Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเติบโตของประชากรและประชากรมนุษย์

การเติบโตของประชากรและประชากรมนุษย์

Published by phakamas.t21, 2022-01-24 04:58:18

Description: การเติบโตของประชากรและประชากรมนุษย์

Search

Read the Text Version

คำนำ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ชีววทิ ยำรำยวชิ ำเพ่มิ เติม เล่ม6 ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 6 น้นั สำเร็จข้ึนได้ โดยไดร้ ับควำมช่วยเหลืออยำ่ งดียง่ิ จำกครูทนงศกั ด์ิ ผวิ บุญเรือง คุณครูท่ีปรึกษำโครงงำนและ ครูผสู้ อนวชิ ำชีววิทยำที่ไดใ้ หค้ ำเสนอแนะ แนวคิดและใหค้ วำมรู้ในกำรจดั ทำโครงงำนชีววิทยำ ตลอดจนกำรแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่ำงๆมำโดยตลอด จนโครงงำนน้ีเสร็จสมบูรณ์ ผศู้ ึกษำจึงขอก รำบขอบคุณเป็นอยำ่ งสูง ขอขอบคุณคุณครูทะนงศกั ด์ิ ผวิ บุญเรืองท่ีคอยใหค้ วำมช่วยเหลือดำ้ นกำรรวบรวมขอ้ มูลต่ำงๆ ในกำรจดั ทำรูปเล่มโครงงำน และใหค้ วำมช่วยเหลือดำ้ นกำรจดั ทำเวบ็ ไซตใ์ นกำรนำเสนอ โครงงำน และขอขอบคุณคณะเพื่อนร่วมหอ้ ง ม.6/1 ท่ีใหก้ ำลงั ใจ และขอ้ มูลในกำรทำหนงั สือ อิเลก็ ทรอนิกส์เล่มน้ีอีกดว้ ย คณะจดั ทำ น.ส.เกศวริน พรมสำเทศ น.ส.สุภตั ตำ แกว้ ศรีรัง น.ส.ผกำมำศ ทบั ทิมศรี น.ส.พณั ณิตำ พมิ พข์ วำ

ประชากร (Population) หมายถงึ การอยู่ร่วมกนั เป็ นกลุ่ม ของสิ่งมีชีวติ ชนิดเดยี วในสถานทีใ่ ดทห่ี น่ึง เช่น ประชากร ของผงึ้ ในรังหน่ึง ประชากรของปลาหางนกยูงในโอ่งนา้

ขนำดของประชำกร ในแหล่งท่ีอยแู่ ต่ละแห่งจะมีจำนวนกลุ่มสิ่งมีชีวติ หรือจำนวนประชำกร แตกต่ำงกนั ไป กำรศึกษำขนำดหรือลกั ษณะควำมหนำแน่นของจำนวน ประชำกรในแหล่งท่ีอยหู่ น่ึงๆสำมำรถศึกษำไดจ้ ำก - กำรอพยพเขำ้ ของกลุ่มส่ิงมีชีวติ - กำรอพยพออกของกลุ่มส่ิงมีชีวติ - กำรเกิดของกลุ่มส่ิงมีชีวติ - กำรตำยของกลุ่มส่ิงมีชีวติ

กำรอพยพออก

จากการศึกษาดงั กล่าว ทาให้สามารถแบ่งขนาดของประชากรออกเป็ น 3 ขนาดดงั นี้ 1. ประชำกรที่มีขนำดคงท่ี อตั รำกำรเกิด + อตั รำกำรอพยพเขำ้ = อตั รำกำรตำย + อตั รำกำรอพยพออก 2. ประชำกรมีขนำดเพ่มิ ข้ึน อตั รำกำรเกิด + อตั รำกำรอพยพออก > อตั รำกำรตำย + อตั รำกำรอพยพเขำ้ 3. ประชำกรมีขนำดลดลง อตั รำกำรเกิด + อตั รำกำรอพยพเขำ้ < อตั รำกำรตำย + อตั รำกำรอพยพออก

ปัจจยั ท่ีทำใหเ้ กิดกำรเปลี่ยนแปลง กำรศึกษำขนำดของประชำกรในแหล่งท่ีอยู่ ดูไดจ้ ำกอตั รำกำรเกิด อตั รำกำรตำ อตั รำกำรอพยพเขำ้ และ อตั รำกำรอพยพออกจำกแหล่งที่อยโู่ ดยอตั รำกำรเปลี่ยนแปลงของอตั รำดงั กล่ำวเกิดจำกปัจจยั ท้งั ภำยในและภำยนอ แหล่งท่ีอยู่ 1.การขาดแคลนพืน้ ทอ่ี ยู่อาศัย 2.พืน้ ทท่ี างการเกษตรลดลง 3.ความต้องการปัจจัยส่ีเพมิ่ ขนึ้ เมื่อประชากรเพม่ิ มากขนึ้ ต้องเสาะหาทรัพยากรธรรมชาติให้ดด้มาก 4.ขนึ้ เพิ่มกำรผลิตผลผลิตใหไ้ ดม้ ำกและรวดเร็วโดยอำศยั กระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์และ เทคโนโลยี 5.ผลของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำใหป้ ระดิษฐค์ ิดคน้ เครื่องมือ เคร่ืองจกั ร และกรรมวิธีกำร ทำกำรเกษตรกรรม สมยั ใหม่ ตลอดจนกำรแปรรูปผลิตภณั ฑ์ โดยเปล่ียนแปลงกระบวนกำรผลิต ที่ทำกนั ในครอบครัวเป็นกำรผลิตในระดบั อุตสำหกรรม 6.ผลจากวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำใหท้ รัพยำกรธรรมชำติถูกนำมำใชอ้ ยำ่ งมำกมำย และรวดเร็วจนทำใหท้ รัพยำกรธรรมชำติ เช่น ป่ ำไม้ แร่ธำตุ น้ำมนั เช้ือเพลิง มีปริมำณลดนอ้ งลงไปมำก 7.ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ทำใหส้ ภำพแวดลอ้ มเสื่อมโทรมและเป็นพษิ เกินกวำ่ ธรรมชำติ จะแกไ้ ขและบำบดั ให้ กลบั คืนมำเหมือนเดิมได้

ตวั อย่าง การหาความหนาแน่นของประชากร ป่ าแห่งหน่ึงมีพืน้ ที่ 20 ตารางกโิ ลเมตร มปี ระชากรช้าง 5,000 ตวั แต่จากการสารวจ อย่างละเอยี ด พบว่าประชากรช้างอยู่กนั เป็ นกลุ่มในพืน้ ทเ่ี พยี ง 10 ตารางกโิ ลเมตร สูตร ควำมหนำแน่นของประชำกร = จำนวน ของประชำกร พ้นื ที่ที่ส่ิงมีชีวติ อำศยั อยใู่ นช่วงเวลำหน่ึง = .............................................. = ......................ตวั /ตำรำงกิโลเมตร

สูตร จำนวนประชำกรท้งั หมด = จำนวน ของประชำกรท่ีสุ่มได้ ท้งั หมดXพ้นื ท่ีท้งั หมด ขนำดกรอบสุ่มตวั อยำ่ ง X จำนวนคร้ังท่ีสุ่มตวั อยำ่ ง = .............................................. = ......................ตวั

ภาพพรี ะมดิ โครงสร้างอายุประชากรมนุษย์แบบต่างๆ ก. พรี ะมิดฐานกว้างยอดแหลม ข. พรี ะมดิ ทรงรูปกรวยปากแคบ ค. พรี ะมดิ รูประฆงั ควา่ ง. พรี ะมดิ รูปดอกบวั ตูม

จำกพีระมิดโครงสร้ำงอำยปุ ระชำกรทำใหส้ ำมำรถคำดคะเนแนวโนม้ ของ ประชำกรในประเทศน้นั ๆ ไดเ้ ช่น แบบ ก. พรี ะมิดฐำนกวำ้ ง ยอดแหลม แสดงถึงโครงสร้ำงประชำกรเพ่มิ ข้ึนอยำ่ งรวดเร็ว พบโครงสร้ำงของประชำกรแบบน้ีไดใ้ นประเทศกวั เตมำลำ ซำอุดิอำระเบีย และประเทศใน แอฟริกำ แบบ ข. พรี ะมิดทรงรูปกรวย ปำกแคบ แสดงถึงโครงสร้ำงของประชำกรเพม่ิ ข้ึนอยำ่ งชำ้ ๆ พบโครงสร้ำงอำยปุ ระชำกรแบบน้ีไดใ้ น ประเทศสหรัฐอเมริกำ แบบ ค. พรี ะมิดรูประฆงั ควำ่ แสดงถึงโครงสร้ำงประชำกรขนำดคงท่ี พบโครงสร้ำงอำยุ ประชำกรแบบน้ีไดใ้ นประเทศสเปน แบบ ง. พรี ะมิดรูปดอกบงั ตูม แสดงโครงสร้ำงของประชำกำรลดลง พบโครงสร้ำงอำยุ ประชำกรแบบน้ีไดใ้ นประเทศเยอรมนั

สิ่งแวดล้อม(Environment) หมำยถึง ทุกสิ่งทุกอยำ่ งที่อยรู่ อบตวั เรำ ท้งั ท่ีเป็นส่ิงท่ีเรำ สำมำรถสมั ผสั ไดด้ ว้ ยกำยสมั ผสั เช่น คน สตั ว์ ส่ิงของ และ สมั ผสั ไดด้ ว้ ยควำมรู้สึกนึกคิดหรือจิตสมั ผสั เช่น ขนบธรรมเนียม ประเพณี ประสบกำรณ์ วฒั นธรรม ควำมสวยงำม ควำม ดี ควำมชว่ั ควำมถูกตอ้ ง เหล่ำน้ีลว้ นแต่เป็นสิ่งแวดลอ้ ม ท่ี มนุษยท์ ุกคนจะตอ้ งพบเห็นและสมั ผสั รับรู้อยทู่ ุกวนั

สิ่งแวดลอ้ มทาง สิ่งแวดลอ้ มที่ ธรรมชาติ มนุษยส์ รา้ งข้ึน สิ่งแวดลอ้ มท่ีมี ส่ิงแวดลอ้ มที่ สิ่งแวดลอ้ ม ทาง ส่ิงแวดลอ้ ม ทาง ชีวิต ไม่มีชีวิต เช่น ดิน น้า แร่ กายภาพ สงั คม เช่น พืช สตั ว์ ธาตุ อากาศ แสงแดด เช่น เคร่ืองมือ เช่นศาสนา เครื่องใช้ ขนบธรรมเนียม ส่ิงก่อสรา้ ง ประเพณี

ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resource) หมำยถึง สิ่งต่ำง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเองตำมธรรมชำติและ มนุษย์ สำมำรถนำมำใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น บรรยำกำศ ดิน น้ำ ป่ ำไม้ ทุ่งหญำ้ สตั วป์ ่ ำ แร่ธำตุ พลงั งำน และ กำลงั แรงงำนมนุษย์ เป็นตน้ ซึ่งแบ่งตามลกั ษณะและการใช้ประโยชน์ เป็ น 3 ประเภท ดงั นี้

1. ทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ช้แล้วดม่หมดสิ้น ทรัพยำกรธรรมชำติประเภทน้ีมีอยู่ อยำ่ งมำกมำย มนุษยน์ ำมำใชไ้ ดอ้ ยำ่ งไม่ รู้จกั หมดสิ้น ทรัพยำกรเหล่ำน้ี ไดแ้ ก่ อำกำศ แสงแดด ทรำย

2. ทรัพยำกรธรรมชำติที่ใชแ้ ลว้ สำมำรถทดแทนได้ ทรัพยำกรธรรมชำติประเภทน้ีเมื่อใชแ้ ลว้ สำมำรถเกิดข้ึนทดแทนใหม่ได้ ท้งั ในระยะเวลำส้นั ๆ หรือในระยะเวลำท่ียำวนำน ทรัพยำกร เหล่ำน้ี ไดแ้ ก่ ดิน น้ำ ป่ ำไม้ ทุ่งหญำ้ สตั วป์ ่ ำ

3. ทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ช้แล้วหมดดป เป็นทรัพยำกรธรรมชำติท่ีมีอยอู่ ยำ่ งจำกดั มนุษยใ์ ชแ้ ลว้ จะหมดไปไม่สำมำรถสร้ำง ทดแทนใหม่ได้ หรือตอ้ งใชร้ ะยะเวลำนำนมำก ไดแ้ ก่ แร่ธำตุ ถ่ำนหิน นำ้ มนั แก๊ส ธรรมชำติ เป็นทรัพยำกรที่มนุษย์ นำมำใชส้ ร้ำงสิ่งอำนวยควำมสะดวกสบำย เช่น รถยนต์ เครื่องบิน

ความสาคญั ของส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ มและทรัพยำกรธรรมชำติที่จำเป็นและมี ควำมสำคญั ต่อกำรดำรงชีวติ ของส่ิงมีชีวติ มีดงั น้ี 1. แสงสวำ่ ง (lighting) มีควำมสำคญั ต่อพชื และสตั ว์ พืชมีคลอโรฟิ ลด์ ซ่ึงเมื่อไดร้ ับพลงั งำนแสงจำกดวงอำทิตยจ์ ะ นำไปเป็นพลงั งำนในกระบวนกำรสงั เครำะห์ ดว้ ยแสง พชื แต่ละชนิดตอ้ งกำรปริมำณ แสงแดดแตกต่ำงกนั เช่น ตน้ มะลิตอ้ งกำรแสง ปริมำณมำก แต่ตน้ พลูด่ำงตอ้ งกำรแสงปริมำณ นอ้ ย สตั วท์ ่ีอำศยั อยใู่ นบริเวณ ที่มีพชื ดงั กล่ำว จึงมีควำมตอ้ งกำรแตกต่ำงกนั

2. อณุ หภมู ิ (temperature) ส่ิงมีชีวติ ส่วนใหญ่ดำรงชีวติ อยำ่ งปกติ ในช่วงอุณหภูมิประมำณ 10-30 ๐C ในระบบนิเวศท่ีมีอุณหภูมิสูงมำก มีสตั วอ์ ำศยั อยนู่ อ้ ยท้งั จำนวน ชนิด และปริมำณ เช่น ระบบนิเวศทะเลทรำย มีอูฐ นกกระจอกเทศ แมลง และงูบำงชนิด พืชที่ข้ึนในทะเลทรำย ใบจะเปล่ียนไปเป็นหนำมเพอื่ ลดอตั รำ กำรคำยนำ้ เช่น ตน้ กระบองเพชร กำรงอกของเมลด็ พืชจะงอกไดด้ ีท่ีอุณหภูมิเหมำะสม คือ ประมำณ 20-40 องศำเซลเซียส ส่วนบริเวณข้วั โลก มีสตั วอ์ ำศยั อยนู่ อ้ ย 33. ดิน (soil) เกิดจำกกำรยอ่ ยสลำยผพุ งั ของหิน กบั อินทรียวตั ถุ ก่อใหเ้ กิดกำรเปล่ียนแปลง ตำมธรรมชำติท่ี ตอ้ งอำศยั เวลำนำนจนกลำยเป็น เน้ือดิน มนุษยใ์ ชป้ ระโยชน์จำกดินหลำยดำ้ น เช่น ใชเ้ ป็น แหล่งเพำะปลูก เล้ียงสตั ว์ เพอ่ื ผลิตอำหำร ในกำรดำรงชีวติ หรือเพำะปลูกพชื ไวป้ ระดบั ตกแต่ง ใหส้ วยงำม ใหร้ ่มเงำ เนื่องจำกดินเป็นที่ยดึ เกำะ ของรำกพชื เป็นแหล่งของนำ้ และธำตุอำหำร ท่ี จำเป็นต่อกำรเจริญเติบโตของพืช นอกจำกน้ีมนุษยย์ งั ใชด้ ินเป็นแหล่งสำหรับก่อสร้ำงที่อยู่ อำศยั อำคำร วดั ถนน ตลอดจนสำธำรณูปโภคต่ำงๆ

4. นา้ (water) เป็นแหล่งกำเนิดของส่ิงมีชีวติ ต่ำงๆ มนุษยใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ำกนำ้ สะอำดเพอ่ื ด่ืม ประกอบ อำหำร ใชน้ ำ้ ในกำรชำระลำ้ งร่ำงกำย ส่ิงของ อำคำร บำ้ นเรือนและสถำนที่ต่ำงๆ ใชน้ ้ำ ใน กระบวนกำรผลิตในโรงงำนอุตสำหกรรม กำรเกษตรกรรม เป็นแหล่งเพำะพนั ธุส์ ตั วน์ ้ำ ต่ำงๆ ท่ีเป็นอำหำรของมนุษย์ ใชน้ ำ้ เป็นเสน้ ทำงคมนำคมขนส่ง นอกจำกน้ียงั ใชน้ ำ้ เป็น แหล่งพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ 5. อำกำศ (air) มีควำมสำคญั และจำเป็นอยำ่ งยงิ่ ต่อกำรดำรงชีวติ ของส่ิงมีชีวติ ทุกชนิด สิ่งมีชีวติ ทุกชนิดตอ้ งใชอ้ อกซิเจนจำกอำกำศในกำรหำยใจ เพื่อเผำผลำญสำรอำหำรให้ เป็นพลงั งำน เน่ืองจำกพืชตอ้ งใชแ้ ก๊สคำร์บอนไดออกไซดใ์ นกระบวนกำรสงั เครำะห์ ดว้ ยแสง อำกำศจึงจำเป็นต่อกระบวนกำรสงั เครำะห์ดว้ ยแสงของพชื นอกจำกน้ีอำกำศ ยงั ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกใหเ้ หมำะสม ต่อกำรดำรงชีวติ ของสิ่งมีชีวติ และยงั ช่วยปู องกนั รังสีและอนุภำคต่ำงๆ จำกนอกโลกไม่ใหต้ กลงสู่พ้ืนโลก ซ่ึงอำจเป็นอนั ตรำยต่อ ส่ิงมีชีวติ ต่ำงๆ

6. แร่ธาตุและแก๊ส (minerals and gas) แร่ธำตุท่ีอยใู่ นดินมีผลต่อกำรเจริญเติบโตของพืช สตั วบ์ ำงชนิดกินแร่ธำตุในดิน เพอ่ื กำร ดำรงชีวติ แร่ธำตุและแก๊สท่ีสำคญั ไดแ้ ก่ ออกซิเจน ไนโตรเจน คำร์บอน ฟอสฟอรัส โซเดียม และโพแทสเซียม ในระบบนิเวศท่ีต่ำงกนั จะมีปริมำณแร่ธำตุต่ำงกนั ปริมำณแร่ ธำตุที่เหมำะสม จะช่วยใหส้ ิ่งมีชีวติ เจริญเติบโตไดด้ ี แต่บำงคร้ังถำ้ มีแร่ธำตุมำกเกินไป จะมีผลไปทำทำลำยสิ่งมีชีวติ ชนิดน้นั เช่น ในทะเลสำบบำงแห่ง มีแร่ธำตุโคบอลมำก เกินไป ทำใหแ้ พลงกต์ อนพชื หยดุ กำรเจริญเติบโตและไม่สำมำรถแพร่พนั ธุไ์ ด้ 7. ป่ าดม้ (forest) มีควำมสำคญั ต่อส่ิงมีชีวติ เพรำะป่ ำไมเ้ ป็นแหล่งวตั ถุดิบของปัจจยั ส่ี นำเห็ด หน่อไม้ น้ำผ้งึ มำเป็นอำหำร น้ำสมุนไพรมำใชร้ ักษำโรค นำเสน้ ใยจำกพืชมำทำเส้ือผำ้ เครื่องนุ่งห่ม นำไมม้ ำก่อสร้ำงบำ้ นเรือน ป่ ำไมเ้ ป็นแหล่งกำเนิด ตน้ นำ้ ลำธำร ทำให้ เกิดควำมชุ่มช้ืนและควบคุมสภำพอำกำศ เป็นแหล่งพกั ผอ่ นปูองกนั กำรกดั เซำะ และ พดั พำหนำ้ ดิน จำกนำ้ ฝนและลมพำยุ นอกจำกน้ียงั ช่วยรักษำสมดุลของส่ิงแวดลอ้ ม

8. สตั วป์ ่ า (Wild animal) มีประโยชนม์ ากมาย สามารถเป็นแหลง่ ศึกษาหาความรู้ เป็นแหลง่ อาหาร ยา รกั ษาโรค หรือสตั วป์ ่าบางชนิดมนุษย์ สามารถนามาฝึกหดั ใหร้ ูจ้ กั อยูใ่ นบา้ นและทางาน ใหแ้ กม่ นุษย์ เชน่ ชา้ งป่านามาเล้ียงไวเ้ พ่ือลากซุง ควายป่า นามาเล้ียงเพ่ือไถนา

ปัญหามลพษิ ส่ิงแวดล้อม มลพษิ ทางนา้ มลพิษทำงน้ำ หมำยถึง สภำวะที่นำ้ ตำมธรรมชำติถูกปนเป้ื อนดว้ ย ส่ิงแปลกปลอม และทำใหค้ ุณภำพของนำ้ เปลี่ยนแปลงไปในทำงท่ีเลวลงหรือคุณภำพเสื่อมโทรมลง ส่งผลใหก้ ำรใชป้ ระโยชนจ์ ำกนำ้ น้นั ลดลงหรืออำจใชป้ ระโยชน์ไม่ไดเ้ ลย ซ่ึงมี แหล่งกำเนิดที่สำคญั ดงั น้ี 1. ชุมชนและบ้านเรือนทอ่ี ยู่อาศัย 2. โรงงานอุตสาหกรรม 3. เกษตรกรรม

มลพษิ ทางดนิ มลพิษทำงดิน หมำยถึง สภำวะกำรปนเป้ื อนของดินดว้ ยสำรมลพิษมำก เกินขีดจำกดั จน มีอนั ตรำยต่อสุขภำพอนำมยั ตลอดจนกำรเจริญเติบโต ของมนุษยแ์ ละสิ่งมีชีวติ ท้งั พืช และสตั ว์ ซ่ึงตน้ เหตุของกำรเกิดมลพษิ ทำงดิน มีหลำยกรณี ไดแ้ ก่ 1. เกิดจำกปฏิกิริยำชีวเคมีในดิน 2. เกดิ จากป๋ ยุ เคมี ธาตุป๋ ุย หรือธาตุอาหารของพืช 3. เกดิ จากการใช้วตั ถุมพี ษิ ทางการเกษตร

มลพษิ ทางเสียง มลพิษทำงเสียง หมำยถึง สภำวะท่ีมีเสียงดงั เกินปกติหรือเสียงดงั ต่อเนื่องยำวนำนจน ก่อใหเ้ กิดควำมรำคำญหรือเกิดอนั ตรำยต่อระบบกำรไดย้ นิ ของมนุษย์ และหมำย รวมถึงสภำพแวดลอ้ มท่ีมีเสียงรบกวนทำใหเ้ กิดควำมเครียดท้งั ทำงร่ำงกำยและจิตใจ เช่น เสียงดงั มำก เสียงต่อเน่ืองยำวนำน ไม่จบสิ้น สำนกั งำนคณะกรรมกำรสิ่งแวดลอ้ มแห่งชำติไดก้ ำหนดค่ำระดบั เสียงในยำ่ นท่ีอยอู่ ำศยั ในเวลำกลำงวนั และกลำงคืนไวว้ ำ่ ไม่ควรเกิน 60 เดซิเบลและ 55 เดซิเบล ตำมลำดบั สำหรับ ค่ำระดบั เสียงท่ีประกำศโดยพนกั งำนจรำจรทวั่ รำชอำณำจกั รอนั เกิดจำก เครื่องยนต์ หรือส่วนหน่ึงส่วนใดของเครื่องยนตใ์ นสภำพปกติคือ ไม่เกิน 75 เดซิเบล เม่ือวดั ระดบั เสียงดว้ ยเครื่องวดั เสียง ในระยะห่ำง 7.5 เมตรโดยรอบรถ ควำมดงั ของเสียง ที่เกิดข้ึนจะมำกหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ชนิดของยำนพำหนะ เสียงจำกยำนพำหนะที่ก่อใหเ้ กิด มลพิษทำงเสียงส่วนใหญ่มำจำกบริเวณ ท่ีมีกำรจรำจรหนำแน่น

มลพษิ ทางอากาศ มลพษิ ทำงอำกำศ หมำยถึง ภำวะของอำกำศท่ีมีสำรเจือปนอยใู่ นปริมำณที่มำกพอ และ เป็นระยะเวลำนำนพอที่จะทำใหเ้ กิดผลเสียต่อชีวอนำมยั ของมนุษย์ สตั วพ์ ืช และวสั ดุ ต่ำงๆ สำเหตุของกำรเกิดมลพิษทำงอำกำศ ไดแ้ ก่ 1. เกิดข้ึนเองตำมธรรมชำติ เช่น หมอกควนั จำกไฟป่ ำฝ่ นุ ละอองจำกลมพำยุ เถำ้ ถ่ำน จำก ภูเขำไฟปะทุ แก๊สพิษท่ีเกิดจำกปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติต่ำงๆ 2. เกิดจำกกำรกระทำของมนุษย์ เช่น มลพษิ จำกท่อไอเสียรถยนต์ ยำฆ่ำแมลง โรงงำน อุตสำหกรรม หรือสำรกำจดั ศตั รูพชื ท่ีใชฉ้ ีดพน่ ทำงกำรเกษตร แก๊สท่ีเกิดจำกกำรหมกั ป๋ ุย ของเสีย และขยะมูลฝอย

การใช้ทรัพยากรธรรมชาตกิ บั การอนุรักษ์ 1. การอนุรักษ์ทรัพยากรดนิ แนวทางการอนุรักษ์ ทาดด้ดงั นี้ 1) กำรสงวนรักษำปุำไมเ้ พอ่ื ปูองกนั กำรพงั ทลำยของหนำ้ ดิน 2) กำรรักษำแร่ธำตุในดินดว้ ยกำรปลูกพชื หมุนเวยี นและใชป้ ๋ ุยอินทรียไ์ ม่ใชป้ ๋ ุยเคมี มำกเกินไป 3) ปูองกนั กำรสึกกร่อนและกำรพงั ทลำยของดินดว้ ยกำรปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืช แบบข้นั บนั ได และกำรปลูกพชื ทดแทน 4) กำรปลูกพชื แบบไร่นำสวนผสม ไดแ้ ก่ กำรปลูกไมย้ นื ตน้ ควบคู่กบั กำรปลูกพืช ท่ีใชเ้ ป็น อำหำรสตั วแ์ ละกำรเล้ียงสตั ว์ 5) กำรไม่ขดุ หนำ้ ดินขำยและไม่เผำหญำ้ หรือเผำพืชในไร่นำ ควรนำหญำ้ หรือพชื มำทำป๋ ุยเพอื่ คืน แร่ธำตุกลบั สู่ธรรมชำติใหพ้ ืชไดน้ ำไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป

2. การอนุรักษ์ทรัพยากรนา้ ปัจจุบนั มนุษยน์ ำน้ำมำใชป้ ระโยชนใ์ นดำ้ นต่ำงๆ มำกมำยท้งั อุปโภค บริโภค กำรเกษตร และกำรอุตสำหกรรม กำรไม่รู้จกั รักษำแหล่งน้ำใหส้ ะอำด ประกอบกบั ฝนตก นอ้ ย และภำวะฝน ทิ้งช่วงเกิดข้ึนบ่อยๆ มีผลกระทบทำใหข้ ำดแคลนน้ำ การอนุรักษ์น้า ทาดด้ดงั นี้ 1) สงวนรักษำป่ ำไม้ เน่ืองจำกป่ ำไมเ้ ป็นตน้ กำเนิดของแม่นำ้ ลำธำร 2) จดั ระบบกำรชลประทำนในกำรเกบ็ นำ้ และจ่ำยนำ้ ไปยงั พ้นื ที่กำรเกษตรอยำ่ งเพียงพอ 3) กำรรักษำแหล่งนำ้ ใหส้ ะอำดอยเู่ สมอ ไม่ทิ้งขยะหรือสำรเคมีลงในแหล่งน้ำ 4) กำรบำบดั น้ำเสียจำกโรงงำนอุตสำหกรรมหรือ น้ำทิ้งจำกชุมชนก่อนปล่อยลงในแหล่งน้ำ 5) กำรใชน้ ำ้ อยำ่ งประหยดั และคุม้ ค่ำ

3. การอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าดม้ การอนุรักษ์ป่ าดม้ ทาดด้ดงั นี้ 1) กำหนดใหพ้ ้ืนท่ีป่ ำไมท้ ำงธรรมชำติที่เหลืออยเู่ ป็นป่ ำเพื่อกำรอนุรักษ์ เช่น เขตป่ ำสงวน อทุ ยำนสวนรุกขชำติ 2) ปูองกนั ไม่ใหเ้ กิดไฟป่ ำ โดยสร้ำงแนวกนั ไฟและแนวควบคุมไฟรอบๆ ป่ ำและกำหนด บทลงโทษผทู้ ่ีก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อชุมชน 3) ปลูกป่ ำทดแทนในพ้ืนที่ป่ ำเสื่อมโทรม สร้ำงสวนป่ ำเพ่อื เพม่ิ ผลผลิตป่ ำไม้ 4) เพิม่ มำตรกำรปูองกนั และปรำบปรำมผบู้ ุกรุกป่ ำ

4. การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่ า สตั วป์ ่ ำมีประโยชน์ต่อส่ิงแวดลอ้ มซ่ึงรวมถึงมนุษยด์ ว้ ยท้งั โดยทำงตรงและทำงออ้ ม จึง ตอ้ งมีวธิ ีกำรปูองกนั และแกไ้ ขไม่ใหส้ ตั วป์ ่ ำลดจำนวนหรือสูญพนั ธุ์ การอนุรักษ์สัตว์ป่ า ทาดด้ดงั นี้ 1) ออกกฎหมำยคุม้ ครองสตั วป์ ่ ำ เช่น เขตหำ้ มล่ำสตั วป์ ่ ำ 2) กำหนดเขตอนุรักษพ์ นั ธุส์ ตั วป์ ่ ำรณรงคเ์ ผยแพร่ ประชำสมั พนั ธ์ใหเ้ ห็นควำมสำคญั ในกำรอนุรักษส์ ตั วป์ ่ ำอยำ่ งจริงจงั 3) ขยำยพนั ธุ์สตั วป์ ่ ำใหม้ ีจำนวนเพิ่มข้ึน โดยเฉพำะสตั วป์ ่ ำที่กำลงั จะสูญพนั ธุ์ หรือมีจำนวนนอ้ ยลง

หลกั การพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยงั่ ยืน การพฒั นาส่ิงแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งยง่ั ยืน ประกอบดว้ ย 2 หลกั การ คือ 1. การป้องกนั รกั ษา การพยายามทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงกบั ทรพั ยากรธรรมชาตินอ้ ยท่ีสดุ หรือไม่ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงข้ึนเลย ซ่ึงวิธีการปอู ง กนั รกั ษามีทงั้ แบบเด็ดขาด เช่น การจบั กมุ ผกู้ ระทาความผิด และแบบค่อยเป็ นค่อย ไป เช่น การใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม การรณรงคแ์ ละ ปลูกจิตสานึกใหท้ ุกคนรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม

หลกั การพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยงั่ ยืน 2. การจดั การ เมื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาตใิ ห้คงอยู่ดด้แล้ว จะต้องดม่ทาให้ เกดิ ความสูญเสียดด้อกี โดยจะต้องมกี ารจดั การใช้ทรัพยากรธรรมชาตนิ ้ัน อย่างถูกวธิ ีและเป็ น ระบบ ซึ่งสามารถทาดด้ ดงั นี้ 1) การฟื้ นฟูและปรับปรุงคุณภาพ ทรัพยากรบางประเภทเม่ือใช้แล้วอาจมสี มบตั เิ ปลย่ี นดป ดม่ เหมาะจะนามาใช้ต่อ การปรับปรุงและฟื้ นฟูคุณภาพให้ดขี นึ้ จะทาให้สามารถ นากลบั มาใช้ ประโยชน์ดด้อกี คร้ัง เช่น การบาบัดน้าเสีย การใส่ป๋ ุยบารุงดนิ 2) การใช้ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด การเลือกใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้ถูกประเภทถูกวธิ ี จะทาให้ดด้ ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างเต็มที่ อกี ท้งั การใช้ทรัพยากรอาจก่อให้เกดิ ผลพลอยดด้ ซึ่ง สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อดด้อกี แทนทจี่ ะทงิ้ ดป ถือดด้ว่าเป็ นการใช้พาหนะอย่างคุ้มค่า และ ช่วยลดการสูญเสียทรัพยากรทม่ี อี ยู่อย่างจากดั เช่น นาขเี้ ลื่อยมาอดั เป็ นก้อนหรือแท่ง เพื่อนา ดปทาเฟอร์นิเจอร์แทนดม้แผ่น

หลกั การพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยงั่ ยืน 3) การใช้ซ้า เป็ นการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรอย่างคุ้มค่า อกี ท้งั ยงั เป็ นการช่วย ลด ปริมาณของเสียที่จะเกดิ ขึน้ จากการใช้คร้ังเดยี วและทงิ้ ดป 4) นากลบั มาใช้ใหม่ การนาวสั ดุเหลือทงิ้ มาใช้ใหม่ โดยผ่านกระบวนการแปรสภาพ ซ่ึง วธิ ีการนีจ้ ะช่วยลดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากร 5) การใช้ส่ิงอ่ืนทดแทน เช่น ใช้เส้นใยสังเคราะห์แทนขนสัตว์ ใช้พลาสติกแขง็ แทนดม้ ใช้พลงั งานแสงอาทติ ย์แทนน้ามนั เชื้อเพลงิ

การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณำ พระรำชทำน เป็นที่มำของนิยำม 3 ห่วง 2 เง่ือนไขที่คณะอนุกรรมกำรขบั เคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพยี ง สำนกั งำนคณะกรรมกำรพฒั นำกำรเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำตินำมำใชใ้ นกำร รณรงคเ์ ผยแพร่ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งผำ่ นช่องทำงต่ำงๆ อยใู่ นปัจจุบนั ซ่ึง ประกอบดว้ ย ควำมพอประมำณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กนั บนเงื่อนไขควำมรู้และคุณธรรม ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กำรใชท้ รัพยำกรธรรมชำติตำมแนวทำงปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพียง คือ กำรใชท้ รัพยำกรธรรมชำติอยำ่ ง พอประมำณ ไม่มำกเกินไป และไม่นอ้ ยเกินไป ใช้ เท่ำท่ีจำเป็น เป็นกำรประหยดั และอนุรักษ์ ทรัพยำกรธรรมชำติ เพ่อื ใหท้ รัพยำกรธรรมชำติมีใชไ้ ด้ ต่อไปในอนำคต



รูปแรกและรูปที่สอง เป็นภำพโครงสร้ำงประชำกรเมื่อปี ค.ศ.1960 และ 1980 จะเห็นได้ วำ่ มีลกั ษณะคลำ้ ยรูปทรงปี รำมิด ลกั ษณะประชำกรกำลงั ขยำยตวั แต่ละครอบครัวจะมี บุตรมำกกวำ่ 2 คน ทำใหช้ ่วงประชำกรวยั เดก็ (ช่วงอำยุ 0-4 5-9 และ 10-14 ปี ) จะมี มำกกวำ่ ช่วงอำยทุ ่ีสูงข้ึนมำ

รูปต่อมำ ปี 2000 จะเห็นไดว้ ำ่ โครงสร้ำงประชำกรเปลี่ยนไป จำนวนบุตรเกิดใหม่ต่อพอ่ แม่ ลดลง มำใกลเ้ คียง 1:1 วยั ทำงำน (15-59 ปี ) เพิ่มมำกข้ึน

ในอนำคตอยำ่ งปี 2020 โครงสร้ำงประชำกรจะเปล่ียนไปเป็นรูปทรงตุ่มตำมรูปดำ้ นล่ำง เพรำะ ผสู้ ูงอำยมุ ีอำยยุ นื ยำวมำกข้ึน สวนทำงจำนวนเดก็ ที่เพม่ิ ข้ึนในอตั รำท่ีนอ้ ยลง





เอกสำรอำ้ งอิง https://km.nssc.ac.th/files/1706121515273362_1812250991102.ppt


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook