประสงค์ 1.1 มหี ลักสูตรที่ครอบคลุม ตอ่ การพัฒนาประเทศ และการเปล่ยี นของสงั คมโลก ตัวชี้วดั ท่ี 1.1 : จานวนหลักสูตรที่ผ่านการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรอยู่ในระดับดีมาก (ทุกหลกั สูตร ทกุ ระดบั ) หน่วยวดั : หลกั สูตร กลมุ่ ตวั ชีว้ ัด : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีการศึกษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 456 ผู้กำกับดแู ล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดีฝ่ายการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจินพรัหม คำอธบิ ำย : กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ได้มีการกาหนดคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรกาหนดไว้ ใน มคอ. 2 ซง่ึ ครอบคลมุ ผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ดา้ น คือ 1) ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบและ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวชี้วัดนี้ จะเป็นการประเมนิ คณุ ภาพบัณฑติ ในมุมมองของผู้ใช้บณั ฑิต ระดบั คะแนน 0.00 - 1.50 ต้องปรบั ปรงุ 1.51 - 2.50 พอใช้ 2.51 - 3.50 ปานกลาง 3.51 - 4.50 ดี 4.51 - 5.00 ดีมาก ผลการดาเนนิ การของแต่ละหลกั สตู รในสถาบนั ซ่งึ สามารถสะท้อนคุณภาพของบณั ฑติ ในหลกั สูตรที่สถาบัน รับผิดชอบ และหลกั สูตรท่ีได้รับการรบั รองตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรท่ีกาหนดโดย สกอ. (เกณฑ์ 12 ขอ้ ) สูตรกำรคำนวณ : = จานวนหลกั สูตรทผี่ ่านการประเมินคุณภาพภายในระดบั หลักสตู รอยใู่ นระดับดีมาก เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥3 ≥4 ≥5 ≥6 ≥7 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลกั สูตรอยใู่ นระดับดีมาก (ทุกหลักสตู ร ทุกระดับ) ผรู้ บั ผดิ ชอบ : งานยุทธศาสตรแ์ ละพัฒนาคุณภาพ กองบรหิ ารท่วั ไป 95
ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.2 : รอ้ ยละของหลักสตู รท่ีได้รบั ความรว่ มมอื จากภาครฐั และเอกชน หนว่ ยวดั : ร้อยละ กลุ่มตัวชว้ี ดั : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีการศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 40 25 35 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผชู้ ่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สจุ นิ พรหั ม คำอธิบำย : หลกั สูตรที่ได้รับความรว่ มมือจากภาครัฐและเอกชน หมายถึง เป็นหลักสตู รบูรณาการ หลกั สูตรสหกิจ การผลิตบัณฑิต ท่ีมีความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ หรือจากภาคเอกชน เพ่ือเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการเรียนการสอน และมีเนื้อหาวิชาที่มีการผสมผสานระหว่างความรู้ภาคทฤษฎีพื้นฐานและ ความรู้เชิงประยุกต์ในสัดส่วนท่ีเหมาะสม รวมถึงหลักสูตรสหกิจศึกษา ท่ีมีการดาเนินการจริงในปี การศึกษานั้น ๆ หรอื ในลักษณะอนื่ ๆ ทมี่ กี ารรว่ มสอนแบบเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ สูตรกำรคำนวณ : จานวนหลกั สตู รที่ได้รบั ความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก X100 จานวนหลกั สตู รท้ังหมดที่เปิดการเรียนการสอนในปีการศกึ ษา เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 15 ≥ 20 ≥ 25 ≥ 30 ≥ 35 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนหลักสตู รที่ได้รับความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานภายนอก รายงานจานวนหลกั สูตรท่ีเปิดสอนทง้ั หมดของคณะวิชา ผูร้ ับผิดชอบ : คณะ/กองบริหารการศกึ ษา (เฉพาะหลกั สตู รสหกิจ) 96
ตวั ช้ีวดั ท่ี 1.3 : จานวนนิสิตแลกเปลยี่ นทเ่ี ป็น Inbound (รวมท้ังนสิ ติ ในระดับปริญญาตรี และบัณฑติ ศึกษา) หน่วยวัด : คน กลมุ่ ตวั ช้วี ัด : เฉพาะสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 10 15 20 ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิจยั นวตั กรรม และวเิ ทศสมั พนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รตั นทบั ทิมทอง คำอธิบำย : ข้อมูลจานวนนิสิตแลกเปล่ียน Inbound ท้ังหมด ซ่ึงรวมในทุกระดับการศึกษา ท่ีมีการจัดการเรียน การสอนในลักษณะท่ีมีการรว่ มมือกบั ต่างประเทศ โดยแสดงข้อมูลแยกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1) จานวนนสิ ิตแลกเปลย่ี นทเ่ี ป็น Inbound ตงั้ แต่ 3 สปั ดาห์ แต่ไมค่ รบ 1 ภาคการศึกษา 2) จานวนนิสติ แลกเปลย่ี นท่เี ปน็ Inbound ครบ 1 ภาคการศกึ ษา Inbound หมายถึง นักศึกษาต่างชาติจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ซึ่งเดินทางมาศึกษาหรือ ทาวิจัยที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้กิจกรรมแลกเปล่ียนนักศึกษา โดยมีสถานภาพ เป็น Exchange Student และ Student Mobility หรือไปลงทะเบียนเรียนท่ีสถาบันการศึกษา ในต่างประเทศ โดยได้รับหน่วยกิตหรือประกาศนียบัตรของหลักสูตรน้ัน ท้ังที่มีข้อตกลง และ ไมม่ ขี ้อตกลงความร่วมมือระหวา่ งสถาบัน สตู รกำรคำนวณ : = จานวนนสิ ิตแลกเปลย่ี นท่เี ปน็ Inbound ทัง้ หมด เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 6 ≥ 8 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 14 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนนสิ ิตแลกเปลี่ยน Inbound (รวมทั้งนิสติ ในระดับปรญิ ญาตรี และบณั ฑิตศึกษา) ผรู้ ับผดิ ชอบ : งานวิเทศ ประชาสมั พันธ์ และชุมชนสมั พนั ธ์ กองบริหารทั่วไป 97
ตัวชีว้ ัดท่ี 1.4 : จานวนนิสิตแลกเปล่ยี นทเี่ ปน็ Outbound (รวมทั้งนสิ ิตในระดบั ปรญิ ญาตรี และบณั ฑติ ศึกษา) หน่วยวดั : คน กลุม่ ตวั ชี้วดั : เฉพาะส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 10 15 20 ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผูช้ ่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิจยั นวัตกรรม และวเิ ทศสัมพันธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รตั นทบั ทิมทอง คำอธบิ ำย : ข้อมูลจานวนนิสิตแลกเปล่ียน Outbound ทั้งหมด ซ่ึงรวมในทุกระดับการศึกษา ท่มี ีการจัดการเรียน การสอนในลักษณะที่มีการรว่ มมือกบั ต่างประเทศ โดยแสดงข้อมูลแยกเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1) จานวนนิสิตแลกเปลย่ี นทีเ่ ป็น Outbound ต้ังแต่ 3 สปั ดาห์ แตไ่ มค่ รบ 1 ภาคการศกึ ษา 2) จานวนนสิ ติ แลกเปลี่ยนท่เี ปน็ Outbound ครบ 1 ภาคการศึกษา Outbound หมายถึง นิสิต/นักศึกษาไปศึกษาหรือทาวิจัยในสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ภายใต้กิจกรรมแลกเปล่ียนนักศึกษา โดยมีสถานภาพเป็น Exchange Student และ Student Mobility หรือไปลงทะเบียนเรียนท่ีสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ โดยได้รับหน่วยกิต หรือ ประกาศนยี บตั รของหลักสตู รน้นั ทง้ั ทีม่ ีข้อตกลงและไมม่ ขี ้อตกลงความรว่ มมือระหวา่ งสถาบนั สตู รกำรคำนวณ : = จานวนนิสติ แลกเปลย่ี น Outbound ทัง้ หมด เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 6 ≥ 8 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 14 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนนสิ ติ แลกเปล่ยี น Outbound (รวมทงั้ นสิ ิตในระดบั ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา) ผู้รบั ผิดชอบ : งานวิเทศ ประชาสัมพันธ์ และชมุ ชนสมั พนั ธ์ กองบริหารท่ัวไป 98
ตัวช้ีวัดท่ี 1.5 : รอ้ ยละของอาจารย์ต่างชาติตอ่ อาจารยป์ ระจาทง้ั หมด หนว่ ยวัด : ร้อยละ กลุม่ ตวั ชี้วัด : เฉพาะส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปกี ารศึกษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 7 57 ผ้กู ำกับดูแล : ผูช้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิจัย นวตั กรรม และวเิ ทศสมั พนั ธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทับทิมทอง คำอธิบำย : จานวนอาจารย์ชาวต่างประเทศท้ังหมด ท่ีถูกจ้างเต็มเวลาหรือบางเวลา เพื่อทาการสอนหรือวิจัย ให้กับสว่ นงาน ในแต่ละปกี ารศึกษา สูตรกำรคำนวณ : จานวนอาจารยช์ าวต่างชาติทีท่ าการสอนและวิจยั X100 จานวนอาจารยป์ ระจาทง้ั หมด เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥7 ≥3 ≥4 ≥5 ≥6 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนอาจารย์ชาวต่างชาติทง้ั หมด ผรู้ ับผดิ ชอบ : งานวเิ ทศ ประชาสัมพันธ์ และชุมชนสัมพันธ์ กองบรหิ ารท่ัวไป 99
ตัวชี้วดั ที่ 1.6 : ร้อยละของอาจารย์แลกเปล่ียนท่เี ป็น Inbound ตอ่ อาจารยป์ ระจาท้งั หมด หนว่ ยวัด : ร้อยละ กลมุ่ ตวั ช้ีวดั : เฉพาะส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 345 ผู้กำกับดูแล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวจิ ัย นวัตกรรม และวิเทศสมั พนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทับทิมทอง คำอธิบำย : จานวนอาจารย์แลกเปล่ียนท่ีเป็น Inbound ท้ังหมด หมายถึง อาจารย์จากหน่วยงานหรือสถาบันใน ต่างประเทศเข้ามาร่วมงานด้านวิชาการ ด้านการวิจัย กับส่วนงานในคณะในปีนั้นๆ โดยระยะเวลาที่ เขา้ มาแลกเปล่ยี นตอ้ งไม่น้อยกวา่ 3 สปั ดาห์ สูตรกำรคำนวณ : จานวนอาจารยช์ าวต่างประเทศทีเ่ ขา้ มาแลกเปลี่ยนด้านวชิ าการหรือวจิ ัย X100 จานวนอาจารยป์ ระจาทงั้ หมด เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥1 ≥2 ≥3 ≥4 ≥5 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนอาจารย์ หน่วยงานหรอื สถาบันในตา่ งประเทศเขา้ มาร่วมงานดา้ นวชิ าการ ผูร้ ับผิดชอบ : งานวิเทศ ประชาสมั พนั ธ์ และชุมชนสัมพันธ์ กองบริหารท่ัวไป 100
ตัวชวี้ ดั ที่ 1.7 : จานวนรายวิชาทมี่ กี ารบูรณาการสง่ เสริมการสรา้ งนวัตกรรมดา้ นการเกษตร หรือสุขภาพ หรือ สงิ่ แวดล้อม หนว่ ยวัด : รายวชิ า กลุม่ ตวั ช้ีวดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีการศึกษา เป้ำหมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 150 180 200 ผกู้ ำกบั ดแู ล : ผู้ช่วยอธิการบดฝี ่ายการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจนิ พรัหม คำอธบิ ำย : เป็นรายวิชาที่มีการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการพัฒนาหรือสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ โดยมคี วามสมดุลทงั้ ด้านความรู้ ความคดิ และทักษะ เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีให้ผ้เู รียนฝึกปฏบิ ตั ิจริง จนเกิดทกั ษะและสามารถนาไปต่อยอดใหเ้ กิดการสร้างสรรคน์ วตั กรรมได้อย่างเหมาะสม สูตรกำรคำนวณ : = จานวนรายวชิ าท่มี กี ารบูรณาการส่งเสริมการสร้างนวตั กรรมด้านการเกษตร หรอื สุขภาพ หรอื สง่ิ แวดลอ้ ม เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 140 ≥ 145 ≥ 150 ≥ 155 ≥ 160 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานรายวิชาท่ีมกี ารเปดิ การเรียนการสอนในปีการศึกษาปจั จุบัน ทมี่ ีการบูรณาการ และส่งเสริม นวัตกรรม ผ้รู บั ผิดชอบ : คณะ/สานกั ส่งเสรมิ และฝึกอบรม กาแพงแสน 101
ประเด็นยุทธศำสตรท์ ่ี 1 พฒั นำและบรหิ ำรหลกั สูตร นวตั กรรม เทคโนโลยี เพ่อื กำรเรียนรตู้ ลอดชีวติ เปา้ ประสงค์ 1.2 บัณฑิตท่ีมีคุณภาพและตรงตามความต้องการของประเทศ ตวั ชีว้ ัดท่ี 1.8 : ร้อยละของนสิ ิตปรญิ ญาตรีท่ีผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษ ที่มหาวทิ ยาลัยกาหนด หน่วยวดั : รอ้ ยละ กลุ่มตวั ช้ีวดั : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 >10 >15 >20 ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดฝี า่ ยการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจนิ พรหั ม คำอธิบำย : แสดงถึงทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ โดยใช้ผลการสอบ KU EXITE หรือการทดสอบภาษาอังกฤษ อื่น ๆ ทเี่ ปน็ ท่ียอมรับ เช่น TOEFL TOEIC IELTS เป็นต้น ของนิสิตปริญญาตรีชั้นปีสุดท้าย มากกวา่ 70% ของ คะแนนเตม็ ตามทมี่ หาวิทยาลัยกาหนด ในระดบั B2 ซ่งึ มีคะแนนมากกวา่ 70 คะแนนขน้ึ ไป สตู รกำรคำนวณ : จานวนนิสติ ปริญญาตรีในปีการศึกษาที่ผา่ นมา ที่ผา่ นตามเกณฑ์ภาษาองั กฤษท่ีมหาวิทยาลยั กำหนด X100 จานวนนิสติ ปริญญาตรีชนั้ ปีท่ี3 และชนั้ ปีท่ี 4 ตามหลกั สตู รทั้งหมด เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 14 ≥6 ≥8 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานการทดสอบภาษาอังกฤษของนสิ ติ ปรญิ ญาตรี ผรู้ ับผิดชอบ : กองบริหารการศึกษา 102
ตวั ชี้วัดที่ 1.9 : จานวนผลงานวิจัยหรอื งานสรา้ งสรรคห์ รอื ส่งิ ประดษิ ฐข์ องนิสิตทุกระดับที่ไดร้ บั การตีพิมพ/์ เผยแพรร่ ะดับชาติหรือนานาชาติ หนว่ ยวัด : ผลงาน กลมุ่ ตวั ช้ีวัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปกี ารศกึ ษา เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 30 35 40 ผกู้ ำกับดแู ล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจินพรัหม คำอธิบำย : นสิ ิตสัญชาติไทยในระดับปริญญาตร/ี โท/เอก โดยรวมนสิ ิตภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ ทมี่ ผี ลงานวจิ ยั และ งานสร้างสรรคห์ รือส่ิงประดิษฐ์ ในระดบั ชาติ หรือนานาชาติ ในรอบปีการศกึ ษาน้นั งานวจิ ยั หมายถึง การศึกษาคน้ คว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอยา่ งมีระบบ โดยอาศยั อุปกรณ์หรือวิธีการ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง หรือหลักการไปใช้ในการต้ังกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ ที่ตีพิมพ์ใน รอบปกี ารศกึ ษานน้ั งานสร้างสรรค์หรือส่ิงประดิษฐ์ หมายถึง ผลงานและส่ิงประดิษฐ์ประเภทต่างๆ ที่มีความเป็น นวัตกรรม โดยมีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบท่ีเหมาะสมตามประเภทของงานซ่ึงมีแนวทางการ ทดลองหรือการพัฒนาจากแนวคิดสร้างสรรค์เดิมเพื่อเป็นต้นแบบหรือความสามารถในการบุกเบิก ศาสตร์อนั กอ่ ใหเ้ กิดคุณคา่ ทางสุนทรยี แ์ ละคณุ ประโยชน์ สตู รกำรคำนวณ : = จานวนผลงานวจิ ยั หรืองานสร้างสรรค์หรอื ส่ิงประดิษฐข์ องนสิ ิต เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 40 ≥ 20 ≥ 25 ≥ 30 ≥ 35 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนผลงานวิจยั และงานสรา้ งสรรคห์ รือส่ิงประดิษฐ์ของนสิ ิต ผู้รับผดิ ชอบ : คณะ 103
ตัวชว้ี ัดท่ี 1.10: รอ้ ยละของนิสติ ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ/กิจกรรมผู้ประกอบการรุ่นใหมต่ ่อจานวนนิสิตทั้งหมด หนว่ ยวัด : ร้อยละ กลุ่มตวั ชีว้ ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีการศกึ ษา เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 8 12 16 ผู้กำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดฝี า่ ยกิจการนสิ ิต กฬี า และทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ตอ่ ศักด์ิ แกว้ จรัสวิไล คำอธิบำย : เป็นนิสิตสัญชาติไทยในระดับปริญญาตรี/โท/เอก โดยรวมนิสิตภาคปกติและภาคพิเศษ ที่เข้าร่วม โครงการ/กิจกรรมผปู้ ระกอบการรุ่นใหม่ Startup หมายถึง ธุรกิจท่ีเกิดขึ้นใหม่ เปิดบริษัทข้ึนมาใหม่เพ่ือรองรับธุรกิจด้านไอที และด้านอ่ืน ๆ รวมถึงการทาธุรกิจให้เติบโตขึ้นแบบก้าวกระโดด สามารถสร้างรายได้จานวนมาก เป็นธุรกิจท่ีเกิดข้ึน เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน เช่น พวกแอปพลิเคชั่น ต่าง ๆ ซึง่ หากตอ้ งการมองภาพของธุรกิจชนิด น้ีให้ชัดเจนข้ึน ให้มองจาก Google , Facebook แบรนด์เหล่านี้เร่ิมต้นจากเป็นธุรกิจประเภท Startup สูตรกำรคำนวณ : จานวนนิสติ ท่เี ขา้ ร่วมโครงการ ทัง้ หมด X100 จานวนนิสติ ทัง้ หมด เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥8 ≥ 10 ≥ 12 4 ≥6 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานโครงการ/กจิ กรรมผปู้ ระกอบการร่นุ ใหม่ ผรู้ บั ผิดชอบ : กองบรหิ ารกจิ การนิสิต 104
ตวั ชว้ี ดั ที่ 1.11 : จานวนโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านการเป็น ผูป้ ระกอบการและ/หรอื นาไปพฒั นาสรา้ งรายได้ระหว่างเรยี น หน่วยวดั : โครงการ/กิจกรรม กลุ่มตัวชีว้ ดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีการศึกษา เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 246 ผูก้ ำกับดูแล : ผู้ช่วยอธิการบดีฝา่ ยกิจการนิสิต กฬี า และทานุบารุงศลิ ปวัฒนธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อศักด์ิ แก้วจรัสวิไล คำอธิบำย : โครงการ/กิจกรรมหลักสูตรที่มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้ เสริมสร้างศักยภาพและมีความพร้อม สูก่ ารเปน็ ผูป้ ระกอบการและ/หรือนาไปพฒั นาต่อยอดสรา้ งรายได้ระหวา่ งเรียน สตู รกำรคำนวณ : = จานวนโครงการ/กจิ กรรมเสริมหลักสตู รทมี่ ีการส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ดา้ นการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ และ/หรอื นาไปพฒั นาสร้างรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 0 ≥1 ≥2 ≥3 ≥4 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านการเป็น ผปู้ ระกอบการ รายงานจานวนโครงการ/กิจกรรมเสริมหลกั สตู รที่สามารถนาไปพฒั นาสรา้ งรายได้ระหว่างเรียน ผรู้ บั ผดิ ชอบ : กองบริหารกจิ การนสิ ิต 105
ตวั ช้ีวัดที่ 1.12 : จานวนโครงการ หรือชุดวิชา หรือรายวิชา Upskill/Reskill ที่ส่วนงานดาเนินการให้กับนิสิต หรอื ผู้ท่ีสนใจ หรอื ศิษย์เก่า หน่วยวัด : โครงการ/ชดุ วิชา/รายวิชา กล่มุ ตวั ชวี้ ัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีการศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 150 180 200 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผู้ช่วยอธิการบดฝี ่ายการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจนิ พรหั ม คำอธิบำย : แสดงถงึ ความสามารถของคณะในการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนโครงการ หรอื ชดุ วชิ า หรอื รายวิชา Upskill/Reskill เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 110 ≥ 130 ≥ 150 ≥ 170 ≥ 190 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนโครงการ Upskill/Reskill ทส่ี ว่ นงานดาเนนิ การ รายงานจานวนชดุ วิชา Upskill/Reskill ที่สว่ นงานดาเนินการ รายงานจานวนรายวิชา Upskill/Reskill ที่คณะดาเนินการใหก้ ับนิสติ หรอื ผทู้ ส่ี นใจ หรอื ศิษย์เก่า ผรู้ บั ผดิ ชอบ : สว่ นงาน/กองบรหิ ารการศึกษา 106
ประเดน็ ยุทธศำสตรท์ ี่ 2 พัฒนำและบรหิ ำรหลักสตู ร นวัตกรรม เทคโนโลยี เพือ่ กำรเรยี นรู้ตลอดชีวติ เป้าประสงค์ 2.1 สร้างผลงานวจิ ัย และนวตั กรรมดา้ นเกษตร สขุ ภาพ และสงิ่ แวดล้อม เพื่อตอบสนอง นโยบายการพฒั นาประเทศ และต่อยอดในเชิงพาณชิ ยไ์ ด้อย่างต่อเนื่อง ตวั ชวี้ ดั ท่ี 2.1 : สดั สว่ นเงนิ สนบั สนนุ งานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรค์ต่ออาจารยป์ ระจาและนักวจิ ัยท้งั หมด หน่วยวัด : บาท/คน กลมุ่ ตัวชว้ี ดั : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เป้ำหมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 273,000 286,650 301,000 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี ่ายวจิ ยั นวตั กรรม และวเิ ทศสมั พันธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รตั นทับทิมทอง คำอธิบำย : เงินทุนสนบั สนนุ งานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์เปน็ ปัจจยั สาคญั ท่ีชว่ ยสง่ เสรมิ ให้เกิดการผลิตงานวิจัยและ แสดงถึงศักยภาพด้านการวิจัยของส่วนงาน ดังนั้นทุกส่วนงานจึงต้องจัดสรรเงินท่ีได้รับจากภายนอก เพอื่ สนับสนุนการทาวิจัยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ หมายถึง จานวนเงินสนับสนุนการทางานวิจัยและ งานสร้างสรรค์จากแหลง่ ทุนทง้ั ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั สูตรกำรคำนวณ : จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ทงั้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั ตามปีงบประมาณของปีท่ีประเมนิ จานวนอาจารยแ์ ละนักวจิ ยั ทง้ั หมด เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 273,000 ≥ 293,000 ≥ 313,000 ≥ 233,000 ≥ 253,000 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานทนุ สนบั สนุนวิจยั ทีป่ รากฏในรายงานการประเมนิ ตนเองของทุกสว่ นงาน รายงานจานวนอาจารย์และนักวิจยั ทงั้ หมดทีป่ ฏบิ ตั ิงานจริง ผู้รับผดิ ชอบ : กองบรหิ ารการวิจัยและบริการวชิ าการ 107
ตัวช้ีวัดท่ี 2.2 : จานวนผลงานทางวชิ าการท้ังหมดของอาจารย์ประจาและนักวิจัย หน่วยวดั : ผลงาน กลุ่มตวั ชวี้ ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เป้ำหมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 600 500 550 ผู้กำกับดแู ล : ผู้ช่วยอธิการบดฝี ่ายวิจยั นวัตกรรม และวิเทศสมั พันธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รัตนทบั ทิมทอง คำอธิบำย : ผลงานทางวิชาการ หมายถึง ผลงานทางวิชาการท่อี ย่ใู นรูปของบทความวจิ ยั หรือบทความวิชาการ ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ หรือ ระดับนานาชาติ ตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI หรือ Scopus หรือตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร หรือเป็นผลงานทาง วชิ าการรับใชส้ งั คมทผี่ ่านการประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการแล้ว ผลงานทีท่ ารว่ มกับอุตสาหกรรมทผี่ า่ น การประเมินตาแหน่งทางวชิ าการแล้ว ตาราหรือหนังสือทีใ่ ชใ้ นการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการ พิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแลว้ กาหนดระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการดังนี้ ค่ำนำ้ หนัก ระดบั คณุ ภำพ 0.20 0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการ ประชุมวชิ าการระดับชาติ 0.60 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจาก การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติ ท่ีไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทาง วิชาการ พ.ศ. 2562 แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศ ให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแต่ วันท่ีออกประกาศ - ผลงานทีไ่ ดร้ ับการจดอนุสทิ ธิบัตร - บทความวิจัยหรอื บทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ท่ตี ีพิมพใ์ นวารสารทางวชิ าการท่ีปรากฏ ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 108
ค่ำนำ้ หนัก ระดบั คณุ ภำพ 0.80 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ อุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็น ประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแต่ วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ีปรากฏ ในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ท่ี 1 1.00 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาติท่ีปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สาหรบั การเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ พ.ศ.2562 - ผลงานไดร้ ับการจดสทิ ธบิ ตั ร - ผลงานวชิ าการรับใช้สงั คมที่ได้รบั การประเมนิ ผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวชิ าการแล้ว - ผลงานวิจยั ทห่ี นว่ ยงานหรอื องคก์ รระดับชาตวิ ่าจ้างใหด้ าเนนิ การ - ผลงานคน้ พบพนั ธุพ์ ืช พันธส์ุ ัตว์ ทค่ี ้นพบใหม่และได้รบั การจดทะเบยี น - ตาราหรอื หนงั สอื ทไ่ี ด้รบั การประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวชิ าการแล้ว - ตาราหรือหนังสือท่ีผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทางวิชาการ แตไ่ มไ่ ดน้ ามาขอรบั การประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการ การส่งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลือกให้นาเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และเม่ือได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบ เอกสาร หรอื สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ สตู รกำรคำนวณ : = จานวนผลงานทางวชิ าการทง้ั หมดของอาจารย์ประจาและนกั วิจยั เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 550 ≥ 600 ≥ 400 ≥ 450 ≥ 500 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานผลงานทางวิชาการ ผู้รบั ผดิ ชอบ : กองบรหิ ารการวจิ ัยและบริการวิชาการ 109
ตวั ชี้วัดท่ี 2.3 : จานวนบทความวชิ าการและบทความวจิ ยั ทีต่ ีพิมพ์อยู่ในวารสารระดับนานาชาติ ในฐานข้อมลู Scopus หนว่ ยวดั : บทความ กล่มุ ตวั ชว้ี ัด : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 310 345 380 ผู้กำกับดแู ล : ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยวจิ ยั นวตั กรรม และวิเทศสัมพันธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รตั นทับทิมทอง คำอธบิ ำย : บทความวิชาการและบทความวิจยั ทีต่ ีพมิ พ์เผยแพร่ เป็นการแสดงใหเ้ ห็นถึงความก้าวหน้าทางวิชาการ และการพฒั นาองค์ความร้อู ย่างตอ่ เน่อื ง ทีอ่ าจารย์ประจาและนกั วจิ ัยได้สร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ เป็นผลงานท่ีมีคุณค่า มีการตีพิมพ์เผยแพร่สู่สากล โดยเน้นการตีพิมพ์บทความในวารสารระดับ นานาชาติทเี่ ปน็ ทย่ี อมรับอยา่ งแพรห่ ลาย คอื ฐานข้อมูล Scopus ฐานข้อมูล Scopus เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ครอบคลุมเน้ือหาทุกสาขาวิชา รวมถึงสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ นอกจากน้ียังมีข้อมูลบางส่วนในรูป ของ Conference Proceeding และ Books รูปแบบการสืบค้นคล้ายกบั ฐานข้อมูล Science Direct เน่ืองจากเป็นฐานข้อมูลของ Elsevier Science เช่นกัน เพียงแต่ Scopus จะไม่มีเอกสารฉบับเต็มแต่ จะมีการเชื่อมโยงให้หากวารสารที่ค้นพบใน Scopus เป็นวารสารที่สานักหอสมุดมีในรูปของ E- journal ซึ่งอาจเป็น Science Direct, Springer Link เปน็ ตน้ เมอื่ คลกิ Link ดงั กล่าวแล้วจะสามารถ เรียกดฉู บบั เตม็ ได้ (สามารถเขา้ คน้ ขอ้ มลู ได้จาก http://www.scopus.com) สูตรกำรคำนวณ : = จานวนบทความวชิ าการและบทความวจิ ัยท่ีตพี ิมพ์อย่ใู นวารสารระดับนานาชาติ เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 310 ≥ 330 ≥ 350 ≥ 290 ≥ 300 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนบทความวิชาการและบทความวิจัยที่ตีพิมพ์อยู่ในวารสารระดับนานาชาติ ใน ฐานขอ้ มูล Scopus ผู้รบั ผิดชอบ : ส่วนงาน/กองบรหิ ารการวิจยั และบริการวิชาการ 110
ตัวชวี้ ัดที่ 2.4 : ค่าเฉลยี่ H-index ในฐานข้อมลู Scopus ของอาจารย์ประจาและนักวิจยั ท้ังหมด หน่วยวัด : คา่ เฉลย่ี กลุ่มตวั ชวี้ ัด : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 0.75 0.78 0.82 ผกู้ ำกับดูแล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี ่ายวิจยั นวตั กรรม และวเิ ทศสัมพันธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รัตนทบั ทิมทอง คำอธิบำย : ค่า H-index หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงจานวนผลงานวิจัย ที่มีจานวนคร้ังของการได้รับการอ้างอิง เท่ากับหรือมากกว่า จานวนผลงานวิจัยน้ัน ๆ เช่น นักวิจัย A ได้รับค่า H-index = 10 หมายความว่า นักวจิ ัย A มผี ลงานบทความวิจัยตีพิมพจ์ านวน 10 เรือ่ ง โดยทุก ๆ บทความน้ัน ได้รับการอ้างองิ อย่าง น้อย 10 คร้ังหรือ มากกวา่ และแสดงถงึ ความสามารถของจานวนผลงานวจิ ยั ของอาจารยแ์ ละนักวจิ ัย ท่ีมีจานวนคร้ังการอ้างอิงเท่ากับหรือมากกว่าจานวนผลงานนั้น ๆ สะท้อนคุณภาพบทความวิชาการ และบทความวิจัยท่ีถูกเผยแพร่สู่สากล โดยเน้นการตีพิมพ์บทความในวารสารระดับนานาชาติ ใน ฐานข้อมลู Scopus สตู รกำรคำนวณ : ผลรวมH - index ของอาจารยป์ ระจาและนกั วจิ ัยทง้ั หมด X100 จานวนอาจารยป์ ระจาและนักวจิ ยั ทงั้ หมด เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 1.15 - ≥ 0.55 ≥ 0.75 ≥ 0.95 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานผลรวม H-index ของอาจารยป์ ระจาและนักวจิ ัยทงั้ หมด ผูร้ บั ผิดชอบ : ส่วนงาน/กองบรหิ ารการวิจยั และบรกิ ารวิชาการ 111
ตัวชว้ี ดั ท่ี 2.5 : รอ้ ยละของบทความวิจัยทท่ี ารว่ มกับหนว่ ยงานหรอื สถาบันในตา่ งประเทศทีไ่ ด้รับการตีพิมพ์ เผยแพรต่ อ่ บทความวิจัยท้ังหมด หนว่ ยวดั : ร้อยละ กลมุ่ ตวั ชี้วดั : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 24 25 26 ผกู้ ำกับดูแล : ผูช้ ่วยอธกิ ารบดีฝ่ายวิจยั นวตั กรรม และวิเทศสมั พนั ธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รัตนทับทิมทอง คำอธบิ ำย : แสดงถึงจานวนบทความวิจัยที่มีความร่วมมือระหว่างบุคคลากรของส่วนงานกับบุคคลากรของ หน่วยงานหรือสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีนั้น ๆ ต่อจานวน บทความวจิ ยั ท้งั หมดของส่วนงานในปเี ดยี วกนั สูตรกำรคำนวณ : จานวนบทความวิจยั ทีท่ ำร่วมกับหนว่ ยงานหรือสถาบันในตา่ งประเทศทไ่ี ด้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ X100 จานวนบทความวิจัยทัง้ หมด เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 24 ≥ 25 ≥ 26 ≥ 22 ≥ 23 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนบทความวิชาการและบทความวจิ ัยทตี่ ีพิมพ์อยู่ในวารสารทัง้ หมด รายงานจานวนบทความวิจัยท่ีทาร่วมกับหน่วยงานหรือสถาบันในต่างประเทศท่ีได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ผูร้ บั ผิดชอบ : กองบริหารการวิจัยและบริการวิชาการ 112
ตวั ช้วี ัดที่ 2.6 : จานวนผลงานนวตั กรรมและงานสร้างสรรค์ท่สี ร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ แกไ้ ขปัญหา ใหส้ งั คมและชมุ ชน ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการท่องเทย่ี ว หรอื อ่ืน ๆ ซง่ึ ตอบโจทยใ์ หป้ ระเทศ ต้งั แตร่ ะดบั TRL 4 ข้นึ ไป หน่วยวดั : ผลงาน กลมุ่ ตัวชี้วดั : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปงี บประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 12 14 16 ผ้กู ำกบั ดูแล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยวจิ ัย นวตั กรรม และวิเทศสัมพนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทบั ทิมทอง คำอธิบำย : แสดงถึงศักยภาพจากการผลิตงานนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ท่ีสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาใหส้ งั คมและชุมชน ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการทอ่ งเที่ยว หรืออน่ื ๆ ทม่ี คี วามพรอ้ มนาไปสู่การปฏบิ ัติ ซง่ึ ตอบโจทย์ใหป้ ระเทศ TRL ย่อมาจาก Technology Readiness Level คือ การบ่งช้ีระดับความพร้อมและเสถียรภาพ ของเทคโนโลยีตามบริบทการใช้งาน โดยเป็นเคร่ืองมือบริหารจัดการโครงการหรือโปรแกรม ที่นามาประยุกต์ใช้เพ่ือสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างนักเทคโนโลยีกับผู้ท่ีจะนาเทคโนโลยีไปถ่ายทอด สู่ลูกค้า ซึ่งมีท้ังหมด 9 ระดับ คือ TRL 1 – TRL (http://wwmms.up.ac.th/research/files/2563/ TRL.pdf) สตู รกำรคำนวณ : = จานวนผลงานนวัตกรรมและงานสรา้ งสรรคฯ์ ต้ังแต่ระดับ TRL 4 ข้ึนไป เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 8 ≥10 ≥ 12 ≥ 14 ≥ 16 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนผลงานนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ที่สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แก้ไข ปัญหาให้สังคมและชุมชน ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการท่องเที่ยว หรืออ่ืน ๆ ซึ่งตอบโจทยใ์ ห้ประเทศ ต้ังแต่ระดับ TRL 4 ข้ึนไป ผรู้ ับผิดชอบ : สว่ นงาน/กองบริหารการวจิ ยั และบริการวิชาการ 113
ตัวช้ีวดั ที่ 2.7 : จานวนผลงานวจิ ยั ท่ีมลี กั ษณะบูรณาการข้ามสาขา หน่วยวัด : ผลงาน กลมุ่ ตัวชีว้ ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 30 20 25 ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยวจิ ัย นวตั กรรม และวเิ ทศสัมพนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รัตนทบั ทิมทอง คำอธบิ ำย : งานวิจัย หมายถึง กระบวนการท่ีมีระเบียบแบบแผนในการค้นหาคาตอบของปัญหา หรือการเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ตลอดจนถึงการประดิษฐ์คิดค้นที่ผ่านกระบวนการศึกษา ค้นคว้าหรือทดลอง วิเคราะห์และตีความข้อมูลตลอดจนสรุปผลอย่างเป็นระบบ โดยผู้วิจัยต้องทาการวิจัยร่วมกับผู้วิจัย สาขาอื่น ๆ เพอ่ื เปน็ การบูรณาการขา้ มสาขา สูตรกำรคำนวณ : = จานวนผลงานวิจยั ทีม่ ลี ักษณะบรู ณาการข้ามสาขา เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 25 ≥ 30 ≥ 10 ≥ 15 ≥ 20 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนผลงานวิจัยที่มลี กั ษณะบรู ณาการขา้ มสาขา ผ้รู ับผิดชอบ : กองบรหิ ารการวิจัยและบริการวิชาการ 114
ตวั ชวี้ ดั ที่ 2.8 : ร้อยละของเงนิ สนบั สนนุ งานวจิ ยั ภายนอกเพิ่มข้ึน หน่วยวัด : รอ้ ยละ กลุ่มตวั ชว้ี ดั : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 5 34 ผู้กำกับดูแล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยวิจยั นวัตกรรม และวเิ ทศสัมพนั ธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รัตนทับทิมทอง คำอธิบำย : เงินทุนสนับสนนุ งานวิจยั เปน็ ปัจจัยสาคญั ที่ชว่ ยส่งเสรมิ ให้เกิดการผลิตงานวจิ ยั และแสดงถึงศกั ยภาพ ด้านการวิจัยของส่วนงาน ดังน้ันทุกส่วนงานจึงต้องจัดสรรเงินที่ได้รับจากภายนอกเพื่อสนับสนุนการ ทาวิจัยอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จานวนเงินทุนวิจัยภายนอก หมายถึง จานวนเงินทุนสนับสนุนการทาวิจัยจากบุคคลหรือหน่วยงาน ภายนอกมหาวทิ ยาลัย สตู รกำรคำนวณ : ผลรวมของจานวนเงินสนบั สนุนงานวจิ ัยภายนอกของปีปัจจุบนั - ผลรวมของจานวนเงินสนบั สนุนวิจัยภายนอกของปีทผ่ี ่านมา X100 ผลรวมของจานวนเงินสนบั สนุนวิจัยภายนอกของปีทผ่ี ่านมา เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥4 ≥5 ≥ 2 ≥ 2.5 ≥ 3 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ภายนอกปีปัจจบุ นั รายงานจานวนเงินสนับสนนุ งานวจิ ยั ภายนอกปีทีผ่ า่ นมา ผู้รับผดิ ชอบ : กองบริหารการวจิ ยั และบริการวิชาการ 115
ประเดน็ ยุทธศำสตร์ท่ี 2 พัฒนำและบรหิ ำรหลักสตู ร นวัตกรรม เทคโนโลยี เพ่ือกำรเรียนรตู้ ลอดชีวติ เปา้ ประสงค์ 2.2 มีสว่ นร่วมในการกาหนดนโยบายทางการวิจัย และนวตั กรรม เกษตร สุขภาพ และ สงิ่ แวดล้อม ในทุกระดับ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 2.9 : จานวนงานวิจยั เชงิ นโยบาย ปี 2566 ปี 2567 หนว่ ยวดั : ผลงาน 10 12 กลุม่ ตัวช้วี ัด : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 8 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผูช้ ่วยอธิการบดฝี ่ายวจิ ยั นวัตกรรม และวิเทศสมั พนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทบั ทิมทอง คำอธบิ ำย : งานวิจัย หมายถึง กระบวนการที่มีระเบียบแบบแผนในการค้นหาคาตอบของปัญหา หรือการเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ตลอดจนถึงการประดิษฐ์คิดค้นที่ผ่านกระบวนการศึกษา ค้นคว้าหรือทดลอง วิเคราะห์และตีความข้อมูล ตลอดจนสรุปผลอย่างเป็นระบบ ตามนโยบายของหน่วยงานภาครัฐ ภายนอกมหาวทิ ยาลยั ในทกุ ระดับ หน่วยงานภาครฐั ภายนอก ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนราชการ ระดบั จงั หวดั สานกั งานเกษตร กรม และกระทรวง ต่าง ๆ เชิงนโยบาย หมายถึง ตามนโยบายหรือแนวการบรหิ ารงานของกระทรวง กรม ตา่ ง ๆ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนงานวิจยั เชงิ นโยบายท้ังหมด เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥8 ≥ 10 ≥ 12 ≥5 ≥6 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนงานวิจัยเชงิ นโยบาย ผู้รับผดิ ชอบ : กองบรหิ ารการวิจัยและบริการวชิ าการ 116
ตัวช้วี ดั ท่ี 2.10: จานวนประเด็นการเสนอเข้ารว่ มกาหนดนโยบาย ในทกุ ระดบั หน่วยวดั : ประเดน็ กลุ่มตัวชวี้ ัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 5 34 ผ้กู ำกบั ดูแล : ผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี ่ายวจิ ยั นวตั กรรม และวเิ ทศสัมพนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รตั นทบั ทิมทอง คำอธิบำย : นโยบาย คือการแสดงจุดประสงค์ หรือจุดหมายปลายทางของกิจกรรมของรัฐบาล ในเรื่องใด เรื่อง หนงึ่ และเปน็ การอธบิ ายถึงการดาเนินการ เพอื่ บรรลเุ ป้าหมายท่กี าหนดไว้ หน่วยงานภาครัฐภายนอก ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนราชการ ระดบั จงั หวัด สานักงานเกษตร กรม และกระทรวง ตา่ ง ๆ สตู รกำรคำนวณ : = จานวนประเดน็ การเสนอกาหนดนโยบายท่บี คุ ลากรเข้าร่วมนาเสนอของปที ี่ประเมิน เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥4 ≥5 - - ≥3 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนประเดน็ การเสนอเข้าร่วมกาหนดนโยบาย ผรู้ ับผดิ ชอบ : ส่วนงาน/กองบรหิ ารการวิจยั และบรกิ ารวิชาการ 117
ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 3 พฒั นำกำรบริกำรวิชำกำรแบบครบวงจร เปา้ ประสงค์ 3.1 พฒั นาระบบบริหารจัดการ การบริการวิชาการแบบครบวงจร ตัวชีว้ ดั ท่ี 3.1 : สัดสว่ นของรายรบั จากการบรกิ ารวชิ าการแบบคิดค่าบรกิ าร ทไี่ ด้จากภายนอกมหาวทิ ยาลยั ต่อ อาจารย์ประจาและนักวิจัยทีป่ ฏิบัตงิ านจรงิ หน่วยวัด : บาท/คน กลุ่มตวั ชว้ี ดั : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวชี้วัด : ปี 2566 ปี 2567 ปี 2565 1,400,000 1,500,000 1,300,000 ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายบริการวิชาการและกจิ การพิเศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ติพจน์ เพิ่มพูล คำอธบิ ำย : แสดงถึงศักยภาพของคณาจารย์ประจาและนักวิจัยของส่วนงานในการสร้างรายได้จากการให้บริการ วชิ าการแบบคดิ ค่าบริการ เพอ่ื นารายไดไ้ ปใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและพฒั นากิจการของสว่ นงาน และ มหาวิทยาลัย ให้เกิดความเข้มแข็งทางวิชาการเพ่ิมขึ้น ซ่ึงเป็นการบริการวิชาการตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าดว้ ยการพัฒนาวิชาการ พ.ศ. 2559 รวมท้งั การใหบ้ คุ ลากรไปปฏบิ ตั ิงาน ในภาคเอกชนตามระเบียบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ว่าด้วยการให้บุคลากรไปปฏิบัติงานใน ภาคเอกชน (Talent Mobility) พ.ศ. 2561 หรือกับบุคคลหรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ภายนอกสถาบัน ซึ่งควรเป็นโครงการบริการวิชาการตามจุดเน้น และอัตลักษณ์ของส่วนงาน ที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลยั และตามความได้เปรยี บเชิงทรัพยากรและเชิงพ้นื ท่ีของสว่ นงาน จานวนอาจารย์ประจา หมายถึง อาจารย์ประจาที่ปฏิบัติงานจริง ไม่รวมผู้ท่ีลาศึกษาต่อ ซึ่งไม่ได้ ปฏิบตั กิ ารสอนในปกี ารศึกษา นัน้ ๆ สูตรกำรคำนวณ : ผลรวมของเงนิ รายรบั จากการบริการวชิ าการแบบคิดค่าบริการท้งั หมดของส่วนงานท่ไี ด้จากภายนอกมหาวทิ ยาลัย จานวนอาจารยป์ ระจาและนักวจิ ยั ทป่ี ฏิบัติงานจริงทัง้ หมด เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 5 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 ≥ 1,700,000 ≥ 1,080,000 ≥ 1,100,000 ≥ 1,300,000 ≥ 1,500,000 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนรายรับจากโครงการบริการวิชาการแบบคิดค่าบริการทั้งหมดของส่วนงานที่ได้จาก ภายนอกมหาวทิ ยาลัย รายงานจานวนรายรับจากโครงการพัฒนาวิชาการแบบคิดค่าบริการท้ังหมดของส่วนงานที่ได้จาก ภายนอกมหาวทิ ยาลัย ผรู้ บั ผิดชอบ : กองบริหารการวจิ ัยและบริการวิชาการ 118
ตวั ช้วี ัดท่ี 3.2 : จานวนโครงการบริการวชิ าการท่สี อดคล้องกบั นโยบาย/ทิศทางการพฒั นา/ยทุ ธศาสตร์ ระดบั ประเทศหรือระดับนานาชาติ หน่วยวัด : โครงการ กล่มุ ตวั ชี้วัด : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 10 12 14 ผกู้ ำกับดแู ล : ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยบรกิ ารวิชาการและกิจการพเิ ศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ติพจน์ เพ่ิมพลู คำอธบิ ำย : การให้บริการวิชาการของคณะควรมีการคาดการณ์ปัจจัยภายนอกโดยเฉพาะนโยบาย/ทิศทางการ พัฒนา/ยุทธศาสตร์ของประเทศหรือระดับนานาชาติเพ่ือให้สามารถเสนอขอรับการสนับสนุนจาก หน่วยงานหรือองค์กรท้ังในระดับประเทศหรือในระดับนานาชาติได้ ซึ่งต้องใช้จุดเน้น อัตลักษณ์ และ สมรรถนะหลักของส่วนงานและตามความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและเชิงพ้ืนท่ีของส่วนงานให้เกิด ประโยชน์ รวมทั้งควรมีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบัน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพ่ือให้เกิดศักยภาพในการให้บริการวิชาการที่มีความเข้มแข็งเพ่ิมขึ้น และยกระดับการให้บริการวิชาการในระดับชุมชนเป็นระดับประเทศหรือระดับนานาชาติ ซง่ึ จะส่งผล ต่อภาพลักษณ์และช่ือเสียงของมหาวิทยาลัยให้เป็นที่ได้รับความเช่ือมั่นและยกย่อง (University Reputation) รวมท้งั ระดับช้นั ของมหาวิทยาลยั (University Ranking) ดว้ ย สตู รกำรคำนวณ : = จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการท่ีสอดคลอ้ งกับนโยบาย/ทศิ ทางการพฒั นา/ยทุ ธศาสตร์ ระดบั ประเทศ หรือระดบั นานาชาติ เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 14 ≥6 ≥8 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบาย/ทิศทางการพัฒนา/ยุทธศาสตร์ ระดับประเทศหรอื ระดบั นานาชาติ ผู้รบั ผดิ ชอบ : กองบรหิ ารการวจิ ัยและบริการวิชาการ 119
ตัวชวี้ ัดที่ 3.3 : จานวนโครงการบริการวชิ าการแบบให้เปล่า ที่สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์และส่งเสริมความ เขม้ แข็งแกช่ ุมชนและสงั คม หน่วยวดั : โครงการ กลุ่มตัวช้วี ดั : รว่ มสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เป้ำหมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 14 16 18 ผู้กำกับดูแล : ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยบรกิ ารวิชาการและกิจการพเิ ศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ติพจน์ เพ่ิมพูล คำอธบิ ำย : เพื่อแสดงสัมฤทธิ์ผลของการให้บริการวิชาการแบบให้เปล่า โดยส่วนงานจัดสรรงบประมาณ ของตนเองในการดาเนินการ หรือส่วนงานได้รบั การสนับสนนุ จากมหาวิทยาลยั หรอื แหล่งทุนภายนอก โดยการให้บริการวิชาการควรเป็นไปตามจุดเน้นและอัตลักษณ์ของส่วนงานท่ีสอดคล้องกับนโยบาย ของมหาวิทยาลัย และตามความไดเ้ ปรียบเชิงทรัพยากรและเชิงพื้นท่ีของสว่ นงาน ซึ่งสามารถนาไปใช้ ประโยชน์และส่งเสริมความเข้มแข็งแก่ชุมชนและสังคมในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านรายได้ ดา้ นคุณภาพชวี ติ ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม และด้านอ่นื ๆ สตู รกำรคำนวณ : = จานวนโครงการบริการวิชาการแบบใหเ้ ปลา่ ทสี่ ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ และสง่ เสรมิ ความเขม้ แขง็ แก่ชมุ ชนและสงั คม เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 14 ≥ 16 ≥ 18 ≥ 8 ≥ 10 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่าที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์และส่งเสริมความ เข้มแข็งแก่ชุมชนและสังคม ผรู้ บั ผดิ ชอบ : ส่วนงาน 120
ตัวชวี้ ดั ที่ 3.4 : จานวนประชาชน/เกษตรกร ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่าท่สี ามารถนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ในการประกอบอาชพี และสร้างรายได้ หน่วยวัด : คน กลมุ่ ตัวช้ีวดั : ร่วมทุกส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ขอ้ มูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชีว้ ดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 1,400 1,600 1,800 ผกู้ ำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการและกิจการพิเศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กิตตพิ จน์ เพ่ิมพลู คำอธบิ ำย : เพ่อื แสดงสัมฤทธผ์ิ ลของการให้บริการวิชาการแบบใหเ้ ปลา่ ซ่ึงเป็นโครงการบริการวิชาการตามจดุ เน้น และอัตลักษณ์ของส่วนงานที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย และตามความได้เปรียบ เชิงทรัพยากรและเชิงพื้นที่ของส่วนงาน โดยแสดงข้อมูลเชิงปริมาณของผู้เข้าร่วมโครงการที่สามารถ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ การแสดงข้อมูลน้ีควรเป็นการ ติดตามผลที่เกิดภายหลังจากการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการนั้น ๆ เป็นระยะเวลาหน่ึง เช่น ภายหลังเข้าโครงการไปแล้ว 3 เดือน/6 เดือน/1 ปี (OUTCOME DATA) มิใช่ข้อมูลจานวนของ ผู้เข้าร่วมโครงการฯในระยะแรก (INPUT DATA) ตัวอย่างเช่น โครงการอบรมทักษะในการทาปุ๋ย ชีวภาพจากขยะสาหรับชุมชนในตาบลทุ่งกระพังโหม ของคณะ ก. มีประชาชนและเกษตรกรเข้าร่วม การอบรมจานวน 72 คน หลังการอบรมแล้วมีการติดตามการนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ท้ังการใช้ ในการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อส่งขายและการทาปุ๋ยชีวภาพจาหน่ายเป็นระยะเวลา 6 เดือน พบว่า มีจานวนประชาชนและเกษตรกรท่ีใช้ความรู้น้ีทั้งสิ้น 63 คน สามารถสร้างรายได้และประกอบอาชีพ ได้ตามเอกสารสรุปผลและติดตามสัมฤทธ์ิผลของโครงการ ดังนนั้ จานวนประชาชนและเกษตรกรที่ใช้ ความรู้ตามตัวชี้วัดน้ีคือ 63 คน หน่วยงานภาครัฐภายนอก ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล องค์การ บรหิ ารสว่ นจังหวดั สว่ นราชการระดับจงั หวัด สานกั งานเกษตร กรม และกระทรวง ต่าง ๆ แสดงขอ้ มูลจานวนประชาชน/เกษตรกร ทเ่ี ข้าร่วมโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่า ท่ีสามารถนา ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในการประกอบอาชีพและสรา้ งรายได้ 121
สตู รกำรคำนวณ : = จานวนประชาชน/เกษตรกร ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการบริการวิชาการแบบให้เปลา่ ที่สามารถนาความรู้ ไปใช้ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี และสรา้ งรายได้ เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 1,400 ≥ 1,600 ≥ 1,800 ≥ 1,000 ≥ 1,200 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนประชาชน/เกษตรกร ท่เี ขา้ รว่ มโครงการบรกิ ารวิชาการ ผูร้ บั ผิดชอบ : สว่ นงาน 122
ตัวชวี้ ดั ท่ี 3.5 : จานวนโครงการบริการวิชาการ/พัฒนาวิชาการท้ังหมด ท่ีส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่า หรือเกิด ประโยชน์ในระดับประเทศ หนว่ ยวัด : โครงการ กล่มุ ตัวชว้ี ดั : ร่วมทกุ ส่วนงาน รอบกำรเก็บขอ้ มูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตวั ช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 170 185 200 ผ้กู ำกับดแู ล : ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริการวิชาการและกจิ การพิเศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กิตตพิ จน์ เพ่ิมพูล คำอธบิ ำย : เพื่อแสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของการให้บริการวชิ าการ/พัฒนาวิชาการทัง้ แบบใหเ้ ปล่าและคิดคา่ บริการการ ให้บริการวิชาการท้ังแบบให้เปล่าและคิดค่าบริการภายในระยะเวลา 1 ปี หลังจากให้บริการวิชาการ แล้วส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ในระดับประเทศ ซึ่งเป็นโครงการบริการวิชาการตาม จุดเน้นและอัตลักษณ์ของส่วนงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย และตามความได้เปรียบ เชงิ ทรพั ยากรและเชิงพ้ืนท่ี โดยส่งผลต่อการเพิ่มมลู ค่าหรือเกิดประโยชน์ระดับประเทศ ใน 4 ประเดน็ คอื 1) ประโยชน์เชิงสาธารณะ เช่น การเผยแพรค่ วามร้ใู ห้กับเกษตรกรทวั่ ไป เพอ่ื ตระหนกั ถึงการใช้ 2) ประโยชน์เชิงนโยบาย เช่น การให้ข้อมูลทางวิชาการกับกรมปศุสัตว์จนนาไปสู่การออกนโยบาย รับมอื กบั โรคระบาดในปศุสตั ว์ของประเทศ 3) ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เช่น การให้บริการ ให้คาปรึกษาโรงงานอุตสาหกรรมในการลดต้นทุน การผลิตหรือชว่ ยให้ธุรกิจการสง่ ออกพืชผกั ผลไมส้ ามารถมยี อดการสง่ ออกเพ่ิมข้ึน 4) ประโยชน์เชิงวิชาการ (ไม่นับการตีพิมพ์หรือเสนอผลงานวิชาการ) เช่น ผลจากการให้บริการ วิชาการได้พบโจทย์วิจัยเพื่อนาไปศึกษาค้นคว้าให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่จะสามารถช่วยเหลือปัญหา ในระดับประเทศ หรือ จากประสบการณ์ในการบริการวชิ าการสามารถนาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เกิด เป็นคูมือ หนงั สือ ใช้ในการเรียนการสอน ใช้อยา่ งแพร่หลาย เป็นตน้ 123
สตู รกำรคำนวณ : = จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการ/พฒั นาวชิ าการท้ังหมด ท่ีสง่ ผลต่อการเพิม่ มูลค่า หรอื เกดิ ประโยชน์ในระดบั ประเทศ เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 160 ≥ 165 ≥ 170 ≥ 175 ≥ 180 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนโครงการบริการวิชาการ ท่ีส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ใน ระดับประเทศ (เป็นโครงการบริการวิชาการ แบบให้เปล่า และคิดค่าบริการ ในระยะเวลา 1 ปี หลงั จากใหบ้ รกิ ารวชิ าการแลว้ ) รายงานจานวนโครงการพัฒนาวิชาการ ท่ีส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ใน ระดบั ประเทศ ผ้รู บั ผิดชอบ : ส่วนงาน/กองบรหิ ารการวจิ ัยและบริการวิชาการ 124
ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 3 พฒั นำกำรบรกิ ำรวชิ ำกำรแบบครบวงจร เป้าประสงค์ 3.2 พฒั นาคุณภาพชวี ิตเศรษฐกจิ สังคม และส่งิ แวดล้อม แก่ชุมชนและสังคม ทง้ั ในระดับชาติ และนานาชาติ ตัวชว้ี ดั ที่ 3.6 : จานวนองคค์ วามรู้ ดา้ นบริการวชิ าการที่นาไปใช้ประโยชน์ หนว่ ยวัด : องค์ความรู้ กลุม่ ตัวชีว้ ัด : ร่วมทกุ สว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 120 100 110 ผู้กำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการและกจิ การพิเศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ติพจน์ เพิ่มพลู คำอธบิ ำย : องค์ความรู้ นวัตกรรมวิจัยและโครงการบริการวิชาการที่นาไปใช้ประโยชน์ หมายถึง องค์ความรู้ นวัตกรรมวิจัย และโครงการบริการวิชาการ จากผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของอาจารย์นักวิจัย และบุคลากรของมหาวิทยาลัยที่ถูกนาไปใช้ประโยชน์ได้หรือแก้ไขปัญหาชุมชน หรือนาไปสู่การผลิต และการสร้างมูลค่าเพ่ิมของผลิตภัณฑ์ การเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต และการลดต้นทุน การผลิต การสร้างอาชีพ และเป็นทางเลือกให้กบั ผปู้ ระกอบการเกษตรกร สตู รกำรคำนวณ : = จานวนองคค์ วามรู้ด้านบริการวชิ าการที่นาไปใชป้ ระโยชน์ เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 110 ≥ 90 ≥ 95 ≥ 100 ≥ 105 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนองค์ความรู้ นวัตกรรมวจิ ัยและบริการวชิ าการท่นี าไปใชป้ ระโยชน์ ผรู้ บั ผิดชอบ : สว่ นงาน 125
ตัวชีว้ ดั ท่ี 3.7 : ร้อยละของอนุสิทธิบัตร/ สิทธิบัตร/ความลับทางการค้า/ พันธ์ุพืช/ พันธ์ุสัตว์/จุลินทรีย์จาก การวจิ ัยทีน่ าไปต่อยอดในเชงิ พาณิชย์ต่ออนสุ ิทธบิ ตั รและสิทธบิ ตั รท้ังหมด หนว่ ยวดั : ร้อยละ กลุ่มตัวช้ีวัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ขอ้ มูล : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตวั ชว้ี ัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 25 25 25 ผูก้ ำกบั ดูแล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยบรกิ ารวิชาการและกิจการพิเศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กิตติพจน์ เพ่ิมพูล คำอธิบำย : แสดงถึงการนาผลงานที่เป็นสิทธิบัตร (Patent) /อนุสิทธิบัตร (Petty Patent)/ ความลับทางการค้า (Trade Secret) / พันธ์พุ ืช (Plant Variety Protection)/ พันธส์ุ ตั ว์ (Animal Variety Protection)/ จุลินทรีย์ (Microorganisms) ท่ีได้รับการคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบ ผลติ ภัณฑ์ (Product Design) ท่มี ีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด สามารถนาไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ท่ีเป็นสิทธิพิเศษ ที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้นหรือผ้อู อกแบบผลติ ภัณฑ์ มีสิทธิที่จะผลิตสนิ ค้า จาหนา่ ยสินค้า แต่เพยี งผู้เดียว ในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ สูตรกำรคำนวณ : ผลรวมของจานวนอนุสิทธบิ ตั รและสทิ ธิบตั รท่ีนาไปตอ่ ยอดในเชิงพาณชิ ย์ X100 จานวนอนุสทิ ธิบตั รและสิทธิบัตรทงั้ หมด เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 15 ≥ 20 ≥ 25 ≥ 30 ≥ 35 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนของอนสุ ทิ ธบิ ตั ร/ สทิ ธบิ ตั ร/ ความลบั ทางการคา้ / พนั ธพ์ุ ืช/ พนั ธุส์ ตั ว์/ จุลินทรีย์ ผู้รบั ผดิ ชอบ : กองบริหารการวิจัยและบริการวิชาการ 126
ตัวช้วี ัดท่ี 3.8 : จานวนรายรับจากนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ที่สรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ แก้ไขปัญหา ให้สังคมและชมุ ชน ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการท่องเทีย่ ว หรืออนื่ ๆ หนว่ ยวดั : บาท กล่มุ ตวั ชว้ี ดั : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 500,000 600,000 700,000 ผูก้ ำกบั ดูแล : ผูช้ ว่ ยอธิการบดฝี า่ ยวิจยั นวตั กรรม และวิเทศสัมพนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทบั ทิมทอง คำอธิบำย : แสดงถึงศักยภาพของคณาจารย์ประจาและนักวิจัยในการสร้างรายได้จากการผลิตงานนวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ ท่ีสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาให้สังคมและชุมชน ตอบสนอง ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการทอ่ งเทีย่ ว หรอื อน่ื ๆ ที่มคี วามพรอ้ ม นาไปสกู่ ารปฏบิ ัติ สตู รกำรคำนวณ : = จานวนรายรับจากผลงานนวัตกรรมและงานสรา้ งสรรค์ ทส่ี รา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกิจ เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 400,000 ≥ 450,000 ≥ 500,000 ≥ 550,000 ≥ 600,000 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนรายรบั ของผลงานนวตั กรรมและงานสร้างสรรค์ ทส่ี ร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจ ผู้รบั ผิดชอบ : ส่วนงาน/กองบรหิ ารการวจิ ยั และบริการวิชาการ 127
ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 พฒั นำกำรบรกิ ำรวิชำกำรแบบครบวงจร เปา้ ประสงค์ 3.3 มีกระบวนการผลิตและจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ KU KPS ตลอดห่วงโซอ่ ปุ ทาน สู่เทคโนโลยี ดจิ ทิ ัล ตัวช้ีวดั ที่ 3.9 : จานวนผลิตภัณฑ์ KU ทีม่ กี ารจัดการตลอดหว่ งโซ่อุปทาน หนว่ ยวัด : ผลติ ภณั ฑ์ กลุ่มตวั ชีว้ ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 72 74 76 ผู้กำกบั ดแู ล : ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝ่ายบริการวิชาการและกจิ การพเิ ศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กิตตพิ จน์ เพิ่มพลู คำอธิบำย : ผลิตภัณฑ์ KU หมายถึง สินค้าที่มหาวิทยาลัย ศึกษา คิดค้น ค้นคว้า ออกแบบ เพื่อจัดจาหน่ายเพิ่ม รายได้ใหก้ ับมหาวิทยาลยั ห่วงโซ่อุปทาน หมายถึง การจัดการโซ่อุปทาน ย่อมาจาก (Supply Chain Management) การ บริหารจัดการกิจกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้องกันตั้งแต่ต้นน้า (วัตถุดิบ) จนถึง ปลายนา้ (สินค้าสาเร็จรูปหรือบริการ) ซง่ึ มีลกั ษณะยาวต่อเนื่องกันเหมือนโซ่ เพอื่ ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ ตลอดกระบวนการผลิตจนถึงมือผู้บริโภค โดยการให้ความสาคัญต่อการส่ือสาร การวิเคราะห์ข้อมูล และนาไปใช้ร่วมกัน เป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมในการดาเนินงานและเปน็ การสร้างความได้เปรียบในการ แขง่ ขันอยา่ งย่ังยนื ” สูตรกำรคำนวณ : = จานวนผลติ ภัณฑ์ KU ที่มีการจดั การตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 76 ≥ 68 ≥ 70 ≥ 72 ≥ 74 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนผลติ ภัณฑ์ KU ท่ีมกี ารจัดการตลอดหว่ งโซ่อุปทาน ผู้รบั ผดิ ชอบ : สว่ นงาน/กองบริหารทรัพย์สิน 128
ตัวชว้ี ัดที่ 3.10 : รอ้ ยละของรายไดจ้ ากการจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์ KU หน่วยวดั : ร้อยละ กลมุ่ ตัวช้วี ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 >15 >10 >10 ผู้กำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายบริการวิชาการและกจิ การพเิ ศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กิตตพิ จน์ เพิ่มพูล คำอธิบำย : รายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ KU หมายถึง รายได้ท่ีก่อเกิดจากการจัดจาหน่ายสินค้าของ มหาวิทยาลัย ทีไ่ ด้จากศึกษา คดิ คน้ คน้ คว้า ออกแบบ ผลิตภณั ฑ์ KU รายได้จากการบริหารจัดการทรัพย์สิน หมายถึง รายได้ที่เกิดจากโครงการหรือกิจกรรมของกองบริหาร ทรพั ย์สนิ บรหิ ารจัดการ เช่น ค่าเช่าพืน้ ทีร่ ้านค้า ตา่ ง ๆ เป็นต้น สตู รกำรคำนวณ : รายไดจ้ ากการจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ KU X100 รายไดจ้ ากการบรหิ ารจัดการทรพั ย์สิน เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥6 ≥8 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 15 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานรายได้จากการจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์ KU ผู้รบั ผิดชอบ : ส่วนงาน/กองบริหารทรัพยส์ ิน 129
ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 4 พฒั นำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรเพื่อควำมเป็นเลิศ เปา้ ประสงค์ 4.1 พลกิ โฉมการบริหารจดั การสกู่ ารบรหิ ารจัดการเชงิ รกุ และเกิดความคล่องตัว ตัวชีว้ ัดที่ 4.1 : รอ้ ยละของความสาเร็จของแผนการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศท่สี นับสนุนทุกภารกจิ หน่วยวัด : ร้อยละ กลุ่มตวั ช้วี ดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 25 50 80 ผู้กำกับดแู ล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี ่ายเทคโนโลยดี จิ ิทลั วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จกั กริช พฤษการ คำอธิบำย : การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาพฒั นาระบบงานเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจัดการเชิงรุกตามพันธกจิ ทาให้ การปฏบิ ัติงานมีความรวดเรว็ และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนตอบสนองความต้องการของบุคลากร และผูร้ บั บรกิ ารทงั้ ภายในและภายนอก สูตรกำรคำนวณ : จานวนโครงการ/กจิ กรรมทด่ี าเนินการสาเรจ็ ตามแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ X100 จานวนโครงการ/กจิ กรรม ตามแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนทุกภารกิจ เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ≥ 35 ≥ 45 ≥ 5 ≥ 15 ≥ 25 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : แผนพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ รายงานจานวนโครงการ/กิจกรรมทดี่ าเนนิ การสาเร็จตามแผนพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานจานวนโครงการ/กิจกรรม ตามแผนพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศทส่ี นับสนนุ ทกุ ภารกจิ ผู้รับผดิ ชอบ : สว่ นงาน/งานเทคโนโลยีสารสนเทศ กองบรกิ ารกลาง 130
ประเด็นยทุ ธศำสตร์ท่ี 4 พฒั นำระบบกำรบรหิ ำรจัดกำรเพือ่ ควำมเป็นเลิศ เปา้ ประสงค์ 4.2 ผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (KUQS) ตัวช้วี ดั ที่ 4.2 : คะแนนเฉลี่ยผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทุกส่วนงานที่เขา้ รบั การประเมนิ หนว่ ยวดั : คะแนน กลมุ่ ตัวชีว้ ัด : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปกี ารศกึ ษา เป้ำหมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 N/A 200 250 ผู้กำกบั ดูแล : ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวางแผนยทุ ธศาสตร์ องค์กร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชัย เหมอื นโพธ์ิ คำอธิบำย : ข้อมูลคะแนนเฉล่ียผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทกุ ส่วนงานท่ีเขา้ รับการประเมิน สูตรกำรคำนวณ : คะแนนรวมผลการตรวจประเมนิ ในระบบคณุ ภาพ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทกุ ส่วนงานทเ่ี ข้ารบั การประเมนิ จานวนส่วนงานทเ่ี ข้ารับการตรวจประเมนิ ในระบบคณุ ภาพ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (KUQS) เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ≥ 170 ≥ 190 ≥ 110 ≥ 130 ≥ 150 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานคะแนนรวมผลการตรวจประเมินในระบบ KUQS ของทกุ ส่วนงานท่ีเข้ารบั การประเมิน ผู้รบั ผดิ ชอบ : งานยทุ ธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารท่ัวไป 131
ตวั ช้ีวัดท่ี 4.3 : รอ้ ยละของบคุ ลากรทีไ่ ด้ตาแหนง่ ทางวชิ าการ หน่วยวดั : รอ้ ยละ กลุม่ ตวั ชีว้ ัด : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีการศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 75 65 70 ผ้กู ำกับดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝ่ายบรหิ าร วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าท่ีรอ้ ยตรี ดร.ศริ ิชัย ศรีพรหม คำอธบิ ำย : แสดงถึง ผลลัพธ์ของการพัฒนาบุคลากร และส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการ ตามตาแหน่ง เพ่ือให้ บคุ ลากรมีการพัฒนาศักยภาพ ทงั้ สายวชิ าการและสายสนับสนุนวิชาการ มีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1) บุคลากรสายวิชาการ คือ อาจารย์ ผู้สอน ท่ีมีตาแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ 2) บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ คือ บุคลากรท่ีเป็นสายสนับสนุนกลุ่มวิชาการ รวมถึง บคุ ลากรตาแหน่ง นักวิจัย ผู้ช่วยนักวิจัย บุคลากรกลมุ่ วิชาชีพ บุคลากรกลุ่มอานวยการ และกลุ่มบริการ ที่มีตาแหน่ง ชานาญการ ชานาญการพิเศษ ชานาญงาน และชานาญงานพิเศษ เป็นต้น ข้อมูลคะแนน เฉลย่ี ผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) สูตรกำรคำนวณ : จานวนบุคลากรสายวิชาการและบคุ ลากรสายสนับสนุนทม่ี ตี าแหน่งทางวชิ าการ X100 จานวนบุคลากรสายวิชาการและบคุ ลากรสายสนับสนุนทงั้ หมด เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 55 ≥ 60 ≥ 65 ≥ 70 ≥ 75 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนบุคลากรทีไ่ ด้ตาแหน่งทางวชิ าการ ผู้รบั ผิดชอบ : งานบริหารทรัพยากรบุคคลและนติ ิการ กองบรหิ ารทว่ั ไป 132
ตวั ชวี้ ัดท่ี 4.4 : คะแนนเฉลี่ยของผลการบริหารจดั การหลกั สตู ร หน่วยวัด : คะแนน กลมุ่ ตัวชวี้ ัด : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 3.51 3.47 3.49 ผู้กำกับดูแล : ผชู้ ่วยอธิการบดฝี ่ายการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจินพรัหม คำอธบิ ำย : แสดงถึงผลลัพธ์ของระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ซ่ึงแสดงผลโดยการดาเนินการของ แต่ละหลักสูตร ซึ่งสามารถสะท้อนคุณภาพของบัณฑิตในหลักสูตรท่ีหน่วยงานรับผิดชอบ ทั้งนี้หาก หลักสูตรท่ีได้รับการรับรองโดยระบบอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เห็นชอบ ไม่ต้องนาคะแนนการประเมินของหลักสูตรน้ันมาคานวณในตัวบ่งชี้นี้ แต่ต้องรายงานผลการ รบั รองตามระบบน้ัน ๆ ในตวั บ่งชีน้ ี้ใหค้ รบถว้ น สตู รกำรคำนวณ : ผลรวมของคะแนนการประเมนิ หลักสูตรทกุ หลักสูตร จานวนหลักสูตรทง้ั หมดในปกี ารศกึ ษาปจั จุบัน เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 3 คะแนน 5 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 4 ≥ 3.51 ≥ 3.43 ≥ 3.45 ≥ 3.47 ≥ 3.49 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพในระดบั หลักสูตรทกุ หลักสูตร ผ้รู ับผิดชอบ : งานยุทธศาสตร์และพฒั นาคุณภาพ กองบริหารทวั่ ไป 133
ตวั ชวี้ ดั ที่ 4.5 : จานวนหลักสูตรทไ่ี ด้รบั การรับรองมาตรฐานสากล หน่วยวดั : หลักสตู ร กลุ่มตัวชี้วัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปกี ารศึกษา เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 2 N/A 1 ผูก้ ำกับดแู ล : ผู้ช่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สจุ ินพรหั ม คำอธิบำย : แสดงถึงประสิทธิภาพและศักยภาพของหลักสูตรในระดับนานาชาติ เช่น AUN-QA AACSB ABET เป็นต้น ซ่ึงแสดงผลโดยจานวนหลักสูตรที่ได้รับการรับรองในระดับนานาชาติ สามารถสะท้อนคุณภาพ หลักสตู รทีห่ นว่ ยงานรบั ผิดชอบ ซึ่งเปน็ ที่ยอมรบั ในระดับนานาชาติ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนหลกั สตู รที่ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานสากล เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 4 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ≥2 คะแนน 5 0 - ≥1 ≥3 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนหลักสตู รท่ีได้รับการรบั รองมาตรฐานสากล ผู้รับผิดชอบ : งานยทุ ธศาสตร์และพฒั นาคุณภาพ กองบรหิ ารทั่วไป 134
ตัวช้วี ัดที่ 4.6 : จานวนหลักสูตรท่ีเขา้ สูก่ ระบวนการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานสากล หนว่ ยวัด : หลกั สตู ร กลุ่มตวั ช้วี ดั : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปกี ารศึกษา เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 679 ผู้กำกับดูแล : ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี ่ายการศึกษา วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจินพรัหม คำอธิบำย : แสดงถึงประสิทธิภาพและศักยภาพของหลักสูตรในระดับนานาชาติ เช่น AUN-QA AACSB ABET เป็นต้น ซ่ึงแสดงผลโดยจานวนหลักสูตรที่เข้าสู่กระบวนการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานสากล สามารถสะทอ้ นคุณภาพหลักสูตรทห่ี น่วยงานรับผิดชอบ ซึง่ เปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั นานาชาติ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนหลักสตู รทีเ่ ขา้ สู่กระบวนการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานสากล เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥4 ≥5 ≥6 ≥7 ≥8 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนหลักสูตรท่ีเข้าสู่กระบวนการประเมินตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ รายงานจานวนหลักสตู รทเ่ี ขา้ สู่กระบวนการประเมินมาตรฐานสากล (อน่ื ๆ นอกจาก AUN-QA) ผ้รู ับผดิ ชอบ : คณะ 135
ตัวชวี้ ัดท่ี 4.7 : จานวนแนวปฏิบัติทดี่ ีทไี่ ด้รบั รางวัลในระดบั มหาวทิ ยาลยั หรอื ระดับประเทศ หน่วยวดั : แนวปฏบิ ัติ กลมุ่ ตวั ชว้ี ดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 24 28 32 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผูช้ ่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนยทุ ธศาสตร์ องค์กร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชัย เหมือนโพธ์ิ คำอธบิ ำย : แสดงถึงประสิทธิภาพและศักยภาพของวิทยาเขต ในระบบการบริหารงานท่ีได้รับรางวัล ทั้งในระดับ มหาวิทยาลัย และในระดับประเทศ สามารถสะท้อนคุณภาพของหน่วยงาน เปน็ ทย่ี อมรับในระดับชาติได้ สตู รกำรคำนวณ : = จานวนแนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ีทไี่ ด้รับรางวัลในระดบั มหาวิทยาลัย หรือระดับประเทศ เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 20 ≥ 22 ≥ 24 ≥ 26 ≥ 28 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนผลงานท่ีเป็นแนวปฏบิ ตั ิที่ดที ่ีได้รับรางวลั ในระดับมหาวิทยาลัยหรอื ระดบั ประเทศ ผู้รับผดิ ชอบ : งานบรหิ ารทรัพยากรบุคคลและนิตกิ าร กองบริหารท่ัวไป 136
ตัวชวี้ ัดท่ี 4.8 : จานวน Best Practices ทีเ่ กิดจากการปรับปรงุ กระบวนการในส่วนงาน หน่วยวดั : แนวปฏบิ ตั ิ กลุ่มตวั ช้ีวดั : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 5 10 15 ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี ่ายบริหาร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ว่าทีร่ อ้ ยตรี ดร.ศริ ชิ ยั ศรพี รหม คำอธิบำย : แสดงถึงความสามารถของส่วนงานในการส่งเสริมการปรับปรุง พัฒนา อย่างต่อเนื่องจนสร้าง Best Practice ของการดาเนนิ การของหนว่ ยงานในส่วนงาน Best Practice คือ กระบวนการ/แนวทางปฏิบัติในการทางาน เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์หรือ ส่ิงประดิษฐ์ ที่มุ่งเน้นผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลางและดาเนินการโดยบุคลากรของส่วนงาน โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ท่ีสาคัญ (Evidence) ว่ามีผลลัพธ์การดาเนินการท่ีพิสูจน์โดยการ Benchmark ว่าดีกว่า หรือผ่าน การตัดสินหรือได้รับการประเมินว่าสมควรเผยแพร่เป็นต้นแบบในการปฏิบัติท่ัวท้ังส่วนงาน หรือได้รับ รางวลั จากภายนอกสว่ นงาน สตู รกำรคำนวณ : = จานวน Best Practices ทเี่ กดิ จากการปรบั ปรุงกระบวนการในสว่ นงาน เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥1 ≥3 ≥5 ≥7 ≥9 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวน Best Practices ที่เกิดจากการปรับปรุงกระบวนการในสว่ นงาน ผู้รบั ผิดชอบ : ส่วนงาน/งานบริหารทรพั ยากรบคุ คลและนิติการ กองบรหิ ารทว่ั ไป 137
ตวั ช้ีวัดที่ 4.9 : จานวนนวตั กรรมทีเ่ กดิ จากการปรับปรงุ กระบวนการในหน่วยงาน หนว่ ยวัด : นวตั กรรม กลุ่มตัวชว้ี ัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 10 10 10 ผูก้ ำกบั ดูแล : ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหาร วิทยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วา่ ท่รี อ้ ยตรี ดร.ศิริชัย ศรีพรหม คำอธิบำย : แสดงถงึ ความสามารถของสว่ นงานในการส่งเสริม/สร้างแนวความคิดการสรา้ งนวัตกรรม นวัตกรรม หมายถึง การเปล่ียนแปลงท่ีมีความหมายเพ่ือปรับปรุงหลักสูตรการจัดการศึกษา วิจัย และบริการฯ กระบวนการ การปฏิบัติการ และรูปแบบธุรกิจของสถาบัน หรือประสิทธิผลของสถาบัน รวมท้ังสร้างคุณค่าใหม่ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นวัตกรรมควรนาสถาบันไปสู่มิติใหม่ของผล การดาเนินการ การสร้างนวัตกรรมจาเป็นต้องมีสภาวะแวดล้อมท่ีเกื้อหนุน กระบวนการในการระบุ โอกาสเชิงกลยุทธ์ และการแสวงหาประเด็นที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างรอบด้านว่า สมควรที่จะเส่ียง นวัตกรรมเป็นแนวคิดที่แตกต่างจากการปรับปรุงให้ดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง (Incremental continuous improvement) แต่เติมเต็มซึ่งกันและกัน สถาบันท่ีประสบความสาเร็จใช้ทั้งนวัตกรรม และการปรบั ปรงุ อย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้มีผลการดาเนินงานท่ีดขี ึ้น สูตรกำรคำนวณ : = จานวนนวัตกรรมที่เกดิ จากการปรับปรุงกระบวนการในหนว่ ยงาน เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน 1 คะแนน 2 ≥ 6 ≥ 8 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 14 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนนวัตกรรมท่ีเกิดจากการปรับปรุงกระบวนการในหน่วยงานที่แสดงถึงการมี ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสูงกว่าเดิมอย่างชดั เจน ผู้รบั ผดิ ชอบ : งานบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลและนติ กิ าร กองบรหิ ารทวั่ ไป 138
ประเดน็ ยุทธศำสตร์ที่ 4 พัฒนำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรเพือ่ ควำมเป็นเลศิ เป้าประสงค์ 4.3 มรี ายไดเ้ พิ่มขน้ึ จากการบริหารจดั การทรัพยากรของวิทยาเขตกาแพงแสน ตวั ชีว้ ัดท่ี 4.10 : ร้อยละของรายได้อื่น ๆ ท่ีเพิ่มข้ึนเทียบกับปีท่ีผ่านมา (ยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษา และเงินอุดหนนุ จากรัฐบาล) หน่วยวัด : รอ้ ยละ กลุม่ ตัวชีว้ ัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตวั ชีว้ ดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 >1.5% >1.5% >1.5% ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายบริหาร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าทร่ี อ้ ยตรี ดร.ศิรชิ ยั ศรพี รหม คำอธบิ ำย : งบประมาณเงินรายได้ หมายถึง เงินท่ีมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จัดเก็บหรือรับไว้ เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ท่ีเป็นตัวเงิน อันเกิดจากผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัย เน่ืองจากการ ดาเนินงาน ประกอบไปด้วย เงินทุนการศึกษา เงินทุนวิจัย เงินอุดหนุนการวิจัย เงินรายได้จากโครงการ พัฒนาวิชาการ หรือการบริการวิชาการ เงินรายได้จากการลงทุนจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย เงินท่ี เกิดจากผลประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ เงินจากผลประโยชน์ อื่น ๆ รวมท้ังเงินบริจาคอื่น ๆ และเพื่อให้การ บริหารวิทยาเขต มีงบประมาณเพียงพอต่อการบริหารในอนาคต จึงต้องหากลยุทธ์และวิธีการในการเพ่ิม งบประมาณรายไดใ้ นแตล่ ะปีขึ้นไป ทั้งนี้ ไมน่ ับรวมค่าธรรมเนียมการศึกษา ซึ่งมีคานิยาม ดงั น้ี 1. รายได้จากการจัดการศึกษา คือ เงินบารุงการศึกษา เงินค่าหน่วยกิต เงินค่าธรรมเนียมการศึกษา จัดสรรหน่วยกิตภาคพเิ ศษ จัดสรรผลประโยชน์ภาคพิเศษ รายรับโครงการภาคพิเศษ 2. รายได้จากการบริการวิชาการ คือ ประยกุ ต์และบริการวชิ าการ โครงการพัฒนาวิชาการ ทรัพย์สินทาง ปัญญา/สิทธปิ ระโยชน์ฯ 3. รายได้จากการบริหารงาน คือ ขายผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ การบริหารสินทรัพย์ เช่าท่ีราชพัสดุ ท่ีดิน/ อาคารในความปกครอง 4. รายได้ดอกเบ้ยี คือ ดอกเบยี้ เงนิ ฝาก ดอกเบยี้ จากการลงทนุ 5. การรบั บริจาค 6. รายไดเ้ งินอดุ หนนุ คือ อดุ หนนุ เพื่อการดาเนินงาน อดุ หนนุ วิจัยจากแหลง่ ทนุ ภายนอก 7. เงนิ รายไดอ้ ืน่ 139
สตู รกำรคำนวณ : รายไดอ้ ื่น ๆ ปีปจั จุบนั - รายไดอ้ ื่น ๆ ปงี บประมาณทผ่ี ่านมา X100 รายไดอ้ ื่น ๆ ปีงบประมาณทผี่ ่านมา เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 2 ≥ 1.5 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥0 ≥ 0.75 ≥ 2.25 ≥ 3.0 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานรายไดใ้ นปปี จั จบุ นั (ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมการศึกษา และเงนิ อุดหนุนจากรฐั บาล) รายได้ในปที ่ีผา่ นมา (ยกเว้นค่าธรรมเนยี มการศึกษา และเงินอุดหนนุ จากรฐั บาล) ผ้รู ับผดิ ชอบ : งานคลังและพสั ดุ กองบริหารท่ัวไป 140
ประเดน็ ยุทธศำสตร์ท่ี 4 พัฒนำระบบกำรบรหิ ำรจัดกำรเพอ่ื ควำมเป็นเลิศ เปา้ ประสงค์ 4.4 นิสติ และบคุ ลากรมคี ณุ ภาพชีวิตที่ดี ตวั ชวี้ ัดท่ี 4.11 : ระดับความผาสุก (Happy 8) ของนสิ ติ และบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน หน่วยวัด : คา่ เฉล่ีย กลุ่มตัวช้ีวดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวชี้วดั : ปี 2567 ปี 2565 ปี 2566 ≥ 3.70 ≥ 3.70 ≥ 4.00 ผู้กำกบั ดูแล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดีฝ่ายบรหิ าร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ วา่ ท่ีร้อยตรี ดร.ศิริชยั ศรีพรหม : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสติ กฬี า และทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ตอ่ ศักดิ์ แกว้ วไิ ล คำอธิบำย : นิสิตท่ีมีค่าเฉลี่ยคะแนนความผาสุก ในระดับดี หมายถึง นิสิตระดับปริญญาตรีต้ังแต่ช้ันปีที่ 1 – 4 ของ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ทม่ี ผี ลการประเมนิ ค่าเฉลย่ี ความผาสุก ต้งั แตร่ ะดบั ดขี ึน้ ไป บคุ ลากรท่มี คี า่ เฉลยี่ คะแนนความผาสุก ในระดบั ดี หมายถึง บุคลากรของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ทีม่ ีผลการประเมินค่าเฉลี่ยความผาสกุ ตง้ั แตร่ ะดับดีขน้ึ ไป ความผาสุก คือ ความสุข 8 ประการ คือ ด้านสุขภาพดี การผ่อนคลาย การส่งเสริมคุณธรรม การรู้จักใช้ เงิน การส่งเสริมครอบครัว แบ่งปันน้าใจ สร้างความรู้ และด้านสังคม (ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยส์ ิน บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน) ชว่ งคะแนนเป็นดงั นี้ 0.01 - 1.50 หมายถึง ระดับความผาสกุ ในระดบั ไมพ่ ึงพอใจ 1.51 - 2.50 หมายถงึ ระดับความผาสกุ ในระดับน้อย 2.51 - 3.50 หมายถงึ ระดับความผาสุก ในระดบั ปานกลาง 3.51 - 4.50 หมายถงึ ระดบั ความผาสกุ ในระดบั ดี 4.51 - 5.00 หมายถงึ ระดับความผาสกุ ในระดับดที ่สี ุด สตู รกำรคำนวณ : = ระดบั คะแนนความผาสกุ (Happy 8) ของนิสิตและบคุ ลากร เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 3.30 ≥ 3.50 ≥ 3.70 ≥ 3.90 ≥ 4.00 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานระดับความผาสุก (Happy 8) ของนิสิตมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน รายงานระดับความผาสุก (Happy 8) ของบคุ ลากรมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้รับผดิ ชอบ : กองบริหารกจิ การนสิ ิต/งานบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลและนิติการ กองบริหารทวั่ ไป 141
ตวั ชว้ี ัดที่ 4.12 : ร้อยละของความสาเร็จของแผนส่งเสริมและพัฒนากีฬา ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ประจาปี หนว่ ยวดั : ร้อยละ กลุ่มตัวช้วี ดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตวั ชวี้ ัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 80 80 80 ผู้กำกับดูแล : ผชู้ ่วยอธิการบดฝี ่ายกจิ การนสิ ิต กีฬา และทานบุ ารุงศลิ ปวัฒนธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อศักด์ิ แก้ววไิ ล คำอธบิ ำย : แสดงถึงศักยภาพในการส่งเสริมและพัฒนากีฬา ของมหาวิทยาลัย เพ่ือเป็นแผนระยะยาวในการพัฒนา อย่างยั่งยืนด้านกีฬาและสุขภาพกาย และยกระดับมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศในระดับ นานาชาติ สูตรกำรคำนวณ : จานวนโครงการ/กจิ กรรมทดี่ าเนินการสาเรจ็ ตามส่งเสรมิ และพัฒนากฬี า ฯ ประจาปี X100 จานวนโครงการ/กิจกรรมตามแผนส่งเสรมิ และพัฒนากีฬาฯ ประจาปี เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 5 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 ≥ 90 ≥ 60 ≥ 75 ≥ 80 ≥ 85 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินการสาเร็จตามแผนส่งเสริมและพัฒนากีฬา ของ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ประจาปี รายงานจานวนโครงการ/กิจกรรม ตามแผนส่งเสริมและพัฒนากีฬา ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ประจาปี ผู้รบั ผิดชอบ : งานกีฬา กองบริการกลาง 142
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174