98 โครงสร้างรายวิชา รายวชิ าคณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค23102 เวลารวม 60 ชว่ั โมง พื้นฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 หนว่ ย ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา สัดสว่ น ท่ี เรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน /ตัวชวี้ ดั 10 1 สถติ ิ ค3.1ม3/1 - ขอ้ มูลและการนำเสนอข้อมูล 10 15 - คา่ กลางของข้อมลู 10 15 2 ฟังก์ชันกำลงั สอง ค1.2 ม3/2 - สมการของพาลาโบลาที่กำหนด 15 10 ด้วยสมการ y = ax2 เม่อื a 0 10 60 - พาลาโบลาท่กี ำหนดด้วย สมการ y = ax2 + k เม่อื a 0 - พาลาโบลาท่ีกำหนดดว้ ย สมการ y = a (x − )h 2 + k เม่อื a 0 - สมการของพาลาโบลาท่ีกำหนด ดว้ ยสมการ y = ax2 + bx + c เมื่อ a 0 3 ความคล้าย ค2.2 ม3/1 - รปู เรขาคณติ ที่คล้ายกนั 10 - รูปสามเหลย่ี มทค่ี ลา้ ยกนั - การนำไปใช้ 4 อตั ราสว่ นตรโี กณมิติ ค2.2 ม3/2 - ทกั ษะและกระบวนการทาง 15 คณิตศาสตร์กบั ตรีโกณมติ ิ 5 วงกลม ค2.2 ม3/3 - วงกลม 10 - มมุ ที่จุดศนู ย์กลางและมุมใน ส่วนโค้งของวงกลม - คอรด์ - เส้นสัมผัสวงกลม คะแนนทดสอบกลางภาค รวมคะแนนระหว่างเรียน
99 30 100 คะแนนทดสอบปลายภาค รวมท้งั หมด
100 แนวการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติในการพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณสมบตั ติ ามเป้าหมายหลกั สูตร โดยการคัดสรรกระบวนการเรยี นรู้ จดั การเรยี นรู้เพื่อชว่ ยให้ผู้เรยี นเรียนรู้ ผ่านสาระท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ พฒั นาทักษะตา่ งๆ อันเปน็ สมรรถนะสำคญั เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นบรรลุตามเป้าหมาย ดงั น้ี 1. หลกั การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้จดั ให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะ สำคัญ และคุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามท่ีกำหนดไวใ้ นหลกั สูตรของโรงเรียนบา้ นทุ่งนุ้ย “มิตรภาพท่ี 49” โดยยดึ หลกั ดังนี้ 1.1. ผูเ้ รยี นมีความสำคญั ทสี่ ดุ 1.2. เช่อื วา่ ทกุ คนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ 1.3. ยดึ ประโยชน์ทีเ่ กดิ กบั ผเู้ รยี น 1.4. สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ 1.5. คำนึงถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและพฒั นาการทางสมอง 1.6. เน้นใหค้ วามสำคัญทงั้ ความรู้ และคณุ ธรรม 2. กระบวนการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ กระบวนการเรียนร้ทู ี่จำเป็นสำหรับผ้เู รยี น ดงั น้ี 2.1. กระบวนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ 2.2. กระบวนการสร้างความรู้ 2.3. กระบวนการคิด 2.4. กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปญั หา 2.5. กระบวนการปฏิบตั ิ ลงมือทำจริง 2.6. กระบวนการจดั การ 2.7. กระบวนการเรยี นรู้ของตนเอง 2.8. กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ครูผสู้ อนออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้วี ดั สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรียนรูท้ ่เี หมาะสมกับผู้เรียน โดยเลือกใช้วิธีสอนและ เทคนคิ การสอน สือ่ /แหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ ัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและ บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด ในหลกั สูตรสถานศกึ ษา 4. บทบาทของผสู้ อนและผู้เรยี น
101 4.1 บทบาทผ้สู อน ในการจดั การเรียนรู้ ผู้สอนควรปรบั บทบาทของตนเอง ดงั นี้ 4.1.1 ผ้สู อนเปน็ ผู้จัดทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ กำหนดบรบิ ทของการเรียนรใู้ หผ้ ู้เรียนใช้ ความคิดให้ซับซ้อนย่ิงขน้ึ กำหนดให้ผู้เรยี นเหน็ ปัญหาทมี่ ีขอบเขตกวา้ งขวาง กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นเหน็ วา่ ปญั หา นั้นเปน็ ปญั หาของเขา 4.1.2 จดั บรรยากาศการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมโดยควบคุมกระบวนการการเรียนรใู้ ห้ บรรลุเป้าหมายตามท่ีกำหนดไว้ 4.1.3 เปน็ ผูช้ แ้ี นะไม่ใช่ช้ีนำ แสดงความคิดเหน็ และใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชน์แก่ ผูเ้ รยี นตามโอกาสท่ีเหมาะสม (ตอ้ งคอยสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ของผเู้ รียนและบรรยากาศการเรียนที่ เกิดขนึ้ อยู่ตลอดเวลา) 4.1.4 เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นรู้จกั สงั เกต มีส่วนรว่ มในกิจกรรมการเรยี นโดยทว่ั ถึงกัน ตลอดจนรบั ฟงั และสนบั สนุนสง่ เสรมิ ใหก้ ำลังใจแกผ่ ูเ้ รยี น ยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผเู้ รียน ยอมรบั ความ แตกต่างระหว่างบุคคล 4.1.5 มีปฏิสมั พนั ธท์ ด่ี กี ับผเู้ รียนทำให้บรรยากาศในการเรยี นการสอนเกิดความเปน็ กนั เองและมีความเปน็ มิตรท่ีดีตอ่ กัน คอยช่วยแก้ปัญหาใหผ้ เู้ รียนครูจึงควรมคี วามเปน็ มติ ร 4.1.6 ชว่ ยเชอื่ มโยงความคิดเหน็ ของผเู้ รยี นและสรปุ ผลการเรียนรู้ตลอดจนส่งเสรมิ และนำทางให้ผเู้ รียนไดร้ วู้ ธิ ีวเิ คราะห์พฤติกรรมการเรยี นรเู้ พื่อผู้เรยี นจะได้นำไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ได้ 4.1.7 การจัดเวลาสอนควรจดั ใหย้ ืดหย่นุ เหมาะสมกับเวลาที่ใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมือปฏิบัติ กิจกรรมผสู้ อนต้องพยายามเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นได้ลงมอื ปฏบิ ัติกจิ กรรมภายในเวลาที่เหมาะสมไม่มากหรือ น้อยไป 4.2 บทบาทผเู้ รียน ผเู้ รยี นควรมบี ทบาทในการจัดการเรยี นรู้ดังนี้ 4.2.1 ผู้เรยี นจะมบี ทบาทเป็นผปู้ ฎบิ ตั ิและสร้างความรู้ไปพรอ้ มๆกนั 4.2.2 มีปฏสิ มั พันธ์กบั ผู้เรียนดว้ ยกันโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ยอมรับความคดิ เห็นของผู้อ่ืน ฝึกความเป็นผนู้ ำและผู้ตามท่ีดี 4.2.3 มีความกระตอื รือร้นในการเรียนรู้มีความยนิ ดรี ่วมกจิ กรรมทุกคร้ังด้วยความ สมคั รใจ 4.2.4 เรียนรไู้ ด้เองกลา้ แสดงออก กลา้ เสนอความคิดอย่างสรา้ งสรรค์รูจ้ ักแสวงหา ความรจู้ ากแหล่งความรู้ต่างๆท่ีมีอยู่ด้วยตนเอง 4.2.5 ตัดสนิ ปัญหาต่างๆอย่างมีเหตผุ ลเคารพกตกิ าทางสงั คม รบั ผิดชอบต่อส่วนรวม 4.2.6 มีความสามารถในการเช่ือมโยงความรเู้ ดมิ เข้ากับความรใู้ หม่ มผี ลงานท่ี สร้างสรรค์ 4.2.7 วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมของตนเองและผู้อนื่ ได้
มอบหมาย 102 4.2.8 ให้ความช่วยเหลือกันและกันรู้จกั รบั ผดิ ชอบงานท่ตี นเองทำอยู่และที่ไดร้ ับ 4.2.9 นำสิง่ ทเี่ รียนรูไ้ ปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชวี ติ จรงิ ได้ 4.2.10 มเี จตนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ รักการอ่าน กล้าซักถาม 4.2.11 มกี ารบันทึกความรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ สามารถนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ได้
103 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เป็นการวัดและประเมินผลท่ีอยู่ใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนดำเนนิ การเปน็ ปกตแิ ละสม่ำเสมอ ใช้วิธกี ารที่หลากหลายตามสภาพจริงให้ สอดคล้องกับเน้ือหาและทักษะท่ีต้องการวัด ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพอ่ื น หรอื ผ้ปู กครองรว่ มประเมนิ เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรยี น ในการวัดและประเมินผลการเรียน เพื่อตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยมรี ายละเอียดดังนี้ 1. กำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายปี/ปลายภาค โดยให้ความสำคัญของ คะแนนระหวา่ งเรยี นมากกวา่ คะแนนปลายปี/ปลายภาค เปน็ 70:30 2. กำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน โดยกำหนดเป็นระดับผลการเรียน หรือระดับคุณภาพการ ปฏิบตั ิของผู้เรียนเป็นระบบตัวเลข ระดับผลการเรียน 8 ระดับ และกำหนดเงื่อนไขตา่ ง ๆ ของผลการเรยี น เชน่ การประเมนิ ท่ยี งั ไม่สมบูรณ์ (ร) การไม่มสี ทิ ธเิ ข้ารับการสอบปลายภาค (มส) เป็นต้น 3. มีการสอนซ่อมเสริม เพ่ือการสอบแก้ตัวกรณีผู้เรียนมีระดับผลการเรียน “0” หรือ มีระดับ คุณภาพต่ำกวา่ เกณฑ์และกรณผี ู้เรียนมีผลการเรยี น “ร” หรือ “มส” สื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรยี นรู้ การจดั หาสื่อการเรียนรู้ ผูเ้ รยี นและผสู้ อนจดั ทำและพัฒนาข้นึ เอง และปรับปรงุ เลือกใช้จากสอื่ ตา่ งๆ ท่ีมีอยู่รอบตัวเพอื่ นำมาใช้ประกอบในการจดั การเรียนรู้ทีส่ ามารถส่งเสริมและส่ือสารใหผ้ ู้เรียนเกดิ การ เรยี นรู้ อยา่ งแทจ้ รงิ ดงั นี้ 1. แหลง่ เรยี นรู้ 1.1 แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด ห้องคณิตศาสตร์ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ หอ้ งเรยี น เปน็ ต้น 1.2 แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น ไดแ้ ก่ รา้ นคา้ หา้ งสรรพสินค้า ศูนยก์ ารเรยี นร้ชู ุมชน โบราณสถาน โบราณวตั ถุ เปน็ ตน้ 2. สือ่ การเรียนรู้
104 2.1 สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือแบบเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนังสือแบบฝึกทักษะ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วารสารคณิตศาสตร์ เปน็ ตน้ 2.2 ส่ือวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ บัตรโจทย์ปัญหา บัตรรูปภาพ บัตรประโยคสัญลักษณ์ รูปทรง เรขาคณติ ชนิดตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 2.3 ใบกิจกรรม ใบความรู้ ใบงาน 2.4 สื่อเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ อินเตอร์เนต็ โซเชียลมเี ดยี เป็นต้น
105 ภาคผนวก
106 อภธิ านศพั ท์ การแจกแจงของความนา่ จะเป็น (probability distribution) การอธบิ ายลักษณะของตัวแปรสมุ่ โดยการแสดงคา่ ทเ่ี ปน็ ไปได้ และความน่าจะเป็นของการเกิดค่าตา่ ง ๆ ของตวั แปรสุม่ น้นั การประมาณ (approximation) การประมาณเป็นการหาค่าซ่ึงไม่ใช่ค่าท่ีแท้จริง แต่เป็นการหาค่าที่มีความละเอียดเพียงพอท่ีจะ นำไปใช้ เช่น ประมาณ 25.20 เป็น 25 หรือประมาณ 178 เป็น 180 หรือประมาณ 18.45 เป็น 20 เพ่ือ สะดวกในการคำนวณ ค่าทไี่ ด้จากการประมาณ เรียกว่า ค่าประมาณ การประมาณค่า (estimation) การประมาณคา่ เป็นการคำนวณหาผลลัพธโ์ ดยประมาณ ดว้ ยการประมาณแตล่ ะจำนวนที่เกี่ยวขอ้ ง ก่อนแล้วจึงนำมาคำนวณหาผลลัพธ์ การประมาณแต่ละจำนวนท่ีจะนำมาคำนวณอาจใช้หลักการปัดเศษ หรอื ไม่ใชก้ ไ็ ด้ ข้ึนอยู่กบั ความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation) การแปลงทางเรขาคณิตในท่ีนี้เน้นทั้งการแปลงท่ีทำให้ได้ภาพท่ีเกิดจากการแปลงมีขนาดและรูปร่าง เหมือนกับรูปต้นแบบ ซึ่งเป็นผลจากการเลื่อนขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) และการ หมุน (rotation) รวมทั้งการแปลงที่ทำให้ได้ภาพท่ีเกิดจากการแปลงมีรูปร่างคลา้ ยกับรูปต้นแบบ แตม่ ีขนาด แตกต่างจากรปู ต้นแบบ ซ่งึ เป็นผลมาจากการย่อ/ขยาย (dilation) การสืบเสาะ การสำรวจ และการสรา้ งขอ้ ความคาดการณเ์ กย่ี วกับสมบัติทางเรขาคณติ การสืบเสาะ การสำรวจ และการสร้างข้อความคาดการณ์เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ขึ้นมาด้วยตนเอง ในที่น้ีใช้สมบัติทางเรขาคณิตเป็นส่ือในการเรียนรู้ ผู้สอนควร กำหนดกิจกรรมทางเรขาคณิตท่ีผู้เรียนสามารถใช้ความรู้พ้ืนฐานเดิมที่เคยเรียนมาเป็นฐานในการต่อยอด ความรู้ ดว้ ยการสืบเสาะ สำรวจ สังเกตหาแบบรูป และสร้างข้อความคาดการณ์ที่อาจเป็นไปได้ อย่างไรก็ ตามผูส้ อนต้องให้ผู้เรียนตรวจสอบว่าข้อความคาดการณ์น้ันถูกต้องหรือไม่ โดยอาจค้นคว้าหาความรเู้ พิ่มเติม ว่าข้อความคาดการณ์นั้นสอดคล้องกับสมบัติทางเรขาคณิตหรือทฤษฎีบททางเรขาคณิตใดหรือไม่ ในการ ประเมนิ ผลสามารถพิจารณาได้จากการทำกจิ กรรมของผ้เู รยี น การแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา การแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เป็นการแสดงแนวคิด วิธีการ หรือข้ันตอนของการหา คำตอบของโจทย์ปัญหา โดยอาจใช้การวาดภาพประกอบ เขียนเป็นขอ้ ความดว้ ยภาษาง่ายๆ หรอื อาจเขียน แสดงวิธีทำอย่างเป็นขั้นตอน
107 การหาผลลพั ธข์ องการบวก ลบ คณู หารระคน การหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน เป็นการหาคำตอบของโจทย์การบวก ลบ คูณ หาร ทม่ี เี ครอ่ื งหมาย + - × ÷ มากกว่าหน่งึ เครื่องหมายท่แี ตกตา่ งกนั เช่น (4 + 7) – 3 = (18 ÷ 2) + 9 = (4 × 25) – (3 × 20) = ตัวอย่างตอ่ ไปนี้ ไม่เป็นโจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคน (4 + 7) + 3 = เปน็ โจทยก์ ารบวก 2 ข้นั ตอน (4 × 15) × (5 × 20) = เป็นโจทยก์ ารคูณ 3 ขน้ั ตอน การใหเ้ หตผุ ลเกีย่ วกับปรภิ ูมิ (spatial reasoning) การให้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิในท่ีนี้เป็นการใช้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติต่าง ๆ ของรูป เรขาคณิตและความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต มาให้เหตุผลหรืออธิบายปรากฏการณ์หรือแก้ปัญหาทาง เรขาคณิต ข้อมูล (data) ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงหรือสิ่งท่ียอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงของเร่ืองที่สนใจ ซึ่งได้จากการเก็บรวบรวม อาจเปน็ ได้ทง้ั ข้อความและตวั เลข ความรู้สึกเชิงจำนวน (number sense) ความรู้สึกเชิงจำนวนเป็นสามัญสำนกึ และความเขา้ ใจเกีย่ วกบั จำนวนทอ่ี าจพจิ ารณาในด้านตา่ ง ๆ เชน่ • เข้าใจความหมายของจำนวนที่ใชบ้ อกปริมาณ (เชน่ ดินสอ 5 แท่ง) และใช้บอกอันดบั ท่ี (เชน่ เต้ว่ิง เข้าเสน้ ชัยเป็นคนท่ี 5) • เข้าใจความสัมพนั ธท์ ่หี ลากหลายของจำนวนใด ๆ กับจำนวนอ่นื ๆ เช่น 8 มากกว่า 7 อยู่ 1 แต่นอ้ ยกว่า 10 อยู่ 2 • เขา้ ใจเก่ียวกับขนาดหรือคา่ ของจำนวนใด ๆ เม่ือเปรียบเทียบกับจำนวนอน่ื เช่น 8 มคี ่า ใกล้เคยี งกบั 4 แต่ 8 มีคา่ น้อยกวา่ 100 มาก • เขา้ ใจผลทเ่ี กิดขึ้นจากการดำเนนิ การของจำนวน เชน่ ผลบวกของ 65 + 42 ควรมากกว่า 100 เพราะว่า 65 > 60 42 > 40 และ 60 + 40 = 100 • ใช้เกณฑจ์ ากประสบการณ์ในการเทยี บเคียงเพ่ือพจิ ารณาความสมเหตุสมผลของจำนวน เชน่ การรายงานวา่ ผู้เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 คนหน่ึงสงู 250 เซนติเมตรนน้ั ไม่นา่ จะเป็นไปได้ ความสมั พันธ์แบบสว่ นยอ่ ย – ส่วนรวม (part – whole relationship)
108 ความสมั พนั ธ์แบบส่วนย่อย – สว่ นรวมของจำนวน เปน็ การเขยี นแสดงจำนวนในรูปของจำนวน 2 จำนวนข้ึนไป โดยทผ่ี ลบวกของจำนวนเหล่านนั้ เท่ากบั จำนวนเดิม เชน่ 8 อาจเขียนเป็น 2 กบั 6 หรือ 3 กบั 5 หรอื 0 กับ 8 หรอื 1 กับ 2 กับ 5 ซง่ึ อาจเขยี นแสดงความสมั พันธไ์ ดด้ งั น้ี 88 01 8 82 26 35 8 5 จำนวน (number) จำนวนเป็นคำท่ีไมม่ ีคำจำกัดความ (คำอนยิ าม) จำนวนแสดงถงึ ปรมิ าณของสิ่งต่างๆ จำนวนมี หลายชนดิ เช่น จำนวนนบั จำนวนเตม็ เศษสว่ น ทศนยิ ม จำนวนทีห่ ายไปหรือรปู ที่หายไป จำนวนท่ีหายไปหรือรปู ทหี่ ายไปเปน็ จำนวนหรือรปู ที่เมอ่ื นำมาเติมส่วนทว่ี า่ งในแบบรปู แลว้ ทำให้ ความสมั พันธ์ในแบบรูปนั้นไม่เปล่ียนแปลง เช่น 1 3 5 7 9 ....... จำนวนทห่ี ายไปคือ 11 ∆ ∆ ........ ∆ รปู ที่หายไปคอื ตวั ไมท่ ราบคา่ ตัวไมท่ ราบคา่ เป็นสญั ลกั ษณ์ที่ใช้แทนจำนวนที่ยังไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ซง่ึ ตัวไม่ทราบค่า จะอยูส่ ว่ นใดของประโยคสญั ลกั ษณ์กไ็ ด้ ในระดับประถมศกึ ษา การหาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าอาจหาได้โดยใช้ ความสัมพนั ธ์ของการบวกและการลบ หรือการคูณและการหาร เช่น + 333 = 999 18 × ก = 54 120 = A ÷ 9 789 - 156 = ตวั เลข (numeral) ตัวเลขเป็นสญั ลักษณ์ท่ีใชแ้ สดงจำนวน ตัวอยา่ ง เขยี นตวั เลข แสดงจำนวนมังคุดได้หลายแบบ เชน่ ตัวเลขไทย : 7 ตวั เลขฮินดูอารบิก : 7 ตัวเลขโรมัน : VII ตวั เลขทั้งหมดแสดงจำนวนเดียวกนั แม้วา่ สญั ลกั ษณ์ที่ใชจ้ ะแตกตา่ งกัน
109 ตารางทางเดยี ว (one-way table) ตารางทางเดยี วเป็นตารางท่ีมีการจำแนกรายการตามหัวเร่อื งเพียงลกั ษณะเดียวเทา่ น้นั เช่น จำนวนนักเรยี นของโรงเรียนแห่งหน่งึ จำแนกตามชนั้ ปี จำนวนนกั เรยี นของโรงเรียนแห่งหน่ึงจำแนกตามชัน้ ปี ชนั้ จำนวน(คน) ประถมศึกษาปที ่ี 1 65 ประถมศึกษาปีท่ี 2 70 ประถมศึกษาปีท่ี 3 69 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 62 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 72 ประถมศึกษาปีท่ี 6 60 รวม 398 ตารางสองทาง (two-way table) ตารางสองทางเป็นตารางทม่ี ีการจำแนกรายการตามหวั เรอื่ งสองลักษณะ เชน่ จำนวนนกั เรยี นของ โรงเรยี นแหง่ หน่งึ จำแนกตามชนั้ และเพศ จำนวนนกั เรียนของโรงเรยี นแหง่ หนึง่ จำแนกตามชั้นปี และเพศ ชัน้ ปี ชาย(คน) เพศ รวม (คน) 38 หญงิ (คน) ประถมศึกษาปีที่ 1 33 27 65 ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 32 37 70 ประถมศึกษาปที ่ี 3 28 37 69 ประถมศึกษาปที ี่ 4 32 34 62 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 25 40 72 ประถมศึกษาปีที่ 6 188 35 60 210 398 รวม
110 แถวลำดับ (array) แถวลำดับเป็นการจดั เรยี งจำนวนหรือส่งิ ต่าง ๆ ในรปู แถวและสดมภ์ อาจใชแ้ ถวลำดับเพ่ืออธิบาย เก่ียวกับการคูณและการหาร เช่น การคณู การหาร ๒ × ๕ = ๑๐ ๑๐ ÷ ๒ = ๕ ๕ × ๒ = ๑๐ ๑๐ ÷ ๕ = ๒ ทศนิยมซำ้ ทศนิยมซำ้ เป็นจำนวนทม่ี ีตวั เลขหรอื กลมุ่ ของตัวเลขท่ีอยูห่ ลังจุดทศนยิ มซำ้ กันไปเรอ่ื ย ๆ ไม่มีที่ สิ้นสดุ เชน่ 0.3333… 0.41666... 23.02181818... 0.243243243… สำหรบั ทศนิยม เชน่ 0.25 ถือว่าเปน็ ทศนิยมซ้ำเช่นเดยี วกนั เรยี กว่า ทศนยิ มซ้ำศูนย์ เพราะ 0.25 = 0.25000... ในการเขียนตัวเลขแสดงทศนิยมซ้ำ อาจเขียนได้โดยการเติม • ไว้เหนือตัวเลขท่ซี ำ้ กัน เชน่ 0.3333… เขียนเป็น อ่านว่า ศูนยจ์ ดุ สาม สามซ้ำ 0.41666... เขียนเปน็ อ่านว่า ศูนยจ์ ดุ ส่ีหนึ่งหก หกซำ้ หรือเตมิ • ไว้เหนอื กลุ่มตัวเลขทซี่ ำ้ กัน ในตำแหนง่ แรกและตำแหน่งสุดทา้ ย เช่น 23.02181818... เขียนเป็น อ่านว่า ยี่สบิ สามจุดศนู ย์สองหนง่ึ แปด หนึ่งแปดซำ้ 0.243243243… เขียนเปน็ อา่ นว่า ศูนยจ์ ดุ สองสี่สาม สองสี่สามซำ้ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรเ์ ปน็ ความสามารถทจี่ ะนำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นการเรียนรู้ ส่งิ ต่าง ๆ เพื่อใหไ้ ด้มาซ่งึ ความรูแ้ ละประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การแกป้ ัญหา การแก้ปัญหา เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนควรจะเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาให้เกิดทักษะข้ึนในตนเอง เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนมีแนวทางในการคิดที่หลากหลาย รู้จักประยุกต์และปรับเปลี่ยน วิธีการแก้ปัญหาให้เหมาะสม รู้จักตรวจสอบและสะท้อนกระบวนการแก้ปัญหา มีนิสัยกระตือรือร้น ไม่ย่อ ท้อ รวมถึงมีความมั่นใจในการแก้ปัญหาท่ีเผชิญอยู่ท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน นอกจากน้ี การ แกป้ ัญหายงั เปน็ ทักษะพน้ื ฐานทผี่ ู้เรียนสามารถนำไปใช้ในชีวติ จริงได้ การสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้เก่ียวกับ การแก้ปัญหาอยา่ งมีประสิทธิผล ควรใชส้ ถานการณ์หรือปัญหาทางคณิตศาสตร์ท่ีกระตุ้น ดึงดูดความสนใจ ส่งเสริมให้มีการประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอน/กระบวนการแก้ปัญหา และยุทธวิธีแก้ปัญหาท่ี หลากหลาย
111 การสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การสื่อสาร เป็นวิธีการแลกเปลี่ยนความคิดและสร้างความเข้าใจระหว่างบุคคล ผ่านช่องทางการ สอ่ื สารต่างๆ ไดแ้ ก่ การฟงั การพูด การอ่าน การเขียน การสงั เกต และการแสดงท่าทาง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการส่ือสารที่นอกจากนำเสนอผ่านช่องทางการ สื่อสาร การฟัง การพดู การอ่าน การเขียน การสังเกตและการแสดงทา่ ทางตามปกตแิ ล้ว ยังเปน็ การส่ือสาร ที่มีลักษณะพิเศษ โดยมีการใช้สัญลักษณ์ ตัวแปร ตาราง กราฟ สมการ อสมการ ฟังก์ชัน หรือแบบจำลอง เป็นตน้ มาชว่ ยในการสือ่ ความหมายด้วย การส่ือสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จะ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ แนวคิดทางคณิตศาสตร์ หรือกระบวนการคิดของตนให้ ผ้อู นื่ รับร้ไู ด้อย่างถูกต้องชดั เจนและมปี ระสทิ ธภิ าพ การที่ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มในการอภิปรายหรือการเขียนเพื่อ แลกเปล่ียนความรู้และความคิดเห็นถ่ายทอดประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้อย่างมีความหมาย เข้าใจได้อย่างกว้างขวางลึกซ้ึงและจดจำได้นาน มากข้นึ การเชือ่ มโยง การเช่ือมโยงทางคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยการคิด วิเคราะห์ และความคิดริเริ่ม สรา้ งสรรค์ ในการนำความรู้ เน้ือหา และหลักการทางคณิตศาสตร์ มาสร้างความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุเป็น ผลระหว่างความรู้และทักษะและกระบวนการท่ีมีในเน้ือหาคณิตศาสตร์กับงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือนำไปสู่การ แก้ปญั หาและการเรียนรู้แนวคิดใหม่ทซ่ี ับซ้อนหรือสมบรู ณข์ นึ้ การเช่อื มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ เปน็ การนำความรแู้ ละทักษะและกระบวนการตา่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ไปสมั พันธ์กันอยา่ งเปน็ เหตเุ ป็นผล ทำให้สามารถแกป้ ัญหาได้หลากหลายวธิ ีและกะทัดรัด ขนึ้ ทำใหก้ ารเรยี นรู้คณติ ศาสตรม์ คี วามหมายสำหรบั ผู้เรียนมากยิง่ ข้นึ การเช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ เป็นการนำความรู้ ทักษะและกระบวนการต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ ไปสัมพันธ์กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลกับเน้ือหาและความรู้ของศาสตร์อ่ืน ๆ เช่น วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ จิตวิทยา และเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น ทำให้การเรียนคณิตศาสตร์น่าสนใจ มีความหมาย และผู้เรียนมองเห็นความสำคัญของการเรียนคณติ ศาสตร์ การที่ผู้เรียนเห็นการเช่ือมโยงทางคณิตศาสตร์ จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ของเน้ือหา ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และความสมั พันธ์ระหวา่ งแนวคิดทางคณิตศาสตรก์ บั ศาสตร์อื่น ๆ ทำให้ผเู้ รียนเขา้ ใจ เน้ือหาทางคณิตศาสตร์ได้ลึกซึ้งและมีความคงทนในการเรียนรู้ ตลอดจนช่วยให้ผู้เรียนเห็นว่าคณิตศาสตร์มี คุณค่า นา่ สนใจ และสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตจรงิ ได้ การใหเ้ หตุผล การให้เหตุผล เป็นกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ท่ีต้องอาศัยการคิดวิเคราะห์และความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ ในการรวบรวมข้อเท็จจริง ข้อความ แนวคิด สถานการณ์ทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ แจกแจง ความสัมพนั ธ์ หรอื การเชือ่ มโยง เพื่อให้เกดิ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรือสถานการณ์ใหม่
112 การให้เหตุผลเป็นทักษะและกระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผล คิดอย่างเป็น ระบบ สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม การคิดอย่างมีเหตุผลเป็นเคร่ืองมือสำคัญท่ีผู้เรียนจะ นำไปใชพ้ ฒั นาตนเองในการเรียนรู้ส่ิงใหม่ เพ่ือนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานและการดำรงชีวติ การคิดสร้างสรรค์ การคิดสร้างสรรค์ เป็นกระบวนการคิดที่อาศัยความรู้พ้ืนฐาน จินตนาการและวิจารณญาณ ในการ พัฒนาหรือคิดค้นองค์ความรู้ หรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ความคิดสร้างสรรค์มีหลายระดับ ต้ังแต่ระดับพื้นฐานท่ีสูงกว่าความคิดพื้น ๆ เพียงเล็กน้อย ไปจนกระท่ัง เปน็ ความคิดที่อยใู่ นระดับสูงมาก การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์จะชว่ ยให้ผู้เรียนมีแนวทางการคิดทหี่ ลากหลาย มีกระบวนการคิด จินตนาการในการประยุกต์ ท่ีจะนำไปสู่การคิดคน้ สิ่งประดิษฐท์ ี่แปลกใหมแ่ ละมีคณุ ค่าท่ีคนส่วนใหญค่ าดคิด ไม่ถงึ หรือมองข้าม ตลอดจนส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนมนี ิสัยกระตอื รือร้น ไม่ย่อท้อ อยากรอู้ ยากเหน็ อยากค้นคว้า และทดลองส่งิ ใหม่ ๆ อยู่เสมอ แบบรูป (pattern) แบบรปู เปน็ ความสมั พนั ธท์ ีแ่ สดงลักษณะสำคัญรว่ มกนั ของชดุ ของจำนวน รปู เรขาคณิต หรืออืน่ ๆ ตัวอยา่ ง (1) 1 3 5 7 9 11 (2) (3) รูปเรขาคณติ (geometric figure) รปู เรขาคณติ เป็นรปู ทีป่ ระกอบด้วย จดุ เส้นตรง เสน้ โคง้ ระนาบ ฯลฯ อย่างน้อยหนึง่ อย่าง ▪ ตวั อยา่ งของรปู เรขาคณิตหน่ึงมิติ เชน่ เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสี ▪ ตวั อยา่ งของรูปเรขาคณิตสองมติ ิ เชน่ วงกลม รปู สามเหลี่ยม รูปสี่เหลย่ี ม ▪ ตวั อย่างของรูปเรขาคณติ สามมิติ เชน่ ทรงกลม ลูกบาศก์ ปรซิ มึ พีระมิด เลขโดด (digit) เลขโดดเป็นสัญลกั ษณ์พนื้ ฐานทใี่ ชเ้ ขียนตวั เลขแสดงจำนวน จำนวนทน่ี ิยมใช้ในปจั จุบนั เป็นระบบ ฐานสบิ ในการเขียนตวั เลขแสดงจำนวนใด ๆ ใน ระบบฐานสบิ ใชเ้ ลขโดดสิบตวั เลขโดดที่ใช้เขียนตวั เลขฮินดอู ารบกิ ไดแ้ ก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 เลขโดดทใี่ ช้เขียนตวั เลขไทย ได้แก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9
113 สนั ตรง (straightedge) สนั ตรงเป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทใี่ ช้ในการเขยี นเสน้ ในแนวตรง เชน่ ใช้เขยี นส่วนของเส้นตรง และรงั สี ปกติบนสันตรงจะไมม่ ขี ีดสเกลสำหรับการวดั ระยะกำกบั ไว้ อย่างไรก็ตามในการเรยี นการสอน อนโุ ลมใหใ้ ช้ไม้บรรทดั แทนสันตรงไดโ้ ดยถือเสมือนวา่ ไม่มีขดี สเกลสำหรับการวัดระยะกำกบั หน่วยเด่ียว (single unit) และหน่วยผสม (compound unit) การบอกปรมิ าณที่ไดจ้ ากการวัดอาจใช้หนว่ ยเดี่ยว เช่น สม้ หนกั 12 กิโลกรัม หรือใชห้ นว่ ยผสม เชน่ ปลาหนกั 1 กิโลกรัม 200 กรัม หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หน่วยมาตรฐานเปน็ หน่วยการวดั ท่ีเปน็ ทย่ี อมรับกนั ท่วั ไป เช่น กิโลเมตร เมตร เซนติเมตรเป็น หน่วยมาตรฐานของการวดั ความยาว กโิ ลกรมั กรมั มิลลกิ รัมเปน็ หนว่ ยมาตรฐานของการวัดน้ำหนกั อตั ราสว่ น (ratio) อตั ราสว่ นเป็นความสมั พันธ์ท่ีแสดงการเปรยี บเทยี บปรมิ าณสองปริมาณซึง่ อาจมีหน่วยเดียวกันหรอื ตา่ งกนั ก็ได้ อัตราสว่ นของปริมาณ a ตอ่ ปรมิ าณ b เขียนแทนดว้ ย a : b
114 คำส่งั โรงเรียนบา้ นนานวน ที่ 20 / ๒๕๖๓ เร่อื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวิชาการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ********************************* เพื่อให้การบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ที่กำหนดให้ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าทจ่ี ัดทำสาระของหลกั สตู รเพ่ือความเป็นไทย ความเปน็ พลเมืองทด่ี ีของชาติ การดำรงชีวติ และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อ ในส่วนท่เี กีย่ วกบั สภาพของปญั หาใน ชมุ ชน และสงั คม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคเ์ พ่ือเปน็ สมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาตแิ ละสอดคล้องกับระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และงานวชิ าการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ อาศยั อำนาจตามมาตรา ๓๗ แหง่ พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖ และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เตมิ จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร และงานวชิ าการสถานศึกษาขั้น พ้ืนฐาน โรงเรยี นบา้ นนานวนปีการศึกษา ๒๕๖๓ ดงั นี้ ๑. นายปณิธาร หา้ วหาญ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นนานวน ประธานกรรมการ ๒. นางสาวณัฐปภัสร์ แขมคำ หวั หน้าการเรยี นร้ปู ฐมวยั กรรมการ ๓. นางบุญญา บตุ รสวน หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรรมการ ๔. นางรชั นี บุญเหลอื ง หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กรรมการ ๔. นางสาวจันทยิ า ปราณีกจิ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ กรรมการ ๕. นายบรรดิษฐ์ เลอ่ื นเพช็ ร หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา กรรมการ ๖. นายสวาด บญุ สรรค์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศกึ ษาพลศึกษา กรรมการ ๗. นายบรรดษิ ฐ์ เลือ่ นเพช็ ร หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ กรรมการ ๘. นางสาวกิติยา ราชบรุ ี หัวหน้ากลุ่มสาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี กรรมการ ๙. นางเกศศินี ย่างสุข หวั หน้ากลุม่ สาระภาษาต่างประเทศ กรรมการ ๑๐. นางเกศศนิ ี ยา่ งสุข หวั หน้างานแนะแนว กรรมการ ๑๑. นายสวาด บญุ สรรค์ หัวหน้างานกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กรรมการ ๑๒. นางสาวจฑุ ามาศ พมิ พล์ า หวั หนา้ งานวัดและประเมินผล กรรมการ ๑๓. นางสาวจันทิยา ปราณกี จิ หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการดำเนินการ มีหน้าท่ีและดำเนนิ การจัดการตามข้นั ตอนท่กี ำหนด ดังนี้ ๑. วางแผนการดำเนินงานวิชาการ กำหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาและ แนวทางการจัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ทอ้ งถ่นิ
115 ๒. จัดทำคู่มือการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษา นิเทศ กำกับ ติดตาม ให้ คำปรึกษา เก่ียวกับการพัฒนาหลกั สูตร การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลและการแนะแนว ให้สอดคลอ้ งและเป็นไปตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวน การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลและการแนะแนวให้เปน็ ไปตามจุดหมายและแนวทางการดำเนินการของหลักสูตร ๔. ประสานความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ และชุมชน เพื่อให้การใช้หลักสูตร เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและมคี ณุ ภาพ ๕. ประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการใช้หลักสูตรแก่นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องและ นำข้อมูลป้อนกลับจากฝ่ายต่าง ๆ มาพิจารณาเพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาหลกั สตู รของสถานศึกษา ๖. ส่งเสริมสนบั สนนุ การวิจัยเกีย่ วกบั การพฒั นาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ๗. ติดตามผลการเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล ระดับชั้น และช่วงช้ัน ระดับวิชา กลุ่มวิชา ใน แต่ละปีการศกึ ษา เพ่ือปรบั ปรุงแก้ไข และพฒั นาการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ของสถานศกึ ษา ๘. ตรวจสอบทบทวน ประเมินมาตรฐาน การปฏิบัติงานของครู และการบริหารหลักสูตรระดับ สถานศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมา แล้ว ใช้ผลการประเมิน เพ่ือวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการ บรหิ ารหลักสูตรปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป ๙. รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา โดยเน้นผลการพัฒนา คุณภาพนักเรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับเหนือ สถานศึกษา สาธารณชน และผเู้ ก่ยี วขอ้ ง ๑๐. ให้ดำเนนิ การประชมุ คณะกรรมการอยา่ งน้อยภาคเรยี นละ ๒ คร้งั ท้ังน้ีให้ผู้ได้รับการแต่งต้ังปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุตาม วัตถุประสงค์ทตี่ ้ังไว้ ต้งั แต่บัดนี้เป็นต้นไป ส่ัง ณ วนั ท่ี ๒ เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (ลงชอ่ื ) (นายปณิธาร ห้าวหาญ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านนานวน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118