สรุปผลการประชุมโตะ๊ กลม ไทย–รสั เซีย ครงั้ ที่ ๓ เร่ือง ความรว่ มมือดา้ นการศกึ ษาสาหรับผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษและการวจิ ยั 3THAI-RUSSIAN ROUNDTABLE สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ
สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซีย ครั้งท่ี ๓ เร่ือง ความร่วมมอื ด้านการศึกษาสาหรบั ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษและการวิจยั The Third Thai – Russian Roundtable: Collaboration on Gifted Education and Research วันท่ี ๑๖ – ๑๗ กันยายน ๒๕๖๔
๓๗๘.๑ สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ ส ๖๙๑ ส สรุปผลกำรประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซีย ครั้งที่ ๓ เรือ่ ง ควำมร่วมมือด้ำนกำรศกึ ษำสำหรบั ผมู้ คี วำมสำมำรถพิเศษ และกำรวจิ ัย ๘๐ หนำ้ ๑. สรุปผลกำรประชมุ ๒. ควำมร่วมมือ ๓. ไทย-รสั เซยี สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รัสเซีย คร้ังที่ ๓ เร่ือง ความร่วมมือด้านการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษและ การวิจยั ส่ิงพิมพ์ สกศ. อันดับท่ี ๑๓/๒๕๖๕ ISBN E-Book 978-616-270-363-8 เผยแพร่ ๒๕๖๕ จัดทาโดย สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศกึ ษำ ๙๙/๒๐ ถนนสุโขทัย เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๖๖๘-๗๑๒๓ ตอ่ ๒๕๓๗, ๒๕๔๖ โทรสำร ๐-๒๒๔๑-๘๓๓๐ เวบ็ ไซต์ http://www.onec.go.th
คานา สบื เนือ่ งจากสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดาเนินเยือนสหพันธรัฐรสั เซีย เม่ือ พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อเฉลิมฉลอง ๑๒๐ ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทยและรัสเซีย โดยได้ทอดพระเนตร การดาเนินงานของสถาบนั การศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาชัน้ นา รวมถงึ สถาบันอาชีวศึกษาและศูนย์ต่างๆ ที่ประสบความสาเร็จและมีความก้าวหน้า ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัสเซีย ด้วยทรงมีพระราชดาริว่าประเทศไทย ควรมีโอกาสเรียนรู้และแลกเปล่ียนประสบการณ์กับสหพันธรัฐรัสเซีย โดยเฉพาะ การจัดการศึกษาของเดก็ ท่ีมคี วามสามารถพิเศษที่สหพันธรัฐรัสเซียมคี วามโดดเด่น เช่น การจัดต้ังมูลนิธิและศูนย์พัฒนาเด็กที่มีความสามารถพิเศษ หรือ ซิริอุส (Sirius Educational Center) เพ่ือทาหน้าท่ีคัดกรอง พัฒนา และสนับสนุนเด็กท่ีมี ความสามารถพิเศษอายุระหว่าง ๑๐-๑๗ ปี ตามความเช่ียวชาญใน ๓ ด้าน ได้แก่ ศิลปะ กีฬา และวิทยาศาสตร์ โดยคัดเลือกจากเด็กผู้มีความสามารถพิเศษ ทั่วประเทศเพ่ือเข้าร่วมโครงการรับการถ่ายทอดความรู้และทักษะจากครู ผเู้ ชี่ยวชาญทดี่ ที ส่ี ดุ ของสหพนั ธรฐั รัสเซียโดยไม่มคี ่าใช้จา่ ย เปน็ ตน้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ร่วมกับคณะทางานการจัด การประชุมโต๊ะกลมไทย–รัสเซีย ด้านการจัดการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถ พิเศษและการวิจัย ซ่ึงมีรองศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ เป็นประธาน ได้จัดการประชมุ โต๊ะกลมไทย-รสั เซยี ครง้ั ท่ี ๓ เรื่อง ความร่วมมอื ด้าน การศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษและการวิจัย (The Third Thai–Russian Roundtable: Collaboration on Gifted Education and Research) ในหัวข้อ “Education during COVID-19 Pandemic: Turning Crisis into Opportunity” ในรูปแบบการประชุมเสมือนจริง (Virtual Meeting) ระหว่างวันที่ ๑๖ – ๑๗ กนั ยายน ๒๕๖๔ โดยสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ เสดจ็ ออก ณ วังสระปทมุ ทรงเปน็ ประธานการประชุมฯ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ออนไลน์) เป็นการส่วนพระองค์ ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผบู้ ริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ นักวิชาการศึกษา นกั ศึกษา ทัง้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ โดยในวนั แรกของการประชุมมีผูเ้ ขา้ ร่วม ประชุมผ่านโปรแกรม Zoom Meeting ประมาณ ๒๐๐ คน และผู้เข้าชมผ่าน สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รสั เซีย ครง้ั ที่ ๓ ก
Facebook กว่า ๓,๗๐๐ คน ในวันท่ีสองมีผู้เข้าร่วมประชุมผ่านโปรแกรม Zoom Meeting ประมาณ ๑๐๐ คน และผเู้ ขา้ ชมผา่ น Facebook กว่า ๓,๓๐๐ คน ส า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง การประชุมดังกลา่ ว จึงไดน้ าผลการประชุมซงึ่ นาเสนอเป็นภาษาอังกฤษมาประมวล จัดทาเป็นรายงานสรปุ ผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย-รัสเซีย คร้งั ที่ ๓ (ฉบับภาษาไทย) เพอ่ื เผยแพรแ่ กผ่ ้สู นใจโดยท่วั ไป สานกั งานฯ ขอขอบคุณคณะทางานฯ ซึง่ มีรองศาสตราจารย์ ดร.คุณหญงิ สุมณฑา พรหมบุญ เป็นประธาน และขอขอบคุณคณะทางานวิชาการและ ประชาสัมพันธ์การจัดประชุมโต๊ะกลมไทย-รัสเซีย ครั้งที่ ๓ ทุกท่าน ซึ่งได้เสียสละ เวลาและสนบั สนนุ การทางาน เพือ่ ใหก้ ารจัดประชมุ ครัง้ น้ีประสบความสาเรจ็ ด้วยดี ข อ ข อ บ คุ ณ วิ ท ย าก รช า ว ไ ท ยแ ล ะ ช าว ต่า ง ปร ะเ ทศ ใ น กา รบ รรย าย อ ง ค์ความรู้ ท่ีเกี่ยวข้องกับหัวข้อการประชุม รวมท้ังขอขอบคุณผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน ที่ไดร้ ว่ มแลกเปลย่ี นความรู้ ประสบการณ์ และความคิดเหน็ ในการประชมุ ครงั้ นี้ สานักงานฯ หวังว่า สาระจากการประชุมในครั้งน้ี จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้กาหนดนโยบาย ผู้บริหาร คณาจารย์ นักเรียน และผู้ท่ีสนใจในการพัฒนา การศกึ ษาของประเทศไทยตอ่ ไป (นายอรรถพล สังขวาสี) เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ข สรุปผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รัสเซยี คร้งั ที่ ๓
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ ค สยามบรมราชกมุ ารี คร้ังเสด็จพระราชดาเนนิ เยือนสหพันธรัฐรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๐ สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รสั เซยี คร้ังที่ ๓
คากราบบงั คมทูล ของ รองศาสตราจารย์ ดร.คณุ หญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธานคณะทางานการจัดการประชุมโต๊ะกลมไทย–รัสเซีย ในโอกาสเปิดการประชมุ โตะ๊ กลมไทย-รัสเซยี ฯ คร้งั ที่ ๓ วนั พฤหัสบดีที่ ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๔ May It Please Your Royal Highness, On behalf of the organizing committee and almost 200 participants, please allow me to express our profound gratitude to Your Royal Highness for graciously presiding over the opening of the Third Thai-Russian Roundtable today. The roundtable project has been conceived following Your Royal Highness’s visit to Russia in 2017. The Royal visit at that time inspired the Thai and Russian professors and educators to initiate the roundtable platform between ง สรปุ ผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รสั เซีย ครั้งท่ี ๓
the two countries to be the forums leading to our collaboration in education and research. The First Thai-Russian Roundtable was then organized in 2018 at Kamnoetvidya Science Academy (KVIS) and Vidyasirimedhi Institute of Science and Technology (VISTEC), Rayong Province, Thailand, with a strong secretariat support from the Office of the Education Council, Ministry of Education of Thailand. The First Thai-Russian Roundtable focused on collaboration on gifted education and research, and Your Royal Highness kindly allowed the memorable audience of the executives from Skolkovo Institute of Science and Technology(SKOLTECH), all delegates from Russia and the Thai-Russian Working Group at Chitralada Palace. The Second Roundtable was organized at Moscow State Institute of Foreign Relations and Skolkovo Institute of Science and Technology, Moscow, Russia, in 2019. Participants from both sides presented progress of their cooperation on research and gifted education after the First Roundtable. Delegations from both sides have agreed on the Agreement Principle for Institutional Links, for example, the agreement signed by National Science and Technology Development Agency ( NSTDA) and The Foundation for the Talented, Russia in Mathematics, Science and Technology (SIRIUS), the agreement of Skolkovo Institute of Science and Technology (SKOLTECH) to offer to Your Royal Highness three postgraduate scholarships for up to three consecutive academic years for qualified students. This year, due to the COVID-19 pandemic, the Third Thai-Russian Roundtable in Thailand is organized online via Zoom meeting platform, under the topic “Education during COVID-19 Pandemic: Turning Crisis into Opportunity”, to discuss the education during COVID-19 Pandemic and the post-COVID education to adjust to the new normal สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซีย ครั้งท่ี ๓ จ
of lifestyle. In the next two days 27 invited Thai and Russian speakers will deliver their presentation, and at the end we will discuss about our collaboration. Next, may I invite His Excellency Ambassador of the Russian Federation to the Kingdom of Thailand, Mr.Evgeny Tomikhin, to give his welcoming remarks. After that, may Your Royal Highness please inaugurate the Third Thai-Russian Roundtable on “Education during COVID-19 Pandemic: Turning Crisis into Opportunity”. May It Please Your Royal Highness. ฉ สรุปผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รัสเซยี ครงั้ ท่ี ๓
คากลา่ วตอ้ นรบั ของ H.E. Mr. Evgeny Tomikhin เอกอคั รราชทตู สหพนั ธรัฐรสั เซียประจาประเทศไทย Your Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Dear Khunying Kalaya Sophonpanich, Deputy Minister of Education, Dear Dr. Sumonta Promboon, Dear Russian and Thai participants, I avail myself of this opportunity to express my profound gratitude and admiration for the generous support and gracious attention Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn devotes to the development of education in the Kingdom of Thailand, including the exchanges with foreign countries. สรปุ ผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซยี ครงั้ ท่ี ๓ ช
Specifically, the initiative of the Thai-Russian Roundtable on education was conceived during the visit of Her Royal Highness to Russia in October 2017. I am pleased that despite the ongoing travel disruptions caused by the spread of COVID-19 we have the chance to uphold this important event online. It gives me a great honor to welcome all participants at the 3rd Thai-Russian Roundtable “Education during COVID-19 Pandemic: Turning Crisis into Opportunity” organized by the Office of Education Council of the Ministry of Education of Thailand. My utmost gratitude also goes to everyone who helped organize this event and, of course, to all participants who agreed to share their knowledge and experience. It is indispensable for the modern development of science and education to have such a place like the TRRT for scholars, faculty and experts of both countries to exchange their practices and ideas. The Russian side attaches great importance to the development of educational ties with Thailand both at university and school levels. Good news is that from September 1 foreign citizens from all countries can enter Russia for studying. Before going to Russia, international students must get in touch with their respective universities (supervisor) in order to coordinate the date of their arrival. I know that many Thai students were waiting for this decision in order to start or continue their education in my country. We should also seek opportunities on collaboration in the education of children, especially gifted children. For example, many of you have heard about the Sirius education center in Sochi. Its goal is to identify, develop support talented children, which have demonstrated outstanding results in sports, arts, natural and technical sciences. We have more of similar organizations in Russia, like All-Russia Children’s Center “Ocean” which is situated Vladivostok. I believe we could think on possible exchanges in this sphere, ซ สรุปผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รสั เซีย ครง้ั ที่ ๓
especially with the view of upcoming 125th anniversary of Russian-Thai diplomatic relations in 2022. Dear educators, As most of you have already experienced firsthand, COVID-19 is presenting a great challenge to education. We took for granted such things as seeing each other in person and communicating face-to-face. Education is experiencing profound shifts; some even argue it will no longer be the same. You are standing on the edge of the ongoing changes and best equipped for suggesting the way for educators and students to adapt and for policymakers to design and implement necessary adjustments. This problem will be discussed in depth during this roundtable, which also has a more inclusive and broad agenda, reflecting the fact that COVID-19 crisis affects everyone equally. I wish all participants of the roundtable a fruitful discussion. Thank you for your attention. สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซีย ครง้ั ท่ี ๓ ฌ
พระราชดารัส สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสเปิดการประชมุ โตะ๊ กลมไทย-รัสเซียฯ ครง้ั ท่ี ๓ วันพฤหัสบดที ี่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๔ It is my great pleasure to join you in the Third Thai-Russian Roundtable online today. I would like to thank all of you for organizing this meeting despite the COVID-19 pandemic. I am pleased to hear that the first two roundtables lead to many joint activities between the two countries, and I hope that the third roundtable will create even more collaborations. I myself have never seen anything like this COVID-19 pandemic in my whole life. I am quite sure that you all agree with me. COVID-19 came so suddenly, and it stays on ญ สรุปผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซยี ครง้ั ที่ ๓
for so long. It affects human severely not only in health condition, but also in all social and economic aspects. We, educators, are also greatly affected, because the conventional education has been disrupted during the COVID pandemic. COVID-19 came unexpectedly, and we are not well prepared for new learning materials and new pedagogy. What do we do then? Children grow fast. Education cannot wait, and time should not be wasted. At times the Ministry of Education orders schools to close for COVID prevention. Many schools can adapt to the change by using available online and on-air facilities. But many other schools, especially remote schools, cannot. Some do not have TV signals, others do not have WIFI facilities. In the remote areas, what I have done to help is to provide what is called “Education Survival Kits”. The bags are given to students in the remote communities. A bag contains reading and writing materials, books and notebooks, masks and alcohol, soap, detergent and shampoo, seeds, basic medicine and some clothing, etc. Some teachers visit their students’ houses to give lessons. Some soldiers help teach สรปุ ผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รัสเซยี ครง้ั ที่ ๓ ฎ
students agriculture and do what the communities ask for help, including repairing houses and schools. In the COVID situation, I find agriculture, handicrafts, natural resources and environment in the community useful as learning resources for home-based and community-based education. In the case of no internet, smart TVs can be used to view Distant Learning TV programs. They can also be monitors for the offline digital clips, produced by many educational organizations. Smart TVs have proven effective for Buddhist novices who stay at the temples while their schools are closed. Other children around the temples can join the novices to view those smart TV programs. Most city schools have less problem, because they can resort to online teaching and learning. The problem is about practical learning and physical education. Another problem is different quality of students and teachers’ online equipment. It also takes more time, effort and skill for a teacher to prepare online lessons and to deliver them effectively. It is something new. In fact teaching and learning digital technology was expected to be the major cause of the transformation of pedagogy in this Century. But COVID-19 came, and the anticipated change is speeded up. COVID-19 also accelerates the change in vocational and higher education. Lifelong education creates more needs for non-degree and non-age group education. In the rapidly changing world, we all have to learn new things and to practice new skills. Upskilling and reskilling will become common terms. Therefore vocational education and higher education have to adjust to meet the new needs. ฏ สรุปผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซีย ครั้งที่ ๓
Education in the 21st Century is not only about theoretical and practical knowledge, but it is also about soft skills and life skills. Despite change of demands, the purpose of education remains unchanged. Education is to build up a more capable and a better person. Education is about the results developed in the learner. Let’s hope that COVID-19 would leave us with a positive effect on education. Unintentionally COVID-19 has already catalyzed a reform of education, on which the future of mankind is based. I hope the roundtable comes up with good suggestions for post COVID educational innovations. Together we can bring about “Education for All, and All for Peace and Sustainability”. May I now declare open the Third Thai-Russian Roundtable and wish the roundtable all success. Thank you. สรปุ ผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รสั เซยี ครั้งที่ ๓ ฐ
สารบัญ คานา ก คากราบบังคมทลู ของรองศาสตราจารย์ ดร.คุณหญงิ สุมณฑา พรหมบุญ ประธานคณะทางานการจัดการประชมุ โต๊ะกลมไทย–รสั เซีย ง คากลา่ วต้อนรบั ของ H.E. Mr. Evgeny Tomikhin เอกอคั รราชทูต สหพันธรัฐรัสเซียประจาประเทศไทย ช พระราชดารสั สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสเปิดการประชุมโตะ๊ กลม ไทย-รัสเซียฯ ครง้ั ท่ี ๓ ญ สารบัญ ฑ ปาฐกถานา Model of Basic Education Learning in Thailand during COVID-19 Pandemic: Turning Crisis into Opportunity โดย รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.คณุ หญิงกัลยา โสภณพานชิ ) ๑ บทความเชิงนโยบาย Education Management in Thai Vocational Education in the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Pandemic โดย ดร.ประทนิ เล่ียนจาํ รูญ ๓ STEM Education in Thai Universities under COVID-19 Pandemic โดย รศ.ดร.ชวนิ จนั ทรเสนาวงศ์ ๕ ฑ สรุปผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รัสเซีย ครัง้ ที่ ๓
COVID-19 Pandemic: Perspectives and Experience at Schools, Villages and Families Levels and Best Practices from Thailand and Southeast Asian Countries โดย ดร.จฬุ ากรณ์ มาเสถียรวงศ์ ๗ กรณศี กึ ษา Using Interactive Mathematical Systems in Distant Teaching โดย Dr. Vladimir Dubrovsky ๑๐ SUT Science and Math Learning Space with the Online School for All โดย รศ.ดร.วรวัฒน์ มีวาสนา ๑๒ Collaborating on Space Activities during the COVID-19 Pandemic โดย Dr. Nikolay Vedenkin ๑๔ Teaching International Relations and History of Asia in Times of Pandemic โดย Dr. Ekaterina Koldunova ๑๕ Fun Science @ Home Innovative and Interactive Online STEM learning during the COVID-19 pandemic โดย นางฤทัย จงสฤษด์ิ ๑๖ Experience of Advanced Chemistry Teaching at AESC MSU in the Pandemic Situation: Challenges, Losses and Gains โดย Dr. Ekaterina Mendeleeva ๑๘ Educational Practices for Teaching Online during Pandemic โดย Dr. Artur Gorka ๒๐ สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซยี ครั้งท่ี ๓ ฒ
Moscow State Educational Complex and Vocational Training โดย Mr. Igor Artemyev ๒๑ Teaching Online: for Better or for Worse for Teachers and Students โดย Mr. Konstantin Stolbov ๒๓ Learning@MWIT: ๒๕ Changed by design, Prompted by pandemic โดย รศ.ดร.ววิ ฒั น์ เรอื งเลิศปัญญากลุ Multimedia Interactive Textbooks on Physics for Secondary and High School โดย Prof. Alexandr Fishman ๒๗ KWL as an Alternative Assignment for Biology Class during Disease Outbreak โดย ดร.ชมช่ืน ศิรผิ นั แก้ว ๒๙ The Next Challenge - Search for New Communication Technologies in Digital Education โดย Prof. Dr. Marina Sergeeva ๓๒ A Modular Approach to ESP Distance Learning Course Designing โดย Ms. Irina Barilenko ๓๔ Research, Design and the Built of WIG Craft Type C 2 Seats Adapted from the Seabird Wing Shape Properties: Before and during the COVID-19 Pandemic โดย ดร.รัฐพล สาครสนิ ธ์ุ ๓๖ ณ สรุปผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซยี คร้งั ที่ ๓
Restructuring of the School: Current Challenges โดย Ms. Yulia Gusak ๓๘ ASEAN Centre’s Activities in the COVID-19 Era: ๔๐ ASEAN Week and ASEAN Academic Days Cases โดย Dr. Valeria Vershinina Visualization of Chemical Experiments in Distant Learning: Can We Give Students Practical Experience Without Practice? โดย Dr. Alexander Sigeev ๔๒ How the Social Engagement Can Help Overcome the Challenges of the New Normal Studying โดย นายขตั ตยิ ะ พงศ์สิริจนิ ดา ๔๔ Talent Identification and Development in Russia: Online Projects of Sirius Center โดย Mr. Aleksey Ponomarev and Mr. Aleksey Gorbachev ๔๖ คากล่าวปดิ การประชุมโต๊ะกลมไทย-รสั เซียฯ คร้ังที่ ๓ ๔๘ ของ ดร.อานาจ วิชยานวุ ตั ิ เลขาธกิ ารสภาการศึกษา ภาคผนวก ๕๒ สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รัสเซีย ครง้ั ท่ี ๓ ด
ปาฐกถานา Model of Basic Education Learning in Thailand during COVID-19 Pandemic: Turning Crisis into Opportunity โดย รฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (ดร.คณุ หญิงกัลยา โสภณพานิช) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ส่งผลกระทบ ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ม า เ ป็ น เ ว ล า น า น กระทรวงศึกษาธิการได้พยายามปรับรูปแบบและวธิ ีการเรียนการสอนใหม่ โดยเฉพาะการใช้ส่อื และเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการเรียนรู้ เช่น เทคโนโลยี เสมือนจริง (Augmented Reality: AR) เป็นต้น เพ่ือช่วยเพ่ิมคุณภาพ การจัดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะดิจิทัลของผู้เรียนและใช้ประโยชน์ ของการนาสื่อดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เช่น กรณีผู้เรียนสะเต็มศึกษา พบว่าผู้เรียนสามารถทาแบบทดสอบซ้า จนมีผลการทดสอบสูงกว่าร้อยละ ๘๐ กล่าวคือ การนาเทคโนโลยีมาใช้ ในการเรียนการสอน สามารถช่วยพัฒนาผู้เรียนได้ทันท่วงที ช่วยให้ การเรียนรู้มีความน่าสนใจ ช่วยพัฒนาสมรรถนะครู ปรับบทบาทของครู ใหเ้ ปน็ ผู้อานวยความสะดวก และเป็นพ่เี ลีย้ งในการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดการเรียนการสอน unplugged coding ในระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษาท่ัวประเทศ เพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ทั้งการเรียนรู้ในโรงเรียนและในการดาเนินชีวิตประจาวัน ฝึกให้ผู้เรียน พ่ึงตนเอง มีความรับผิดชอบ และมีทัศนคติเชิงบวก ซ่ึงจะก่อให้เกิด การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นและการทางาน/อาชพี ทเี่ หมาะสมในโลกดจิ ทิ ลั สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รสั เซยี คร้ังที่ ๓ ๑
นอกจากน้ี กระทรวงศึกษาธิการได้ส่งเสริมการจัดการเรียน การสอนสะเต็มศึกษา ซง่ึ บรู ณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ ในการจัดการเรยี นรูส้ าหรบั สถานศึกษาที่มคี วามเป็นเลิศ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ศิลปะการใช้ชีวิต การพัฒนาความฉลาด ทางอารมณ์ เรียนรู้การเป็นผู้ให้ และรู้จักช่วยเหลือสังคมซึ่งจะนาไปสู่ การพฒั นาสงั คมอยา่ งสร้างสรรคไ์ ด้ต่อไป ๒ สรุปผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รสั เซีย ครั้งท่ี ๓
บทความเชิงนโยบาย Education Management in Thai Vocational Education in the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Pandemic โดย ดร.ประทิน เล่ยี นจารูญ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ มีการปรับ รูปแบบการเรียนการสอนในระดับอาชีวศึกษา โดยใช้การสอนออนไลน์ และการฝึกปฏบิ ตั ใิ นรปู แบบ Active Learning ทีเ่ นน้ การพัฒนาสมรรถนะ ของผู้เรียน (Competency-Based Learning) ท้ังทักษะวิชาการและ วชิ าชพี ตามมาตรฐานการอาชวี ศึกษา จากการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้อานวยการ ครู และ บุคลากรทางการศึกษาด้านอาชวี ศึกษา และการวิเคราะหบ์ รบิ ท (Context Analysis) พบว่า การจัดการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาได้มีการดาเนินการ ในด้านต่างๆ ดังนี้ ๑) การสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการ กา รอา ชีวศึกษา เช่น การเตรียมความพร้อมของผู้เรียนและ สถาบันการศึกษา สนับสนุนรายจ่ายเพื่อแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง และ การจัดทาคู่มือการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควิด ๑๙ ๒) การพัฒนาผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนในช่วงปิด สถานศึกษา โดยเน้นการส่ือสารและทักษะดิจิทัลผ่านเว็บไซต์ครูพร้อม ดอทคอม ๓) การพัฒนาครู โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี ที่สนับสนุนให้ครู สามารถสร้างบทเรียน สาหรับการเรียนการสอนออนไลน์ได้ ๔) การจัด การเรียนรู้ เพื่อกาหนดเน้ือหา กิจกรรม และการประเมินผลการเรียนรู้ ทเ่ี หมาะสมในแต่ละสาขาผ่านระบบออนไลน์ สรปุ ผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รสั เซยี ครัง้ ที่ ๓ ๓
สาหรับการฝึกปฏิบัติ มีการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเล็กๆ เพื่อฝึกปฏิบัติแบบ Block Course สาธิตการสอนสด หรือจัดให้มี การฝึกอบรมเสมือนจริงทางออนไลน์ ส่วนการฝึกในสถานประกอบการ ลักษณะทวิภาคี กรณีไม่สามารถจัดทวิภาคีได้ สถานศึกษาต้องเตรียม สถานที่จาลองการฝึกงาน เช่น ภายในสถานศึกษา เป็นต้น โดยครูจะ ประเมินรายวิชาและประเมินทักษะวิชาชีพผ่านช่องทางออนไลน์ ส่วนการฝึกปฏิบัตินั้น ใช้กระบวนการทีเ่ หมาะสมหรอื เขียนอธิบายลาดับ ขั้นตอนแทน ๕) การจัดกิจกรรมนอกหลักสูตร เช่น จิตอาสา ลูกเสือ เป็นต้น ซ่งึ ครจู ะประเมินผลตามการปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่างๆ ๔ สรุปผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รัสเซยี ครั้งท่ี ๓
STEM Education in Thai Universities under COVID-19 Pandemic โดย รศ.ดร.ชวิน จนั ทรเสนาวงศ์ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาการจัดการเรียนการสอน ในสาขาวิชาที่เกีย่ วข้องกบั สะเต็ม (STEM) ของมหาวิทยาลยั ในประเทศไทย ช่วงการระบาดของโรคโควิด ๑๙ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.๒๕๖๓ โดยเก็บข้อมูลจาก การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักจานวน ๑๗ คน จากมหาวิทยาลัยจานวน ๑๑ แหง่ ท่ีจัดการสอนสาขาสะเต็ม ผลการศึกษา พบว่ามหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้ปรับรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนเพื่อให้สามารถจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ให้แก่ ผู้เรียนได้ ดังนี้ ๑) การจัดการสอนแบบบรรยายในรูปแบบออนไลน์ (Online Lectures) ๒) การใช้วิดีโอสาธิตการทดลอง (Pre-Recorded Demo Video) ๓) โปรแกรมจาลองทางคอมพิวเตอร์ (Computer Stimulations) ๔) การทาการทดลองในห้องปฏิบัติการท่ีบ้าน โดยส่ง อุปกรณ์ทางไปรษณีย์ให้ผู้เรียน (Laboratory at Home by Post) ๕) การเลื่อนหรือเปล่ียนแนวทางการฝึกงาน ๖) การเปล่ียนรูปแบบ การประเมินผลจากการสอบข้อเขียนเป็นรูปแบบอื่นๆ ผา่ นช่องทางออนไลน์ ๗) การสอบแบบปากเปล่าและการสอบวิทยานิพนธ์ออนไลน์ ๘) การจัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยสาหรับนักศึกษาในรูปแบบออนไลน์ ๙) การจัดปฐมนิเทศออนไลน์ กล่าวโดยสรุป มหาวิทยาลัยของไทยได้มีการปรับตัวอย่างรวดเร็ว สาหรบั การจัดการศึกษาในสาขาสะเต็มในชว่ งการระบาดของโรคโควิด ๑๙ ผ่านระบบออนไลน์ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยหลักท่ีสาคัญท่ีสุด ที่ส่งผลให้ การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์มีประสิทธิภาพ ขน้ึ อยกู่ ับทักษะทางเทคนิค สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รัสเซีย ครัง้ ท่ี ๓ ๕
ของผู้เรียนและผู้สอน รวมถึงการค้นหาเพื่อให้การช่วยเหลือสนับสนุน ผู้เรียนที่ต้องการความช่วยเหลือในเบื้องต้น ในด้านอุปกรณ์การเรียน ออนไลน์ การเงนิ และสุขภาพจิต เป็นตน้ ๖ สรุปผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รสั เซยี ครงั้ ที่ ๓
COVID-19 Pandemic: Perspectives and Experience ๗ at Schools, Villages and Families Levels and Best Practices from Thailand and Southeast Asian Countries โดย ดร.จฬุ ากรณ์ มาเสถยี รวงศ์ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และสรุป บทเรียน รวมถึงตัวอย่างแนวทางการบริหารจัดการศึกษาในสถานการณ์ การแพร่ระบาด โดยเก็บข้อมูลจากครูท่ีได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า มหาจกั รีและครูเครอื ข่ายในพืน้ ทตี่ า่ งๆ ผลการศึกษาและการวิเคราะห์ สรุปไดด้ งั น้ี ๑) เด็กและเยาวชน ท่ีติดเช้ือมจี านวนเพิ่มสูงข้ึน (มากกว่า ๖๕,๐๐๐ คน) และความเหลื่อมล้า ทางการศึกษามีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน ซ่ึงเห็นได้จากจานวนเด็กยากจนและ เด็กนอกระบบที่เพิ่มขึ้น การเรียนรู้ของเด็กไทยลดลงและไม่ต่อเน่ือง ครัวเรือนขาดความพร้อมในการเข้าถึงเทคโนโลยี (ประมาณร้อยละ ๕๐.๘ ของครัวเรือน ไม่มีคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก หรือแท็บเล็ตท่ีบ้าน และ ประมาณร้อยละ ๒๖.๓ ไม่มีอินเทอร์เน็ต) ทั้งน้ี สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทาน “ถุงยังชีพเพื่อการศึกษา” ซ่ึงบรรจุสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย พร้อมด้วยสิ่งของจาเป็นในการป้องกันตัวเองให้พ้นจากโรคโควิด ๑๙ รวมถึงเมล็ดพันธุ์สาหรับเพาะปลูกเป็นอาหารในช่วงสถานการณ์โควิด ๒) บทเรียนและประสบการณ์ระดับพื้นที่ (ครู/สถานศึกษา/ชุมชน): ครแู ละสถานศกึ ษาจาเปน็ ต้องปรับวธิ บี รหิ ารจัดการเรียนรู้ให้หลากหลาย อาทิ การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต (On Line) การเรียนผ่านแอพพลิเคชั่น (On Demand) การเรยี นท่บี า้ นโดยหนงั สือเรียนแบบฝึกหดั (On Hand) การเรียนโดย DLTV (On Air) กล่องนวัตกรรมการเรียนรู้ การจัด ห้องเรียนเคลื่อนที่ ๓) บทเรียนและประสบการณ์ระดับนโยบาย: สรปุ ผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซยี ครงั้ ที่ ๓
รัฐบาลในหลายประเทศกาหนดแนวทางจัดการเรียนการสอนแบบเว้น ระยะห่าง โดยสง่ เสริมให้มกี ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเรยี นรู้ รวมถึง มีมาตรการสนับสนุนการดาเนินงานของโรงเรียน ให้มีความยืดหยุ่น ส า ม า ร ถ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ย ใ ต้ ข้ อ จ า กั ด แ ล ะ บ ริ บ ท พื้ น ท่ี ไ ด้ โดยอาศัยความร่วมมือของผู้ปกครองและชุมชน นอกจากน้ี หน่วยงาน ระดับนโยบายในประเทศไทย อาทิ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง สาธารณสุข กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้ดาเนินการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ สารวจความพร้อม ด้ า น ก า ร เ รี ย น แ ล ะ พั ฒ น า ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ เ พ่ื อ ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ทางการศึกษา (iSEE) เพ่ือจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายและขับเคล่ือน กลยุทธทางการศึกษา โดยเฉพาะเด็กในกลมุ่ เปราะบาง โดยสรุป ครู โรงเรียน และครอบครัวจาเป็นต้องร่วมกันพัฒนา และแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อรองรับสถานการณ์ของโลกท่ีเปล่ียนแปลง ภายใต้การสนับสนุนและการวางแผนกลยุทธ์ในการบริหารจัดการศึกษา ของหนว่ ยงานระดับนโยบายเพ่ือผลักดนั ให้เกิดความเท่าเทียมด้านคุณภาพ การศึกษาสาหรบั เดก็ ๘ สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซยี คร้ังที่ ๓
สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รสั เซีย คร้งั ท่ี ๓ ๙
กรณศี ึกษา Using Interactive Mathematical Systems in Distant Teaching โดย Dr. Vladimir Dubrovsky สถานการณ์ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ในประเทศรัสเซีย ทาให้ โรงเรียนคอลโมโกรอฟ (Kolmogorov) จาเป็นต้องเปล่ียนการจัดการเรียน การสอนเป็นรูปแบบออนไลน์ เช่นเดียวกับหลายๆ โรงเรียนในประเทศ ด้านวิชาคณิตศาสตร์ ในชั้นเรียนเรขาคณิตสาหรับนักเรียนเกรด ๑๑ ดร.ดูบรอฟสกีได้นาระบบ Interactive Mathematical System (IMS) หรือที่รู้จักกันในนามระบบเรขาคณิตแบบพลวัต (Dynamic Geometry Systems) โดยใชโ้ ปรแกรม MathKit ทส่ี ามารถใช้ได้บนกระดานอัจฉริยะ (Interactive Whiteboard) ทาให้ง่ายในการจัดการเรียนการสอน เรขาคณติ แบบออนไลน์ การสอนเรขาคณิตครั้งนี้ ผู้สอนได้ออกแบบชุดฝึกปฏิบัติทาง คณิตศาสตร์ (เรขาคณิต) ที่เรียกว่า Small Practicums โดยจะเป็นงาน ที่มอบหมายให้นักเรียนทาท่ีบ้าน ( Home Tasks) ทุกอาทิตย์ ผ่านศูนย์การเรียนทางไกลของโรงเรียน (Distant Learning Center) นอกจากน้ัน การใช้ MathKit ยังง่ายต่อการตรวจงานสาหรับผู้สอนอีก ด้วย ในส่วนของการสอบในแต่ละหัวข้อของการสอนเรขาคณิต นักเรียน แตล่ ะคนจะได้ข้อสอบคนละหน่ึงข้อ (One-Question Exam) ทีแ่ ตกต่างกัน ในการแกโ้ จทยเ์ รขาคณติ ๑๐ สรปุ ผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รัสเซีย คร้ังท่ี ๓
ผลสารวจของนักเรียนภายหลังจากการใช้โปรแกรม MathKit พบว่าชุดฝึกปฏิบัติทางเรขาคณิตผ่านระบบ IMS MathKit ค่อนข้างเป็น ท่ีชื่นชอบ ในกลุ่มผู้เรียนและช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรขาคณิตที่เป็น รูปธรรมมากยิ่งขน้ึ ผา่ นรปู รา่ ง/รูปทรง ท่ีสร้างขนึ้ จากการใชโ้ ปรแกรมน้ี สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซยี ครง้ั ท่ี ๓ ๑๑
SUT Science and Math Learning Space with the Online School for All โดย รศ.ดร.วรวัฒน์ มีวาสนา แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมคุณภาพการศึกษาระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานใน ๔ สาขาวิชา ได้แก่ ฟิสิกส์ ชีววิทยา เคมี และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยเป็นโครงการภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิ ส่งเสริมวิชาการโอลิมปิกและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ หรือโครงการโอลิมปิกวิชาการ ซึ่งในแต่ละปีมีนักเรียน สนใจสมัครเข้ามาจานวนมากเกือบ ๖,๐๐๐ คน แต่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยสี ุรนารรี ับไดเ้ พียง ๑๖๐ คนต่อปี จากวิกฤติการระบาดของโรคโควิด ๑๙ มหาวิทยาลัยจึงสร้าง แ พล ต ฟอร์ ม อ อ น ไล น์ เ ค รื อ ข่า ย สั ง ค มเ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะส ร้ า ง ก า ร มี ส่วนร่วมในการพัฒนาสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ให้แก่นักเรียนท้ังในโครงการและนักเรียน ท่ัวไปได้เขา้ มาศกึ ษาเรยี นรู้เปน็ จานวนมากได้ ๑๒ สรุปผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รสั เซยี ครง้ั ท่ี ๓
นอกจากน้ี มหาวิทยาลัยได้สร้างพื้นท่ีการเรียนรู้ในอาคาร ภายใต้แนวคิด “Small House Small Learning in The Big Forest” ท่ีเป็นการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ผสมผสานกับธรรมชาติ ด้วยการสนับสนุนด้านเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น การผลิตพลังงานสีเขียว โซล่าเซลล์ระบบ Off-Grid หรือระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์พลังงาน แสงอาทิตย์ การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งแวดล้อม การผลิตเครื่องมือทางภูมิสารสนเทศศาสตร์ที่ใช้สารวจหรือตรวจสอบ นิเวศของป่าแบบเรียลไทม์ เช่น อากาศ น้า ต้นไม้ ภูมิประเทศ เป็นต้น ซ่ึงนักเรียนจะสามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูงได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพผ่านการประยกุ ตใ์ ช้กบั ธรรมชาติ สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รสั เซีย ครัง้ ที่ ๓ ๑๓
Collaborating on Space Activities during the COVID-19 Pandemic โดย Dr. Nikolay Vedenkin การระบาดของโรคโควิด ๑๙ ทาให้เกิดข้อจากัดในการปฏิสัมพันธ์ ของมนุษย์ ซ่ึงส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการศึกษาและการวิจัย แม้ปัจจุบันจะมีบริการออนไลน์ต่างๆ ที่ทาให้สามารถจัดกิจกรรม ทางการศึกษาและการวิจัยได้ แต่ช่วยแก้ปัญหาได้เพียงเล็กน้อยเท่าน้ัน จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง ก า ร ร ะ บ า ด ข อ งโ ร ค โควิด ๑๙ ต่อการศึกษา โดยเฉพาะสาขาวิศวกรรมการบินและอวกาศ (Aerospace Engineering) พบว่า จานวนนักเรียนในโรงเรียนและ มหาวิทยาลัยลดลง ช้ีให้เห็นว่าการพัฒนาทางปัญญาของวิศวกรท่ีมี ศักยภาพได้รับผลกระทบ เนื่องจากการสร้างจรวดไม่สามารถทางาน คนเดียวได้ ดังน้ัน การขาดการสื่อสาร (real communication) และ ทางานเป็นทีม (teamwork) ส่งผลต่อการพัฒนาและมีแนวโน้มที่จะมี ผลกระทบทางลบต่อวิศวกรรมการบินและอวกาศในระยะยาว ๑๔ สรุปผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รสั เซยี ครั้งที่ ๓
Teaching International Relations and History of Asia in Times of Pandemic โดย Dr. Ekaterina Koldunova สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ส่งผลให้มหาวทิ ยาลัย Moscow State Institute of International Relations ( MGIMO) ต้องปรับการสอนวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและประวัติศาสตร์ เอเชีย จากรูปแบบเดิมเป็นการสอนผ่านระบบออนไลน์ โดยใช้เคร่ืองมือ และส่ือการสอนออนไลน์ต่างๆ ได้แก่ Zoom, Google Meet และอื่นๆ ในการบรรยาย การสัมมนา และการประเมินผลการเรียน รวมถึงต้อง ปรับเทคนิคการสอนออนไลน์ในวิชาดังกล่าว เพื่อให้บทเรียนมีความ น่าสนใจและสง่ เสริมใหก้ ารเรียนรู้เกดิ ประสิทธิภาพมากย่งิ ขน้ึ นอกจากนี้ การประเมินผลการเรียนต้องปรับเป็นการประเมิน ๑๕ ท่ีเน้นการคิดแก้ปัญหา แทนการประเมินเพื่อเช็คความจาในแบบเดิมๆ ท้งั น้ี ในสถานการณ์ปัจจบุ ัน ซงึ่ เต็มไปดว้ ยโอกาสและความทา้ ทายใหม่ๆ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลถือว่าเป็นส่ิงท่ีจาเป็นอย่างยิ่ง จึงควรรวบรวม ผลสะท้อนกลับอย่างเป็นระบบในการจัดการศึกษาจากประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ท้ังในระดับนานาชาติ ระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับมหาวทิ ยาลัยอยา่ งต่อเน่ือง สรปุ ผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รัสเซีย คร้งั ที่ ๓
Fun Science @ Home Innovative and Interactive Online STEM Learning during the COVID-19 Pandemic โดย นางฤทัย จงสฤษด์ิ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยทมี งานของบา้ นวทิ ยาศาสตร์สริ นิ ธรได้สรา้ งโครงการตา่ งๆ เพอ่ื ให้เกิด การฝึกฝนและลงมือปฏิบตั ิผ่านกิจกรรม ซ่ึงมีเป้าหมายสูงสุดคือการสรา้ ง พลังในด้านการเรียนสะเต็ม (STEM) ให้นาไปสู่การสร้างพลังความคิด และนวัตกรรม โดยใช้แรงจูงใจ แรงบันดาลใจ และความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างพลงั ดังกลา่ ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร ไ ด้ ป รั บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ห้ อ ง เ รี ย น ท ด ล อ ง แ ล ะ ห้ อ ง ป ร ะ ชุ ม ใ น โ ร ง เ รี ย น เป็นการเรียนออนไลน์จากที่บ้าน โดยได้สร้างกิจกรรมค่ายด้านสะเต็ม เ พ่ื อ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ กั บ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ นักวิชาการได้จากท่ีบ้านถึง ๒๐ ค่าย นอกจากน้ี ยังมีวิดีโอความรู้ ด้านสะเต็มกว่า ๖๐ เร่ือง ส่งตรงถึงบ้าน สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ ๑๖ สรุปผลการประชุมโตะ๊ กลมไทย – รสั เซีย ครง้ั ท่ี ๓
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้พัฒนาและออกแบบค่ายกิจกรรม ด้านการเรียนสะเต็มแบบออนไลน์ โดยการพัฒนาและการออกแบบ กิจกรรมมาจากการศึกษาปัจจยั พื้นฐาน ๓ ประการ ได้แก่ ๑) ความต้องการ ของนักเรยี น ๒) ความเป็นไปไดท้ างด้านเทคโนโลยีและประสิทธภิ าพของ โปรแกรม และ ๓) ความเป็นไปได้เชิงธุรกิจ ท้ังนี้ โครงการได้พยายาม จาแนกความต้องการของผู้เรียนก่อนจัดค่าย และพบว่าสิ่งที่ผู้เรียน ต้องการสูงสุดคือการกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นนวัตกรรม เชิงปฏิบัติ จากประสบการณ์การดาเนนิ การในหลักสูตรและกิจกรรมท่ีผ่านมา ได้มีเคล็ดลับ ๙ ขอ้ สาหรับออกแบบหลักสูตรออนไลน์และกจิ กรรมต่างๆ ดังนี้ ๑) ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติเองที่บ้าน ๒) สร้างประสบการณ์ การเรียนรู้ท่ีมีความหมายจากส่ิงของที่อยู่รอบตัว ๓) ปลูกฝังความคิด สร้างสรรค์ผ่านแนวคิดที่ทรงพลัง โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ของตน ๔) ให้นักเรียนสร้างชิ้นงานจากความรู้และความเข้าใจของตนเอง ๕) เรียนรู้ผ่านเรื่องราว (Story) ๖) ขยายความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ๗) สร้างความอยากรู้อยากเห็นอย่างสม่าเสมอผ่านเรียนรู้ แบบ Spiral Model ๘) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีเป็นมิตรและ สนุกสนาน ๙) เช่ือมโยงและประยุกต์การเรียนแบบเรียนท่ีโรงเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนพฒั นาความเข้าใจทางดา้ นวชิ าการ สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซยี คร้ังที่ ๓ ๑๗
Experience of Advanced Chemistry Teaching at AESC MSU in the Pandemic Situation: Challenges, Losses and Gains โดย Dr. Ekaterina Mendeleeva สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ส่งผลให้สถาบัน การศึ กษา Advanced Educational Scientific Center of Moscow State University (AESC MSU) ต้องปรับรูปแบบการจัดการเรียน การสอน โดยได้ศกึ ษาประสบการณ์ ปญั หา อปุ สรรค ความทา้ ทาย ผลได้ และผลเสียของการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีในรูปแบบออนไลน์ ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ในระยะเวลา ๑๐ เดอื น การเรียน การสอนดังกล่าวประกอบด้วย การบรรยาย การอบรม การทาการทดลอง เคมี การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค ซึ่งมีความท้าทาย คือ การมีปฏิสัมพันธ์สองทางระหว่างครูและนักเรียน ทั้งในช่วงระหว่าง การทากจิ กรรมในบทเรียนและการส่ือสารในระหวา่ งบทเรียน สถาบันได้นาเครื่องมือและเทคนิคต่างๆ มาใช้ในการสอนวิชา เคมใี นรูปแบบออนไลน์ หลังสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ หลายรูปแบบ ดังนี้ ๑) การบันทึกการบรรยายผ่านระบบ Zoom ๑๘ สรปุ ผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซีย คร้ังท่ี ๓
สาหรับนักเรียนที่ไม่สามารถเข้าเรียนได้ในเวลาปกติ ๒) การส่ือสาร ผ่านช่องทางการสื่อสารส่วนตัวสาหรับนักเรียนที่ไม่กล้าแสดงออก ๓) การบันทึกวิดีโอการบรรยาย ๔) การบันทึกวิดีโอการทดลองท่ีอันตราย ๕) ระบบการสารวจออนไลน์เพ่ือทดสอบและรวบรวมผลสะท้อนกลับ จากนกั เรียน สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซีย คร้งั ท่ี ๓ ๑๙
Educational Practices for Teaching Online during Pandemic โดย Dr. Artur Gorka จากสถานการณก์ ารระบาดของโรคโควิด ๑๙ สถาบันการศึกษา ส่วนใหญ่ได้ปรับเปล่ียนการเรยี นการสอนไปสู่รปู แบบออนไลน์ ในขณะที่ ครูบางคนสามารถปรับไปสู่การสอนออนไลน์ได้ แต่กลับไม่ใช่เรื่องง่าย สาหรับครูอีกหลายคนท่ีต้องหาวิธีการและรูปแบบการสอนแบบใหม่ ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ การสอนออนไลน์ต้องเผชิญกับความท้าทาย เช่นเดียวกันกับ การสอนในห้องเรียน ท้ังในด้านการถ่ายทอด ส่ือการเรียนรู้ที่จะทาให้ การเรียนรู้เกิดข้ึนอย่างมีประสิทธิภาพ และครูต้องเผชิญความท้าทาย เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เช่นเดียวกันกับนักเรียนที่อาจรู้สึกว่าตนเองมีความโดดเด่ียว รู้สึก ไม่เช่อื มโยง แปลกแยก และทอ้ แท้ในการเรยี นออนไลน์ ซงึ่ มคี วามสาคัญ อย่างยง่ิ ในการเรียนการสอน เพราะการสอนต้องมาจากใจ (Teaching is a work of Heart) การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จึงควรให้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร ส ร้ า ง ส ถ า น ะ อ อ น ไ ล น์ ข อ ง ค รู แ ล ะ นั ก เ รี ย น สร้างความสัมพันธ์ท่ีดี ให้นักเรียนมั่นใจว่าจะสามารถเรียนออนไลน์ ร่วมกันได้ และครูจะต้องเลือกใช้ส่ือการเรียนรู้ที่เหมาะสมและอานวย ความสะดวกในการเรยี นรู้ ตลอดจนการจัดการทดสอบให้แก่นักเรยี นได้ ๒๐ สรุปผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซีย ครัง้ ที่ ๓
Moscow State Educational Complex and Vocational Training โดย Mr. Igor Artemyev ศูนย์การศึกษาของรัฐเมืองมอสโก (MSEC) เป็นหน่วยงาน การศึกษาท่ีเน้นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ (practice-oriented training) โดยไดม้ ีการพัฒนาทักษะให้แกผ่ ูเ้ รยี นในสาขาตา่ งๆ ทง้ั นี้ มี ๑๕ หลักสูตร ท่ีติดอันดับในสาขาวิชาชีพ ๕๐ อันดับแรก ที่ได้รับความนิยมใน ตลาดแรงงาน สถาบันได้สร้างความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม เพ่ือพัฒนา ทักษะให้แก่ผู้เรียน มีการวางแผนยุทธศาสตร์เพ่ือระบุความต้องการ ทักษะต่างๆ ในตลาดแรงงาน นอกจากนั้น ยังเป็นศูนย์พัฒนานักศึกษา เพ่ือการแข่งทักษะระดับโลกของสหพันธรัฐรัสเซีย สถาบันได้พัฒนา ทกั ษะให้แกผ่ ูเ้ รียน ท้งั ในสายสามญั และอาชวี ศกึ ษา โดยมีรปู แบบการฝึก ประสบการณ์ต่างๆ เช่น การใช้วีดีโอในการศึกษา การวัดทักษะ และ การกาหนดมาตรฐานทักษะระดับโลก (world skill standard) และ การพัฒนาเนื้อหาของโปรแกรมการศึกษา พร้อมปรับหลักสูตรให้ สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยมีการสอบถาม สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รสั เซยี ครั้งท่ี ๓ ๒๑
ภาคส่วนต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ก่อนพัฒนาหลักสูตรการศึกษา เพื่อให้ นักศึกษาสามารถจบไปทางานในอนาคตได้ ซ่ึงหลักสูตรสามารถ ปรบั เปลีย่ นตามสถานการณ์ และมกี ารประเมินทักษะก่อนสาเร็จการศึกษา ๒๒ สรุปผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รัสเซยี คร้งั ที่ ๓
Teaching Online: for Better or for Worse ๒๓ for Teachers and Students โดย Mr. Konstantin Stolbov ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ท่ีเร่ิมข้ึนอย่างฉับพลัน ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ก่อให้เกิดคาถามขึ้นมากมาย โรงเรียน จึงได้ปรึกษาหารือระหว่างครูว่าควรทาอย่างไร คาถามสาคัญท่ีเกิดข้ึน ได้แก่ ๑. เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนควรมีอะไรบ้าง ๒. บทเรียนท่ีจัดให้กับนักเรียนควรเป็นอย่างไร และจากประสบการณ์ การสอนในราย ๓ วิชาของผู้บรรยาย ได้ใช้แนวทางสาคัญต่างๆ เช่น ๑) ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย มีอุปกรณ์ใหม่ๆ ใช้แบบทดสอบ และ พบว่าการสอนออนไลน์ต้องใช้เวลาเตรียมตัวมาก ๒) ใช้ประโยชน์จาก หลักสูตรออนไลน์ของซิริอุส ซ่ึงเป็นหลักสูตรที่มีชื่อเสียงในประเทศ เด็กสามารถทาเองได้และครูสามารถตั้งคาถามเพ่ือให้เด็กสนใจ ส่วนเร่ืองการสอบในระบบการเรียนออนไลน์ มีวิธีการสอบที่หลากหลาย เช่น สอบปากเปล่า และสอบหลังจากเรียนออนไลน์ของซิริอุส รวมถึง การสอบในระดับประเทศ สาหรบั เดก็ ทีจ่ ะต้องนาคะแนนไปใช้ในการเข้า มหาวทิ ยาลยั แต่ก็พบปัญหาการทจุ ริตการสอบ ภายหลังจากสอนออนไลน์ ๓ เดือน ได้มีการสอบถามนักเรียน เก่ียวกับข้อดีของการเรียนออนไลน์ นักเรียนให้ความเห็นว่าทาให้ไม่ต้อง ใช้เวลาไปโรงเรียน การปรึกษาหารือทางออนไลน์เป็นสิ่งท่ีมีประโยชน์ ได้ประสบการณ์ใหม่ๆ และเป็นส่ิงที่สะดวกสบาย สามารถดูเน้ือหา ทบทวนได้ ส่วนข้อเสียของการเรียนออนไลน์ คือ ไม่ค่อยมีสมาธิ เหน่ือย ใช้เวลากับคอมพิวเตอร์นาน ไม่สามารถส่ือสารกับเพ่ือนได้ ฯลฯ ทางด้านครู ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการเรยี นออนไลน์ว่า มีข้อดี คือ ได้เรียนรู้วิธีการใหม่จากสื่อต่างๆ ใช้เวลาน้อย สะดวกสบาย และ ไม่เสียเวลา ส่วนขอ้ เสยี คอื ตอ้ งเรียนรเู้ ทคโนโลยีใหม่ๆ สอนเนือ้ หาได้น้อย สรปุ ผลการประชุมโต๊ะกลมไทย – รัสเซยี ครัง้ ท่ี ๓
เป็นเรอื่ งยากทจี่ ะใหน้ ักเรียนเขา้ มามสี ว่ นร่วม และสาหรับแนวทางในอนาคต คิ ด ว่ า ก า ร เ รี ย น อ อ น ไ ล น์ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ท ด แ ท น ก า ร เ รี ย น แ บ บ ป ก ติ ได้ จึงควรพิจารณาในประเด็นสาคัญท่ีเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์ ได้แก่ การปรึกษาหารือทางออนไลน์ การใช้หลักสูตรของซิริอุส การทดสอบ ออนไลน์ การพบผู้ปกครองทางออนไลน์ การใช้รูปแบบออนไลน์สาหรับ นักเรยี นที่ป่วย เปน็ ต้น ๒๔ สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รสั เซยี คร้ังที่ ๓
Learning@MWIT: Changed by design, Prompted by pandemic โดย รศ.ดร.วิวัฒน์ เรอื งเลิศปญั ญากุล เมื่อเร่ิมมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ รอบแรกในช่วงต้นปี ๒๕๖๓ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ได้คาดการณ์สถานการณ์และ วางแผนการเรียนการสอน เพ่ือรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว โ ด ย ว า ง แ ผ น พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง มื อ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ฝึ ก อ บ ร ม บุ ค ล า ก ร เพ่ือรองรับการทางานในรูปแบบออนไลน์ เช่น อบรมการใช้ VPN, Google Classroom และวัสดุท่ีใช้สาหรับการสอนออนไลน์ เป็นต้น ในการประชุมแบบออนไลน์ครั้งแรก โรงเรียนได้จาลอง สถานการณ์การล็อกดาวน์หลายรูปแบบ และในช่วงก่อนเปิดเทอม โรงเรียนได้จัดประชุมออนไลน์ระหว่างครูและนักเรียน เพ่ือรับทราบ แนวทางและวิธีการเรียนออนไลน์ โดยนักเรียนได้พบกับครูประจาช้ันและ ทราบข้อมูลเพ่ิมเติม ต่อมาในเดือนสิงหาคม ๒๕๖๓ เมื่อสถานการณ์ การแพร่ระบาดมีทิศทางท่ีดีขึ้น โรงเรียนได้ปรับเปล่ียนรูปแบบการเรียน โดยให้นักเรียนบางส่วนมาเรียนท่โี รงเรียน (Onsite) และบางส่วนยังคงเรียน แบบออนไลน์ และเมอ่ื สถานการณ์การแพรร่ ะบาดเริ่มเข้าสู่สถานการณ์ปกติ จึงเปลี่ยนรูปแบบการเรียนโดยให้เป็นแบบ Onsite ทั้งหมดในช่วงเดือน ตุลาคม ๒๕๖๓ และมีมาตรการรักษาความปลอดภัยของนักเรียนและ บุคลากร ทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎเว้นระยะห่าง (Social Distancing) และสวมใส่หน้ากากตลอดเวลา โดยโรงเรียนได้ปรับลดจานวนนักเรียน ในแต่ละหอ้ งและปรับชว่ งเวลาเรยี นให้ส้ันลง ท้งั น้ี ในชว่ งปลายปี ๒๕๖๓ ได้เกิดการแพร่ระบาดอีกระลอก จึงได้ปรับการเรียนมาเป็นรูปแบบ ออนไลนอ์ ีกครั้งจนถึงปัจจุบนั สรปุ ผลการประชมุ โต๊ะกลมไทย – รสั เซยี ครัง้ ท่ี ๓ ๒๕
การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ทาให้โรงเรียนพบว่าการที่จะ ประสบความสาเร็จในการเรียนการสอนออนไลน์ได้น้ัน ขึ้นอยู่กับปัจจัย ด้านตา่ งๆ ดังนี้ ๑) ดา้ นทรัพยากร เช่น สัญญาณอินเทอร์เน็ต ขนาดหน้าจอ เคร่ืองมือส่ือสาร และสภาพแวดล้อมในการเรียน เป็นต้น ๒) ด้านการสอน ต้องมีความสมดุลของเวลาและนาข้อเสนอแนะของนักเรียน มาปรับใช้ พัฒนาการเรียนออนไลน์ รวมถึงให้ความอิสระแก่คุณครูในการเรียน การสอนและการประเมินผล ๓) ดา้ นองค์กร ตอ้ งให้อสิ ระในการปรับเปลี่ยน นโยบาย เพ่ือให้โรงเรียนสามารถรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่าง รวดเร็ว กล้าตัดสินใจและทดลองส่ิงใหม่ๆ เพ่ือแก้ปัญหา พร้อมท้ัง ยอมรับในการเปล่ียนแปลงเพราะเป็นสิ่งท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้ และวางแผน เพ่ือเดินไปข้างหน้าให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ท่เี ปลย่ี นแปลง ๒๖ สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รสั เซีย ครั้งที่ ๓
Multimedia Interactive Textbooks on Physics for Secondary and High School โดย Prof. Alexandr Fishman ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความทันสมัยและมีข้อมูลสารสนเทศมากขึ้น การใช้หนังสือมัลติมีเดียแบบโต้ตอบได้ (multimedia interactive textbooks) สามารถเช่ือมโยงถึงการเรียนการสอนทางไกลและสามารถ เพิ่มความสนใจในการศึกษาวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายได้ ซึ่งการกระตุ้นนักเรียนให้มีความอยากรู้ อยากเห็นนัน้ นบั ไดว้ ่าเปน็ งานหลกั ของครผู ูส้ อนในวิชาฟิสกิ สด์ ้วย ในด้านการทดลองยังคงเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากสาหรับ การเรียนวิชาฟิสิกส์ ซ่ึงกระบวนการศึกษาในปัจจุบัน ควรเพ่ิมบทบาท ของเทคโนโลยีเพื่อทาให้การเรียนมีความน่าสนใจมากข้ึน โดยสามารถใช้ สื่อมัลติมีเดีย เช่น วิดีโอ เสียง แอนิเมชัน ฯลฯ เพิ่มลงไปในหนังสือเรียน มัลติมีเดียสาหรับเด็กยุคใหม่ เพ่ือกระตุ้นความสนใจทางด้านสติปัญญา และกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน โดยคลิปจากหนังสือ สรปุ ผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รัสเซยี ครัง้ ที่ ๓ ๒๗
เรียนมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นในการนาเสนอคร้ังน้ี ได้นาเนื้อหามาจาก หนังสือเรียนปกติ ซึ่งต้องได้รับการอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการของ สหพันธรัฐรัสเซียด้วย ท้ังน้ี หนังสือมัลติมีเดียแบบโต้ตอบประกอบด้วย วิ ดี โ อ ก า ร ท ด ล อ ง แ ล ะ แ บ บ จ า ล อ ง ส ถ า น ก า ร ณ์ ท่ี แ บ่ ง เ ป็ น ส่ ว น ๆ เมื่อนักเรียนได้ทากิจกรรมต่างๆ ในหนังสือจะทาให้พัฒนาทักษะ การศึกษาวิจัยด้วยตนเอง ซ่ึงต่างจากหนังสือ e-book แบบเดิมๆ ที่ไม่มี ปฏิสมั พนั ธ์ใดๆ เกิดข้นึ นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมในช่วงของการบรรยาย (lecture fragments) ท่ีนักเรียนสามารถทากิจกรรมรูปแบบต่างๆ และยังให้ครู และนักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กันผ่านกิจกรรมการถามและตอบในสื่อ มัลติมีเดีย โดยหนังสือมัลติมีเดียประกอบด้วย ๑) วิดีโอ ๒๖๐ วิดีโอ สาหรับการทดลองทางฟิสิกส์ ๒) ๓๘๐ แอนิเมชันโมเดล ซง่ึ รวมถงึ โมเดล แบบโตต้ อบได้ ๓) ๒,๗๐๐ คาถามและปญั หาทางฟสิ ิกส์ ๔) ๑,๑๐๐ ภาพ และรูปถ่าย โดยปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่สามารถเปลี่ยนเนื้อหาในหนังสือ มัลติมีเดียได้อย่างง่าย สามารถเพิ่มหรือตัดส่วนต่างๆ ได้ และสามารถ แปลเป็นภาษาอื่นๆ ได้อกี ดว้ ย ๒๘ สรุปผลการประชมุ โตะ๊ กลมไทย – รสั เซีย ครง้ั ที่ ๓
Search