Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรนานวน

การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรนานวน

Published by โรงเรียน บ้านนานวน, 2020-09-02 03:47:45

Description: การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรนานวน

Search

Read the Text Version

การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร โรงเรียนบา้ นนานวน สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 2 ************************************ การเสริมสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร 1. การมสี ่วนร่วม ( Participation ) : การท่จี ะนำพาองค์กรไปสคู่ วามยั่งยนื หรือมีวฒั นธรรมองค์กรที่ เด่นชัดหรอื ชัดเจนได้นนั้ การมสี ่วนรว่ มในองค์กรของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนตง้ั แต่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ตลอดจนครูในโรงเรียนลว้ นแล้วแต่มีความสำคัญและความจำเปน็ อย่างยง่ิ เพราะหาก ขาดซึ่งความรว่ มมือจากทุกฝา่ ยในองค์กรแลว้ กย็ ากที่จะพบเจอกับคำวา่ องค์กรแห่งความย่ังยนื 2. การเปดิ ใจกวา้ ง ( Openness / Candor ) : สง่ิ จำเป็นอีกประการหนงึ่ ในการเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรม องค์กรใหแ้ ข็งแกร่ง คือการมีคณะครู และบุคลากรทางการศึกษา ทีม่ ที ัศนคติในการเปิดใจกว้าง ยอมรบั ความ เปลี่ยนแปลง และพร้อมจะยอมรับสงิ่ ใหม่ๆ หรือสง่ิ ท่เี ป็นนโยบายขององค์กร นำไปปฏิบัติอยา่ งมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธผิ ล เกิดความย่ังยนื ในองค์กร 3. ความไวเ้ น้อื เช่อื ใจ และการยอมรับ ( Trust and Respect ) : การขับเคล่ือนองค์กรสคู่ วามยั่งยืน หรอื มวี ัฒนธรรมองค์กรท่ีเด่นชัด คือ ความไว้เน้ือเชอื่ ใจ และการยอมรับในตัวบุคลากรในองค์กร ผบู้ ริหารควร ไวเ้ นือ้ เชื่อใจและยอมรับในความสามารถของบุคลากรภายในองค์กร ท่ตี นเองได้สัมภาษณห์ รือร่วมงานกบั องค์กรด้วยตนเอง ต้องสร้างมิตรภาพทดี่ ใี นหมู่ของคนทำงานไม่แบ่งชนชน้ั ในการทำงาน 4. ขอผกู พนั หรอื พนั ธะสญั ญา ( Commitment ) : เสริมสรา้ งวัฒนธรรมองค์กรอย่างย่ังยืนนั้น ครูทกุ คนทกุ ระดับในองค์กรจะต้องมขี ้อผูกพนั หรือพันธะสญั ญาร่วมกัน ว่าทกุ คนจะมงุ่ มน่ั ไปส่เู ปห้ มายหรือ วัตถุประสงค์ที่องคก์ รได้จดั ตง้ั ไวอ้ ย่างต่อเน่ืองและไมล่ ม้ เลิกขอ้ ผูกพนั หรือพนั ธะสญั ญา 5. ปณธิ านในการขจดั ข้อขัดแย้ง ( Conflict Resolution ) : ยคุ อดีต ยคุ ปัจจบุ ัน หรือยุคอนาคต ความขดั แย้งในองค์กรหรือในสงั คม ก็ยงั คงเปน็ อปุ สรรคประการสำคัญประการหนึ่ง ในการนำพาองค์ก ใหฝ้ า่ ฟันไปพบกบั ความสำเรจ็ ในการเป็นองค์กรทม่ี วี ฒั นธรรมแห่งความย่ังยนื ได้ดงั น้นั ผู้บรหิ ารและคณะครูทกุ คน จะตอ้ งร่วมแรงรว่ มใจ และรว่ มด้วยช่วยกนั ท่จี ะขจดั ปัดเปา้ ความขดั แย้งที่มีอย่ใู นทุกหนทุกแหง่ ในองค์ก ให้ กลบั กลายมาเปน็ พลังแห่งความคดิ สรา้ งสรรค์หรือความคิดเหน็ ต่างแต่ไห้แตกแยกหรือแตกความสามัคคี 6. ความเปน็ เอกฉนั ทห์ รือฉนั ทามติ ( Consensus ) : ผบู้ รหิ ารหรือนกั บรหิ ารงานบุคคลสามารถขจดั ความขัดแย้งหรอื เปลยี่ นความขดั แย้งให้เปน็ ความคดิ ทสี่ ร้างสรรคใ์ ห้เกดิ ขนึ้ ภายในองค์กรไดแ้ ลว้ นน้ั ความเปน็ เอกฉนั ทห์ รอื ฉันทามติตา่ ง ๆ ทำให้การบริหารจัดการภายในองค์กรท่ีเก่ียวกบั การเสริมสรา้ งวฒั นธรรมองค์กร เปน็ ไปอยา่ งงา่ ยดาย เพราะครูสว่ นใหญใ่ นองค์กรเห็นชอบและพูดเป็นเสยี งเดยี วกันหรือปฏิบตั ิในแบบอย่าง เดียวกนั 7. การตดั สินใจ ( Decision Making ) : การที่ผ้บู รหิ ารกล้าทีจ่ ะบอกกับครทู ุกๆ คนหรือกลา้ ท่ีจะ แสดงพฤติกรรมต้นแบบ ( Role Model ) ใหก้ ับครไู ดเ้ ห็นเป็นตวั อย่างได้ มิใชเ่ พยี งติดประกาศ หรือแถลงเป็น

นโยบายเท่น้ัน รวมไปถงึ การกล้าที่จะตัดสนิ ใจ พจิ ารณาบริหารจัดการกับครูซึ่งไมป่ ฏบิ ัติตนใหเ้ หมาะสกับ วฒั นธรรมองคก์ รที่ทกุ คนได้มุ่งม่ันท่มุ เทในการแสดงพฤตกิ รรมใหส้ อดคล้องกับวฒั นธรรมขององค์กร 8. การรวมพลัง ( Synery ) : การเสริมสร้างความเป็นประชาธปิ ไตย คอื การรวมพลงั ของทุกคนใน องค์กร หากรวมพลังกันหรือผนกึ พลังกันหลายๆ คนแลว้ ก็สามารถมีพลงั ทส่ี ามารถจะทำอะไรให้ประสบ ความสำเร็จได้อยา่ งยอดเย่ยี ม 9. จดุ ม่งุ หมายและวตั ถุประสงค์ ( Goal and Objective ) : องคก์ รต้องมจี ุดมุ่งหมายและ วตั ถุประสงค์ท่ชี ัดเจน ในการกำหนดแนวทางหรือทิศทางในการบริหารองค์กร หรือวสิ ัยทัศน์(Vision ) การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองค์กร ตอ้ งมีการกำหนดจุดมุง่ หมายและวัตถุประสงคท์ ี่ชดั เจน ซงึ่ รวมไปถึงการสื่อสารและกิจกรรมท่ตี ่อเนือ่ งภายในองคก์ ร เพ่อื หาทางออกหรือหลดุ พ้นอปุ สรรคทเ่ี กดิ ขน้ึ 10. การเปลีย่ นแปลงและการพฒั นา ( Change and Development) : องค์กรย่อมทจี่ ะต้องมีการ เปลีย่ นแปลงและพัฒนาต่อไปตามกาลเวลาทีเ่ ปลย่ี นแปลงไป ตามยคุ เศรษฐกิจท่ีเปลย่ี นแปลงไป ผู้บรหิ ารที่ ตอ้ งการจะเสริมสรา้ งวฒั นธรรมองค์กรกจ็ ะต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบและพฒั นาการบริหารงานภายในองค์กร และการบรหิ ารคนองคก์ รใหม้ ีองคป์ ระกอบครบทง้ั 9 ประการดังทีไ่ ด้กลา่ วมาข้างต้นนี้ เพ่ือองค์กรแห่งความ ยัง่ ยนื ( Sustainable Organization ) *********************************************************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook