Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งาน

งาน

Published by ชุติมา โตแฉ่ง, 2019-09-11 02:42:57

Description: งาน

Search

Read the Text Version

จงั หวดั เลย Ley

สาบญั หน้าที่ ประวตั ิจงั หวดั เลย 1-2 ภมู ศิ าสตร์ ลกั ษณะภมู ศิ าสตร์ 3 ลกั ษณะทางสงั คม แหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ 3 ประเพณีเทศการรื่นเริง 4-6 อาหารประจาจงั หวดั เลย 7-14 15-23 24-33

1 ประวัติ จงั หวดั เลย เป็นจงั หวดั หนง่ึ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตงั้ อยใู่ นแอ่ง สกลนครและอย่ใู นกล่มุ จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 540 กิโลเมตร มีสภาพภมู ิประเทศที่งดงาม อากาศหนาวเย็น เป็นแหล่งเพาะปลกู ไม้ ดอกไม้ประดบั ที่สาคญั แห่งหนง่ึ ของประเทศ และยงั เป็ นเมืองทอ่ งเที่ยวท่ีสาคญั อีกด้วยก่อตงั้ โดยชนเผ่าไทยท่ีสืบเชือ้ สายมาจากบรรพบรุ ุษท่ีก่อตงั้ อาณาจกั รโยนกเชียงแสน โดยพอ่ ขนุ บาง กลางหาวและพอ่ ขนุ ผาเมือง (เช่ือถือกนั ว่าเป็นเชือ้ สายราชวงศ์สงิ หนวตั ิ) ได้มีผ้คู นอพยพจาก อาณาจกั รโยนกเชียงแสนที่ลม่ สลายแล้ว ผา่ นดนิ แดนล้านช้าง ข้ามลานา้ เหืองขนึ ้ ไปทางฝั่งขวา ของลานา้ หมนั ถงึ บริเวณที่ราบ พอ่ ขนุ ผาเมืองได้ตงั้ บ้านด่านขวา (ปัจจบุ นั อยใู่ นบริเวณชายเนิน นาดา่ นขวา ซง่ึ มีซากวดั เก่าอย่ใู นแปลงนาของเอกชน ระหวา่ งหม่บู ้านหวั แหลมกบั หม่บู ้านนา เบีย้ อาเภอดา่ นซ้าย) ส่วนพอ่ ขนุ บางกลางหาวได้แบ่งไพร่พลข้ามลานา้ หมนั ไปทางฝ่ังซ้าย สร้างบ้านดา่ นซ้าย (สนั นิษฐานว่าอยใู่ นบริเวณหม่บู ้านเก่า อาเภอด่านซ้ายในปัจจบุ นั ) ต่อมา จงึ ได้อพยพเล่ือนขนึ ้ ไปตามลานา้ ไปสร้างบ้านหนองคู และได้นานามหมบู่ ้านดา่ นซ้าย มาขนาน นามหมบู่ ้านหนองคใู หม่ เป็น \"เมืองดา่ นซ้าย\" อพยพไปอยทู่ ่ีเมืองบางยางในท่ีสดุ โดยมีพอ่ ขนุ ผาเมืองอพยพผ้คู นตดิ ตามไปตงั้ เมืองราด (เชื่อวา่ เป็นเมืองศรีเทพ อย่ใู นท้องท่ีอาเภอศรีเทพ และอาเภอวเิ ชียรบรุ ี จงั หวดั เพชรบรู ณ์) และตงั้ เมืองด่านซ้าย เป็นเมืองหน้าดา่ นทางตะวนั ออก ของเมืองบางยางนอกจากนีแ้ ล้ว ยงั มีชาวโยนกอีกกล่มุ หนง่ึ ได้อพยพมาตงั้ บ้านเรือนระหวา่ ง ชายแดนตอนใต้ของอาณาเขต ล้านนา ต่อแดนล้านช้างอย่ชู วั่ ระยะเวลาหนึ่ง ก่อนท่ีจะอพยพ หนีภยั สงครามข้ามลานา้ เหืองมาตงั้ เมืองเซไลขนึ ้ (สนั นษิ ฐานว่าอยใู่ นท้องที่หมบู่ ้านทรายขาว ตาบลทรายขาว อาเภอวงั สะพงุ ) จากหลกั ฐานในสมดุ ข่อยท่ีมีการค้นพบ เมืองเซไลอยดู่ ้วย ความสงบร่มเย็นมาจนกระทงั่ ถึงสมยั เจ้าเมืองคนท่ี 5 เกิดทพุ ภกิ ขภยั ข้าว

2 ยากหมากแพง ฝนฟ้ าไม่ตก จงึ ได้พาผ้คู นอพยพไปตามลาแมน่ า้ เซไลถึงบริเวณที่ราบระหวา่ ง ปากลาห้วยไหลตกแม่เซไล จงึ ได้ตงั้ บ้านเรือนขนึ ้ ขนานนามว่า \"บ้านแห\"่ (บ้านแฮ่) ส่วนลาห้วย ให้ชื่อว่า \"ห้วยหมาน\"ในปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงพิจารณา เห็นว่า หม่บู ้านแฮซ่ งึ่ ตงั้ อย่รู ิมฝั่งห้วยนา้ หมาน และอย่ใู กล้กบั แม่นา้ เลย มีผ้คู นเพม่ิ มากขนึ ้ สมควรจะได้ตงั้ เป็นเมือง เพ่อื ประโยชน์ในการปกครองอยา่ งใกล้ชิด จงึ ได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้จดั ตงั้ เป็นเมืองเรียกช่ือตามนามของแม่นา้ เลยว่า เมืองเลย ขนึ ้ ตือเมืองเพชรบรู ณ์อีกที หนง่ึ ตอ่ มา พ.ศ. 2440 ได้มีประกาศใช้พระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองพนื ้ ที่ ร.ศ.116 แบง่ การปกครองเมืองเลยออกเป็น 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอกดุ ป่ อง อาเภอท่าล่ี (เดิมตาบลอาฮีเป็น อาเภอ แตถ่ กู ลดบทบาทลงเป็นตาบลเพราะอย่ใู กล้กบั แมน่ า้ เหือง เป็นผลมาจากการเสีย ดินแดนให้ลาวโดยประเทศฝรั่งเศส) อาเภอนากอก (ปัจจบุ นั อยใู่ นประเทศลาว) อาเภอที่ตงั้ เมืองคือ อาเภอกดุ ป่ อง ตอ่ มา พ.ศ. 2442-2449 ได้เปลี่ยนชื่อเมืองเลยเป็ น บริเวณลานา้ เลย พ.ศ. 2449-2450 เปล่ียนช่ือบริเวณลานา้ เลยเป็ นบริเวณลานา้ เหือง และใน พ.ศ. 2450 ได้มี ประกาศของกระทรวงมหาดไทยลงวนั ท่ี 4 มกราคม พ.ศ. 2450 ยกเลกิ บริเวณลานา้ เหือง ให้ คงเหลือไว้เฉพาะ \"เมืองเลย\" โดยให้เปล่ียนชื่ออาเภอกดุ ป่ อง เป็น \"อาเภอเมืองเลย\"

3 ภมู ศิ าสตร์ จงั หวดั เลยตงั้ อยทู่ างตอนบนของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีพืน้ ที่ ทงั้ หมด 11,424.612 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,140,382 ไร่ หรือประมาณร้อยละ 6.77 ของพืน้ ที่ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีระยะทางจากกรุงเทพมหานคร 520 กิโลเมตร มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั อื่น ๆ ดงั นี ้ ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กบั แขวงไชยบรุ ีและแขวงเวียงจนั ทน์ ประเทศลาว โดยมีแมน่ า้ โขงและ แมน่ า้ เหืองไหลกนั้ พรมแดนระหวา่ งกนั ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั หนองคาย จงั หวดั อดุ รธานี และจงั หวดั หนองบวั ลาภู ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ขอนแกน่ และจงั หวดั เพชรบรู ณ์ ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั พิษณโุ ลก ลักษณะภูมิประเทศ จงั หวดั เลยตงั้ อยบู่ นพืน้ ท่ีราบสงู โคราช หรือที่เรียกกนั วา่ แอง่ สกลนคร ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญ่เป็นทิว เขาในแนวทางทศิ เหนือใต้ และจะมีพืน้ ท่ีราบลมุ่ ระหวา่ งหบุ เขาท่ีไมใ่ หญ่มากนกั สลบั กนั อยใู่ นแนว เทือกเขา จงั หวดั เลยมีภเู ขาสงู กระจดั กระจาย โดยเฉพาะทางตะวนั ตกและทางด้านใต้ของจงั หวดั ทงั้ นีย้ งั มี แหลง่ นา้ สาคญั คือแมน่ า้ โขงในบริเวณตอนบนของจงั หวดั ลักษณะภูมิอากาศ เทอร์โมมเิ ตอร์ยกั ษ์ท่ี หน้าอาเภอภเู รือจงั หวดั เลยเป็นจงั หวดั ท่ีเรียกได้วา่ หนาวที่สดุ ของประเทศ เคยมีอณุ หภมู ติ า่ สดุ ประมาณ - 1.3 องศาเซลเซียส (2 มกราคม พ.ศ. 2517) อณุ หภมู ิสงู สดุ ประมาณ 43.5 องศาเซลเซียส (25 เมษายน พ.ศ. 2517) อณุ หภมู ิเฉลี่ยตลอดทงั้ ปี อยทู่ ี่ประมาณ 25.5-26.5 องศาเซลเซียส และจะมี อณุ หภมู ิท่ีหนาวจดั ในช่วงระหวา่ งเดือนธนั วาคม-มกราคม โดยชว่ ง 10 ปี ที่ผา่ นมา อณุ หภมู ติ า่ สดุ ประมาณ 5.5 องศาเซลเซียส (พ.ศ. 2557)

4 ประชากรศาสตร์ ลักษณะทางสังคม จงั หวดั เลยมีโครงสร้างทางสงั คมแบบประเพณีนา คนพนื ้ เมืองส่วนใหญ่ต่างจากคนภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือทว่ั ๆ ไปซง่ึ เป็นคนไทยเผา่ พวน แตเ่ ป็นคนไทยเผ่าลือ้ จากลานช้างและ หลวงพระบาง เช่นเดียวกนั กลมุ่ เชือ้ ชาตปิ ระชากรชาวไทเลย ไทเลย เป็นช่ือเรียกคนเมืองเลย ในประวตั ิศาสตร์บนั ทกึ ไว้ว่า คนเมืองเลยคือกลมุ่ ชนท่ีอพยพ จากชายแดนตอนเหนืออาณาจกั รสโุ ขทยั ซง่ึ สืบเชือ้ สายมาจากไทหลวงพระบาง เข้ามาตงั้ ถิ่น ฐานอย่ทู ี่เมืองเซไล (บ้านทรายขาว อาเภอวงั สะพงุ ปัจจบุ นั ) ในปี พ.ศ. 2396 ซงึ่ ตรงกบั สมยั รัชกาลท่ี 4 ต่อมาได้ย้ายมาอย่ทู ่ีบ้านแห่ (บ้านแฮ่ปัจจบุ นั ) ได้ตงั้ บ้านเรือนเรียกวา่ เมืองเลย นบั ตงั้ แต่นนั้ เป็นต้นมา เมืองเลยก็รวมตวั กนั เป็นเมืองใหญ่ โดยการรวมตวั ของ อาเภอกดุ ป่ อง อาเภอท่าล่ี ซงึ่ ขนึ ้ กบั มณฑลอดุ ร อาเภอดา่ นซ้าย ซง่ึ ขนึ ้ กบั มณฑลพษิ ณโุ ลก เมืองเชียงคาน ซง่ึ ขนึ ้ กบั เมืองพชิ ยั อาเภอตา่ ง ๆ เหลา่ นีจ้ งึ โอนขึน้ กบั เมืองเลยทงั้ หมดตงั้ แต่ พ.ศ. 2450 เป็นต้น มาชาวไทเลยจะมีนสิ ยั ใจคอเหมือนกบั ชนเชือ้ ชาตโิ บราณซง่ึ ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงไปจากดงั้ เดิม มีสาเนียงพดู ท่ีแปลกและน่ิมนวล พดู สภุ าพและไม่ค่อยพดู เสียงดงั กิริยามารยาทดีงาม อารมณ์ เยือกเย็นไมว่ วู่ าม มีนิสยั รักความสงบเอือ้ เฟือ้ เผ่ือแผ่ รักถ่ินที่อย่ไู มค่ ่อยอพยพไปอยทู่ ี่อื่น ส่วน ทางด้านวฒั นธรรมประเพณีที่ปฏบิ ตั สิ ืบทอดต่อกนั มา ได้แก่ “ฮีตสิบสอง–คองสบิ สี่” คือการ ทาบญุ ตามประเพณีทงั้ สิบสองเดือนของแตล่ ะปี บ้านชาวไทเลยเป็ นเรือนหลงั ใหญ่ ยกพนื ้ สงู มี ระเบียงหรือชานย่ืนออกมาหน้าเรือน มีเรือนครัวซง่ึ ส่วนใหญ่จะสร้างแยกตา่ งหากโดยมีชาน ต่อเชื่อมติดกนั สาหรับหลงั คาของเรือนนอนมงุ ด้วยหญ้าคาหรือไม้แป้ นเก็ด ฝาเรือน พืน้ เรือน นิยมทาด้วยไม้แผน่ เรียกว่า ไม้แป้ น ส่วนเสาจะใช้ไม้เนือ้ แขง็ เป็นต้นๆ หรืออิฐก่อเป็นเสาใหญ่ มี บนั ไดไม้พาดไว้สาหรับขนึ ้ ลง สว่ นเรือนครัวมงุ ด้วยหญ้าคา ฝาและพนื ้ จะนิยมทาด้วยฟากไม้ไผ่ สบั แผอ่ อกเป็นแผ่น และเสาจะทาด้วยไม้เนือ้ แข็งเช่นกนั

5 จงั หวดั เลย มีคนพนื ้ เมืองท่ีมีเชือ้ ชาตไิ ทย ซง่ึ เรียกตวั เองวา่ ไทเลย เป็นกล่มุ คนกลมุ่ ใหญ่ที่สดุ นอกจากนีก้ ็มีคนเชือ้ ชาติจีน ชาวเขา ไทดา ไทพวนชาวไทดาชาวไทดา อพยพมาจากแคว้นพวน ในประเทศลาวปัจจบุ นั ซง่ึ ก่อนหน้านนั้ อยทู่ ี่แคว้นสบิ สองจไุ ท ซงึ่ เป็ นบ้านเกิดเดมิ ของชาวไทดา ในอดีตแคว้นสบิ สองจไุ ทเป็นเขตอาณาจกั รสยาม ปัจจบุ นั อยใู่ นประเทศเวียดนาม เมื่อปี พ.ศ. 2417 เมื่อพวกฮอ่ ยกกาลงั มาตีเมืองเชียงขวาง ซงึ่ เป็นหวั เมืองสาคญั ในแคว้นพวน จงึ ได้เริ่ม อพยพลงมาตามเส้นทางเร่ือยๆ จนได้มาพกั ที่บ้านนา้ ก้อใหญ่ ตาบลนา้ ก้อ อาเภอหลม่ สกั จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ตอ่ มามีชาวไทยดากลมุ่ หนงึ่ ได้เดินทางข้ามแม่นา้ โขง ไปยงั บ้านนา้ ก่มุ แขวง เวียงจนั ทน์ แตใ่ นขณะนนั้ เขตเวียงจนั ทน์มีปัญหาการเจรจากบั ฝร่ังเศส ไทดาจึงข้ามแม่นา้ โขง กลบั มาตงั้ หม่บู ้านนาป่ าหนาด ตาบลเขาแก้ว อาเภอเชียงคาน ซง่ึ เป็ นถิ่นฐานดงั้ เดมิ และถาวร จนถึงปัจจบุ นั ท่ีหม่บู ้านนาป่ าหนาด ตาบลเขาแก้ว อาเภอเชียงคาน เม่ือปี พ.ศ. 2438 มี 15 ครัวเรือน ปัจจบุ นั ชาวไทดา มีจานวน 825 ครัวเรือน มีอาชีพส่วนใหญ่ทางการเกษตรกรรมชาว ไทพวนชาวไทพวน ได้อพยพเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานที่บ้านบฮุ มและบ้านกลาง อาเภอเชียงคาน จาก ถิ่นฐานเดิมที่เมืองเตาไห หลวงพระบาง ประเทศลาว เมื่อครัง้ พวกจีนฮ่อ กลา เวียง รุกรานเมือง เตาไหชาวไทใต้ชาวไทใต้ อพยพมาจากภาคอีสานเข้ามาตงั้ ถ่ินฐานในจงั หวดั เลย สว่ นใหญ่มา จากจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ จงั หวดั อบุ ลราชธานี และจงั หวดั ยโสธร เม่ือ พ.ศ. 2506 จะพบชาวไทใต้ จานวนมากท่ีอาเภอเอราวณั และอาเภอนาด้วง ภาษาพดู แตกตา่ งจากภาษาไทเลย เพราะได้ สืบทอดมาจากถ่ินเดิมของตน เชน่ ภาษาไทยอีสาน ภาษาถ่ินอบุ ล ภาษาไทยโคราภาษาของคน จงั หวดั เลยมีสาเนียงภาษาแตกตา่ งจากภาษาพดู ของคนในจงั หวดั ภาคอีสานอ่ืน ๆ เพราะกล่มุ คนท่ีอาศยั ปัจจบุ นั นีม้ ีประวตั ิการอพยพเคลื่อนย้ายจากเมืองหลวงพระบางแหง่ อาณาจกั รล้าน ช้าง ตอ่ มาต้นพทุ ธศตวรรษที่ 23 ชาวหลวงพระบางและชาวเมืองบริเวณใกล้เคียงที่อพยพมา เมืองเลยได้นาวฒั นธรรมด้านภาษาอีสานถ่ินอื่นเข้ามาด้วย โดยภาษาเลยนนั้ จดั อยใู่ นกลมุ่ หลวงพระบางอนั ประกอบด้วยภาษาเมืองแก่นท้าว ภาษาอาเภอดา่ นซ้าย และภาษาอาเภอ เมืองเลย ดงั นนั้ สาเนียงพดู ของชาวไทเลยจงึ มีลกั ษณะการพดู เหมือนชาวหลวงพระบาง แต่บาง

6 พยางค์ออกเป็นเสียงสงู คล้ายสาเนียงพดู ของชาวปักษ์ใต้ ฟังดไู พเราะนุ่มนวลจงึ เป็นเอกลกั ษณ์ เฉพาะคนเมือง สว่ นคนในวงั สะพงุ จะพดู เสียงห้วนกวา่ ชาวเลยถ่ินอ่ืนการขนสง่ จงั หวดั เลยอยู่ หา่ งจากกรุงเทพมหานครประมาณ 540 กิโลเมตร นกั ท่องเที่ยวสามารถเดนิ ทางส่จู งั หวดั เลยได้ ทงั้ ทางรถยนต์ส่วนตวั และรถประจาทางการเดนิ ทางโดยรถยนต์สว่ นตวั จากกรุงเทพมหานคร สามารถไปได้ 2 เส้นทาง คือใช้ถนนพหลโยธิน ผ่านจงั หวดั สระบรุ ี แล้วแยกใช้ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 21 ผ่านจงั หวดั เพชรบรู ณ์ จนถึงอาเภอหล่มสกั ตอ่ ด้วยทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 21 (ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 203 เดมิ ) ผา่ นอาเภอหลม่ เก่า อาเภอภเู รือ เข้าส่จู งั หวดั เลยใช้ ถนนพหลโยธิน จนถงึ จงั หวดั สระบรุ ี แล้วแยกใช้ถนนมิตรภาพ จนถงึ อาเภอสีคิว้ แยกซ้ายเข้าสู่ ทางหลวงหมายเลข 201 ผา่ นอาเภอดา่ นขนุ ทด อาเภอจตั รุ ัส จงั หวดั ชยั ภมู ิ อาเภอแก้งคร้อ อาเภอภเู ขียว อาเภอชมุ แพ อาเภอภกู ระดงึ อาเภอหนองหิน อาเภอวงั สะพงุ จนถึงจงั หวดั เลย การเดินทางโดยทางเคร่ืองบนิ โดยลงท่ีท่าอากาศยานเลย มีสายการบนิ นกแอร์ และไทยแอร์ เอเชีย จาก ทา่ อากาศยานดอนเมือง - ทา่ อากาศยานเลย และ ท่าอากาศยานเลย - ทา่ อากา ยานดอนเมืองให้บริการทกุ วนั การเดนิ ทางโดยรถโดยสาร รถโดยสารจากกรุงเทพมหานคร สาย กรุงเทพฯ-เมืองเลย (สาย 29 และ 938) มีผ้ปู ระกอบการหลายราย เช่น บริษัท ขนสง่ จากดั (สาย 29) แอร์เมืองเลย (สาย29),ขอนแก่นทวั ร์ (สาย 938),ชมุ แพทวั ร์(สาย 29),ภกู ระดงึ ทวั ร์ ,ศิขรินทร์ทวั ร์ และสาย 14 กรุงเทพ - ภเู รือ ของ บริษัท เพชรประเสริฐ จากดั และมีรถโดยสาร ระหวา่ งภาค สาย 808 นครราชสีมา-เชียงคาน และสาย 824 เลย-พทั ยา-ระยอง ของบริษัทนคร ชยั ขนสง่ สาย 636 เชียงใหม่-อดุ รธานี ของบริษัทจกั รพงษ์ทวั ร์และอ.ศกึ ษาทวั ร์ สาย 661 เชียงราย-นครพนม ของบริษัทสมบตั ิทวั ร์ และจกั รพงษ์ทวั ร์ และมีสายอดุ รธานี-พษิ ณโุ ลก ของ นครไทยแอร์

7 แหล่งท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ พระธาตุศรีสองรัก ตงั้ อยรู่ ิมฝ่ังแมน่ า้ หมนั อาเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย สร้างขนึ ้ สมยั พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช เมื่อปี พ.ศ. 2103 เสร็จในปี พ.ศ. 2106พระธาตศุ รีสองรกั สร้างขนึ ้ เพ่อื ให้เป็ นสกั ขพี ยานในการชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ระหวา่ งกรุงศรี อยธุ ยา (สมยั สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ) กบั กรุงศรีสตั นาคนหตุ (ปัจจบุ นั คือเวยี งจนั ทน์ ประเทศลาว)กษตั ริย์ทงั้ สอง พระองค์ทรงครองราชสมบตั ิ ตรงกบั สมยั ท่พี มา่ เรืองอานาจ และมกี ารรุกรานดินแดนตา่ ง ๆ เพอื่ ขยายอานาจ สมเดจ็ พระ มหาจกั รพรรดิและพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชจึงตกลงรวมกาลงั เพื่อตอ่ ส้กู บั พมา่ จงึ ทรงกระทาสตั ยาธิษฐานว่าจะไมล่ ว่ งลา้ ดนิ แดนของกนั และกนั และเพ่อื เป็ นทร่ี ะลกึ ในการทาไมตรีตอ่ กนั จงึ ได้ร่วมกนั สร้างพระธาตศุ รีสองรักเพ่อื เป็ นสกั ขพี ยาน ณ กงึ่ กลางระหวา่ งแมน่ า้ นา่ นและแมน่ า้ โขง ซงึ่ เป็ นรอยตอ่ ของทงั้ สองราชอาณาจกั รนอกจากนภี ้ ายในวดั ยงั มีพระพทุ ธรูป ปางนาคปรก ศลิ ปะล้านช้างทรงเคร่ืองอยธุ ยา หวั นาคปรกสร้างด้วยศิลา องค์พระพทุ ธรูปสร้างด้วยทองสาริด มหี น้าตกั กว้าง 21 นวิ ้ สงู 30 นวิ ้ ทกุ วนั ขนึ ้ 15 เดอื น 6 ชาวอาเภอดา่ นซ้าย หรือ\"ลกู ผงึ ้ ลกู เทยี น\" จะร่วมกนั จดั งานสมโภชพระธาตขุ นึ ้ โดยจะนาต้นผงึ ้ มาถวายพระธาตถุ ือเป็ นประเพณีอนั ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิที่เกิดขนึ ้ ประจาทกุ ปี

8 ภาพเมืองเชียงคาน เชียงคาน เมอื งเลก็ ๆ ริมแมน่ า้ โขงสดุ ชายแดนไทย เป็ นอาเภอหนง่ึ ในจงั หวดั เลย ที่คงยงั คงไว้ซงึ่ วฒั นธรรม ขนบประเพณี การใช้ชีวติ แบบเรียบงา่ ย พอเพยี ง วิถีชีวติ แบบดงั้ เดมิ ซงึ่ หาดยู ากในปัจจบุ นั เมอื งเลก็ ๆ ท่เี งียบสงบ แหง่ นี ้กาลงั เป็ นที่ สนใจ ของนกั ทอ่ งเทย่ี วจานวนมาก ภาพบ้านเกา่ ๆทเี่ รียงรายติดกนั อยรู่ ิมถนนชายโขง ดงึ ดดู ใจ ให้นกั ทอ่ งเท่ียวหลายตอ่ หลายรุ่นตา่ ง หลง่ั ไหลเดนิ ทางกนั มาทีน่ ่ี บ้านเรือนทเ่ี มืองเชยี งคานจะแบง่ ออกเป็ นซอย เลก็ ๆ เรียกวา่ ถนนศรีเชียงคาน ขนานคกู่ นั ไปไปกบั ถนนใหญ่ ซง่ึ เป็ นถนนสายหลกั เร่ิมตงั้ แตถ่ นนศรีเชียงคาน ซอยที่ 1- 24 แบง่ เป็ นถนนศรีเชียงคานฝั่ง บนกบั ฝ่ังลา่ งซงึ่ ช่ือซอยเหมือนกนั ถนนศรีเชียงคานฝั่งลา่ ง คอื ถนนเส้นทเ่ี ต็มไปด้วยบ้านไม้เกา่ แก่ ทพ่ี กั โฮมสเตย์ ร้านอาหาร และร้านค้าเก๋ มากมายซง่ึ ถนน ในเส้นนี ้จะเรียกวา่ \"ถนนชายโขง\" ซงึ่ ระยะทางกวา่ 2 กิโลเมตร เป็ นเส้นทางที่นกั ทอ่ งเทยี่ ว นยิ มมาปั่นจกั รยานชม บรรยากาศ ถ่ายรูปเลน่ ชมบ้านไม้สมยั เก่า แตก่ ็มีบางสว่ นเป็ นตกึ แถวสร้างใหม่ ซง่ึ ทาง เทศบาลไมอ่ นญุ าตให้ปลกู สร้าง เพราะต้องการอนรุ ักษ์ สภาพแวดล้อม บริเวณถนนสายนใี ้ ห้เป็ นบ้านไม้ทงั้ หมดเป็ นการรักษาวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ของชาว เชียงคาน แตถ่ งึ แม้บ้านไม้เกา่ ๆ ถึงแม้ถกู ดดั แปลง ให้เป็ นร้านขายของ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ บ้านพกั โฮมสเตย์ไปแล้วสว่ น หนง่ึ แตถ่ ึงอยา่ งไรความ สงบเรียบงา่ ยของวถิ ีชวี ติ รอยยมิ ้ ท่ี แสนจะจริง ของผ้คู นในเมืองนี ้ยงั คงเป็ นเสนห่ ์ท่ที าให้เมอื ง เชียงคานแตกตา่ งจากเมอื งทอ่ งเท่ียวอนื่ ๆ

9 เขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ป่ าภหู ลวง เขตรักษาพนั ธ์สุ ตั ว์ป่ าภหู ลวง ภหู ลวงมคี วามหมายวา่ เขาทส่ี งู ใหญ่ หรือหมายถงึ ภเู ขาของพระเจ้าแผน่ ดิน เกิดจากการยก ตวั ของพนื ้ ผิวโลก และดินสว่ นท่ีออ่ นพดั พาลงสพู่ นื ้ ทีส่ ว่ นตา่ ภหู ลวงประกาศให้เป็ นเขตรักษาพนั ธ์สุ ตั ว์ป่ าเมอื่ วนั ท่ี ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๑๗ มีพนื ้ ท่ีประมาณ ๕๖๐,๕๙๓ ไร่ สภาพทวั่ ไปเป็ นพนื ้ ท่ีราบสงู อากาศเย็นตลอดปี ตงั้ อยใู่ นบริเวณท้องที่ อาเภอวงั สะพงุ อาเภอภเู รือ อาเภอดา่ นซ้าย และอาเภอภหู ลวงฤดกู าลบนภหู ลวงมี ๓ ฤดู เหมอื นพนื ้ ราบ แตร่ ะดบั อณุ หภมู ิตา่ งกนั ฤดรู ้อนเริ่มตงั้ แตเ่ ดอื นกมุ ภาพนั ธ์-เมษายน อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ประมาณ ๒๐-๒๔ องศาเซลเซยี ส จะมดี อกไม้ท่ี มีสสี นั เจิดจ้าสวยงามเชน่ เออื ้ งตาเหิน กล้วยไม้ป่ าดอกขาว กหุ ลาบขาว และกหุ ลาบแดงชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสมในการชมทงุ่ กหุ ลาบขาว และกหุ ลาบแดง คือระหวา่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์-มีนาคมฤดฝู นอยใู่ นชว่ งเดือนพฤษภาคม-ตลุ าคม อณุ หภมู ิ ใกล้เคยี งหรือสงู กวา่ หน้าร้อนเลก็ น้อยจะมดี อกไม้ป่ าดอกเลก็ ๆ สชี มพอู มมว่ งขนึ ้ แซมตามทงุ่ หญ้า ฤดหู นาวอณุ หภมู ลิ ดลง มาก เฉลยี่ ๐-๑๖ องศาเซลเซียสในช่วงเดอื นพฤศจิกายน-มกราคม บางวนั อณุ หภมู ิลดลงถงึ -๔ องศาเซลเซียสจะมี ก่วม แดงหรือทรี่ ู้จกั กนั วา่ เมเปิ ล้ จะเปลย่ี นสแี ดง แล้วผลดั ใบ ตามพนื ้ ดนิ จะเห็นต้นกระดมุ เงิน และรองเท้านารีปี กแมลงปอ ขนึ ้ อยบู่ นก้อนหนิ และตามพนื ้ ป่ าดิบเขาด้านตะวนั ออกของเทอื กภหู ลวง มีการค้นพบซากหนิ รอยเท้าไดโนเสาร์อายกุ วา่ ๑๒๐ ล้านปี นอกจากนยี ้ งั มีป่ าหลากชนดิ เชน่ ป่ าผลดั ใบหรือป่ าเบญจพรรณ ป่ าดิบแล้ง ป่ าดิบเขา แตป่ ่ าท่ีโดดเดน่ ทีส่ ดุ บนภหู ลวง คือป่ าสนสองใบ สนสามใบ และทงุ่ หญ้าตามพนื ้ ทีร่ าบ เนินเขาและลานหิน

10 สถานีทดลองเกษตรท่ีสูงภูเรือ อาเภอภเู รือ งดงามไปด้วยแปลงไม้ดอกและไม้ผลเมอื งหนาวนานาชนดิ ทีก่ ระจายอยโู่ ดยรอบพนื ้ ที่ ในชว่ งฤดหู นาวบรรดาไม้ดอกจะพา กนั ออกดอกบานสะพร่ังรับสายลมหนาว โดยเฉพาะคริสต์มาสสแี ดงสดทก่ี ลายเป็ นสญั ลกั ษณ์ของเส้นทางสายนี ้สาหรับไม้ ผลเศรษฐกิจเมอื งหนาวท่ีนา่ สนใจ และทดลองปลกู ได้ผลดคี อื มะคาเดเมยี นตั เป็ นพชื ตระกลู ถว่ั ยนื ต้นทีม่ คีี ณุ คา่ ทาง อาหารสงู และราคาดี กิโลกรัมเป็นพนั บาท นอกจากนยี ้ งั มีส้มโอ ลนิ ้ จ่ี ท้อ สาลี่ และพลบั แปลงทดลองการเกษตรภายใน สถานีได้ ปัจจบุ นั ทางสถานนีมีบ้านพกั และสถานทกี่ างเตน็ ท์ให้บริการพร้อมอาหารจดุ เดน่ และสง่ิ ที่นา่ สนใจ แปลงไม้ดอก เมืองหนาว ทงุ่ ซลั เวยี แปลงรวบรวมไม้ผลเมืองหนาว แปลงไม้กฤษณา สวนไม้หอมเฉลมิ พระเกียรติ แปลงสตอเบอร่ี แปลง มะคาเดเมยี และโรงอบมะคาเดเมยี บ้านไร่ปลายฟ้ า (โรงเรือนเพาะชาไม้กระถาง)กิจกรรมสาหรับนกั ทอ่ งเที่ยว

11 สวนหนิ ผางาม อาเภอหนองหนิ สวนหินผาม ตงั้ อยทู่ ี่บ้าน ผางาม หมู่ 10 ตาบลปวนพุ ก่ิงอาเภอหนองหิน แยกจากทางหลวงสายเมอื งเลย ชมุ แพ ชว่ ง ระหวา่ งอาเภอ วงั สะพงุ กบั ภกู ระดงึ เป็ นแนวผาหินปนู สงู ใหญ่แลดเู ป็ นสง่า ทอดตวั เป็ นแนวยาว โดดเดน่ ทา่ มกลางทงุ่ หญ้า เขียวขจี พนื ้ ท่ี บริเวณนคี ้ อื ทตี่ งั้ ของ สวนหินผางามเมอื งเลยภายในมีเส้นทางเดินสลบั ซบั ซ้อนเข้าไปทางทศิ ตะวนั ตกตาม ถนนลาดยางตลอดสายผา่ นหมบู่ ้านตา่ งๆ ประมาณ 15 กม. จะมปี ้ ายบอกทางตลอดทาง จนถึงบริเวณทงุ่ หญ้าพนื ้ ทีก่ ว้าง พอสมควร มีภเู ขาแทง่ หินปนู ซง่ึ เกิดขนึ ้ เองตามธรรมชาติ อยกู่ ระจายเป็ นลกู ๆ ใหญ่บ้างเลก็ บ้าง สลบั กนั ไป บางลกู ก็ สามารถเดนิ ผา่ นทะลไุ ด้จะมีช่ือ เรียกตา่ งๆกนั ตามลกั ษณะรูปร่างทปี่ รากฎ เช่น หนิ ไดโนเสาร์ หน้าผาท้อแท้ ซ้มุ คารวะ ถา้ อรทยั เขาวงกต เจดีย์หนิ กรอบรูปธรรมชาตกิ าแพงเมืองจีน ประตโู ขง หินมงกฎุ สวนหนิ ซุ้มนรก รูรนั ตู (รูตนั ) มตี ้นไม้ นานาพนั ธ์ขนึ ้ แซม ซงึ่ พบต้นไม้หายากและต้นไม้ยกั ษ์อยา่ งปรงเขาทม่ี ีอายหุ ลายร้อยปี จงึ มชี ื่อเรียกอกี ชื่อวา่ คนุ หมิงเมอื ง เลย สนั นิษฐานกนั วา่ ในอดีตเคยเป็ น พนื ้ ท่ขี องท้องทะเลมาก่อน และมีอายมุ ากวา่ 225 ล้านปี สาหรับการเท่ยี วชมสวนหนิ ผางามนนั้ มี 2 วธิ ี คือ การนงั่ รถอแี ต๊กเข้าไปเทีย่ วชมซง่ึ จะพาไปยงั จดุ ชมววิ แล้วให้เทย่ี วบนนนั้ อกี วธิ ีคือ การเดินทางเข้าไป ซอกแซกชมหนิ รูปร่างแปลกตาล ต้นไม้ใบหญ้าและสงิ่ ทน่ี า่ สนใจอนื่ ๆซงึ่ วิธีนคี ้ วร ให้ไกด์ท้องถ่ินนาชมเพื่อจะได้ไมห่ ลง และ จะได้รับคาอธิบายเกี่ยวกบั สภาพพนื ้ ทแี่ ละหินรูปร่างแปลกประหลาดอยา่ งเตม็ ที่ ในบริเวณสวนหินผางามมสี ถานท่บี ริการ นกั ทอ่ งเที่ยว ทีจ่ อดรถ ห้องนา้ ร้านขายของทีร่ ะลกึ และร้านอาหารให้บริการแก่นกั ทอ่ งเทย่ี ว ที่สถานีบริการนกั ทอ่ งเที่ยวมี บริการนาทาง และให้คาบรรยายคา่ บริการเพียง 100 บาท ตอ่ นกั ทอ่ งเที่ยวหนงึ่ คณะ มจี ดุ ชมวิวเพอื่ ถา่ ยภาพยอดเขา คนุ ห มงิ เมอื งเลย ไว้เป็ นที่ระล

12 วนอุทยานนา้ ตกห้วยเลา เป็ นนา้ ตกสายนา้ ทเี่ กิดจากลาห้วยเลาไหลตกลงมาจากภเู ขาเป็ นระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร ลดหลน่ั ลงมาเป็ นนา้ ตก 10 ชนั้ แตล่ ะชนั้ มีความงดงามตา่ งกนั โดยชนั้ ท่ี 9 เป็ นชนั้ ทีส่ วยท่ีสดุ นา้ ไหลผา่ นโขดหนิ ลงมาเป็นชนั้ ๆ สงู ประมาณ 15 เมตร และชนั้ บนสดุ เป็ นลาห้วยไหลออกมาจากถา้ มีทางเดินจากลานจอดรถเลยี บไปตามลาห้วยเลาและแยกไปเท่ยี วชม นา้ ตกชนั้ ตา่ งๆ นกั ทอ่ งเทย่ี วสามารถลงไปเลน่ นา้ ได้ทกุ ชนั้ ทสี่ วยงาม ทน่ี กั ทอ่ งเที่ยวชมความงามของสายนา้ ระยะทางกวา่ 1700 เมตร ตงั้ แตต่ ีนภู ยนั ถึงปากถา้ ยอดภู ทีเ่ ป็ นต้นนา้ ห้วยเลา สาขาหนง่ึ ของแมน่ า้ เลย ท่หี ลอ่ เลยี ้ งคนเมืองเลย ไหลลง แมน่ า้ โขงที่ อาเภอเชยี งคาน นา้ ตกห้วยเลา อยใู่ นเขตวนอทุ ยานแหง่ ชาตนิ า้ ตกห้วยเลา นา้ ตกห้วยเลา จ.เลย เป็ นนา้ ตก หนิ ปนู ท่ีสวยงาม มี 10 ชนั้ แตล่ ะชนั้ มีความสวยงามมาก มนี า้ ตกไหลตลอดปี หากมองหาที่เที่ยวจงั หวดั เลย นา้ ตกห้วย เลา นา้ ตกห้วยเลาเป็ นอกี แหง่ หนง่ึ ทแ่ี นะนาเลย สวยมาก

13 แก่งคุดคู้ อาเภอเชียงคาน แก่งคดุ คู้ หา่ งจากตวั อาเภอเชียงคานประมาณ 3 กิโลเมตร หากใครมาเทีย่ วเชียงคาน มกั จะไมพ่ ลาดที่ จะ เดินทางไปยล โฉม ความสวยงามของแกง่ คดุ คู้ ก่งขนาดใหญ่ แหง่ หนงึ่ ของไทย ท่เี กิดจากการทอดตวั ของ แนวหนิ ลงใน แมน่ า้ โขง ประกอบด้วย หนิ ก้อนใหญ่ ๆ เป็นจานวนมากจากการท่ีหนิ เหลา่ นอี ้ ยใู่ ต้นา้ เป็ นเวลานาน ทาให้หนิ เหลา่ นมี ้ ีสสี นั สวยงาม ตวั แกง่ กว้างใหญ่เกือบจรด สองฝ่ังแมน่ า้ โขง มกี ระแสนา้ ไหลผา่ นไป เพียงชอ่ งแคบ ๆ ใกล้ฝ่ังไทยเทา่ นนั้ เอง ซง่ึ กระแสนา้ เช่ียวกราก เวลาท่เี หมาะจะชม แก่งคดุ ค้ทู ่สี ดุ คอื เดือนกมุ ภาพนั ธ์ถงึ เดอื นพฤษภาคม ซง่ึ เป็ นเวลาที่นา้ แห้ง มองเห็นเกาะ แกง่ ชดั เจน และสามารถเดนิ ลงไปเพื่อสมั ผสั บรรยากาศ ของริมนา้ โขงได้อยา่ งใกล้ชิดได้ ซงึ่ บริเวณนจี ้ ะเป็ นหาดทราย กว้างและหินก้อนกลมเงาเรียงรายกนั นบั ร้อยนบั พนั ก้อน

14 ศูนย์ศิลป์ สิรินธร โรงเรียนศรีสงครามวทิ ยา อาเภอวงั สะพงุ กลมุ่ อาคารรูปร่างเรียบงา่ ยท่แี ฝงตวั อยทู่ า่ มกลางแมกไม้อนั ร่มร่ืน หรือทเี่ รียกขานวา่ \"ศนู ย์ศิลป์ สริ ินธร\" แหง่ นเี ้กิดขนึ ้ ด้วย ความคิดริเร่ิมของ ครูสอนศลิ ปะ \"ครูสงั คม ทองมี\" คณุ ครูศิลปะแหง่ โรงเรียนศรีสงครามวทิ ยา ทร่ี ู้จกั กนั โดยทวั่ ไปวา่ เป็ น แหลง่ ผลติ ผลงานทางศิลปะของนกั เรียนที่มคี ณุ ภาพ และสร้างช่ือเสยี งทงั้ ในระดบั ประเทศและระดบั โลกกวา่ ที่ศนู ย์ศิลป์ ฯ แหง่ นจี ้ ะกอ่ กาเนิดอยา่ งเป็ นรูปธรรมเช่นนไี ้ ด้นนั้ ครูสงั คม ต้องใช้เวลาตอ่ ส้ถู งึ 20 ปี เริ่มด้วยการเผยแพร่ความรู้ ความ เข้าใจ ในเรื่องศลิ ปะในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะ เร่ืองของการสง่ ผลงานของเด็กๆ เข้าร่วมการประกวดตา่ งๆ จนได้รับรางวลั มากมายรวมทงั้ การตอ่ ส้ใู นหลกั การ เพื่อให้รัฐบาลผา่ นงบประมาณในการกอ่ สร้าง ซง่ึ กใ็ ช้เวลาอีก 3 ปี เตม็

15 ประเพณีและเทศกาลร่ืนเริง ประเพณีผีตาโขน ผีตาโขน เป็นเทศกาลที่จดั ขนึ ้ ในอาเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย ซง่ึ ตงั้ อยทู่ างภาคอีสาน ของประเทศไทย เป็ น เทศกาลท่ีเกิดขนึ ้ ในเดือน 7[1] ซงึ่ มกั จดั มากกวา่ สามวนั ในบางชว่ งระหวา่ งเดอื นมีนาคม และกรกฎาคม โดยจดั ขนึ ้ ในวนั ท่ีได้รับเลือกให้จดั ขนึ ้ ในแตล่ ะปี โดยคนทรงประจาเมือง ซงึ่ งานบญุ ประเพณีพืน้ บ้านนีม้ ีช่ือ เรียกวา่ บญุ หลวง[2] โดยแบง่ ออกเป็นเทศกาล ผีตาโขน, ประเพณีบญุ บงั้ ไฟ และงานบญุ หลวง (หรือ บญุ ผะเหวด)[3]ผีตาโขน นนั้ เดิมมีช่ือเรียกวา่ ผีตามคน เป็นเทศกาลที่ได้รับอทิ ธิพลมาจากมหาเวสสนั ดร ชาดก ชาดกในทางพระพทุ ธศาสนา ที่วา่ ถึงพระเวสสนั ดร และพระนางมทั รี จะเดนิ ทางออกจากป่ ากลบั สู่ เมืองหลวง บรรดาสตั ว์ป่ ารวมถงึ ภตู ผิ ีที่อาศยั อยใู่ นป่ านนั้ ได้ออกมาสง่ เสดจ็ ด้วยอาลยั [4]ซงึ่ วนั แรกจะเป็น เทศกาลผีตาโขน ซง่ึ เรียกวนั นีว้ า่ วนั รวม (วนั โฮม) โดยจะมีพิธีเบกิ พระอปุ คตุ ต์ ในบริเวณระหวา่ งลานา้ หมนั กบั ลานา้ ศอก สว่ นวนั ท่ีสองของเทศกาลดงั กลา่ วจะมีพิธีจดุ บงั้ ไฟบชู า พร้อมด้วยเคร่ืองแตง่ กายที่ หลากหลาย รวมถงึ การแขง่ ขนั เต้นราตลอดจนขบวนพาเหรด สว่ นในวนั ท่ีสามและวนั สดุ ท้ายจะมีการให้ ชาวบ้านฟังเทศน์[3] ทงั้ นี ้ผีตาโขนยงั ได้รับการนามาใช้เป็นสญั ลกั ษณ์ และฉายาประจาทีม สโมสร

16 งานประเพณีผีตาโขน (อาเภอด่านซ้าย) เทศกาลผีตาโขน 2562 นอกจากนีย้ งั มีการแสดงบนเวทีท่ีย่งิ ใหญ่ รวมถึงการจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์พืน้ เมือง สินค้าเกษตร งาน หตั ถกรรม งานศลิ ปะ งานไอเดียสร้างสรรคต์ า่ งๆ และการแสดงดนตรี นกั ทอ่ งเท่ียวคนไหนสนใจอยากท่ีจะ เข้าร่วมงานงานประเพณีบญุ หลวงและการละเลน่ ผีตาโขน มหกรรมหน้ากากนานาชาติ ประจาปี 2562 สามารถสอบถามรายละเอียดตา่ ง ๆ เพม่ิ เตมิ ได้ที่ อาเภอดา่ นซ้าย โทรศพั ท์ 042 891 266, เทศบาล ตาบลดา่ นซ้าย โทรศพั ท์ 042 891 231 และการทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย สานกั งานเลย โทรศพั ท์ 042 812 812 หรือเฟซบ๊กุ TAT Loei Officeขอขอบคณุ ข้อมลู และภาพประกอบจากเฟซบ๊กุ TAT Loei Officeรวมรูปภาพ เทศกาลผีตาโขน 2562 งานบญุ ประจาปี ย่ิงใหญ่ ณ อาเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลยประเดน็ ท่ีเก่ียวข้องเทศกาลทอ่ งเที่ยวเทศกาลทอ่ งเที่ยวเที่ยวเลยเที่ยวเลยเรื่องที่คณุ อาจสนใจ

17 งานดอกฝ้ ายบาน มะขามหวานเมืองเลย จงั งหวดั เลยนนั้ เป็นจงั หวดั ที่มีแนวเขตตดิ ตอ่ กบั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยมี \"นา้ เหือง\" และ \"แมน่ า้ โขง\" เป็นเขตแนวธรรมชาตกิ นั้ พรมแดนพืน้ ท่ีสว่ นใหญ่เป็นภเู ขาสลบั ซบั ซ้อนและมีที่ราบสงู เม่ือ พ.ศ.๒๓๙๖ รัชกาลที่ ๔โปรดเกล้าให้ \"พระยาท้ายนา้ \" ได้ออกสารวจเขตแขวงตา่ งๆ เพ่ือตงั้ ให้เป็นเมืองได้ พบชมุ ชนหนาแนน่ ที่ \"หมบู่ ้านแฮ\"่ ซงึ่ ตงั้ อยรู่ ิมฝ่ังนา้ หมาน และอยใู่ กล้กบั นา้ เลยมีภมู ิประเทศเหมาะสม พลเมืองหนาแนน่ พอที่จะตงั้ เป็นเมืองได้ รัชกาลที่ ๔ จงึ โปรดเกล้าฯให้จดั ตงั้ เป็นเมือง โดยตงั้ ช่ือตามลานา้ วา่ \"เมืองเลย\" ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ ได้มีการจดั การปกครองแบบใหม่ เรียกวา่ \"การปกครองแบบเทศาภิบาล\" แบง่ เป็นมณฑลเมือง ตาบล หมบู่ ้าน เมืองเลยจงึ เป็นเมืองหนงึ่ ซงึ่ อยใู่ นเขตปกครองของมณฑลลาวพวน ซง่ึ ตอ่ มาได้เปลี่ยนชื่อเป็น \"มณฑลอดุ ร\" ครัง้ แรกมี ๓ อาเภอ คือ อาเภอทา่ ล่ี อาเภอนากอก และอาเภอกุด ป่ อง ซง่ึ เป็นท่ีตงั้ ของตวั เมือง (อาเภอเมืองเลยในปัจจบุ นั )

18 งานแสดงไม้ดอกเมืองหนาว (อาเภอภเู รือ) อาเภอภเู รือ หนง่ึ ในอาเภอน่าเที่ยวของจงั หวดั เลย ชว่ งปลายปี แบบนี…้ ถือวา่ เป็นชว่ งฤดกู าลทอ่ งเที่ยวของ อาเภอภเู รือ อากาศหนาวกาลงั ดี ยงิ่ พลอยทาให้บรรยากาศตามสถานที่ทอ่ งเท่ียวตา่ ง ๆ คกึ คกั ไปด้วย นกั ทอ่ งเที่ยวเป็นจานวนมาก แตม่ ีอีกหนงึ่ งานเทศกาลทอ่ งเท่ียวที่ไมค่ วรรพลาดเดด็ ขาด นนั่ คอื เทศกาลไม้ ดอกเมืองหนาว ซงึ่ ปี นีจ้ ดั ขนึ ้ เป็นครัง้ ที่ 26 ระหวา่ งวนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2561 - 2 มกราคม 2562 ณ สนาม หน้าที่วา่ การอาเภอภเู รือ จงั หวดั เลย แนน่ อนวา่ ทงั้ สวยและยิ่งใหญ่ไมแ่ พ้ปี ที่ผา่ นมาเลยทีเดียว

19 งานออกพรรษาเชยี งคาน ประเพณีออกพรรษาที่เชียงคาน เป็นประเพณีท่ีประชาชนยดึ ถือสืบทอดเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีแปละ ร่วมอนรุ ักษ์ มาเป็นระยะเวลาอนั ยาวนานกวา่ 100 ปี คณุ คา่ และความงดงามทางศิลปวฒั นธรรมอนั บง่ บอกถงึ ความเจริญรุ่งเรืองของเมือง อตั ลกั ษณ์และวิถีของคนในท้องถ่ิน ท่ีถ่ายทอดเร่ืองของวิถีชีวิตอนั แฝง ไว้ซง่ึ ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ความเช่ือมน่ั และการยึดถือปฏิบตั ติ อ่ วฒั นธรรมประเพณีทางพทุ ธศาสนานบั ตงั้ แต่ การทาบญุ ตกั บาตรเทโว พธิ ีกรรมผาสาดลอยเคราะห์ ดารดาษฝ่ังโขง การลอยปราสาทผงึ ้ อทุ ศิ แก่ผ้ลู ว่ งลบั ไปแล้วเพื่อเป็นสริ ิมงคลตอ่ ตนเองและครอบ ครัวด่มื ดา่ กบั วฒั นธรรมท้องถิ่นและเยี่ยมชมชมุ ชนบ้านไม้เกา่ ริมฝั่งแมน่ า้ โขง การทาบญุ 9 วดั ตกั บาตรข้าวเหนียวทกุ เช้า เพลิดเพลินไปกบั การแขง่ ขนั เรือยาว แขง่ ขนั เรือยาวมิตรภาพไทย-ลาว

20 งานแห่ผีขนนา้ จากนนั้ จา้ จะไปประกาศบอกชาวบ้าน โดยการตะโกนตามสี่แยกหรือที่ชมุ ชนหนาแนน่ ไมก่ ็ใช้วิธีขนึ ้ ไปบอก ตามบ้านทกุ หลงั คาเรือนภายในหมบู่ ้านวา่ ในปี นีจ้ ะกาหนดจดั พธิ ีการเลีย้ งบ้านแล้ว ให้ชาวบ้านจดั หาข้าว ปลาอาหาร และของบวงสรวงตา่ งๆ ไปประกอบพธิ ีกนั ที่ดอนหอ “ศาลเจ้าป่ ”ู ของหมบู่ ้าน เดมิ การ บวงสรวงนนั้ หลงั จากเสร็จสิน้ พธิ ีการเลีย้ งผีบ้าน ก็จะมีการฉลองด้วยการร้องราทาเพลง ซง่ึ จะประกอบด้วย นางเทียมร่างทรงเจ้าป่ ู นางเทียมร่างทรงคนอื่นๆ นางแตง่ จา้ และผ้มู าร่วมพิธีอยา่ งสนกุ สนาน พิธีเลีย้ งบ้าน นีจ้ ะทากนั ทกุ ปี แคป่ ี ละครัง้ เทา่ นนั้ จดุ มงุ่ หมายเพ่ือเป็นการตอบแทนบญุ คณุ ที่ผีป่ ผู ียา่ ตลอดจนผีบรรพ บรุ ุษในหมบู่ ้าน ได้ปกปักรักษา ค้มุ ครองตนและชาวบ้านให้อยเู่ ย็นเป็นสขุ ทามาหากินได้อยา่ งอดุ มสมบรู ณ์

21 งานบญุ บัง้ ไฟล้าน (อาเภอเอราวณั ) ประเพณีบญุ บงั้ ไฟ เป็นประเพณีหนงึ่ ของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตานานมาจากนิทาน พืน้ บ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคนั คาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซง่ึ ในนทิ างพืน้ บ้านดงั กลา่ วได้กลา่ วถึง การท่ี ชาวบ้านได้จดั งานบญุ บงั้ ไฟขนึ ้ เพ่ือเป็นการบชู า พระยาแถน หรือเทพวสั สกาลเทพบตุ ร ซง่ึ ชาวบ้านมีความ เช่ือวา่ พระยาแถนมีหน้าที่คอยดแู ลให้ฝนตกถกู ต้องตามฤดกู าล และมีความช่ืนชอบไฟเป็นอยา่ งมาก หาก หมบู่ ้านใดไมจ่ ดั ทาการจดั งานบญุ บงั้ ไฟบชู า ฝนก็จะไมต่ กถกู ต้องตามฤดกู าล อาจก่อให้เกิดภยั พิบตั กิ บั หมบู่ ้านได้ ชว่ งเวลาของประเพณีบญุ บงั้ ไฟคอื เดอื นหกหรือพฤษภาคมของทกุ ปี

22 งานประเพณีสงกรานต์ไทยลาว (อาเภอท่าล่ี) การทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย (ททท.) สานกั งานเลย ขอเชญิ ผ้ทู ี่สนใจเข้าร่วมงานประเพณีสงกรานต์ไทย- ลาว อาเภอทา่ ล่ี ประจาปี 2553 ในวนั ที่ 8 เมษายน 2553 ณ วดั อโุ มงคม์ งั คลาราม และวนั ที่ 9 เมษายน 2553 ณ บริเวณหน้าท่ีวา่ การอาเภอทา่ ลี่นางอจั ฉพรรณ บญุ เจริญ ผ้อู านวยการ ททท. สานกั งานเลย กลา่ ววา่ งานประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีท่ีดีงามของคนไทย และนกั ทอ่ งเที่ยวรู้จกั กนั เป็นอย่างดี งานประเพณีสงกรานต์ไทย-ลาว อาเภอทา่ ล่ี เป็นงานประเพณีท่ีมีความแตกตา่ งจากท้องถิ่นอ่ืน เน่ืองจากจะมีประชาชนจาก สปป.ลาว เข้ามาร่วมกิจกรรมตา่ งๆ ท่ีจดั ขนึ ้ นอกจากนีย้ งั มีการแหต่ ้นดอกไม้ ซงึ่ เป็นประเพณีที่ชาวตาบลอาฮีจดั ขนึ ้ เป็ นประจาทกุ ปี ต้นดอกไม้มีลกั ษณะเป็นพมุ่ ตกแตง่ ด้วยดอกไม้ นานาชนิด ใช้ใบมะพร้าวเสียบตรงมมุ ถกั เป็นรูปตวั หนอนย้อยลงมา ตรงฐานทาคานสาหรับหาม การแหต่ ้น ดอกไม้เป็ นการขอขมาในการลว่ งเกินพระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยกายกรรม วจีกรรม และ มโนกรรม ผ้แู บกต้นดอกไม้จะเต้นตามจงั หวะ กลอง ฉาบ ฆ้อง เกราะ ซงึ่ มีการเต้นตามจงั หวะอยา่ ง ครึกครืน้ และสนกุ สนานกิจกรรมท่ีนา่ สนใจในงาน อาทิ การประกวดขบวนแห่นางสงกรานต์ การแสดงเสง็ กลอง การแสดงแหต่ ้นดอกไม้ การประกวดส้มตาลีลา การประกวดผ้สู งู อายสุ ขุ ภาพดี การประกวดเทพี สงกรานต์ การประกวดหนนู ้อยสงกรานต์ ประกวดต้นดอกไม้ ประกวดหมอลาพืน้ บ้าน หมอแคน หมอสอย จา่ ยผญา และการละเลน่ พืน้ บ้าน

23 งานแห่ต้นดอกไม้บญุ เดอื นหกบ้านอาฮี ตาบลอาฮี อาเภอทา่ ลี่ แม้วา่ ต้นดอกไม้จะมีขนาดเลก็ กวา่ ของอาเภอนาแห้ว แตก่ ็มีจดุ เดน่ ตรงการประดบั ดอกไม้เป็ นพมุ่ อยา่ งความสวยงามและมีความนา่ สนใจตรงขบวนแหต่ ้นดอกไม้จากวดั เมืองตมู เพ่ือไปยงั วดั ศริ ิมงคลที่จะเร่ิมตงั้ ขบวนกนั ราวๆ บา่ ยโมง ผ้รู ่วมขบวนแหแ่ ละผ้ทู ่ีทาหน้าที่แบกต้นดอกไม้ก็จะพากนั ร้องราและโยกตวั ไปจงั หวะเครื่องดนตรีพืน้ บ้านกนั อยา่ งสนกุ สนานตลอดเส้นทาง เม่ือขบวนแหผ่ า่ นเข้าไป ยงั ชมุ ชนจะชาวบ้านก็จะออกมาเลน่ สาดนา้ เป็นการเพิ่มความชมุ่ ฉ่า ดบั ร้อนให้กบั ผ้รู ่วมขบวนแห่ การแห่ ต้นดอกไม้นีจ้ ะเป็นประเพณีนีท้ ่ีคนในท้องถ่ินจดั สืบตอ่ กนั มา แตน่ กั ทอ่ งเที่ยวตา่ งถิ่นท่ีมีโอกาสได้มาเยือน ต้องประทบั ใจกลบั ไปแน่นอน นอกจากการไปร่วมชมร่วมขบวนแห่ต้นดอกไม้แล้วแล้ว ทา่ ลี่ยงั มีสถานที่ สาคญั ที่น่าสน ท่ีควรแวะไปอยา่ งเชน่ พระธาตสุ จั จะ วดั ลาดป่ ทู รงธรรม สะพานมติ รภาพ ไทย-ลาว ข้าม แมน่ า้ เหือง และแวะทานอาหารกนั ท่ีแกง่ โตนก่อนกลบั ด้วย

24 อาหารประจาจงั หวดั เลย ซัว้ เหด็ ปลวก : เห็ดปลวก เข้าใจวา่ น่าจะอยใู่ นวงศ์เดยี วกบั เหด็ โคนครับ เหด็ ท่ีเหน็ อยู่ ในชาม ไมไ่ ด้ซือ้ หามา ทางบ้านบอกวา่ มนั ขนึ ้ เองอยหู่ น้าบ้าน แล้วก็ไปเก็บมาทาซวั ้ ซวั ้ เป็นแกงชนดิ หน่ึง ลกั ษณะคล้ายต้มโคล้ง คือ ใสต่ ะไคร้ หอม/กระเทียมเผา พริก ย่าง แต่ไมใ่ สม่ ะขามเปี ยก และขา่ เราจะจะใสข่ ิงบบุ แทน และขงิ นีก้ ็เป็นจดุ เดน่ เอกลกั ษณ์ของซวั ้ ซง่ึ จะทาให้นา้ แกงมรี สเผ็ดร้อนและมกี ลนิ่ หอมของขงิ ซดคลอ่ งคอ

25 เม่ียงทูน : ทาจากหวั ทนู ซงึ่ เป็นพืน้ ตระกลู บอน/เผือก ก้านของมนั สามารถกินดบิ ได้ โดยไมค่ นั การทาเม่ยี งทนู ทาได้โดยขดู หวั ทนู ออกเป็นเส้นแล้วนามายาใสเ่ ครื่อง เหมอื นเคร่ืองสมั ตาไทย เช่น มะเขอื เทศ ถว่ั ลสิ งควั่ นา้ ปลา นา้ ตาล มะนาว มะขามเปี ยก เป็นต้น

26 :ส้มโคะเคะ ทาจากหางววั /ควายเผา หรือกีบเท้าววั /ควาย นามาดองกบั นา้ มะพร้าว เกลอื กระเทียม รสชาติ ที่ได้จะออก เปรีย้ วเคม็ กรอบนอกนมุ่ ใน

27 ร้านข้าวแกงชื่อดงั ประจาเมอื งเลย ต้องยกให้ร้านนีเ้ลย ร้านเปิดมานานกวา่ 10 ปี เมนสู ว่ นมากเป็นอาหารไทยแทบทงั ้ สนิ ้ ....... มีให้เลือกมากมายหลากหลายเมนู แตท่ ่ี ขนึ ้ ชื่อเลยเม่อื มาถึงนีเ้มนนู นั ้ ก็คือ \"ห่อหมกปลากราย\" ที่มาแล้วต้องลอง

28 ร้านอาหารพืน้ เมอื งรสเดด็ บริการจดั เลยี ้ งทงั ้ ในและนอกสถานท่ี เมนเู ดน่ เป็นอาหาร พืน้ เมอื งอีสานรสชาตจิ ดั จ้านทกุ เมนู

29 หมกอ๊วั หมู อ๊ะ..อ๊ะ เด๋ียวคนไมท่ านปลาร้าจะน้อยใจ เรามอี ีกเมนมู าแนะนาสาหรับ คนท่ยี ีป้ ลาร้ากบั หมกปลาตอง(40บาท)

30 ปลาช่อนจ่นั เจา พกั ดื่มนา้ ลดอาการเผด็ แล้วมาต่อกนั ด้วยเมนนู ี ้ ไก่บ้านทอด สมนุ ไพร (120//200บาท) อาหารไทยสดุ แจม่ ด้วยสตู ร

31 ไก่บ้านทอดสมุนไพร ได้เวลาสงั่ เมนปู ระเภทต้มดบู ้าง พนกั งานในร้านแนะนาเมนนู ี ้ เลย ต้มแซบเอ็นหม(ู 120บาท)นบั เป็นของดีจานเดด็ ประจาร้านเลย รสชาตแิ ซ่บจดี๊ อยา่ บอกใคร ท่ีสาคญั ทางร้านยงั ใช้เอน็ หมอู ยา่ งดีท่ีสงั่ ตรงมาจากเยาวราชเลยเชียว

32 ต้มแซบเอน็ หมู ถามวา่ อิ่มมยั ้ บอกเลยวา่ ...มาก แตด่ ้วยกระเพาะเรามอิ าจสง่ั ตอ่ ม อยากให้หยดุ ทางานได้ ตอ่ กนั ด้วยเมนนู ี ้ลาบปลาดกุ (80บาท) อาหารพืน้ บ้านท่ีตดิ อนั ดบั ขายดเี ช่นกนั ขายดีจนพ่อครัวแมค่ รัวมือแขนแทบจะงอกขนึ ้ มา

33 ลาบปลาดุก ปิดท้ายด้วยสารพดั เมนสู ้มตา ท่ชี อบแบบไหนก็สงั่ กนั ได้เลยตามสไตล์ ตวั คณุ เอง สว่ น บ.ก.พาชมิ พาชม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook