ประเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 1 โครงกำร/กจิ กรรมขบั เคลื่อนยทุ ธศำสตร์ พฒั นำและบรหิ ำรหลักสตู ร นวัตกรรม เทคโนโลยี เพือ่ กำรเรยี นรู้ตลอดชวี ติ โครงกำร/กจิ กรรม ตวั ชี้วดั เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด 2565 2566 2567 1. โครงการส่งเสริมความร่วมมือด้านวิชาการกับ ร้อยละของหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือจาก 30 35 40 ภาครัฐหรือเอกชน1 ภายนอกทงั้ ภาครัฐหรอื เอกชน 8 10 12 30 40 50 2. โครงการจัดทาหลักสูตรระยะส้ันแบบบูรณาการ จานวนหลักสตู ร 8 9 10 หรือ Non Degree1 334 30 40 50 3. โครงการส่งเสริมการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร ร้อยละหลักสตู รเพือ่ การสร้างนวัตกรรม 240 260 280 เพ่ือการสรา้ งนวตั กรรม1 60 80 100 60 80 100 4. โครงการส่งเสริมความร่วมมือด้านวิชาการ 1. จานวนโครงการความร่วมมือฯ 80 85 90 ระดับชาติ หรอื นานาชาติ1 16 18 20 2. จานวนหลักสูตรท่ีมีความร่วมมือระดับ 20 20 20 >30 >40 >50 นานาชาติ 345 15 20 25 5. โครงการส่งเสริมหลักสูตรท่ีมีรายวิชาท่ีเปิดสอน ร้อยละของหลักสูตรที่เปิดสอนมีการเรียน 80 80 80 มกี ารเรยี นการสอนเปน็ ภาษาต่างประเทศ1 4 6 10 การสอนภาษาตา่ งประเทศ >50 >70 100 6. โครงการส่งเสริมการแลกเปล่ียนนิสิตในระดับ จานวนนิสิตแลกเปล่ียน Inbound และ 44 นานาชาติ1 Outbound 7. โครงการจัดตัง้ คณะแพทยศาสตร์2 ร้ อ ย ล ะ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น ตามแผนฯ 8. โครงการส่งเสริมการบรู ณาการรายวชิ าขา้ มศาสตร์1 ร้อยละความสาเร็จของแผนการส่งเสริม บรู ณาการรายวชิ าข้ามศาสตร์ 9. โครงการพัฒนานิสิตตามคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ร้อยละของนิสิตท่ีเข้าร่วมท่ีผ่านตามเกณฑ์ ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์3 คุณลักษณะนิสิตทพ่ี ึงประสงค์ 10. โครงการความร่วมมือกับหน่วยงาน ผู้ประกอบการ จานวนความรว่ มมอื ฯ เพื่อการพัฒนาดา้ นปฏิบัตกิ ารจริง1 11. โครงการพัฒนาอาจารย์ ส่ิงสนับสนุน การเรียน 1. ร้อยละของอาจารยป์ ระจาทีไ่ ด้รบั การพฒั นา การสอน และปรับปรุงกระบวนการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้อง 2. จานวนรายวิชาที่มีการพฒั นาปรบั ปรุงฯ กบั ยุคดจิ ิทลั 3 3. จานวนห้องเรียนอจั ริยะ (Smart Classroom) หรอื หอ้ งจัดการเรียนการสอนออนไลน์ 12. โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้และคุณภาพ จานวนโครงการ/กิจกรรม ชวี ิตของผู้สูงอายยุ ุคใหม่ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต4 13. โครงการเสริมสร้างทักษะเพ่ือพัฒนาผู้ประการ 1. ร้อยละของนิสิตที่เข้าร่วมตามเป้าหมาย การรุน่ ใหม่5 โครงการฯ 2. ร้อยละของจานวนบัณฑิตท่ีเข้าร่วมโครงการ สามารถเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ 14. โครงการจัดทา start up platform & Co-working ร้อยละความสาเร็จของการจัดทา start up space (วทิ ยาเขต)5 platform ตามเป้าหมาย 1 ผรู้ บั ผิดชอบ คณะ 2 ผู้รับผิดชอบ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 3 ผู้รบั ผดิ ชอบ คณะ และ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 4 ผูร้ บั ผิดชอบ คณะ และ สานัก 5 ผ้รู บั ผดิ ชอบ คณะ สานัก และ วทิ ยาเขตกาแพงแสน
ประเดน็ ยุทธศำสตรท์ ี่ 2 ส่งเสริมกำรสรำ้ งองค์ควำมรู้กำรวิจยั และนวตั กรรมดำ้ นเกษตร สุขภำพ และสิง่ แวดล้อม ในระดับสำกล โครงกำร/กิจกรรม ตวั ชีว้ ัด เปำ้ หมำยตวั ชี้วดั 2565 2566 2567 1. โครงการเสริมสร้างศักยภาพในการแสวงหาแหล่ง จานวนเงนิ สนับสนนุ วจิ ัยภายนอก 310 ลบ. 320 ลบ. 330 ลบ. ทุนจากหน่วยงานภายนอกเพื่องานวิจัย นวัตกรรม และงานสรา้ งสรรค์4 2. โครงการส่งเสริมสนับสนุนงานวิจัย และงาน สัดส่วนงบประมาณท่ีได้รับการสนับสนุนต่อ 2.5 3.0 3.5 สรา้ งสรรค์จากแหล่งทุนภายใน4 งบประมาณเงนิ รายไดท้ ้ังหมด 3. โครงการตลาดนัดวจิ ยั ออนไลน์4 จานวนผลงานวิจยั ทีแ่ สดงผ่านระบบออนไลน์ 120 130 140 4. โครงการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์นวัตกรรมแบบ จานวนผลงานทมี่ กี ารบรู ณาการ >10 >10 >10 บรู ณาการ1 5. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักวิจัย จานวนข้อเสนองานวิจัยของนักวิจัยรุ่นใหม่ 40 45 50 ร่นุ ใหม่1 ท่เี ขา้ ร่วมโครงการ 6. โครงการจดั ทาวารสารดา้ นสังคมและมนษุ ยศาสตร์2 รอ้ ยละความสาเร็จของแผนการจัดทาวารสาร 100 - - 7. งานวจิ ัยทางวารสารวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี2 ระดับผลการประเมินคุณภาพวารสารท่ีอยู่ใน 2 2 1 ฐานขอ้ มูล TCI 8. จัดตัง้ คลนิ ิกท่ปี รึกษาการตีพมิ พ์วารสารนานาชาติ2 ร้อยละความสาเรจ็ ของแผนการจัดทาวารสาร 100 - - 9. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสนับสนุนงานวิจัยภายใต้ 1. จานวนงบประมาณรวมจากทุกส่วนงาน 31 ลบ. 32 ลบ. 33 ลบ. เครือขา่ ยหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั วทิ ยาเขตกาแพงแสน4 ทไี่ ดร้ บั การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานฯ 2. จานวนห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมภายใต้ 13 17 20 เครือข่ายฯ ได้รับการสนับสนุนโครงสร้าง พ้ืนฐานเพอ่ื งานวิจยั 3. จานวนห้องปฏิบัติการท่ีได้มาตรฐานเพื่อ 4 5 6 การบรกิ าร 4. จานวนห้องปฏิบัติการ/ศูนย์วิจัย ด้านเกษตร 3 4 5 สขุ ภาพ และสงิ่ แวดลอ้ ม 10. โครงการส่งเสริมการเผยแพร่งานวิจัย นวัตกรรม 1. จานวนผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่และ 35 40 45 สงิ่ ประดษิ ฐ์ และงานสร้างสรรค์1 ถูกนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ นโยบาย และสาธารณะ 2. จานวนการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับ 70 80 90 ชาติ และนานาชาติท่ีถูกนาไปใช้ประโยชน์ ในเชงิ พาณิชย์ นโยบาย และสาธารณะ 11. จัดต้ังเมืองนวัตกรรมการเกษตร จานวนโครงการ/กิจกรรม 6 8 10 (Agro Innopolis)2 12. จัดต้ังศูนย์บ่มเพาะธุรกิจจากงานวิจัย และ รอ้ ยละความสาเร็จของแผนจัดต้ังศูนย์บ่มเพาะ 60 100 - นวัตกรรม2 1 ผู้รับผิดชอบ คณะ 2 ผรู้ บั ผดิ ชอบ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 4 ผู้รบั ผิดชอบ คณะ และ สานัก 45
ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ที่ 2 สง่ เสริมกำรสร้ำงองคค์ วำมรู้กำรวิจัยและนวัตกรรมดำ้ นเกษตร สขุ ภำพ และสิง่ แวดลอ้ ม ในระดบั สำกล โครงกำร/กิจกรรม ตัวชว้ี ดั เปำ้ หมำยตวั ช้วี ดั 2565 2566 2567 13. โครงการส่งเสริมการวิจัยท่ีทาร่วมกับภาค จานวนผลงานวจิ ัยทที่ าร่วมกับภาคอตุ สาหกรรม 20 25 30 อตุ สาหกรรม1 678 14. โครงการส่งเสริมการวิจัยท่ีร่วมทากับหน่วยงาน จานวนผลงานท่ีร่วมทากับหน่วยงานระดับ ระดบั นานาชาติ1 8 10 12 นานาชาติ 6 8 10 15. โครงการส่งเสริมการบูรณาการงานวิจัยแบบ จานวนผลงานวิจยั แบบสหวิชาการฯ สหวิชาการ5 16. โครงการส่งอาจารย์/นักวิจัย ที่มีความเช่ียวชาญ จานวนอาจารย์/นักวิจัยท่ีเข้าร่วมกาหนด สู่เวทีการกาหนดนโยบายการพัฒนางานวิจัยเชิง นโยบายระดับชาติ นโยบาย5 17. โครงการจดั ทาฐานขอ้ มูลนกั วิจัย/ผู้เชย่ี วชาญ2 รอ้ ยละความสาเร็จของแผนจัดทาฐานขอ้ มูล 100 - - 68 10 18. จัดเวทีสาธารณะเพ่ือช้ีนาทางวิชาการสอดคล้อง จานวนเวทสี าธารณะ กับสถานการณป์ ัจจบุ ัน5 1 ผรู้ บั ผิดชอบ คณะ 2 ผรู้ ับผดิ ชอบ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 5 ผู้รบั ผดิ ชอบ คณะ สานกั และ วิทยาเขตกาแพงแสน 46
ประเด็นยุทธศำสตร์ท่ี 3 พัฒนำกำรบรกิ ำรวชิ ำกำรแบบครบวงจร โครงกำร/กจิ กรรม ตัวชวี้ ดั เปำ้ หมำยตวั ชว้ี ัด 2565 2566 2567 1. โครงการจัดต้งั ศูนย์บริการวิจัยและบริการวิชาการ รอ้ ยละความสาเร็จตามแผนฯ 100 - - มก.กพส.2 2. โครงการส่งเสริมการสร้างความรว่ มมือด้านบริการ จานวนโครงการด้านบริการวชิ าการ 20 25 30 วชิ าการ2 3. โครงการจัดต้ังศูนย์กีฬา สุขภาพบาบัด และ ร้อยละความสาเร็จในการดาเนนิ การตามแผน 100 - - การใหค้ าปรกึ ษา6 4. โครงการพัฒนาและสง่ เสรมิ การตลาดผลิตภณั ฑ์5 จานวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนา และ 14 16 18 ส่งเสรมิ ทางดา้ นการตลาด 5. โครงการพัฒนาช่องทางการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ 1. ร้อยละความสาเร็จในการดาเนินการ 50 100 - e-marketing5 ตามแผน 2. ร้อยละผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาและ 50 100 - สง่ เสริมทางด้านการตลาด 6. โครงการจัดต้ังศูนย์จาหน่ายสินค้ามหาวิทยาลัย รอ้ ยละความสาเร็จในการดาเนินการตามแผน 50 100 - เกษตรศาสตร์วิทยาเขตกาแพงแสน (KU Premium Outlet)2 2 ผู้รับผิดชอบ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 5 ผู้รับผิดชอบ คณะ สานัก และ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 6 ผู้รับผดิ ชอบ วทิ ยาเขตกาแพงแสน คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า และคณะศกึ ษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์ 47
ประเด็นยทุ ธศำสตรท์ ่ี 4 พัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรเพ่อื ควำมเปน็ เลิศ โครงกำร/กจิ กรรม ตัวชว้ี ดั เป้ำหมำยตัวช้ีวดั 2565 2566 2567 1. โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบ ร้อยละความสาเร็จตามแผนพัฒนาระบบ 50 70 100 40 60 90 ปฎิบัติการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสนับสนุน ฐานข้อมูล 20 22 26 เชงิ รุกท่ีครอบคลุมทุกภารกจิ 5 180 190 200 2. โครงการจัดทานโยบาย (เฉพาะด้านบริหาร) รอ้ ยละการดาเนนิ การตามนโยบาย >5 >5 >5 ท่ีเก่ียวข้องในการพลิกโฉม มก.กพส. (Reinventing Policy)2 3. โครงการการจัดการความรู้ ม่งุ สู่การเป็นศนู ย์กลาง จานวนนวัตกรรมและแนวปฏิบัติท่ีดีจาก การเรยี นรู้5 การจดั การความรู้ 4. โครงการขับเคล่ือนการบริหารจัดการตามเกณฑ์ ผลการประเมินของวิทยาเขตและส่วนงาน คุณภาพการศึกษาเพ่ือการดาเนินงานท่ีเป็นเลิศ ทีร่ ับการประเมิน EdPEx EdPEx มีกิจกรรมสาคญั ดังนี้5 4.1 ก า รพั ฒนา ระ บ บ บ ริ ห า ร แ ละ พัฒน า บุ ค ลา ก ร ที่ตอบสนองทิศทางการพัฒนามหาวทิ ยาลยั (HRM & HRD) 4.2 การพัฒนาระบบงาน กระบวน การทางานโดยใช้ การบริหารแบบลนี (LEAN Management) 4.3 การพัฒนาและปรับปรุงแนวปฏิบัติเพื่อสนับสนุน การบริหารจดั การเชงิ รุก (กฎระเบียบ ข้อบงั คับ) 5. โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มข้ึนจากปีท่ีผ่านมา ทรพั ยากร และสินทรัพย์2 (ยกเวน้ คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา) 2 ผ้รู บั ผดิ ชอบ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 5 ผ้รู ับผดิ ชอบ คณะ สานกั และ วิทยาเขตกาแพงแสน 48
ประเดน็ ยุทธศำสตร์ท่ี 4 พัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรเพอ่ื ควำมเป็นเลิศ โครงกำร/กจิ กรรม ตวั ชว้ี ัด เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด 2565 2566 2567 6. โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ ร้อยละของระดับความสาเร็จตามแผนการ 70 80 100 ของนสิ ติ และบคุ ลากร5 สง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ฯ >3.70 >3.70 >4.00 7. โครงการสารวจความพึงพอใจและความผูกพัน ระดับความพึงพอใจและความผูกพัน 50 60 80 องคก์ ร5 789 8. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการบริหารงานตาม ร้อยละความสาเรจ็ ของแผนฯ แนวทางมหาวิทยาลยั สเี ขยี ว5 40 60 100 9. โครงการจัดการพลังงานทดี่ ี2 1. ร้อยละพลงั งานต่อหน่วยพน้ื ท่ี ลดลงเทียบกับ 10 10 15 ปีที่ผา่ นมา 10 15 20 2. ร้อยละความสาเร็จของแผนการ จัด 40 50 60 การพลังงานทดแทน (โซล่าฟาร์ม) 10. โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการขยะ 1. อัตราการใช้น้าประปาต่อคนลดลง เทียบกับ และของเสยี 2 ปีทผ่ี า่ นมา 2. อัตราการก่อขยะต่อคนลดลง เทียบกับ ปที ่ผี า่ นมา 3. อัตราการก่อขยะพลาสติกต่อคนลดลง เทียบกบั ปที ่ีผา่ นมา 2 ผรู้ บั ผดิ ชอบ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 5 ผ้รู บั ผิดชอบ คณะ สานกั และ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 49
คู่มือ ตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์
คู่มอื ตวั ชี้วัด /คาอธบิ าย 50
ผู้กำกบั ตัวช้วี ัดภำพรวม ในการบริหารขับเคล่ือนองค์กรให้เป็นเลิศ และสอดคล้องตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพ ของสถานศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ เพื่อบรรลุ เปา้ ประสงคข์ องส่วนงานตน้ สงั กัดหรอื หนว่ ยงานทก่ี ากับดแู ล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จึงได้กาหนดตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน พ.ศ. 2565 - 2567 ซ่ึงครอบคลุมพันธกิจ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวชิ าการ และการบรหิ ารจัดการ โดยเนน้ ด้านการวิจัยจึงกาหนดให้ มีตวั ชีว้ ัดเพ่ือการบรรลคุ ่าเป้าหมายท่ีต้งั ไว้ ทัง้ 4 มิติ จานวน 27 ตวั ช้ีวัด ดงั นี้ ตัวชี้วัดที่ ตัวชวี้ ดั รอบกำรเก็บ ผู้กำกบั ตดิ ตำม ผูร้ ับผิดชอบ ข้อมูล ดำเนนิ กำร มติ ิดำ้ นกำรเรยี นกำรสอน 1 รอ้ ยละของหลกั สตู รทีไ่ ด้คะแนน 3.51 ขนึ้ ไป ปีการศึกษา คณะ 2 คา่ เฉล่ียผลการบรหิ ารหลักสตู รภาพรวมวทิ ยาเขต ปีการศกึ ษา งานยทุ ธศาสตร์และ พฒั นาคณุ ภาพ กองบริหารทว่ั ไป 3 ร้อยละของหลกั สตู รที่ไดร้ บั ความร่วมมือจากภายนอก ปีการศกึ ษา ผชู้ ่วยอธิการบดี คณะ/กองบรหิ าร 4 ท้งั ภาครฐั หรอื เอกชน ปกี ารศกึ ษา ฝ่ายการศกึ ษา การศกึ ษา วทิ ยาเขตกาแพงแสน รอ้ ยละของหลักสูตรทีม่ ีรายวิชาที่เปิดสอนมีการเรียน (เฉพาะหลักสูตรสหกิจ) คณะ การสอนเป็นภาษาต่างประเทศ 5 จานวนรางวลั ระดบั ชาตหิ รือนานาชาตทิ ี่ได้รับจากผลงาน ปีการศึกษา คณะ วิจัยหรืองานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ของนิสิตทุก ระดับ 6 ร้อยละของนิสิตที่เป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ต่อ ปกี ารศกึ ษา ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี คณะ/กองบรหิ าร จานวนนิสิตทัง้ หมด ฝา่ ยกิจการนสิ ติ กฬี า กจิ การนิสติ และทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน 7 ร้อยละการตีพิมพ์ผลงานของนิสิตในระดับปริญญา ปกี ารศึกษา ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี คณะ เอกทอ่ี ยใู่ นฐานขอ้ มูล Scopus ในระดบั Q1 และ Q2 ฝา่ ยการศึกษา ตอ่ จานวนผลงานตพี ิมพข์ องนิสิตในระดับปริญญาเอก วิทยาเขต ท้ังหมด กาแพงแสน 8 จานวนนิสิตที่ได้รับทุนการศึกษา หรือทุนสนับสนุน ปกี ารศึกษา ผชู้ ว่ ยอธิการบดี กองบริหารกิจการ การวิจยั จากบุคคลหรอื องค์กรภายนอกท้งั ในประเทศ ฝ่ายกิจการนสิ ติ นิสติ /CAB และต่างประเทศ (ไมน่ ับ กยศ และ กรอ. และทนุ 5A) กีฬา และทานุบารงุ 9 จานวนศิษย์เก่าที่ได้รับการยกย่องด้านวิชาการหรือ ปกี ารศกึ ษา ศิลปวัฒนธรรม คณะ/กองบริหาร วทิ ยาเขต ด้านคุณธรรมจริยธรรม หรือ ด้านการบริหารงาน กจิ การนิสติ กาแพงแสน จากหน่วยงานภายนอก 51
ตัวช้ีวดั ท่ี ตัวช้ีวัด รอบกำรเกบ็ ผู้กำกบั ติดตำม ผูร้ ับผิดชอบ ขอ้ มูล ดำเนนิ กำร มติ ิด้ำนกำรวิจยั 1 จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จาก ปีงบประมาณ กองบริหารการวิจยั หน่วยงานภายนอก และบรกิ ารวชิ าการ (ฐานข้อมูล สวพ.) 2 จานวนผลงานวิจัย/นวัตกรรม ในระดับชาติ/นานาชาติ ปีงบประมาณ กองบริหารการวิจยั ทัง้ หมด ภายในวทิ ยาเขตกาแพงแสน และบริการวิชาการ 3 จานวนผลงานวจิ ยั ท่ีมีลักษณะบูรณาการข้ามสาขา ปงี บประมาณ สว่ นงาน/กองบริหาร 4 ร้อยละของบทความวิจัยที่ทาร่วมกับหน่วยงานหรือ ปงี บประมาณ ผู้ชว่ ยอธิการบดี การวิจยั และบริการ สถาบันในต่างประเทศที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ฝา่ ยวจิ ยั นวัตกรรม วชิ าการ ตอ่ บทความวจิ ัยทั้งหมด และวเิ ทศสมั พันธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน สว่ นงาน/กองบรหิ าร การวจิ ยั และบรกิ าร วชิ าการ 5 จานวนรางวัลผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติ/นานาชาติ ปงี บประมาณ สว่ นงาน/กองบรหิ าร ของอาจารย/์ นักวิจัย การวจิ ยั และบรกิ าร วชิ าการ 6 สัดส่วนของบทความวิชาการและบทความวิจัยท่ี ปีงบประมาณ สว่ นงาน ตีพิมพ์อยู่ในวารสารระดับนานาชาติ ในฐานข้อมูล Scopus ตอ่ อาจารยป์ ระจาและนักวิจยั มติ ิด้ำนกำรบรกิ ำรวชิ ำกำร 1 จานวนชุมชนที่ได้รับการพัฒนาและสามารถพึ่งพา ปงี บประมาณ สว่ นงาน/กองบริหาร ตนเองได้ การวจิ ัยและบริการ วชิ าการ 2 รายได้รวมจากการบริการวิชาการ (เฉพาะค่าอานวยการ ปงี บประมาณ งานคลังและพสั ดุ 3%) กองบรหิ ารท่วั ไป 3 รายได้จากโครงการพัฒนาวชิ าการท้งั หมด (100%) ปงี บประมาณ ผชู้ ว่ ยอธิการบดี กองบริหารการวิจยั ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการ และบรกิ ารวชิ าการ 4 จานวนโครงการบริการวิชาการ/พัฒนาวิชาการ ปงี บประมาณ และกิจการพเิ ศษ ส่วนงาน/กองบริหาร ท้ังหมด ที่ส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ วทิ ยาเขต การวิจยั และบริการ กาแพงแสน ในระดับประเทศ วิชาการ 5 จานวนโครงการบริการวิชาการท่ีส่งเสริมหรือสร้าง ปีงบประมาณ สว่ นงาน อาชีพและรายได้ 6 ร้อยละสิทธิบัตรและอนสุ ิทธิบัตรทน่ี าไปต่อยอดในเชิง ปงี บประมาณ ส่วนงาน/กองบรหิ าร พาณิชย์ การวจิ ยั และบริการ วิชาการ 52
ตวั ชีว้ ัดท่ี ตัวชีว้ ดั รอบกำรเกบ็ ผกู้ ำกับตดิ ตำม ผู้รบั ผิดชอบ ข้อมลู ดำเนนิ กำร มิติดำ้ นกำรบริหำรจดั กำร 1 คะแนนเฉล่ียผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ ปีการศึกษา ผู้ช่วยอธิการบดี งานยุทธศาสตรแ์ ละ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทุกส่วนงาน ฝา่ ยวางแผน พัฒนาคณุ ภาพภาพ ทเี่ ขา้ รบั การประเมนิ ยทุ ธศาสตร์ องค์กร กองบริหารท่วั ไป วทิ ยาเขตกาแพงแสน 2 รอ้ ยละของรายไดอ้ ่ืน ๆ ท่ีเพ่ิมขึ้นเทียบกับปีท่ีผ่านมา ปงี บประมาณ งานคลังและพสั ดุ (ยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษา และเงินอุดหนุน กองบริหารท่วั ไป จากรฐั บาล) 3 ระดับการวัดสภาพแวดล้อมในการทางาน pulse ปกี ารศกึ ษา งานบรหิ าร survey หรอื Happy index หรอื Emo-meter ฯลฯ ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี ทรัพยากรบคุ คล ฝา่ ยบรหิ าร วิทยา และนิติการ เขตกาแพงแสน กองบริหารทั่วไป 4 ระดับความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กรตาม ปกี ารศึกษา งานบรหิ าร Engagement factor ทรัพยากรบุคคล และนติ ิการ กองบริหารทว่ั ไป 5 จานวนโครงการท่ีเก่ียวข้องกับ SDGs ที่บรรลุตาม ปงี บประมาณ ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดี สว่ นงาน/วิทยาเขต ฝา่ ยบรหิ าร วิทยาเขต เปา้ หมาย กาแพงแสน/ผชู้ ่วย อธิการบดีฝ่ายวิจยั นวตั กรรม และวเิ ทศ สัมพันธ์ วทิ ยาเขต กาแพงแสน/ผ้ชู ว่ ย อธกิ ารบดีฝา่ ยบรกิ าร วิชาการและกจิ การ พเิ ศษ วิทยาเขต กาแพงแสน/ผ้ชู ว่ ย อธกิ ารบดฝี า่ ยกิจการ นิสติ กฬี า และทานุ บารงุ ศิลปวัฒนธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน/ ผู้ชว่ ยอธิการบดี ฝ่ายเทคโนโลยดี จิ ิทลั วิทยาเขตกาแพงแสน /ผู้ช่วยอธิการบดี ฝา่ ยกายภาพและ ส่ิงแวดลอ้ ม วทิ ยาเขต กาแพงแสน 6 ร้อยละของโครงการนวัตกรรมที่ได้รับรางวัลต่อ ปงี บประมาณ ผชู้ ่วยอธิการบดี สว่ นงาน/กองบริหาร โครงการนวัตกรรมท้ังหมด ฝา่ ยวจิ ยั นวตั กรรม การวิจัยและบรกิ าร และวิเทศสมั พนั ธ์ วชิ าการ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 53
ผ้กู ำกบั ตวั ชี้วัดตำมแผนยทุ ธศำสตร์ ในการบริหารขับเคล่ือนองค์กรให้เป็นเลิศ และสอดคล้องตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพ ของสถานศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ เพื่อบรรลุ เปา้ ประสงคข์ องสว่ นงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทีก่ ากับดแู ล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จึงได้กาหนดตัวช้ีวัดตามแผนยุทธศาสตร์ การดาเนินงานของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน พ.ศ. 2565 - 2567 ซึ่งครอบคลมุ พันธกิจ ดา้ นการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการบรหิ ารจัดการ โดยเน้นด้านการวิจยั จึงกาหนดให้ มีตวั ชี้วดั เพอื่ การบรรลคุ า่ เปา้ หมายท่ีต้ังไว้ ทง้ั 4 ยุทธศาสตร์ จานวน 49 ตัวชีว้ ดั ดังนี้ เปำ้ ประสงค์ ตวั ช้ีวดั ท่ี ตัวชวี้ ดั รอบกำรเก็บ ผู้กำกับติดตำม ผูร้ ับผิดชอบ ขอ้ มลู ดำเนินกำร 1.1 มหี ลักสูตรที่ ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดี ครอบคลมุ ตอ่ การ 1.1 จานวนหลักสูตรที่ผ่านการประเมินคุณภาพ ปีการศกึ ษา ฝ่ายการศกึ ษา งานยทุ ธศาสตรแ์ ละ พฒั นาประเทศ พัฒนาคณุ ภาพ และการเปลย่ี น ภายในระดับหลักสูตรอยู่ในระดับดีมาก วิทยาเขต กองบริหารทั่วไป ของสงั คมโลก กาแพงแสน (ทกุ หลักสูตร ทุกระดบั ) คณะ/กองบรหิ าร ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี การศกึ ษา 1.2 ร้อยละของหลักสูตรท่ีได้รับความร่วมมือ ปกี ารศกึ ษา ฝา่ ยวจิ ยั (เฉพาะหลกั สูตร จากภาครัฐหรอื เอกชน นวตั กรรม และ สหกิจ) วเิ ทศสมั พนั ธ์ 1.3 จานวนนิสิตแลกเปล่ียนท่ีเป็น Inbound ปีการศกึ ษา งานวิเทศ (รวมท้ังนิสิตในระดับปริญญาตรี และ วทิ ยาเขต ประชาสมั พนั ธ์ บัณฑิตศกึ ษา) กาแพงแสน และชุมชนสัมพันธ์ กองบริหารท่วั ไป 1.4 จานวนนิสิตแลกเปล่ียนท่ีเป็น Outbound ปีการศึกษา ผชู้ ว่ ยอธิการบดี (รวมทั้งนิสิตในระดับปริญญาตรี และ ฝ่ายการศึกษา งานวิเทศ บัณฑติ ศกึ ษา) ประชาสมั พันธ์ วิทยาเขต และชมุ ชนสมั พันธ์ 1.5 ร้อยละของอาจารย์ต่างชาติต่ออาจารย์ ปกี ารศกึ ษา กาแพงแสน กองบริหารท่ัวไป ประจาท้ังหมด งานวิเทศ 1.6 ร้อยละของอาจารย์แลกเปล่ียนท่ีเป็น ปกี ารศึกษา ประชาสมั พนั ธ์ Inbound ต่ออาจารย์ประจาท้ังหมด และชมุ ชนสัมพันธ์ กองบริหารท่ัวไป 1.7 จานวนรายวิชาท่ีมีการบูรณาการส่งเสริม ปีการศึกษา การสร้างนวัตกรรมด้านการเกษตร หรือ งานวิเทศ สขุ ภาพ หรอื ส่ิงแวดล้อม ประชาสมั พันธ์ และชุมชนสมั พันธ์ กองบริหารท่วั ไป คณะ/สานกั ส่งเสริมและ ฝึกอบรม กาแพงแสน 54
เปำ้ ประสงค์ ตวั ชวี้ ัดท่ี ตวั ชีว้ ดั รอบกำรเกบ็ ผ้กู ำกบั ตดิ ตำม ผ้รู บั ผิดชอบ ขอ้ มูล ดำเนินกำร 1.2 บัณฑิตท่ีมี 1.8 ร้อยละของนิสิตปริญญาตรีท่ีผ่านเกณฑ์ ปกี ารศึกษา ผู้ชว่ ยอธิการบดี กองบริหาร คุณภาพและตรง 1.9 ภาษาองั กฤษ ทม่ี หาวิทยาลยั กาหนด ฝา่ ยการศึกษา การศกึ ษา ตามความตอ้ งการ ของประเทศ จานวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ปกี ารศึกษา วทิ ยาเขต คณะ หรือส่ิงประดิษฐ์ของนิสิตทุกระดับที่ได้รับ กาแพงแสน การตีพิมพ์/เผยแพรร่ ะดบั ชาตหิ รือนานาชาติ 1.10 ร้อยละของนิสิตที่เข้าร่วมโครงการ/ ปีการศึกษา ผู้ชว่ ยอธิการบดี กองบรหิ าร กิจกรรมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ต่อจานวน ฝา่ ยกิจการนิสติ กิจการนสิ ติ นิสิตท้งั หมด กฬี า และ 1.11 จานวนโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร ปีการศึกษา ทานบุ ารงุ กองบรหิ าร ท่ีมีการส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านการ ศิลปวฒั นธรรม กจิ การนิสติ วิทยาเขต เป็นผู้ประกอบการและ/หรือนาไปพัฒนา กาแพงแสน สรา้ งรายไดร้ ะหว่างเรยี น 1.12 จานวนโครงการ หรือชุดวชิ า หรือรายวิชา ปีการศึกษา ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี ส่วนงาน/ Upskill/Reskill ที่ส่วนงานดาเนินการ ฝ่ายการศกึ ษา กองบริหาร ให้กบั นสิ ิต หรอื ผู้ทส่ี นใจ หรอื ศษิ ยเ์ กา่ วิทยาเขต การศกึ ษา กาแพงแสน 2.1 สรา้ งผลงาน 2.1 สัดส่วนเงินสนับสนุนงานวิจัย และ ปงี บประมาณ กองบริหาร วิจยั และนวัตกรรม งานสร้างสรรค์ต่ออาจารย์ประจาและ การวจิ ัยและ ด้านเกษตร สขุ ภาพ นกั วจิ ยั ท้งั หมด บรกิ ารวชิ าการ และส่ิงแวดลอ้ ม 2.2 จานวนผลงานทางวิชาการท้ังหมดของ ปีงบประมาณ กองบริหาร เพื่อตอบสนอง อาจารย์ประจาและนกั วิจัย การวจิ ยั และ นโยบายการพัฒนา ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดี บรกิ ารวิชาการ ประเทศ และ 2.3 จานวนบทความวชิ าการและบทความวิจยั ปงี บประมาณ ฝ่ายวิจยั ส่วนงาน/กอง ตอ่ ยอดในเชงิ ที่ตีพิมพ์อยู่ในวารสารระดับนานาชาติ นวัตกรรม และ บรหิ ารการวจิ ยั และ พาณิชย์ได้ ในฐานข้อมลู Scopus วิเทศสมั พนั ธ์ บริการวิชาการ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2.4 ค่าเฉล่ีย H-index ในฐานข้อมูล Scopus ปงี บประมาณ วิทยาเขต ส่วนงาน/กอง กาแพงแสน บรหิ ารการวจิ ยั และ ของอาจารยป์ ระจาและนกั วจิ ยั ทง้ั หมด บริการวิชาการ 2.5 ร้อยละของบทความวิจัยที่ทาร่วมกับ ปงี บประมาณ กองบรหิ าร หน่วยงานหรือสถาบันในต่างประเทศ การวจิ ยั และ ท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ต่อบทความ บริการวชิ าการ วิจัยทั้งหมด 55
เป้ำประสงค์ ตวั ช้ีวดั ที่ ตัวชี้วัด รอบกำรเกบ็ ผู้กำกับติดตำม ผู้รบั ผดิ ชอบ ข้อมูล ดำเนนิ กำร 2.6 จานวนผลงานนวตั กรรม และงานสรา้ งสรรค์ ปีงบประมาณ ส่วนงาน/กอง ท่ีสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แก้ไข บริหารการวิจยั และ ปัญหาให้สังคมและชุมชน ตอบสนอง บรกิ ารวชิ าการ ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการ ทอ่ งเท่ยี ว หรอื อนื่ ๆ ซ่งึ ตอบโจทยใ์ หป้ ระเทศ ตั้งแตร่ ะดบั TRL 4 ขึ้นไป 2.7 จานวนผลงานวิจัยท่ีมีลักษณะบูรณาการ ปงี บประมาณ ผูช้ ่วยอธิการบดี กองบริหาร 2.8 ข้ามสาขา ฝ่ายวิจัย การวจิ ยั และ 2.9 บรกิ ารวิชาการ รอ้ ยละของเงนิ สนับสนนุ งานวิจัยภายนอก ปงี บประมาณ นวัตกรรม และ เพ่มิ ขน้ึ วิเทศสัมพันธ์ กองบรหิ าร การวจิ ยั และ วิทยาเขต บริการวชิ าการ 2.2 มสี ่วนร่วมใน จานวนงานวิจยั เชิงนโยบาย ปงี บประมาณ กาแพงแสน กองบรหิ าร การกาหนดนโยบาย การวิจยั และ ทางการวิจัย และ บริการวชิ าการ นวัตกรรม เกษตร 2.10 จานวนประเด็นการเสนอเข้าร่วมกาหนด ปีงบประมาณ สว่ นงาน/กอง สุขภาพ และ นโยบาย ในทกุ ระดบั บริหารการวิจยั และ สง่ิ แวดล้อม บรกิ ารวชิ าการ ในทกุ ระดับ 3.1 พัฒนาระบบ 3.1 สัดส่วนของรายรบั จากการบริการวิชาการ ปงี บประมาณ กองบรหิ าร บริหารจดั การ แบบคิดค่าบริการ ท่ีได้จากภายนอก การวิจัยและ การบริการวิชาการ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต่ อ อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า แ ล ะ บรกิ ารวิชาการ แบบครบวงจร นกั วจิ ยั ท่ีปฏิบัติงานจรงิ 3.2 จานวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้อง ปงี บประมาณ กองบรหิ าร กับนโยบาย/ทิศทางการพัฒนา/ยุทธศาสตร์ การวจิ ัยและ ระดับประเทศหรือระดบั นานาชาติ ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี บริการวิชาการ 3.3 จานวนโครงการบริการวิชาการแบบใหเ้ ปล่า ปีงบประมาณ ฝ่ายบรกิ ารวิชาการ ส่วนงาน ท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์และส่งเสริม และกจิ การพิเศษ ความเขม้ แข็งแก่ชมุ ชนและสงั คม วทิ ยาเขต 3.4 จานวนประชาชน/เกษตรกร ที่เข้าร่วม ปีงบประมาณ กาแพงแสน ส่วนงาน โครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่า ที่ ส า ม า ร ถ น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ในการประกอบอาชพี และสร้างรายได้ 3.5 จานวนโครงการบริการวิชาการ/พัฒนา ปีงบประมาณ ส่วนงาน/กอง วิชาการทั้งหมด ท่ีส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่า บริหารการวิจยั และ หรือเกิดประโยชนใ์ นระดับประเทศ บรกิ ารวชิ าการ 56
เปำ้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัดท่ี ตัวช้วี ดั รอบกำรเกบ็ ผกู้ ำกับติดตำม ผรู้ บั ผดิ ชอบ ขอ้ มลู ดำเนินกำร 3.2 พฒั นาคุณภาพ 3.6 จานวนองค์ความรู้ ด้านบริการวิชาการ ปีงบประมาณ สว่ นงาน ชีวติ เศรษฐกิจ ทน่ี าไปใชป้ ระโยชน์ ผู้ช่วยอธิการบดี สงั คม และ 3.7 ร้อยละของอนุสิทธิบัตร/สิทธิบัตร/ ปงี บประมาณ ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการ กองบรหิ าร สง่ิ แวดล้อม แก่ ความลับทางการค้า/พันธ์ุพืช/พันธ์ุสัตว์/ และกิจการพเิ ศษ การวจิ ัยและ ชุมชน และสงั คม จุลินทรีย์จากการวิจัยที่นาไปต่อยอดใน วทิ ยาเขต บริการวชิ าการ ทัง้ ในระดบั ชาติ เชิงพาณิชย์ต่ออนุสิทธิบัตรและสิทธิบัตร กาแพงแสน และนานาชาติ ทงั้ หมด 3.8 จานวนรายรับจากนวัตกรรมและงาน ปงี บประมาณ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี สว่ นงาน/กอง สร้างสรรค์ ท่ีสร้างความเข้มแข็งทาง ฝ่ายวิจัย บรหิ ารการวจิ ยั และ เศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาให้สงั คมและชุมชน นวัตกรรม และ บริการวิชาการ ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม วิเทศสัมพนั ธ์ ภาคการท่องเที่ยว หรอื อน่ื ๆ วิทยาเขต กาแพงแสน 3.3 มีกระบวนการ 3.9 จานวนผลิตภัณฑ์ KU ท่ีมีการจัดการ ปงี บประมาณ ผ้ชู ว่ ยอธิการบดี ส่วนงาน/กอง ผลิตและจาหน่าย ตลอดหว่ งโซ่อุปทาน ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการ บริหารทรพั ยส์ ิน ผลติ ภณั ฑ์ KU KPS 3.10 รอ้ ยละของรายไดจ้ ากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ปงี บประมาณ และกจิ การพิเศษ ส่วนงาน/กอง ตลอดหว่ งโซอ่ ปุ ทาน วิทยาเขต บรหิ ารทรัพยส์ ิน KU สู่เทคโนโลยดี ิจทิ ลั กาแพงแสน 4.1 พลิกโฉมการ 4.1 ร้อยละของความสาเร็จของแผนการ ปีงบประมาณ ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี สว่ นงาน/ บรหิ ารจดั การ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุน ฝา่ ยเทคโนโลยี งานเทคโนโลยี สกู่ ารบรหิ าร ทุกภารกจิ ดจิ ทิ ัล วิทยาเขต สารสนเทศ จดั การเชงิ รกุ และ กาแพงแสน กองบริการกลาง เกิดความคลอ่ งตัว 4.2 ผลการตรวจ 4.2 คะแนนเฉล่ียผลการตรวจประเมินใน ปีการศกึ ษา ผชู้ ่วยอธิการบดี งานยุทธศาสตร์ ประเมินในระบบ ระบบคุณภาพมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ฝ่ายวางแผน และพัฒนาคณุ ภาพ คุณภาพ (KUQS) ของทุกส่วนงานท่ีเข้ารับการ ยทุ ธศาสตร์ องค์กร กองบริหารทวั่ ไป มหาวทิ ยาลยั ประเมนิ วทิ ยาเขต เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน (KUQS) 4.3 ร้อยละของบุคลากรที่ได้ตาแหน่งทาง ปีการศกึ ษา ผชู้ ว่ ยอธิการบดี งานบรหิ าร วิชาการ ฝา่ ยบรหิ าร ทรัพยากรบุคคล วิทยาเขต และนิติการ กาแพงแสน กองบรหิ ารทั่วไป 4.4 คะแนนเฉลี่ยของผลการบริหารจัดการ ปีการศึกษา ผู้ชว่ ยอธิการบดี งานยุทธศาสตร์ หลกั สูตร ฝ่ายการศกึ ษา และพฒั นาคณุ ภาพ วทิ ยาเขต กองบรหิ ารทัว่ ไป กาแพงแสน 57
เปำ้ ประสงค์ ตวั ช้ีวัดที่ ตวั ชวี้ ดั รอบกำรเกบ็ ผูก้ ำกบั ติดตำม ผู้รับผดิ ชอบ ขอ้ มูล ดำเนินกำร 4.5 จานวนหลักสูตรที่ได้รับการรับรอ ง ปกี ารศกึ ษา ผ้ชู ว่ ยอธิการบดี งานยทุ ธศาสตร์ 4.6 มาตรฐานสากล ฝา่ ยการศึกษา และพัฒนาคณุ ภาพ กองบรหิ ารทั่วไป จานวนหลักสูตรที่เข้าสู่กระบวนการ ปีการศึกษา วทิ ยาเขต ประเมนิ ตามเกณฑม์ าตรฐานสากล กาแพงแสน คณะ 4.7 จานวนแนวปฏิบัติที่ดีที่ได้รับรางวัล ปงี บประมาณ ผู้ชว่ ยอธิการบดี งานบรหิ าร ในระดับมหาวทิ ยาลยั หรอื ระดบั ประเทศ ฝ่ายวางแผน ทรัพยากรบุคคล ยทุ ธศาสตร์ องค์กร และนิติการ วิทยาเขต กองบรหิ ารทั่วไป กาแพงแสน 4.8 จานวน Best Practices ที่เกิดจากการ ปีงบประมาณ สว่ นงาน/งาน ปรบั ปรงุ กระบวนการในหนว่ ยงาน บริหารทรัพยากร บุคคลและนติ ิการ กองบรหิ ารท่ัวไป 4.3 มรี ายไดเ้ พ่ิมขนึ้ 4.9 จานวนนวัตกรรมท่ีเกิดจากการปรับปรุง ปีงบประมาณ ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี งานบรหิ าร 4.10 กระบวนการในหน่วยงาน ฝ่ายบรหิ าร ทรัพยากรบุคคล วิทยาเขต ร้อยละของรายได้อื่น ๆ ท่ีเพ่ิมขึ้นเทียบ ปงี บประมาณ กาแพงแสน และนิติการ กองบริหารท่ัวไป งานคลังและพสั ดุ จากการบริหาร กับปีท่ีผ่านมา (ยกเว้นค่าธรรมเนียม กองบริหารทัว่ ไป จดั การทรพั ยากร การศึกษา และเงินอดุ หนุนจากรัฐบาล) ของวิทยาเขต กาแพงแสน 4.4 นสิ ิตและ 4.11 ระดับความผาสุก (Happy 8) ของนิสิต ปีการศึกษา ผ้ชู ่วยอธิการบดี กองบรหิ ารกิจการ บคุ ลากรมีคุณภาพ และบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฝา่ ยบรหิ าร นสิ ิต/งานบริหาร ชีวติ ท่ีดี วทิ ยาเขตกาแพงแสน วิทยาเขต ทรัพยากรบุคคล กาแพงแสน/ และนิติการ ผูช้ ว่ ยอธิการบดี กองบริหารทั่วไป ฝ่ายกจิ การนสิ ติ กฬี า และทานุบารุง ศิลปวฒั นธรรม วทิ ยาเขต กาแพงแสน 4.12 ร้อยละของความสาเร็จของแผนส่งเสริม ปีงบประมาณ ผ้ชู ว่ ยอธิการบดี งานกฬี า และพัฒนากีฬา ของมหาวิทยาลั ย ฝา่ ยกิจการนสิ ติ กองบรกิ ารกลาง เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน กีฬา และทานบุ ารุง ประจาปี ศลิ ปวฒั นธรรม วิทยาเขต กาแพงแสน 58
เป้ำประสงค์ ตวั ชี้วดั ที่ ตวั ชี้วดั รอบกำรเกบ็ ผู้กำกับตดิ ตำม ผู้รบั ผดิ ชอบ ขอ้ มูล ดำเนินกำร 4.13 ระดับความผูกพันของนิสิต และบุคลากร ปกี ารศึกษา ผูช้ ่วยอธกิ ารบดี กองบรหิ ารกิจการ ที่มีต่อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฝ่ายบรหิ าร นิสิต/งานบริหาร วทิ ยาเขตกาแพงแสน วทิ ยาเขต ทรพั ยากรบุคคล กาแพงแสน/ และนิติการ ผชู้ ว่ ยอธิการบดี กองบริหารท่ัวไป ฝา่ ยกจิ การนสิ ติ กีฬา และทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม วทิ ยาเขต กาแพงแสน 4.5 เป็น 4.14 ร้ อ ย ล ะ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง แ ผ น ก า ร ปงี บประมาณ กองบริการกลาง มหาวทิ ยาลยั จัดกิจกรรมที่ตอบสนองต่อผลการจัด สเี ขียว อันดับ UI GreenMetric ระดับประเทศ (UI GreenMetric) ของมหาวิทยาลยั ประจาปี 4.15 ระดับความพึงพอใจของนิสิตในด้าน ปกี ารศกึ ษา ผู้ช่วยอธกิ ารบดี กองบรกิ ารกลาง/ ความปลอดภัย พื้นที่สีเขียว สภาพ ฝ่ายกายภาพและ กองบรหิ ารกิจการ แวดล้อม ท้ังระดับคณะ วิทยาเขต หรือ สงิ่ แวดล้อม นิสิต มหาวิทยาลัย วิทยาเขต 4.16 จานวนโครงการเตรียมความพร้อมในด้าน ปีการศึกษา กาแพงแสน สว่ นงาน ส่ิงแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย (EHS) 4.17 จานวนผลงานวิจัย นวัตกรรมที่ส่งเสริม ปีงบประมาณ สว่ นงาน/กอง วัฒนธรรมสีเขียว บรกิ ารกลาง 59
กำรคำนวณคะแนน การคานวณผลคะแนนของการประเมินความสาเร็จของการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดแผนยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน (พ.ศ. 2565-2567) ผลการประเมินความสาเร็จ มีท้ังหมด 5 ระดับคะแนน โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ ตวั อยำ่ งเชน่ ตัวช้วี ดั ที่ 1.1 จานวนหลักสูตรทีผ่ า่ นการประเมนิ คณุ ภาพภายในระดับหลกั สตู ร อยูใ่ นระดบั ดีมาก (ทกุ หลักสตู ร ทุกระดบั ) เกณฑก์ ารประเมนิ ความสาเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥4 ≥5 ≥6 ≥2 ≥3 ผลกำรดำเนินกำร 1. ส่วนงาน ก. สามารถดาเนินการตามตัวชี้วัด มีหลักสูตรท่ีผ่านการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก จานวน 3 หลักสูตร เมื่อเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะพบว่า จานวน 3 หลักสูตร จะอยู่ ในช่วงของระดับคะแนน 2 2. การคานวณคะแนนผลการประเมินในภาพรวมทั้งหมด 49 ตัวช้ีวัด หากผลการดาเนินทุกตัวชี้วัด อยู่ในช่วง ของระดับคะแนน 2 ดงั นนั้ = 2 x 49 = 98 คะแนน ซงึ่ หากสรุปคะแนนภาพรวมครบทุกตัวชีว้ ัด ก็จะต้องมรี ะดบั คะแนนการประเมนิ ในแต่ละระดับ เปน็ ดังนี้ ผลกำรประเมิน ระดบั คะแนนทไี่ ด้รบั ระดับดเี ด่น (A+) >181 ระดบั ดมี าก (A) 151-180 ระดบั ดี(B+) 121-150 ระดบั มาตรฐาน (B) 90-120 ระดบั ตอ้ งปรบั ปรุง (C) <90 สรุป วทิ ยาเขตกาแพงแสน มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดับมาตรฐาน โดยมีคะแนน เท่ากับ 98 คะแนน 60
กำรตดิ ตำมรำยงำนควำมสำเร็จตวั ชว้ี ัดตำมแผนยุทธศำสตร์ เนื่องด้วยในปีงบประมาณที่ผ่านมา ตัวช้ีวัดในแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจาปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน มีผลการดาเนินงานยังไม่บรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ เน่ืองจากผลการดาเนินงานบางโครงการของส่วนงานไม่สามารถตอบตัวช้ีวัดของวิทยาเขตกาแพงแสน ได้ ดงั นั้น เพ่ือแก้ไขปัญหา และลดข้อผิดพลาดทเ่ี กดิ จากการรายงานผล จึงดาเนินการจัดทาปฏิทินการรายงานผล การดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ รายไตรมาส และรายงานความคืบหน้า ผลการดาเนินงานโครงการ/ กจิ กรรม ตามแผนปฏบิ ัติการประจาปี ดงั แสดงในตาราง 61
รายละเอียด คาอธบิ ายตวั ชีว้ ัด ภาพรวม 62
มติ ดิ ้ำนกำรเรยี นกำรสอน ตัวชว้ี ดั ที่ 1 : ร้อยละของหลกั สตู รท่ีได้คะแนน 3.51 ขึ้นไป หนว่ ยวดั : รอ้ ยละ กลุ่มตัวชว้ี ดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปีการศึกษา เป้ำหมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 40 30 35 ผู้กำกบั ดแู ล : ผูช้ ่วยอธิการบดฝี า่ ยการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจนิ พรัหม คำอธบิ ำย : กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ได้มีการกาหนดคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ตามที่หลักสูตรกาหนดไว้ ใน มคอ. 2 ซึง่ ครอบคลมุ ผลการเรียนรู้อย่างนอ้ ย 5 ดา้ น คอื 1) ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม 2) ดา้ นความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบและ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวช้ีวัดน้ี จะเป็นการประเมินคุณภาพบัณฑติ ในมุมมองของผ้ใู ช้บณั ฑติ ระดับคะแนน 0.00 - 1.50 ต้องปรับปรงุ 1.51 - 2.50 พอใช้ 2.51 - 3.50 ปานกลาง 3.51 - 4.50 ดี 4.51 - 5.00 ดมี าก จานวนหลักสูตรหลักท้ังหมดของวิทยาเขตกาแพงแสน และหลักสูตรยืมที่มี มคอ. 2 แยกเล่ม ไม่นบั รวมหลกั สตู รยมื จากสว่ นกลางทไี่ มแ่ ยกเลม่ สตู รกำรคำนวณ : จานวนหลักสูตรทม่ี ผี ลคะแนนประเมนิ ระดบั 3.51 ขึ้นไป x100 จานวนหลักสูตรทง้ั หมด เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะ≥แน3น0 3 คะ≥แน2น0 1 คะ≥แน2น5 2 คะ≥แน3น5 4 คะ≥แน4น0 5 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในระดับหลกั สูตรหรอื ระดับคณะ รายชอื่ หลักสูตรทม่ี ผี ลการประเมินคุณภาพบัณฑิตผา่ นตามรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษา แหง่ ชาติในระดับดีข้ึนไป (ค่าเฉลย่ี 3.51 ข้นึ ไปจากเตม็ 5) ผรู้ ับผดิ ชอบ : คณะ 63
ตัวชว้ี ดั ที่ 2 : คา่ เฉลี่ยผลการบริหารหลักสูตรภาพรวมวทิ ยาเขต หนว่ ยวัด : คะแนน กลุ่มตัวช้วี ดั : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปกี ารศึกษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 6.51 3.51 3.51 ผู้กำกับดูแล : ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สจุ ินพรหั ม คำอธิบำย : แสดงถึงผลลัพธ์ของระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ซึ่งแสดงผลโดยการดาเนินการ ของแต่ละหลักสูตร ซึ่งสามารถสะท้อนคุณภาพของบัณฑิตในหลักสูตรที่หน่วยงานรับผิดชอบ ทั้งน้ี หากหลักสูตรที่ได้รับการรับรองโดยระบบอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาเห็นชอบ ไม่ต้องนาคะแนนการประเมินของหลักสูตรน้ันมาคานวณในตัวบ่งช้ีน้ี แตต่ อ้ งรายงานผลการรบั รองตามระบบนั้น ๆ ในตัวบ่งชน้ี ใ้ี หค้ รบถ้วน จานวนหลักสูตรหลักทั้งหมดของวิทยาเขตกาแพงแสน และหลักสูตรยืมที่มี มคอ. 2 แยกเล่ม ไม่นบั รวมหลกั สตู รยมื จากสว่ นกลางทีไ่ มแ่ ยกเลม่ สตู รกำรคำนวณ : ผลรวมของคะแนนการประเมินหลกั สตู รทุกหลกั สตู ร จานวนหลกั สูตรท้ังหมดที่เปิดการเรียนการสอนในปีการศกึ ษา เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 3.55 ≥ 3.47 ≥ 3.49 ≥ 3.51 ≥ 3.53 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรหรือระดบั คณะ ผ้รู บั ผิดชอบ : งานยุทธศาสตร์และพฒั นาคุณภาพ กองบริหารทว่ั ไป 64
ตัวชี้วัดท่ี 3 : ร้อยละของหลกั สตู รท่ีได้รับความรว่ มมือจากภายนอกท้งั ภาครฐั หรือเอกชน หนว่ ยวดั : รอ้ ยละ กล่มุ ตัวชวี้ ดั : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เป้ำหมำยตัวชี้วดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 25 35 40 ผู้กำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝา่ ยการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สจุ นิ พรัหม คำอธบิ ำย : หลักสตู รที่ไดร้ ับความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชน หมายถึง เปน็ หลักสูตรบูรณาการ การผลติ บัณฑิต ที่มีความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ หรือจากภาคเอกชน เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียน การสอน และมเี นอ้ื หาวชิ าที่มีการผสมผสานระหว่างความรู้ภาคทฤษฎีพ้ืนฐานและความรู้เชงิ ประยุกต์ ในสัดส่วนที่เหมาะสม รวมถึงหลักสูตรสหกิจศึกษา ท่ีมีการดาเนินการจริงในปีการศึกษานั้น ๆ หรือ ในลกั ษณะอ่นื ๆ ทม่ี ีการรว่ มสอนแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ จานวนหลักสูตรหลักทั้งหมดของวิทยาเขตกาแพงแสน และหลักสูตรยืมท่ีมี มคอ. 2 แยกเล่ม ไม่นับ รวมหลกั สูตรยืมจากสว่ นกลางท่ีไม่แยกเล่ม สูตรกำรคำนวณ : จานวนหลักสูตรหลักที่ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหน่วยงานภายนอก X100 จานวนหลักสตู รหลักท้ังหมดทเ่ี ปิดการเรยี นการสอนในปกี ารศกึ ษา เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 35 ≥ 15 ≥ 20 ≥ 25 ≥ 30 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนรายวชิ าที่เปดิ สอนทั้งหมดของคณะวชิ า ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะ/กองบริหารการศกึ ษา (เฉพาะหลักสตู รสหกจิ ) 65
ตัวชวี้ ัดท่ี 4 : รอ้ ยละของหลกั สูตรทีม่ รี ายวิชาทเ่ี ปิดสอนมีการเรียนการสอนเป็นภาษาต่างประเทศ หนว่ ยวัด : รอ้ ยละ กลุ่มตัวชว้ี ดั : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีการศึกษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 10 12 14 ผู้กำกับดแู ล : ผชู้ ่วยอธกิ ารบดีฝ่ายการศึกษา วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจนิ พรหั ม คำอธิบำย : หลักสูตรที่มีรายวิชามีการเรียนการสอนเป็นภาษาต่างประเทศ 100% ไม่นับรายวิชาภาษาอังกฤษ พ้ืนฐาน ท่ีมกี ารดาเนนิ การจรงิ ในปกี ารศึกษาน้นั ๆ จานวนหลักสูตรหลักท้ังหมดของวิทยาเขตกาแพงแสน และหลักสูตรยืมที่มี มคอ. 2 แยกเล่ม ไม่นับ รวมหลักสูตรยมื จากส่วนกลางท่ไี มแ่ ยกเลม่ TQF 52 AUN-QA 5 สูตรกำรคำนวณ : จานวนหลกั สูตรหลกั ทมี่ ีรายวิชามกี ารเรียนการสอนเป็นภาษาต่างประเทศ X100 จานวนหลกั สูตรหลกั ทง้ั หมดท่ีเปดิ การเรียนการสอนในปีการศึกษา เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 6 ≥ 8 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 14 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนรายวชิ าท่ีเปดิ สอนเป็นภาษาตา่ งประเทศท้งั หมดของคณะวชิ า ผู้รับผดิ ชอบ : คณะ 66
ตัวชีว้ ดั ที่ 5 : จานวนรางวลั ระดับชาติหรือนานาชาติที่ได้รับจากผลงานวิจัยหรืองานสรา้ งสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ ของนสิ ติ ทกุ ระดับ หนว่ ยวัด : รางวลั กลมุ่ ตัวชวี้ ัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีการศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 30 35 40 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผชู้ ่วยอธิการบดีฝา่ ยการศึกษา วิทยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจินพรหั ม คำอธิบำย : นิสิตสัญชาติไทยในระดับปริญญาตรี/โท/เอก โดยรวมนิสิตภาคปกติและภาคพิเศษ ท่ีได้รับรางวัล จากผลงานวิจัยและงานสร้างสรรคห์ รือส่งิ ประดิษฐ์ ในระดับชาติ และนานาชาติ รางวัลในระดับชาติ หรือนานาชาติ ถือเป็นตัวชี้วัดประเภทหนึ่งที่สะท้อนถึงสมรรถนะในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย การปฏิบัติจริงและได้นาไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ในหน้าที่จนเกิดผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและเป็นประโยชน์ต่อความก้าวหน้า ทางวชิ าการ รางวัลระดับชาติ หมายถึง รางวัลท่ีได้รับจากหน่วยงานภายนอกสถาบันระดับกรม หรือเทียบเท่า ข้ึนไป (เช่น ระดับจังหวัด) หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองค์การมหาชน หรือบริษัทมหาชนท่ีจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ หรือองคก์ รระดับชาตทิ งั้ ภาครฐั และเอกชน (เช่น สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า สภาวิชาชพี ) หรอื รางวัลทสี่ านักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาให้การยอมรับ สูตรกำรคำนวณ : จานวนรางวลั ผลงานวจิ ยั หรืองานสร้างสรรคห์ รอื สง่ิ ประดษิ ฐข์ องนิสิตทกุ ระดบั เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 30 ≥ 32 ≥ 34 ≥ 26 ≥ 28 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนผลงานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรค์ หรอื สิ่งประดิษฐข์ องนิสิต ผู้รับผิดชอบ : คณะ 67
ตวั ชวี้ ัดที่ 6 : ร้อยละของนิสติ ที่เปน็ ผู้ประกอบการรุ่นใหมต่ ่อจานวนนสิ ติ ท้งั หมด หนว่ ยวดั : ร้อยละ กลมุ่ ตัวชีว้ ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปกี ารศกึ ษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 1.00 0.50 0.75 ผู้กำกบั ดแู ล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี า่ ยกิจการนิสติ กฬี า และทานบุ ารุงศลิ ปวัฒนธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ตอ่ ศักดิ์ แก้วจรสั วไิ ล คำอธบิ ำย : เป็นนิสิตสัญชาติไทยในระดับปริญญาตรี/โท/เอก โดยรวมนิสิตภาคปกติและภาคพิเศษ ท่ีเข้าร่วม โครงการ/กิจกรรมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ เป็นเจ้าของกิจการ/ประกอบธุรกิจที่ก่อให้เกิดรายได้ ภายใน 1 ปี หลังจากเข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรม Startup หมายถึง ธุรกิจที่เกิดขึ้นใหม่ เปิดบริษัทข้ึนมาใหม่เพ่ือรองรับธุรกิจด้านไอที และด้านอื่น ๆ รวมถึงการทาธุรกจิ ให้เติบโตขึ้นแบบก้าวกระโดด สามารถสร้างรายได้จานวนมาก เป็นธุรกิจที่เกิดขึ้น เพอ่ื แก้ปญั หาในชวี ิตประจาวนั เชน่ พวกแอปพลิเคช่ันตา่ ง ๆ ซึ่งหากต้องการมองภาพของธุรกิจชนดิ น้ี ให้ชัดเจนขึ้น ให้มองจาก Google, Facebook แบรนด์เหล่าน้ีเร่ิมต้นจากเป็นธุรกิจประเภท Startup สูตรกำรคำนวณ : จานวนนิสิตทเี่ ป็นผู้ประกอบการรุ่นใหมใ่ นปกี ารศกึ ษา X100 จานวนนิสิตทง้ั หมด เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 0.70 ≥ 0.30 ≥ 0.40 ≥ 0.50 ≥ 0.60 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานโครงการ/กิจกรรมผปู้ ระกอบการรุน่ ใหม่ รายงานจานวนนิสติ ทเ่ี ข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรม เปน็ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ผรู้ ับผิดชอบ : คณะ/กองบรหิ ารกิจการนสิ ติ 68
ตวั ชี้วดั ท่ี 7 : รอ้ ยละการตีพิมพ์ผลงานของนสิ ติ ในระดับปริญญาเอกที่อยู่ในฐานข้อมูล Scopus ในระดับ Q1 และ Q2 ต่อจานวนผลงานตีพิมพข์ องนิสิตในระดับปรญิ ญาเอกท้ังหมด หนว่ ยวัด : ร้อยละ กลุม่ ตวั ชีว้ ัด : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 50 55 60 ผ้กู ำกบั ดูแล : ผ้ชู ่วยอธิการบดฝี ่ายการศึกษา วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ เดช สุจนิ พรัหม คำอธิบำย : ผลงานของนิสิตในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่สู่สากล โดยเน้นการตีพิมพ์บทความ ในวารสารระดบั นานาชาติทเี่ ป็นที่ยอมรับอยา่ งแพรห่ ลาย คอื ฐานข้อมูล Scopus Q หมายถงึ Quartile score ของวารสารในแต่ละสาขาวชิ า Q1 = top position (the highest 25% of data หรือวารสารท่ีมีอันดับต้ังแต่ 75th-99th percentile เป็น กลุ่มวารสารทีด่ ีที่สุดในสาขาน้ี) Q2 = middle-high position (อยู่ระหว่าง top 50% และ top 25% หรือวารสารท่ีมีอันดับต้ังแต่ 50th-74th percentile) Q3 = middle-low position (อยู่ระหว่าง top 75% และ top 50% หรือวารสารที่มีอันดับต้ังแต่ 25th-49th percentile) Q4 = bottom position (bottom 25% หรอื วารสารทีม่ อี นั ดบั ตง้ั แต่ 0th-24th percentile) ฐานข้อมูล Scopus เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ครอบคลุมเนื้อหาทุกสาขาวิชา รวมถึง สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ นอกจากนี้ยังมีข้อมูลบางส่วนในรูปของ Conference Proceeding และ Books รูปแบบการสืบค้นคล้ายกับฐานข้อมูล Science Direct เน่ืองจากเป็นฐานข้อมูลของ Elsevier Science เช่นกัน เพียงแต่ Scopus จะไม่มีเอกสารฉบับเต็ม แต่จะมีการเช่ือมโยงให้หากวารสารท่ีค้นพบใน Scopus เป็นวารสารที่สานักหอสมุดมีในรูปของ E-journal ซงึ่ อาจเป็น Science Direct, Springer Link เปน็ ต้น เม่ือคลิก Link ดังกล่าวแล้วจะสามารถ เรียกดูฉบบั เตม็ ได้ (สามารถเข้าคน้ ข้อมูลได้จาก http://www.scopus.com) 69
สตู รกำรคำนวณ : จานวนผลงานตีพมิ พ์ของนิสติ ในระดบั ปริญญาเอกท่ีอยใู่ นฐานขอ้ มูล Scopus ในระดับ Q1และ Q2 ทั้งหมด X100 จานวนผลงานตีพิมพข์ องนิสติ ในระดับปริญญาเอกทั้งหมด เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 40 ≥ 045 ≥ 50 ≥ 55 ≥ 60 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนบทความวิชาการและบทความวิจัยท่ีตีพิมพ์อยู่ในวารสารระดับนานาชาตินิสิต ในระดบั ปริญญาเอก ผรู้ ับผิดชอบ : คณะ 70
ตัวช้วี ัดที่ 8 : จานวนนิสิตที่ได้รับทุนการศึกษา หรือทุนสนับสนุนการวิจัยจากบุคคลหรือองค์กรภายนอก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ไมน่ ับ กยศ. และ กรอ. และทนุ 5A) หนว่ ยวัด : คน กลมุ่ ตวั ชวี้ ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปกี ารศึกษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 125 130 135 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกจิ การนิสิต กฬี า และทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม วทิ ยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อศักด์ิ แกว้ จรัสวิไล คำอธิบำย : แสดงถึงจานวนนสิ ิตทีม่ คี ณุ ภาพและศกั ยภาพสงู ที่เขา้ ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย นิสิตระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ท่ีได้รับทุนการศึกษาจากบุคคล หรือองค์กรภายนอก ทั้งในและต่างประเทศ ทั้งนี้ไม่นับทุนจากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา (กยศ.) หรือ กองทุนเงินกู้ ยมื เพอ่ื การศกึ ษา ที่ผกู กับรายได้ในอนาคต (กรอ.) นิสิตระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากบุคคล หรือองค์กร ภายนอกท้ังในและตา่ งประเทศ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนนิสติ ทีไ่ ดร้ บั ทุนการศึกษา หรือทนุ สนับสนนุ การวิจยั จากบคุ คลหรือองค์กรภายนอก ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 115 ≥ 120 ≥ 125 ≥ 130 ≥ 135 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนนิสิตท่ีได้รับทุนการศึกษา (ไม่นับ กยศ. และ กรอ. และทุน 5A) หรือได้รับทุน สนับสนุนการวจิ ัยจากบุคคล หรือองคก์ รภายนอกทงั้ ใน และตา่ งประเทศ ผูร้ ับผิดชอบ : กองบรหิ ารกิจการนิสิต/ศนู ย์เทคโนโลยีชวี ภาพเกษตร 71
ตัวช้ีวดั ที่ 9 : จานวนศิษย์เก่าท่ีได้รับการยกย่องด้านวิชาการหรือด้านคุณธรรม จริยธรรม หรือ ด้านการบริหารงาน จากหนว่ ยงานภายนอก หนว่ ยวดั : คน กลุ่มตัวช้ีวัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปกี ารศึกษา เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 567 ผู้กำกบั ดูแล : ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝ่ายกจิ การนิสิต กีฬา และทานุบารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม วิทยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ตอ่ ศักด์ิ แกว้ จรัสวไิ ล คำอธิบำย : ศิษย์เก่าที่ประสบความสาเร็จในชีวิตและการบริหารงาน จนได้รับการยกย่องด้านวิชาการ คุณธรรม จรยิ ธรรม หรอื การบริหารงาน จากหน่วยงานภายนอก สูตรกำรคำนวณ : = จานวนศษิ ย์เก่าท่ีไดร้ ับการยกย่องด้านวชิ าการ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม หรอื ดา้ นบรหิ าร จากหนว่ ยงานภายนอก เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥3 ≥4 ≥5 ≥6 ≥7 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนศิษย์เกา่ ทีไ่ ดร้ ับยกยอ่ งดา้ นวิชาการ คณุ ธรรม จริยธรรม หรือการบรหิ ารงาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะ/กองบริหารกิจการนสิ ติ 72
มิติดำ้ นกำรวิจัย ตวั ชี้วดั ท่ี 1 : จานวนเงนิ สนบั สนุนงานวจิ ยั หรอื งานสรา้ งสรรคจ์ ากหนว่ ยงานภายนอก หน่วยวดั : ล้านบาท กลุ่มตวั ช้วี ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 145 152 160 ผ้กู ำกับดแู ล : ผ้ชู ว่ ยอธิการบดฝี า่ ยวิจัย นวัตกรรมและวิเทศสัมพันธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รตั นทบั ทิมทอง คำอธิบำย : เงินสนับสนุนงานวิจัยเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดการผลิตงานวิจัยและแสดงถึงศักยภาพ ด้านการวิจัยของส่วนงาน ดังนั้นทุกส่วนงานจึงต้องจัดสรรเงินท่ีได้รับจากภายนอกเพื่อสนับสนุน การทาวิจยั อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย หมายถึง จานวนเงินสนับสนุนการทางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากแหล่งทนุ ภายนอกมหาวิทยาลัย สตู รกำรคำนวณ : = จานวนเงนิ สนบั สนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์จากแหล่งทุนภายนอกมหาวทิ ยาลัย เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 150 ≥ 155 ≥ 135 ≥ 140 ≥ 145 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานเงนิ สนบั สนุนงานวจิ ัยจากแหลง่ ทุนภายนอก ผู้รับผดิ ชอบ : กองบรหิ ารการวิจัยและบริการวิชาการ 73
ตวั ช้วี ดั ที่ 2 : จานวนผลงานวจิ ัย/นวตั กรรม ในระดับชาติ/นานาชาติท้งั หมด ภายในวิทยาเขตกาแพงแสน หนว่ ยวัด : ผลงาน กลุม่ ตัวช้วี ดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 710 740 770 ผู้กำกับดูแล : ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิจยั นวัตกรรมและวิเทศสัมพันธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ัญญา รตั นทบั ทิมทอง คำอธบิ ำย : ผลงานทางวิชาการที่อยู่ในรูปของบทความวิจัย หรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ือง จากการประชุมวิชาการระดับชาติ หรือ ระดับนานาชาติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏ ในฐานข้อมูล TCI หรือ Scopus หรือตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วา่ ด้วยหลักเกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรบั การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หรือเป็นผลงานทางวิชาการรับใช้สังคมท่ีผ่านการประเมิน ตาแหน่งทางวชิ าการแลว้ ผลงานทท่ี าร่วมกับอตุ สาหกรรมที่ผา่ นการประเมินตาแหนง่ ทางวิชาการแล้ว ตาราหรือหนังสือท่ีใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่ง ทางวชิ าการแลว้ กาหนดระดบั คุณภาพผลงานทางวชิ าการดงั นี้ ค่ำน้ำหนัก ระดับคณุ ภำพ 0.20 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการ ประชมุ วชิ าการระดับชาติ 0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการ ประชุมวิชาการระดับนานาชาติหรือในวารสารทางวิชาการระดบั ชาติท่ีไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการท่ัวไป และ แจง้ ให้ ก.พ.อ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนบั แตว่ นั ที่ออกประกาศ - ผลงานที่ไดร้ ับการจดอนสุ ทิ ธิบตั ร 0.60 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่ปรากฏ ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 74
คำ่ น้ำหนัก ระดบั คุณภำพ 0.80 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลกั เกณฑ์การพิจารณาวารสาร ทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบ เป็นการท่ัวไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซง่ึ ไม่อยใู่ น Beall’s list) หรอื ตพี ิมพใ์ นวารสารวชิ าการทีป่ รากฏในฐานข้อมลู TCI กล่มุ ที่ 1 1.00 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาติท่ีปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับ การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ.2562 - ผลงานได้รบั การจดสทิ ธบิ ตั ร - ผลงานวชิ าการรับใช้สังคมที่ได้รบั การประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวชิ าการแลว้ - ผลงานวิจัยทหี่ นว่ ยงานหรอื องค์กรระดบั ชาตวิ ่าจา้ งให้ดาเนินการ - ผลงานค้นพบพนั ธ์พุ ชื พันธส์ุ ัตว์ ทค่ี ้นพบใหมแ่ ละไดร้ ับการจดทะเบยี น - ตาราหรือหนงั สือที่ได้รบั การประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวชิ าการแล้ว - ตาราหรือหนังสือท่ีผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหน่งทางวิชาการ แตไ่ มไ่ ด้นามาขอรับการประเมินตาแหนง่ ทางวิชาการ การส่งบทความเพ่ือพิจารณาคัดเลือกให้นาเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และเม่ือได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบ เอกสาร หรอื ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนผลงานวจิ ยั /นวตั กรรม ของอาจารย์และนักวิจัยทั้งหมด เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 770 ≥ 650 ≥ 680 ≥ 710 ≥ 740 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนผลงานวจิ ัย/นวตั กรรม ในระดบั ชาติ/นานาชาติ ผรู้ ับผดิ ชอบ : กองบริหารการวจิ ยั และบริการวิชาการ 75
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 3 : จานวนผลงานวจิ ัยท่ีมีลกั ษณะบรู ณาการข้ามสาขา หน่วยวัด : ผลงาน กลุ่มตวั ช้วี ดั : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 30 20 25 ผูก้ ำกับดูแล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิจัย นวตั กรรมและวิเทศสัมพันธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทบั ทิมทอง คำอธบิ ำย : งานวิจัย หมายถึง กระบวนการที่มีระเบียบแบบแผนในการค้นหาคาตอบของปัญหา หรือการเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ตลอดจนถึงการประดิษฐ์คิดค้นที่ผ่านกระบวนการศึกษา ค้นคว้าหรือทดลอง วิเคราะห์และตีความข้อมูลตลอดจนสรุปผลอย่างเป็นระบบ โดยผู้วิจัยต้องทาการวิจัยร่วมกับผู้วิจัย สาขาอน่ื ๆ เพ่ือเปน็ การบรู ณาขา้ มสาขา สตู รกำรคำนวณ : = จานวนผลงานวิจยั ที่มีลักษณะบูรณาการข้ามสาขา เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 25 ≥ 30 ≥ 10 ≥ 15 ≥ 20 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนผลงานวิจยั ทมี่ ลี กั ษณะบูรณาการข้ามสาขา ผ้รู บั ผดิ ชอบ : ส่วนงาน/กองบรหิ ารการวจิ ยั และบริการวิชาการ 76
ตัวชีว้ ดั ท่ี 4 : ร้อยละของบทความวิจัยท่ีทาร่วมกับหนว่ ยงานหรือสถาบันในต่างประเทศท่ไี ด้รับการตพี ิมพ์ เผยแพร่ตอ่ บทความวิจยั ทง้ั หมด หน่วยวดั : รอ้ ยละ กลุ่มตวั ช้วี ัด : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปงี บประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 10 12 15 ผู้กำกบั ดูแล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิจยั นวตั กรรมและวิเทศสมั พนั ธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทับทิมทอง คำอธิบำย : แสดงถึงจานวนบทความวิจัยที่มีความร่วมมือระหว่างบุคลากรของสว่ นงานกับบุคลากรของหน่วยงาน หรือสถาบันการศึกษาในต่างประเทศที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีน้ัน ๆ ต่อจานวนบทความวิจัย ท้งั หมดของสว่ นงานในปีเดยี วกนั สตู รกำรคำนวณ : ผลรวมบทความวิจัยทท่ี ำรว่ มกับหนว่ ยงานหรอื สถาบนั ในตา่ งประเทศทีไ่ ดร้ บั การตพี ิมพ์เผยแพร่ X100 จานวนบทความวิจัยทงั้ หมด เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 6 ≥ 8 ≥ 10 ≥ 12 ≥ 14 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนบทความวชิ าการและบทความวจิ ยั ทต่ี ีพิมพ์อยใู่ นวารสารทงั้ หมด รายงานจานวนบทความวจิ ยั ท่ที าร่วมกบั หน่วยงานหรือสถาบนั ในตา่ งประเทศท่ไี ด้รับการตพี มิ พ์ เผยแพร่ ผู้รับผิดชอบ : ส่วนงาน/กองบริหารการวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ 77
ตวั ชวี้ ัดที่ 5 : จานวนรางวลั ผลงานวจิ ัยทง้ั ในระดับชาต/ิ นานาชาติของอาจารย/์ นกั วจิ ัย หน่วยวัด : รางวัล กลมุ่ ตัวช้วี ดั : รว่ มบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 15 20 25 ผ้กู ำกับดูแล : ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยวิจัย นวัตกรรมและวิเทศสัมพันธ์ วิทยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รัตนทับทิมทอง คำอธบิ ำย : แ ส ด ง ถึง ศักย ภ า พของ อา จ า ร ย์ แ ล ะนั กวิ จั ย ใ น ก า ร ผ ลิ ต ผ ล ง า น วิ จั ย ท่ี เ ป็ น ที่ ย อม รั บ ได้ รั บ ร า ง วั ล ในระดับชาต/ิ นานาชาติ สตู รกำรคำนวณ : = จานวนรางวัลผลงานวจิ ยั ที่ได้รบั รางวลั ระดับชาติหรอื นานาชาติ เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 19 ≥ 11 ≥ 13 ≥ 15 ≥ 17 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานจานวนผลงานวิจัยทไี่ ดร้ บั รางวลั ระดบั ชาติหรอื นานาชาติ ผรู้ บั ผดิ ชอบ : ส่วนงาน/กองบริหารการวิจยั และบริการวชิ าการ 78
ตัวชีว้ ดั ที่ 6 : สัดส่วนของบทความวิชาการและบทความวิจัยท่ีตีพิมพ์อยู่ในวารสารระดับนานาชาติ ในฐานขอ้ มลู Scopus ต่ออาจารยป์ ระจาและนักวจิ ัย หน่วยวดั : สดั สว่ น กลุม่ ตัวช้ีวดั : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 0.2 : 1 0.3 : 1 0.4 : 1 ผู้กำกบั ดแู ล : ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายวิจัย นวตั กรรมและวเิ ทศสัมพนั ธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รตั นทับทิมทอง คำอธิบำย : บทความวิชาการและบทความวิจัยที่ตีพมิ พเ์ ผยแพร่ เป็นการแสดงให้เหน็ ถึงความกา้ วหน้าทางวิชาการ และการพัฒนาองค์ความรอู้ ย่างต่อเน่อื ง ทีอ่ าจารย์ประจาและนักวจิ ัยได้สร้างสรรคผ์ ลงานทางวิชาการ เป็นผลงานท่ีมีคุณค่า มีการตีพิมพ์เผยแพร่สู่สากล โดยเน้นการตีพิมพ์บทความในวารสารระดับ นานาชาตทิ ่เี ปน็ ทย่ี อมรับอยา่ งแพร่หลาย คือ ฐานขอ้ มูล Scopus ฐานข้อมูล Scopus เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ครอบคลุมเน้ือหาทุกสาขาวิชา รวมถึงสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ นอกจากนี้ยังมีข้อมูลบางส่วนในรูป ของ Conference Proceeding และ Books รูปแบบการสืบค้นคล้ายกบั ฐานขอ้ มูล Science Direct เน่ืองจากเป็นฐานข้อมูลของ Elsevier Science เช่นกัน เพียงแต่ Scopus จะไม่มีเอกสารฉบับเต็ม แต่จะมีการเชื่อมโยงให้หากวารสารที่ค้นพบใน Scopus เป็นวารสารท่ีสานักหอสมุดมีในรูปของ E-journal ซึ่งอาจเป็น Science Direct, Springer Link เป็นต้น เม่ือคลิก Link ดังกล่าวแล้ว จะสามารถเรียกดฉู บบั เต็มได้ (สามารถเข้าค้นข้อมลู ไดจ้ าก http://www.scopus.com) อาจารย์ประจาและนักวิจัย รวมลาศกึ ษาต่อ สูตรกำรคำนวณ : ผลรวมของบทความวิชาการและบทความวิจัยทต่ี พี ิมพ์อยู่ในวารสารระดบั นานาชาติ ในฐานข้อมลู Scopus จานวนอาจารย์และนักวจิ ัยทงั้ หมด เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥0 ≥ 0.1 : 1 ≥ 0.2 : 1 ≥ 0.3 : 1 ≥ 0.4 : 1 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนบทความวิชาการและบทความวิจัยที่ตพี ิมพ์อยู่ในวารสารระดบั นานาชาติรายงาน จานวนบทความวจิ ยั ท่ที ารว่ มกับหนว่ ยงานหรอื สถาบนั ในต่างประเทศท่ีได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่ ผู้รบั ผดิ ชอบ : สว่ นงาน 79
มิติด้ำนกำรบรกิ ำรวิชำกำร ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 : จานวนชมุ ชนทไี่ ดร้ บั การพัฒนาและสามารถพึง่ พาตนเองได้ หน่วยวัด : ชมุ ชน กลมุ่ ตัวช้ีวัด : รว่ มบางสว่ นงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 10 68 ผู้กำกบั ดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการและกจิ การพิเศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ติพจน์ เพิ่มพลู คำอธบิ ำย : แสดงถึงชุมชนท่ีได้รับการพัฒนาและสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยชุมชนสามารถนาองค์ความรู้ ไปประยุกต์ใช้ตอ่ ยอดได้อย่างเป็นรูปธรรม พฒั นาอาชีพ และยกระดับคณุ ภาพชีวติ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนชมุ ชนที่ไดร้ ับการพัฒนาและสามารถพงึ่ พาตนเองได้ เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 10 ≥2 ≥4 ≥6 ≥8 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนชมุ ชนที่ไดร้ บั การพัฒนาและสามารถพึ่งพาตนเองได้ ผ้รู ับผิดชอบ : สว่ นงาน/กองบริหารการวจิ ยั และบริการวิชาการ 80
ตัวช้ีวดั ท่ี 2 : รายไดร้ วมจากการบริการวิชาการ (เฉพาะคา่ อานวยการ 3%) หน่วยวดั : ล้านบาท กลุม่ ตัวชว้ี ัด : ร่วมทุกส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 20 16 18 ผ้กู ำกับดแู ล : ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยบริการวิชาการและกจิ การพเิ ศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กิตตพิ จน์ เพ่ิมพลู คำอธิบำย : แสดงถึงศักยภาพของอาจารย์ นักวิจัย และนักวิชาการของส่วนงานในการสร้างรายได้ จากการให้บริการวิชาการ เพ่ือนารายได้ไปใช้ในการบริหารจัดการและพัฒนากิจการของส่วนงาน และมหาวิทยาลัย ให้เกิดความเข้มแข็งทางวิชาการเพ่ิมข้ึน เป็นไปตามจุดเน้น และอัตลักษณ์ ของส่วนงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย และตามความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและเชิง พืน้ ทขี่ องส่วนงาน สตู รกำรคำนวณ : = รายไดร้ วมจากการบริการวิชาการ (เฉพาะค่าอานวยการ 3%) เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 20 ≥ 12 ≥ 14 ≥ 16 ≥ 18 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานรายไดจ้ ากการให้บรกิ ารวิชาการ (เฉพาะค่าอานวยการ 3%) รายงานรายไดร้ วมจากการบรกิ ารวชิ าการ (100%) ผู้รบั ผิดชอบ : งานคลงั และพัสดุ กองบรหิ ารทัว่ ไป 81
ตัวชว้ี ัดที่ 3 : รายได้จากโครงการพัฒนาวิชาการทัง้ หมด (100%) หน่วยวัด : ล้านบาท กลมุ่ ตวั ช้ีวัด : รว่ มทกุ ส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 400 360 380 ผกู้ ำกับดแู ล : ผู้ชว่ ยอธิการบดีฝ่ายบรกิ ารวิชาการและกจิ การพิเศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ตพิ จน์ เพ่ิมพลู คำอธบิ ำย : เงินรายได้จากโครงการพัฒนาวิชาการ หมายถึง เงินค่าอานวยการ การบริการของมหาวิทยาลัย ที่ได้รับจัดสรรตามระเบียบว่าด้วยการพัฒนาวิชาการ พ.ศ. 2551 และเงินรายได้สุทธิที่เกิดข้ึน จากการใช้ทรพั ยากรของมหาวทิ ยาลัยในเชิงวชิ าการ โดยจดั ทาเปน็ โครงการพัฒนาวิชาการ สูตรกำรคำนวณ : = รายได้จากโครงการพฒั นาวิชาการทั้งหมด เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 400 ≥ 320 ≥ 340 ≥ 360 ≥ 380 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานรายได้โครงการพัฒนาวิชาการ (100%) รายงานรายได้ค่าอานวยการจากโครงการพัฒนาวชิ าการ (10%) รายงานรายได้ค่าอานวยการจากโครงการพัฒนาวิชาการ (5%) ผู้รบั ผดิ ชอบ : กองบรหิ ารการวจิ ัยและบริการวชิ าการ 82
ตวั ชวี้ ัดท่ี 4 : จานวนโครงการบริการวิชาการ/พัฒนาวิชาการท้ังหมด ท่ีส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่า หรือ เกิดประโยชน์ในระดบั ประเทศ หน่วยวัด : โครงการ กลมุ่ ตัวช้ีวดั : ร่วมทุกส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 170 185 200 ผกู้ ำกบั ดูแล : ผชู้ ่วยอธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการและกิจการพเิ ศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ติพจน์ เพ่ิมพูล คำอธบิ ำย : เพื่อแสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของการให้บริการวิชาการ/พัฒนาวิชาการ ทั้งแบบให้เปล่าและคิดค่าบริการ ภายในระยะเวลา 1 ปี หลังจากให้บริการวิชาการแล้วส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ ในระดับประเทศ ซ่ึงเป็นโครงการบริการวิชาการตามจุดเน้นและอัตลักษณ์ของส่วนงานที่สอดคล้อง กับนโยบายของมหาวิทยาลัย และตามความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและเชิงพ้ืนที่ โดยส่งผลต่อ การเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ระดับประเทศ ใน 4 ประเดน็ คือ 1) ประโยชน์เชิงสาธารณะ เช่น การเผยแพร่ความรู้ให้กับเกษตรกรทั่วไป เพื่อตระหนักถึงการใช้ สารเคมที างการเกษตรอย่างปลอดภยั 2) ประโยชน์เชิงนโยบาย เช่น การให้ข้อมูลทางวิชาการกับกรมปศุสัตว์จนนาไปสู่การออกนโยบาย รบั มือกบั โรคระบาดในปศสุ ัตว์ของประเทศ 3) ประโยชน์เชิงพาณิชย์เช่น การให้บริการ ให้คาปรึกษาโรงงานอุตสาหกรรมในการลดต้นทุน การผลิตหรือช่วยให้ธุรกิจการส่งออกพชื ผกั ผลไม้สามารถมียอดการส่งออกเพ่ิมข้ึน 4) ประโยชน์เชิงวิชาการ (ไม่นับการตีพิมพ์หรือเสนอผลงานวิชาการ) เช่น ผลจากการให้บริการ วิชาการได้พบโจทย์วิจัยเพ่ือนาไปศึกษาค้นคว้าให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่จะสามารถช่วยเหลือปัญหา ในระดับประเทศ หรือ จากประสบการณ์ในการบริการวิชาการสามารถนาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ เกดิ เป็นคมู่ ือ หนงั สือ ใช้ในการเรียนการสอน ใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย เปน็ ต้น 83
สูตรกำรคำนวณ : = จานวนโครงการบริการวชิ าการ/พัฒนาวชิ าการทัง้ หมด ที่ส่งผลต่อการเพม่ิ มลู ค่า หรอื เกดิ ประโยชน์ในระดับประเทศ เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 160 ≥ 165 ≥ 170 ≥ 175 ≥ 180 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนโครงการบริการวิชาการ ที่ส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ ในระดับประเทศ (เป็นโครงการบริการวิชาการ แบบให้เปล่า และคิดค่าบรกิ าร ในระยะเวลา 1 ปี หลงั จากให้บรกิ ารวิชาการแลว้ ) รายงานจานวนโครงการพัฒนาวิชาการ ที่ส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ ในระดบั ประเทศ ผู้รบั ผิดชอบ : ส่วนงาน/กองบรหิ ารการวิจัยและบริการวชิ าการ 84
ตัวชวี้ ัดท่ี 5 : จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการท่สี ง่ เสรมิ หรือสรา้ งอาชีพและรายได้ หน่วยวัด : โครงการ กลมุ่ ตวั ชีว้ ัด : ร่วมทุกสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 50 40 45 ผกู้ ำกับดแู ล : ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดีฝ่ายบรกิ ารวิชาการและกจิ การพเิ ศษ วทิ ยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ตพิ จน์ เพ่ิมพูล คำอธบิ ำย : เพื่อแสดงถึงผลสัมฤทธ์ิของการให้บริการวิชาการ ท่ีส่วนงานจัดสรรงบประมาณของตนเอง ในการดาเนินการ หรือส่วนงานได้รับสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยหรือแหล่งทุนภายนอก โดยการ ให้บริการท่ีเป็นไปตามจุดเน้นอัตลักษณ์ และสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย รวมถึง ความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและเชิงพื้นท่ี ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์และส่งเสริมความเข้มแข็งแก่ ชุมชนและสังคมในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านรายได้ ด้านคณุ ภาพชวี ติ ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม และด้านอืน่ ๆ สูตรกำรคำนวณ : = จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการท่ีสง่ เสริมหรอื สรา้ งอาชีพและรายได้ เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 30 ≥ 35 ≥ 40 ≥ 45 ≥ 50 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนโครงการบริการวิชาการท่ีส่งเสริมหรอื สร้างอาชีพและรายได้ภายในระยะเวลา 1 ปี หลังจากเสรจ็ สนิ้ การใหบ้ ริการวิชาการ ผู้รับผดิ ชอบ : สว่ นงาน 85
ตัวชวี้ ัดท่ี 6 : รอ้ ยละสทิ ธบิ ตั รและอนสุ ทิ ธิบตั รที่นาไปต่อยอดในเชิงพาณชิ ย์ หน่วยวดั : ร้อยละ กลมุ่ ตวั ช้ีวัด : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 25 15 20 ผู้กำกับดแู ล : ผ้ชู ่วยอธิการบดีฝ่ายบริการวิชาการและกิจการพเิ ศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กติ ตพิ จน์ เพ่ิมพูล คำอธิบำย : แสดงถึงการนาผลงานท่ีเป็นสิทธิบัตร (Patent)/อนุสิทธิบัตร (Petty Patent)/ความลับทางการค้า (Trade Secret)/พันธ์ุพืช (Plant Variety Protection)/พันธ์ุสัตว์ (Animal Variety Protection)/ จุลินทรีย์ (Microorganisms) ที่ได้รับการคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบ ผลติ ภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามท่กี ฎหมายกาหนด สามารถนาไปต่อยอดในเชิงพาณชิ ย์ ทเี่ ปน็ สิทธิพิเศษ ท่ีให้ผู้ประดิษฐค์ ิดค้นหรือผูอ้ อกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิท่ีจะผลิตสินค้า จาหนา่ ยสินค้า แตเ่ พยี งผู้เดียว ในช่วงระยะเวลาหน่งึ สูตรกำรคำนวณ : ผลรวมของจานวนอนุสทิ ธบิ ัตรและสทิ ธิบัตรทนี่ าไปต่อยอดในเชงิ พาณิชย์ X100 จานวนอนุสทิ ธิบัตรและสทิ ธิบัตรทงั้ หมด เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 5 ≥ 10 ≥ 15 ≥ 20 ≥ 25 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานจานวนของอนสุ ิทธบิ ัตร/สิทธิบตั ร/ความลบั ทางการค้า/พันธพ์ุ ืช/พนั ธุ์สตั ว/์ จลุ ินทรีย์ ผู้รบั ผดิ ชอบ : ส่วนงาน/กองบริหารการวิจยั และบรกิ ารวิชาการ 86
มติ ิด้ำนกำรบริหำรจดั กำร ตวั ชวี้ ัดท่ี 1 : คะแนนเฉล่ยี ผลการตรวจประเมนิ ในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทกุ ส่วนงานทเี่ ข้ารบั การประเมิน หน่วยวดั : คะแนน กล่มุ ตัวชวี้ ัด : ร่วมบางสว่ นงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปงี บประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 N/A 200 250 ผู้กำกับดูแล : ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชยั เหมือนโพธิ์ คำอธบิ ำย : ข้อมูลคะแนนเฉล่ียผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทกุ ส่วนงานท่ีเข้ารับการประเมนิ สูตรกำรคำนวณ : คะแนนรวมผลการตรวจประเมนิ ในระบบคณุ ภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทกุ ส่วนงานทเ่ี ข้ารบั การประเมนิ X100 จานวนส่วนงานทเี่ ข้ารบั การตรวจประเมนิ ในระบบคณุ ภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) เกณฑก์ ำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 110 ≥ 130 ≥ 150 ≥ 170 ≥ 190 ขอ้ มูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานคะแนนรวมผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทุกสว่ นงานทเี่ ข้ารบั การประเมิน ผรู้ บั ผดิ ชอบ : งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบรหิ ารทว่ั ไป 87
ตัวช้วี ดั ที่ 2 : ร้อยละของรายได้อ่ืน ๆ ท่ีเพิ่มขึ้นเทียบกับปีที่ผ่านมา (ยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษา และเงนิ อดุ หนนุ จากรฐั บาล) หนว่ ยวดั : รอ้ ยละ กลมุ่ ตวั ชีว้ ัด : ร่วมบางส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้ำหมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 >1.5% >1.5% >1.5% ผู้กำกับดแู ล : ผ้ชู ่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ว่าท่ีรอ้ ยตรี ดร.ศิริชัย ศรพี รหม คำอธิบำย : งบประมาณเงินรายได้ หมายถึง เงนิ ที่มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จัดเก็บหรือรับไว้ เป็นกรรมสิทธ์ิตามกฎหมาย ที่เป็นตัวเงิน อันเกิดจากผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัย เน่ืองจากการ ดาเนินงาน ประกอบไปด้วย เงินทุนการศึกษา เงินทุนวิจัย เงินอุดหนุนการวิจัย เงินรายได้จากโครงการ พัฒนาวิชาการ หรือการบริการวิชาการ เงินรายได้จากการลงทุนจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย เงินที่เกิดจากผลประโยชน์ในที่ราชพัสดุ เงินจากผลประโยชน์อ่ืน ๆ รวมทั้งเงินบริจาคอื่น ๆ ทั้งนี้ เพ่ือให้การบริหารวิทยาเขต มีงบประมาณเพียงพอต่อการบริหารในอนาคต จึงต้องหากลยุทธ์และวิธีการ ในการเพิ่มงบประมาณรายได้ในแต่ละปีขนึ้ ไป ทั้งนี้ ไมน่ บั รวมค่าธรรมเนยี มการศึกษา ซึ่งมีคานยิ าม ดังนี้ 1. รายได้จากการจัดการศึกษา คือ เงินบารุงการศึกษา เงินค่าหน่วยกิต เงินค่าธรรมเนียมการศึกษา จดั สรรหนว่ ยกติ ภาคพเิ ศษ จัดสรรผลประโยชน์ภาคพิเศษ รายรบั โครงการภาคพเิ ศษ 2. รายได้จากการบริการวิชาการ คือ ประยุกต์และบริการวิชาการ โครงการพัฒนาวิชาการ ทรัพย์สิน ทางปญั ญา/สทิ ธปิ ระโยชนฯ์ 3. รายได้จากการบริหารงาน คือ ขายผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ การบริหารสินทรัพย์ เช่าที่ราชพัสดุ ท่ีดิน/ อาคารในความปกครอง 4. รายไดด้ อกเบยี้ คอื ดอกเบีย้ เงินฝาก ดอกเบีย้ จากการลงทุน 5. การรับบรจิ าค 6. รายได้เงินอดุ หนนุ คอื อดุ หนุนเพอื่ การดาเนนิ งาน อุดหนุนวจิ ยั จากแหล่งทนุ ภายนอก 7. เงนิ รายไดอ้ ่นื 88
สูตรกำรคำนวณ : รายได้อ่ืน ๆ ปีปัจจบุ ัน- รายได้อ่ืน ๆ ปีงบประมาณที่ผา่ นมา X100 รายได้อื่น ๆ ปีงบประมาณที่ผา่ นมา เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥0 ≥ 0.75 ≥ 1.5 ≥ 2.25 ≥ 3.0 ข้อมูลประกอบกำรพิจำรณำ : รายงานรายได้ในปีปจั จุบนั (ยกเว้นคา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา และเงนิ อุดหนนุ จากรัฐบาล) รายได้ในปที ผี่ า่ นมา (ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมการศึกษา และเงินอุดหนุนจากรฐั บาล) ผรู้ ับผิดชอบ : งานคลังและพสั ดุ กองบรหิ ารทว่ั ไป 89
ตัวช้ีวดั ที่ 3 : ระดับการวัดสภาพแวดล้อมในการทางาน pulse survey หรือ Happy index หรือ Emo-meter ฯลฯ หนว่ ยวดั : คา่ เฉล่ยี กล่มุ ตวั ช้วี ดั : ร่วมทุกส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมลู : ปกี ารศกึ ษา เป้ำหมำยตัวช้ีวัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 ≥3.51 ≥3.70 ≥4.00 ผูก้ ำกับดูแล : ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยบริหาร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ว่าทีร่ อ้ ยตรี ดร.ศริ ชิ ัย ศรพี รหม คำอธิบำย : แสดงถงึ ความสขุ ของบคุ ลากรต่อสภาพการทางาน สิง่ แวดล้อมในการทางาน ในคณะ/มหาวิทยาลัย สภาพแวดล้อมในการทางาน คือ สภาพแวดล้อมที่สร้างความมั่นใจว่าสถานท่ีทางานมีสุขภาวะ ความมนั่ คง และความสะดวกในการเข้าทางานของบคุ ลากร สตู รกำรคำนวณ : = ผลการประเมินสภาพแวดล้อมในการทางาน เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 3.60 ≥ 3.70 ≥3.30 ≥ 3.40 ≥ 3.51 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานผลการประเมนิ สภาพแวดล้อมในการทางาน ผูร้ ับผดิ ชอบ : งานบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลและนิติการ กองบรหิ ารทัว่ ไป 90
ตวั ชีว้ ดั ที่ 4 : ระดับความผูกพนั ของบุคลากรต่อองค์กรตาม Engagement factor หน่วยวัด : ค่าเฉล่ีย กลมุ่ ตวั ชว้ี ดั : ร่วมทกุ ส่วนงาน รอบกำรเกบ็ ข้อมูล : ปีการศึกษา เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 ≥3.51 ≥3.70 ≥4.00 ผูก้ ำกบั ดแู ล : ผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ าร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ว่าท่รี อ้ ยตรี ดร.ศริ ชิ ยั ศรพี รหม คำอธิบำย : แสดงถึงการท่ีส่วนงาน/มหาวิทยาลัย ตอบสนองต่อความต้องการของบุคลากรอย่างเหมาะสม ตามปัจจยั ความผกู พนั ทส่ี าคัญ บุคลากรท่ีมีค่าเฉล่ียคะแนนความผาสุก ในระดับดี หมายถึง บุคลากรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ที่มผี ลการประเมินคา่ เฉลี่ยความผาสุก ตงั้ แต่ระดบั ดีข้นึ ไป ความผาสุก คือ ความสขุ 8 ประการ คือ ด้านสุขภาพดี การผ่อนคลาย การส่งเสริมคุณธรรม การรู้จัก ใช้เงิน การส่งเสริมครอบครัว แบ่งปันน้าใจ สร้างความรู้ และด้านสังคม (ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรพั ยส์ นิ บรรยากาศ สภาพแวดล้อมในการทางาน) ช่วงคะแนนเปน็ ดงั นี้ 0.01 - 1.50 หมายถึง ระดับความผาสุก ในระดบั ไมพ่ งึ พอใจ 1.51 - 2.50 หมายถึง ระดบั ความผาสุก ในระดบั นอ้ ย 2.51 - 3.50 หมายถงึ ระดบั ความผาสุก ในระดบั ปานกลาง 3.51 - 4.50 หมายถึง ระดับความผาสกุ ในระดบั ดี 4.51 - 5.00 หมายถงึ ระดบั ความผาสกุ ในระดับดีทีส่ ดุ สูตรกำรคำนวณ : = ผลการประเมนิ ความผูกพนั ของบุคลากร เกณฑ์กำรประเมนิ ควำมสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 3.60 ≥ 3.70 ≥3.30 ≥ 3.40 ≥ 3.51 ข้อมูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานผลการประเมนิ ความผูกพนั ของบุคลากร ผู้รบั ผดิ ชอบ : งานบรหิ ารทรัพยากรบุคคลและนติ กิ าร กองบริหารท่ัวไป 91
ตัวช้วี ัดที่ 5 : จานวนโครงการทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั SDGs ทบี่ รรลตุ ามเป้าหมาย หน่วยวดั : โครงการ กลมุ่ ตัวช้วี ดั : ร่วมทกุ ส่วนงาน รอบกำรเก็บข้อมลู : ปงี บประมาณ เปำ้ หมำยตัวชี้วัด : ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 24 20 22 ผู้กำกบั ดูแล : ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ าร วิทยาเขตกาแพงแสน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่รอ้ ยตรี ดร.ศิรชิ ยั ศรีพรหม : ผชู้ ่วยอธิการบดีฝ่ายวจิ ยั นวตั กรรม และวเิ ทศสมั พันธ์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ญั ญา รตั นทบั ทิมทอง : ผู้ช่วยอธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการและกจิ การพเิ ศษ วิทยาเขตกาแพงแสน อาจารย์ ดร.กิตติพจน์ เพิ่มพูล : ผชู้ ว่ ยอธิการบดีฝ่ายกจิ การนิสิต กีฬา และทานุบารุงศลิ ปวฒั นธรรม วทิ ยาเขตกาแพงแสน รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อศักด์ิ แกว้ จรสั วิไล : ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายกายภาพและสิง่ แวดลอ้ ม วิทยาเขตกาแพงแสน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์กฤษณะ จันทรโชติ : ผู้ช่วยอธิการบดฝี า่ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั วิทยาเขตกาแพงแสน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จกั กริช พฤษการ คำอธิบำย : แสดงถึงการให้ความสาคัญและมุ่งม่ันต่อการพัฒนาที่ยง่ั ยืนของมหาวทิ ยาลัย ประกอบดว้ ยเป้าหมาย 4 ข้อ คือ 2.ขจัดความหิวโหย 13.การรับมือการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ 14.การใช้ประโยชน์จาก มหาสมทุ ร 17.การร่วมมือเพือ่ การพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน สูตรกำรคำนวณ : = จานวนโครงการที่เกี่ยวข้องกับ SDGs ที่บรรลุตามเปา้ หมาย เกณฑ์กำรประเมินควำมสำเรจ็ ของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 16 ≥ 18 ≥ 20 ≥ 22 ≥ 24 ขอ้ มูลประกอบกำรพจิ ำรณำ : รายงานผลการดาเนินการโครงการที่เกยี่ วขอ้ งกบั SDGs ทบ่ี รรลเุ ป้าหมายโครงการ ผรู้ ับผิดชอบ : สว่ นงาน/วิทยาเขต 92
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174