Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร

การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร

Description: ภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการสื่อสารของมนุษย์ ไม่ว่าในฐานะของผู้ส่งสารหรือผู้รับสาร การสื่อสารที่สัมฤทธิ์ผล ผู้ใช้ภาษาจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถเลือกใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

Keywords: การใช้ภาษา การสื่อสาร

Search

Read the Text Version

การใช้ภาษาและ เทคโนโลยี สำหรับครู โ ด ย ทิ พ ย์ ขั น แ ก้ ว

คำนำ เอกสารประกอบการสอน รายวิชา “การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู” (Usage of Language and Technology for Teachers) ในหลักสูตรพุทธศาสตร์ สาขาวิชาการสอนพระ พุทธ ศาสนา คณะครุศาสตร์ ผู้สอนได้รวบรวมข้ึน เพื่อให้นิสิต นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ได้ศึกษา ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาที่เรียนโดยได้นำแนวสังเขปรายวิชา ศึกษาหลักการใช้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอ่ืนๆ เพ่ือการส่ือสารการใช้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน เพื่อนำไปใช้พัฒนาสมรรถภาพครูในการสื่อ ความหมาย ฝึกการใช้งาน คอมพิวเตอร์ อนิ เตอรเ์ นต็ และสือ่ เทคโนโลยี เพ่อื สง่ เสริมการเรยี นรู้ กราบขอบพระคุณพระครปู ริยัติภัทรคุณ ผู้อำนวยการวทิ ยาลัยสงฆ์บรุ ีรัมย์ ท่ีให้โอกาส ในการจัดทำเอกสารประกอบการเรียนรายวชิ านี้ เพ่ือเป็นประโยชนแ์ ก่นสิ ติ นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ได้ศึกษาคน้ คว้าใชเ้ ปน็ เอกสารประกอบการเรียน มไิ ดห้ วงั ผลทางการคา้ แต่อยา่ งไร เอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มน้ี ผจู้ ดั ทำไดร้ วบรวมข้อมูลจากเว็บไซตต์ า่ ง ๆ ทเ่ี ผยแพร่ทางอินเตอรเ์ น็ตโดยไม่ได้ขออนญุ าตจากเจ้าของบทความ ตอ้ งขออภัยไว้ ณ ทีน่ ี้ หวังเป็นอย่างยิ่ง เอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มน้ี จะอำนวยประโยชน์แก่นิสิต นกั ศึกษา ผู้ทส่ี นใจ และคณาจารย์ หากทา่ นผอู้ ่านพบข้อบกพร่องหรือมคี ำชี้แนะ เพ่ือการปรบั ปรุง ให้สมบูรณ์มากข้ึน ผู้จัดทำยินดีรับฟังความคิดเห็น และจะนำไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนาให้เอกสารมี ความสมบรู ณ์และมีคุณคา่ ทางการศกึ ษาตอ่ ไป ทพิ ย์ ขนั แกว้ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๕๔

บท สารบัญ หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข รายละเอียดประจำวชิ า จ บทที่ ๑ หลกั การใชภ้ าษาไทยพยางค์ คำ และหน้าทีข่ องคำ ๑ พยางค์ ๒ คำ ๓ สรปุ ท้ายบท ๙ บทท่ี ๒ กลุ่มคำและประโยค ๑๐ กลมุ่ คำ ๑๑ ๑๒ ประโยค ๑๗ บทที่ ๓ การสร้างคำในภาษาไทย ๑๗ การสรา้ งคำในภาษาไทย ๑๘ การสรา้ งคำใหม่ ๒๗ คำประสม ๓๒ ข้อสังเกตเกย่ี วกบั คำประสม ๓๔ บทที่ ๔ การขยายคำกริยา ๓๕ การใช้การขยายคำกรยิ า ๓๕ ๓๖ คำชว่ ยกรยิ า ๓๗ คำวเิ ศษณ์ขยายกริยา ๓๘ ประโยคยอ่ ยขยายกรยิ า ๓๘ กรยิ าวลี ๔๐ การเพม่ิ คำกริยาและประโยค ตำแหนง่ ต้นประโยค

บท สารบญั หนา้ หลกั การใชพ้ จนานุกรม ๔๔ บทท่ี ๕ ความรเู้ ก่ียวกบั ประโยค ๔๘ บทนำ ๔๙ ๔๙ คำนามและคำกรยิ า ๕๐ ประโยคสมบรู ณแ์ ละประโยคไมส่ มบูรณ์ ๕๑ ความสัมพนั ธข์ องคำในประโยค ๕๑ ประธาน ๕๒ คำบุพบท ๕๓ การใชค้ ำสรรพนามแทนคำนาม ๕๙ บทที่ ๖ วลแี ละประโยค ๖๐ บทนำ ๖๐ ๖๑ ความหมายและชนิดของวลี ๖๒ วลีในทัศนะของนักไวยากรณโ์ ครงสรา้ ง ๖๓ ความหมายและชนดิ ของประโยค ๖๔ การจำแนกประโยคในภาษาไทย ๖๔ จำแนกตามเนื้อความในประโยค ๖๖ จำแนกตามสว่ นประกอบของประโยค ประโยคที่ซับซอ้ นยง่ิ ข้นึ ๖๙ ๗๐ บทท่ี ๗ การฟัง ๗๐ บทนำ ๗๐ ๗๑ ความหมาย ๗๑ ความสำคญั ๗๒ จดุ มุ่งหมาย ประโยชน์ของการฟัง หลักสำคญั การฟัง

บท สารบญั หน้า ลักษณะการฟังที่มีประสิทธิภาพ ๗๒ กระบวนการฟัง ๗๓ ทกั ษะการฟงั ที่ดี ๗๓ การใช้คำใหเ้ หมาะสม ๗๔ การเขียนสะกดการนั ตใ์ ห้ถูกต้อง ๗๕ บทท่ี ๘ การอา่ นและการเขียน ๗๖ ๗๗ บทนำ ๗๗ ความหมายของการอา่ น ๗๘ ความสำคญั ของการอา่ น ๗๘ จดุ ประสงค์ของการอา่ น ๘๐ การเขียน ๘๓ บทที่ ๙ คอมพิวเตอร์ ๘๔ ๘๔ บทนำ ๘๕ ประเภทคอมพวิ เตอร์ ๘๖ ยคุ ของคอมพิวเตอร์ ๘๘ กำเนดิ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ ๘๙ การใชอ้ นิ เตอร์เน็ต ๙๐ บรกิ ารต่าง ๆ ของอินเทอร์เนต็ การใช้ Internet ๙๒ บรรณานุกรม

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๑ บทท่ี ๑ หลกั การใช้ภาษาไทย พยางค์ คำ และหน้าทขี่ องคำ วัตถุประสงค์การเรียนประจำบท เม่ือศกึ ษาเน้อื หาในบทเรยี นนแ้ี ลว้ ผศู้ ึกษาสามารถ o ๑.อธิบายความหมายของพยางค์ คำ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง o ๒. อธิบายหนา้ ท่ขี องคำ พยางค์ไดอ้ ย่างถูกต้อง ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ๑. ความหมายของพยางค์ คำ ๒. หน้าท่ขี องคำ พยางค์

การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๒ ๑.๑ พยางค์ การทเี่ ราเปลง่ เสยี งออกมาจากลำคอครัง้ หน่งึ ๆ น้นั เราเรยี กเสียงท่ีเปลง่ ออกมาว่า “พยางค”์ แมว้ ่าเสยี งทีเ่ ปลง่ ออกมาจะมีความหมายหรือไม่มคี วามหมายก็ตาม เชน่ เราเปล่งเสยี ง “สุ” ถึงจะไม่ ร้คู วามหมาย หรือไม่รเู้ ร่ืองเรากเ็ รยี กว่า ๑ พยางค์ หากเราเปลง่ เสียงออกมาอีกครั้งหน่งึ ว่า “กร” จะ เปน็ “สุกร” จงึ จะมคี วามหมาย คำวา่ “สกุ ร” ซง่ึ เปลง่ เสียง ๒ ครง้ั เรากถ็ ือว่ามี๒ พยางค์ เสยี งทเ่ี ปล่ง ออกมาครั้งเดยี วมีความหมาย เชน่ นา หมายถึง ทป่ี ลกู ขา้ ว เสยี งทเ่ี ปล่งออกมาว่า “นา” นเ้ี ปน็ ๑ พยางค์ ดงั ตัวอยา่ ง ไร่ มี ๑ พยางค์ ชาวไร่ มี ๒ พยางค์ (ชาว-ไร่. สหกรณ์ มี ๓ พยางค์ (สะ-หะ-กอน. โรงพยาบาล มี ๔ พยางค์ (โรง-พะ-ยา-บาน. นักศึกษาผใู้ หญ่ มี ๕ พยางค์ (นัก-สึก-สา-ผู้-ใหญ.่ สหกรณ์การเกษตร มี ๖ พยางค์ (สะ-หะ-กอน-การ-กะ-เสด. สรุป พยางค์ คือ เสยี งท่เี ปลง่ ออกมาครงั้ หนึ่ง จะมีความหมายหรือไม่มคี วามหมายก็ตาม ถา้ เปล่ง เสยี งออกมา ๑ ครงั้ ก็เรียก ๑ พยางค์ สองครัง้ กเ็ รยี ก ๒ พยางค์ ๑.๑ องคป์ ระกอบของพยางค์ พยางค์เกดิ จากการเปลง่ เสียงพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ออกมาพรอ้ ม ๆ กัน พยางค์ท่มี ีความหมายอาจจะเป็นพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ พยางค์แตล่ ะพยางค์จะต้องมีสว่ นประกอบ ๓ สว่ นขน้ึ ไป คือ สระ พยัญชนะ และ วรรณยกุ ต์ การประกอบสระ พยญั ชนะและวรรณยุกต์เขา้ เป็นพยางคเ์ รียกวา่ การประสมอกั ษรมี ๔ วิธี คือ ๑.๑.๑ การประสมสามส่วน คือ การประกอบพยางค์ดว้ ยพยัญชนะตน้ สระ และ วรรณยุกต์ เชน่ กา องค์ประกอบ คือ ๑. พยญั ชนะ ก ๒. สระ อา ๓. วรรณยุกต์ เสียงสามญั ไมม่ ีรปู ๑.๑.๒ การประสมสีส่ ่วน คือ การประสมพยางค์ด้วยพยญั ชนะต้น สระ พยัญชนะ ท้ายพยางคห์ รอื ตวั สะกด และวรรณยกุ ต์ เชน่ เกิด องค์ประกอบ คือ ๑. พยัญชนะต้น ก ๒. สระ เออ ๓. วรรณยกุ ต์ เสียงเอกไม่มรี ูป

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๓ ๔. ตัวสะกด ด ๑.๑.๓ การประสมสี่ส่วนพิเศษ คือ การประกอบพยางค์ด้วยพยญั ชนะต้น สระ พยัญชนะท้าย พยางคท์ ่ีไม่ออกเสยี งหรือตวั การนั ต์ และวรรณยกุ ต์ เช่น เล่ห์ องค์ประกอบ คอื ๑. พยัญชนะต้น ล ๒. สระ เอ ๓. วรรณยกุ ต์ เสียงโท ๔. ตวั การนั ต์ ห ๑.๑.๔ การประสมหา้ ส่วน คือ การประกอบพยางค์ด้วยพยัญชนะต้น สระ พยญั ชนะท้ายพยางคห์ รอื ตวั สะกด พยัญชนะท้ายพยางคท์ ี่ไมอ่ อกเสยี ง หรอื ตัวการันต์ และวรรณยกุ ต์ เช่น สิงห์ องค์ประกอบ คือ ๑. พยัญชนะ ส ๒. สระ อิ ๓. วรรณยุกต์ เสียงจัตวาไม่มีรูป ๔. ตวั สะกด ง ๕. ตวั การันต์ ห ๑.๒ คำ คำ ตามความหมายในหลกั ภาษา หมายถึง เสยี งทีเ่ ปลง่ ออกมาแล้วมีความหมายอย่างใด อยา่ งหนึง่ อาจเปน็ เสยี งทเ่ี ปล่งออกมาครงั้ เดยี วหรอื หลายครงั้ ก็ได้ เช่น นา เป็นคำ๑ คำ ๑ พยางค์ ชาวนา เป็นคำ๑ คำ ๒ พยางค์ นักศกึ ษา เปน็ คำ๑ คำ ๓ พยางค์ คำ คือ พยางค์ทีม่ ีความหมาย คำมากพยางคค์ ือ พยางคห์ ลายพยางค์รวมกนั แล้วมคี วามหมาย ผเู้ รยี นพอจะทราบไหมวา่ พยางคก์ ับคำตา่ งกนั อย่างไร อ่านตอ่ ไปทา่ นกจ็ ะทราบ พยางค์ คอื เสียงทเ่ี ปลง่ ออกมาครง้ั หนง่ึ จะมีความหมายหรือไม่มคี วามหมายก็ได้ คำ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึง่ จะก่ีพยางค์กต็ ามถา้ ไดค้ วามจงึ จะเรียกว่า “คำ” ๑.๒.๑ องค์ประกอบของคำ คำหน่ึง ๆ จะต้องประกอบด้วย เสยี ง แบบสร้างและความหมาย ๑.๒.๑.๑ เสียง คำหน่งึ อาจมีเสียงเดยี วหรือหลายเสียงกไ็ ด้ คำเสยี งเดียว เรยี กว่า คำพยางค์เดียว คำหลายเสียงเรียกว่า คำหลายพยางค์ คำพยางคเ์ ดยี ว เชน่ กิน นอน เดนิ นำ้ ไฟ ฯลฯ คำหลายพยางค์ เชน่ บดิ า นาฬิกา กระฉับกระเฉง ฯลฯ

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๔ ๑.๒.๑.๒ แบบสรา้ ง คำประกอบดว้ ยพยางค์ และพยางค์หน่งึ ๆ อาจมี ส่วนประกอบ ๓ ส่วน ๔ สว่ น ๕ สว่ นก็ได้ ๑.๒.๑.๓ ความหมาย คำจะตอ้ งมีความหมายอยา่ งใดอย่างหนึ่งหรอื หลาย อย่างก็ได้ เช่น ขนั มีความหมายตา่ งกัน สดุ แต่ทำหน้าทใี่ ด ข้ึนอยู่กับรปู และประโยค เชน่ ขันใบนี้ ทำหน้าท่ีนาม แปลว่า ภาชนะใสส่ ่ิงของ ไก่ขนั ทำหน้าท่กี รยิ า แปลว่า ร้อง เขาขนั เชือก ทำหน้าทีก่ ริยา แปลว่า ทำให้แนน่ เขาทำงานแขง็ ขนั ทำหนา้ ทวี่ เิ ศษณ์ แปลว่า ขยันไมย่ ่อท้อ เขาพดู น่าขัน ทำหนา้ ท่วี เิ ศษณ์ แปลวา่ ชวนหัวเราะ สรปุ พยางค์ เสยี งพยัญชนะ + เสยี งสระ + เสียงวรรณยกุ ต์ พยางค+์ ความหมาย สรปุ คำ กลมุ่ พยางค์+ ความหมาย ชนดิ และหน้าที่ของคำในภาษาไทย ๑.๒.๒ ชนิดของคำ มนษุ ยเ์ ราท่ีอยรู่ ่วมกนั เป็นสังคมจำเปน็ ตอ้ งตดิ ต่อสือ่ สารกันเพือ่ ใหร้ ู้ความต้องการ และเข้าใจความรูส้ กึ นึกคดิ ของกนั และกนั การตดิ ต่อส่ือสารกันทำได้หลายทาง แต่ทางที่สำคัญที่สุด คือทางการพดู และการเขียนข้อความ ทผี่ ู้พดู หรอื ผูเ้ ขียนกลา่ วออกไปจะยืดยาวเพียงใดขอ้ ความนน้ั อาจจะแบ่งเป็นชว่ ง ๆ ได้ ชว่ งของข้อความทบี่ รรจุความคิดท่สี มบรู ณ์ หรอื ข้อความอนั บริบรู ณ์ ชว่ งหน่งึ เรยี กวา่ ประโยคในแต่ละประโยคจะมีการใชค้ ำ ในประโยค แตกต่างกันออกไปตามความหมาย และหน้าที่ของคำในประโยค บรรดาคำท้ังหลาย ทใี่ ช้กนั อยใู่ นภาษาไทย จำแนกออกเป็นชนิดตา่ ง ๆ กัน ดังนี้ ๑. คำนาม ๒. คำสรรพนาม ๓. คำกรยิ า ๔. คำวิเศษณ์ ๕. คำบุพบท ๖. คำสันธาน ๗. คำอุทาน ๑. คำนาม คอื คำที่ใชเ้ รียกชื่อ คน สตั ว์ สง่ิ ของ แบ่งเป็น ๕ ชนิด คือ ๑.๑ สามานยนาม คอื คำนามท่ีใช้เรียกชอ่ื โดยท่ัวไป เชน่ คน นก ม้า เรือ รถ

การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๕ ๑.๒ วิสามานยนาม คือ คำนามทีใ่ ช้เรียกชือ่ เฉพาะ เช่น กรุงเทพฯ โรงพยาบาลศิริ ราช สมศกั ด์ิ ๑.๓ สมุหนาม คือ คำนามที่ใชเ้ ป็นช่ือ หมวด หมู่ กอง คณะ เพื่อให้รวมกนั เป็น หมวด หมู่ กอง คณะ ฝูง โขลง รฐั บาล บรษิ ทั ๑.๔ ลักษณะนาม คือ คำนามทีใ่ ช้บอกลักษณะของนาม เพื่อให้รู้สดั สว่ นรูปพรรณ สัณฐาน ของคำนามนัน้ ๆ เช่น กงิ่ ขอน ปาก ฉบบั พระองค์ บาน วง ปืน้ เลา ฯลฯ ๑.๕ อาการนาม คือ คำนามซ่ึงเกิดจากคำกรยิ า หรือคำวิเศษณ์ มคี ำ การ และความ นำหน้า เชน่ การเดิน การเล่น ความเจรญิ ความตาย ความรู้ ความดี ความเร็ว ๒. คำสรรพนาม คอื คำท่ีใช้แทนชื่อ หรือคำทใี่ ชแ้ ทนคำนามทั้งปวง มี๖ ชนิด ๒.๑ บุรษุ สรรพนาม คอื สรรพนามท่ีใชแ้ ทนคำนามในการพดู จา แบ่งออกเป็น ๓ พวก คือ บุรษุ ที่๑ บุรุษที่๒ และบุรุษที๓่ เชน่ ฉัน ทา่ น เขา ๒.๒ ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามท่ีใช้แทนคำนามซงึ่ อย่ขู า้ งหนา้ ไดแ้ ก่ ที่ ซึง่ อัน ๒.๓ ปฤจฉาสรรพนาม คือ คำสรรพนามทีใ่ ชแ้ ทนคำนาม และใชเ้ ป็นคำถาม ได้แก่ ใคร อะไร ไหน ผใู้ ด ส่งิ ไร ฯลฯ ๒.๔ วภิ าคสรรพนาม คือ คำท่ีใช้แทนนามเพ่ือแยกนามน้นั ออกเป็นสว่ น ๆ ได้แก่ ต่าง บา้ ง กนั เชน่ ชาวนาตา่ งไถ่นา นักเรียนบ้างก็เลน่ บา้ งก็เรยี น เขารกั กัน นักมวยชกกัน ๒.๕ นิยมสรรพนาม คือ คำทใ่ี ช้แทนคำนามเพ่ือบอกความกำหนดให้ชัดเจน เชน่ นี่ น้ี นั่น โน้น ๒.๖ อนิยมสรรพนาม คือ คำท่ีใช้แทนคำนามแต่ไมบ่ อกแน่นอน เชน่ ใคร อะไร ท่ี ไหน ใด ๆ อนิยมสรรพนามคลา้ ยปฤฉาสรรพนาม แตป่ ฤจฉาสรรพนามใชเ้ ปน็ คำถามอนยิ มสรรพ นามใช้เป็นความบอกเล่า ๓. คำกริยา คอื คำทีแ่ สดงอาการของนาม หรือสรรพนาม มี๔ ชนิด คอื ๓.๑ อกรรมกริยา คือ กรยิ าทไ่ี มต่ ้องการกรรมมารับข้างทา้ ย เพราะมใี จความครบ บรบิ รู ณ์แล้วได้แก่ นงั่ นอน ยืน เดินไป พูด บิน พัง พัด ไหล หัก หัวเราะ ฯลฯ ๓.๒ สกรรมกรยิ า คือ กรยิ าทต่ี อ้ งการกรรมมารบั ข้างทา้ ยจึงจะได้ความสมบูรณ์ ได้แก่ เขยี น ตี กิน จบั ไล่ เปิด อ่าน ฯลฯ ๓.๓ วิกตรรถกริยา คือ กรยิ าทตี่ ้องอาศัยเนื้อความของวกิ ัติการกท่ีอยขู่ ้างท้ายจงึ จะ ได้ความสมบรู ณ์ ได้แก่ เหมือน คล้าย เทา่ คือ ดัง ๓.๔ กริยานเุ คราะห์ คือ กรยิ าท่ีใช้ประกอบหรือช่วยกรยิ าสำคญั ในประโยค ได้แก่ กำลัง พ่งึ น่า จะ จัก จง คง เคย ควร ชะรอย ต้อง ถกู พงึ ย่อม ยัง ฯลฯ ๔. คำวเิ ศษณ์ คอื คำทใี่ ช้ประกอบคำอน่ื ให้มีเนื้อความแปลกออกไป คำท่ใี ชป้ ระกอบ ได้แก่ คำนามคำสรรพนาม คำกรยิ า และคำวเิ ศษณ์ จำแนกออกเป็น ๑๐ ชนิด คอื

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๖ ๔.๑ ลกั ษณวเิ ศษณ์ คือ คำที่ใชป้ ระกอบคำอ่นื เพื่อบอกลกั ษณะของคำน้ัน ๆ โดยมาก ใช้ประกอบ คำนาม คำสรรพนามทใี่ ชป้ ระกอบคำกรยิ าและกริยาวเิ ศษณม์ นี ้อย เช่น ๔.๑.๑ บอกชนิด ได้แก่ ชวั่ เลว แก่ ออ่ น หนุม่ สาวฯลฯ คนช่วั คนดี โคแก่ ๔.๑.๒ บอกขนาด ไดแ้ ก่ สงู ใหญ่ เล็ก ยาว สน้ั โต แคบ ฯลฯ ต้นไมส้ งู แม่น้ำกวา้ ง ๔.๑.๓ บอกสณั ฐาน ไดแ้ ก่ กลม บาง แบน รี ฯลฯ โต๊ะกลม ใบไมร้ ี ๔.๑.๔ บอกสี ได้แก่ ดำ ขาว เหลือง แดง ฯลฯ เสือ้ ดำ ผ้าเหลอื ง ใบไม้เขยี ว ๔.๑.๕ บอกเสียง ได้แก่ ดงั ค่อย เพราะ แหบ เครือ ฯลฯ เสยี งดงั พดู ค่อย ๔.๑.๖ บอกกลน่ิ ได้แก่ เหม็น หอม ฉนุ คาว ฯลฯ ดอกไมห้ อม น้ำเหม็น ๔.๑.๗ บอกรส ได้แก่ เปร้ียว ขม จดื เผ็ด หวาน เคม็ มนั ฯลฯ ส้มเปรีย้ ว นำ้ ตาลหวาน ๔.๑.๘ บอกสัมผสั ไดแ้ ก่ รอ้ น เย็น น่ิม กระด้าง แขง็ ฯลฯ น้ำร้อน เบาะนุ่ม ๔.๑.๙ บอกอาการ ไดแ้ ก่ ชา้ เร็ว เอ่ือย ซึม ฉลาด ซื่อ ฯลฯ วิง่ เร็ว ไหลเอือ่ ย ๔.๒ กาลวิเศษณ์ คอื คำที่ใช้ประกอบคำอ่ืนเพื่อบอกเวลา ประกอบได้ทั้งนาม สรรพ นาม และกริยา ได้แก่ เด๋ยี วน้ี เชา้ เย็น ช้า นาน โบราณ ปัจจบุ นั ฯลฯ ๔.๓ สถานวิเศษณ์ คือ คำท่ใี ช้ประกอบคำอื่นเพื่อบอกสถานที่ ประกอบทงั้ นาม สรรพนาม กรยิ า ได้แก่ ใกล้ ไกล หา่ ง ชดิ ใต้ เหนือ ล่าง บน ฯลฯ ๔.๔ ประมาณวเิ ศษณ์ คอื คำทใี่ ชป้ ระกอบคำอื่นเพือ่ บอกจำนวน แบง่ ออกเป็น ๔ ชนดิ คือ ๔.๔.๑ บอกจำนวนจำกัด ได้แก่ หมด สน้ิ ทง้ั หมด ท้ังปวง บรรดา ทงั้ ผอง ๔.๔.๒ บอกจำนวนไม่จำกัด ได้แก่ มาก นอ้ ย จุ หลาย ๆ ฯลฯ ๔.๔.๓ บอกจำนวนแบ่งแยก ไดแ้ ก่ บาง บา้ ง ต่าง ส่ิงละ คนละ ฯลฯ ๔.๔.๔ บอกจำนวนนับ แบ่งเปน็ ๒ ชนดิ คอื บอกจำนวนเลข เช่น หนึ่ง สอง กับบอกจำนวนท่ี เชน่ ที่หนึง่ ท่สี อง ๔.๕ ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำที่ใชป้ ระกอบคำอน่ื เป็นคำถาม ไดแ้ ก่ ใด อะไร ทำไม ไหน เท่าไร เช่น คนไหนเรยี นเก่ง เธอมาก่ีคน ๔.๖ นิยมวิเศษณ์ คอื คำทใี่ ช้ประกอบคำอ่นื เพื่อบอกความแน่นอน ความชัดเจน เชน่ นี้ นัน้ แทแ้ บ่งเป็น ๒ ชนิด ๔.๖.๑ บอกความแนน่ อนในความหมาย เชน่ ฉนั เอง ไปแน่ สวยแท้ ดี ทีเดียว ๔.๖.๒ บอกความแน่นอนของส่ิงใดสงิ่ หนึง่ เช่น คนนนั้ ท่นี ัน้ ท่ีน่ี ๔.๗ อนยิ มวิเศษณ์ คือ คำที่ใชป้ ระกอบคำอืน่ โดยไมบ่ อกกำหนดแนน่ อนลงไป เช่น อ่ืน อื่นใด ไย เชน่ เหตุใดเธอรีบกลบั บา้ น ๔.๘ ประติชญาวเิ ศษณ์ คือ คำทีใ่ ชแ้ สดงรับรอง โต้ตอบ รบั ขาน เชน่ จ๋า ครบั เออ คณุ ขากระหม่อม พะยะ่ ค่ะ ๔.๙ ประติเสธวเิ ศษณ์ คือ คำท่ีบอกความหา้ ม หรือไม่รบั รอง เชน่ ไมใ่ ช่ มิได้ บ่

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๗ ๔.๑๐ ประพันธวเิ ศษณ์ คือ คำประพนั ธสรรพนาม ซึ่งเอามาใช้เหมือนคำวิเศษณ์ ได้แก่ ท่ี ซึ่ง อัน เชน่ เขาพูดอยา่ งท่ีฉนั พูด ที่ ซ่ึง อนั ถา้ อย่ตู ิดกบั คำนาม หรือ สรรพนามจะเปน็ ประพันธสรรพนาม ถา้ อย่ตู ดิ กบั กริยาหรือกริยาวิเศษณ์จะเปน็ ประพนั ธวเิ ศษณ์ ๕. คำบพุ บท คือ คำที่ใชน้ ำหน้าคำอื่น ได้แก่ นำหน้า คำนาม คำสรรพนาม คำกรยิ าสภาว มาลา เพือ่ บอกตำแหนง่ แห่งท่ีของคำเหลา่ น้นั แบง่ เปน็ ๒ อย่าง ๕.๑ คำบพุ บทท่ีไม่เชอ่ื มคำกับคำอืน่ ได้แก่ คำนำหนา้ คำทักทายในบทอาลปนะ (คำ ทใี่ ช้เรยี กร้องผู้ทจ่ี ะพดู ดว้ ย. เชน่ อันวา่ ดูก่อนดรู า ข้า แตแ่ นะ่ ๕.๒ บุพบทท่เี ช่อื มกับคำอน่ื คอื บุพบทท่ีนำหนา้ คำนาม สรรพนาม กริยาสภาวมาลา ๕.๒.๑ บุพบทนำหนา้ บทกรรม ไดแ้ ก่ ซง่ึ สู้ ยัง แก่ ตลอด ๕.๒.๒ บพุ บทนำหน้าบทอนื่ ในฐานะเครือ่ งใช้หรอื ติดต่อกนั ไดแ้ ก่ดว้ ย โดย อัน ตาม ๕.๒.๓ บุพบทนำหน้าบทอื่นในฐานะเปน็ ผรู้ ับ ไดแ้ ก่ เพื่อ ต่อ แก่ แต่ เฉพาะ ๕.๒.๔ บุพบทนำหน้าบทอ่ืนเพื่อบอกที่มาหรือต้นเหตุ ได้แก่ แต่ จาก กว่า เหตุ ต้งั แต่ ๕.๒.๕ บุพบทนำหนา้ บอกเวลา ไดแ้ ก่ เมื่อ ณ แต่ ต้ังแต่ จน สำหรับ เฉพาะ ๕.๒.๖ บุพบทนำหนา้ บอกสถานที่ ได้แก่ ใต้ บน ริม ชิด ใกล้ ท่ี หลกั การใชบ้ ุพบทบางคำ ๑. กบั ๑.๑ ใช้ในความร่วมด้วย ทำกรยิ าเหมอื นกัน เช่น ครูไปกับศิษย์ ๑.๒ ใช้ในความหมายทไ่ี ปดว้ ย มาด้วย อยูด่ ว้ ย เสียหายด้วย เช่น ทำกับมือ เห็นกบั ตา ๑.๓ ใชใ้ นความที่อยดู่ ว้ ยกนั ไปดว้ ยกนั ทำอะไรดว้ ยกัน เชน่ บตุ รกับธิดา โค กับเกวียน ๑.๔ ใช้ในความหมายในสิ่งที่จำนวนมาก ไปดว้ ยกนั มาดว้ ยกัน อยดู่ ว้ ยกนั เชน่ ฉนั มากบั หนุ่ม ครูไปกบั คณะนกั เรียน ๒. แก่ ใชน้ ำหน้าคำที่เกีย่ วกบั การให้ มกั ใชส้ ำหรบั ผนู้ ้อย หรือผูท้ ี่อยู่ในฐานะ เดียวกนั เช่น ฉันบอกแก่ เธอลงโทษแกผ่ ู้กระทำผดิ ให้ถอ้ ยคำแก่ศาล ๓. แด่ ใชท้ ำหน้าทเี่ กี่ยวกบั การให้อันเป็นท่เี คารพสักการะ เชน่ ถวายไทยทานแด่ พระภิกษุสงฆ์ ๔. ตอ่ ๔.๑ ใชใ้ นความหมายเม่อื เป็นทร่ี ับในตา่ งชนั้ กัน เชน่ เรียนต่อท่านรัฐมนตรี รายงานต่อหวั หน้าให้การต่อศาล

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๘ ๔.๒ เป็นการแสดงความเกยี่ วข้องกนั ใชใ้ นความหมายติดต่อกนั ความ ขัดแย้งกนั เชน่ เขาด่าตอ่ หน้าเรา เขาเป็นคนซ่ือตรงต่อเวลา ๕. โดย, ตาม ใช้เมอ่ื เป็นบทแหง่ กรยิ า เชน่ เขาทำตามคำสัง่ ไปโดยสวสั ดภิ าพ ๕.๑ ใน ๑. ใช้กบั บุคคลท่ีเคารพนับถือหรือสง่ิ ที่สกั การะ เชน่ ใน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวพระราชนพิ นธใ์ น ๒. ใช้ในความหมายเพ่ือแสดงว่าของเลก็ อยูใ่ นของใหญ่ เช่น คิดใน ใจ ความในอกปลาในน้ำคนไทยในต่างประเทศ ๖. คำสันธาน คอื คำซ่งึ ใชต้ ่อหรอื เชือ่ มถ้อยคำใหต้ ิดต่อกัน แบ่งเปน็ ๓ ประการ ๖.๑ เชื่อมคำต่อคำ ๖.๒ เชื่อมประโยคตอ่ ประโยค ๖.๓ เชอื่ มความต่อความ ชนดิ ของคำสันธาน มี ๘ ชนดิ ๑. เชอ่ื มความคลอ้ ยตามกัน ได้แก่ เช่นว่า คอื กบั และ จงึ ครนั้ …จงึ ๒. เชื่อมความแยง้ กนั ไดแ้ ก่ แต่ แต่ทว่า แม้ ก็ กวา่ …ก็ แม้…ก็ ๓. เช่ือมความเปน็ เหตุเปน็ ผลกัน ไดแ้ ก่ ดว้ ย เพราะ จงึ เพราะฉะน้ัน ฯลฯ ๔. เชอ่ื มความที่เลอื กเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ หรือ มิฉะนัน้ ไม่เช่นน้นั ๕. เช่ือมความทตี่ ่างตอนกนั ไดแ้ ก่ ฝา่ ย ส่วน อนงึ่ ๖. เช่ือมความเปรยี บเทียบ ไดแ้ ก่ดจุ ประหนึง่ ว่า คล้าย เหมอื น ฯลฯ ๗. เชอ่ื มความแบง่ รบั แบ่งสู้ ได้แก่ ถ้า ผวิ า่ แมว้ า่ ตา่ งว่า สมมติวา่ ๘. เชอ่ื มความใหส้ ละสลวย ไดแ้ ก่ อยา่ งไรกต็ าม สุดแต่ว่า ทำไมกับ ๗. คำอุทาน คอื คำชนิดหนึ่ง ซ่งึ บอกเสยี งคน สัตว์ หรอื ส่งิ ของตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ ๒ ชนิด ๗.๑ อุทานบอกอาการ แบง่ เปน็ ๑. อาการรอ้ งเรียก หรอื บอกใหร้ ้ตู ัว เช่น น่ีแนะ เฮย้ โว้ย ฯลฯ ๒. อาการโกรธเคือง เชน่ ชะ ๆ ชิ ๆ เหม่ ดูดู๋ ฯลฯ ๓. อาการประหลาดหรือตกใจ เชน่ อะ๊ เออแน่ แม่เจา้ โว้ย ฯลฯ ๔. อาการสงสัย หรอื ปลอบโยน เชน่ เจ้าเอ๋ย อนจิ จา พุทโธ่ ฯลฯ ๕. อาการเข้าใจหรือรบั รู้ เช่น เออ เออน่ะ อ้อ ฯลฯ ๖. อาการเจบ็ ปวด เชน่ โอย โอย้ ฯลฯ ๗. อาการสงสัยหรือไตถ่ าม เช่น หา หือ ฯลฯ ๘. อาการห้ามหรอื ทักทว้ ง เช่น ฮา้ ไฮ้ ออ้ื หือ ฯลฯ ๙. อาการจากสงิ่ ธรรมชาติ เชน่ ปงั ปึง ตมู โครม ฯลฯ

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๙ ๗.๒ อทุ านเสริมบท คือ การเสริมถอ้ ยคำเพื่อฟังให้รืน่ หู เช่น ไม่ลืมหูไม่ลืมตา แขน แมนเสอ่ื สาด ดีอกดีใจ ผหู้ ญงิ ยิงเรือ อาบน้ำอาบท่า อยู่บา้ นอยชู่ ่อง สรปุ ทา้ ยบท ๑. พยางค์เกดิ จากการเปลง่ เสยี งพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ออกมาพรอ้ ม ๆ กนั พยางค์ แต่ละ พยางค์ ต้องมสี ว่ นประกอบอย่างนอ้ ย ๓ สว่ น อยา่ งมาก ๕ ส่วน คอื ๑. พยัญชนะ ๒. สระ ๓.วรรณยุกต์ ๔. ตวั สะกด ๕. ตัวการันต์ ๒. คำ คือ เสยี งทเ่ี ปลง่ ออกมาคร้งั หน่งึ จะก่พี ยางค์กต็ ามแตไ่ ด้ความเป็นอย่างหนึ่งเรยี กวา่ คำ หน่ึง ๓. คำทใี่ ช้อยู่ในภาษาไทย จำแนกออกเปน็ ชนิดตา่ ง ๆ ได้ดังนี้ ๓.๑ คำนาม ๓.๒ คำสรรพนาม ๓.๓ คำกรยิ า ๓.๔ คำวเิ ศษณ์ ๓.๕ คำบุพบท ๓.๖ คำสนั ธาน ๓.๗ คำอทุ าน๑ ๑ อ.วนั ชนะ จติ อารยี ์. http://gms.cru.in.th/course_gram.html..

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๑๐ บทที่ ๒ กลมุ่ คำและประโยค วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นประจำบท เมือ่ ศึกษาเนือ้ หาในบทเรยี นนแี้ ลว้ ผศู้ กึ ษาสามารถ o ๑.อธบิ ายความหมายของกลุ่มคำไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง o ๒.อธบิ ายความหมายประโยคไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง o ๒. อธบิ ายหน้าท่ขี องกลมุ่ คำ และประโยคไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ขอบขา่ ยเน้ือหา ๑. ความหมายของกลุม่ คำ ๒. ความหมายประโยค ๓. หน้าทีข่ องกลมุ่ คำและประโยค

การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๑๑ ๒.๑ กล่มุ คำ ๒.๑.๑-ความหมายของกลุ่มคำ กล่มุ คำ-คือ-ข้อความทเ่ี กิดจากการนำคำต้งั แต่สองคำขึ้นไปมาเรยี งตดิ ต่อกนั ทำให้ เกิดความหมายเพิ่มขน้ึ ตามความหมายของคำเดมิ ท่นี ำมารวมกัน แตเ่ ป็นความหมายพอเปน็ ที่เข้าใจได้ ยงั ไมส่ มบูรณเ์ ป็นประโยค และไมเ่ กิดเปน็ คำใหม่ชนิดใดชนดิ หนง่ึ คือ คำประสม คำซอ้ น คำซำ้ คำสมาส หรือคำสนธิ ๒.๑.๒ ชนิดของกลุ่มคำ วลหี รือกลมุ่ คำในภาษาไทยจำแนกไดเ้ ปน็ ๗ ชนดิ ตามชนดิ ของคำทปี่ รากฏใน ตำแหนง่ ต้นของวลี ดงั น้ี ๒.๑.๒.๑ นามวลี เชน่ นกขนุ ทอง ผา้ ทอพน้ื บ้าน หนองขาว พนกั งานโรงงานผลติ หน่อไม้กระป๋อง ๒.๑.๒.๒ สรรพนามวลี เชน่ เราทุกคน ท่านคณะกรรมการสภาประจำสถาบันราชภัฏ กาญจนบุรี ข้าเบ้ืองยุคลบาท ๒.๑.๒.๓ กริยาวลี เช่น โตแ้ ยง้ ทุม่ เถยี ง เหน็ดเหน่อื ยเมือ่ ยล้า อิดหนาระอาใจกำลัง โคง้ คารวะ ๒.๑.๒.๔ วิเศษณว์ ลี เชน่ กอ้ งกงั วาน ท่ีใชข้ ยายคำนามในคำว่า เสยี งกอ้ งกังวาน สุด ท่ีจะพรรณนา ขยายคำกริยาว่า สวย ในคำว่า สวยสดุ ท่จี ะพรรณนา ๒.๑.๒.๕ บุพบทวลี เชน่ ท่ามกลางฝงู ชน จากคนบา้ นไกล ตามคำสง่ั สอน ๒.๑.๒.๖ สนั ธานวลี เช่น ถึงอยา่ งไรก็ตาม ในระหว่างที่ ถา้ หากวา่ ๒.๑.๒.๗ อทุ านวลี เช่น พทุ โธเ่ อย๋ ! ตาเถรตกนำ้ ! อกอีแป้นแตก! ๒.๑.๓ หน้าท่ขี องกลมุ่ คำ กลุม่ คำที่ทำหน้าที่ต่างๆ ในประโยคเชน่ เดียวกับคำชนดิ ตา่ งๆ ดงั นี้ ๒.๑.๓.๑ กลุม่ คำทีใ่ ช้เหมือนคำนาม - สภาพเศรษฐกจิ ของพม่าตกอย่ใู นฐานะลำบากมาก (เปน็ ประธาน. - แนวปะการังนนั้ เปน็ แหล่งที่น่าสนใจศกึ ษา (เป็นประธาน. ๒.๑.๓.๒ กลุม่ คำท่ีใช้เหมอื นสรรพนาม - ทา่ นใหเ้ กยี รตแิ กพ่ วกเราทุกคน (เป็นกรรม. - คณะนักกฬี าเหล่านัน้ จะออกเดินทางวันนี้ (เปน็ ประธาน. ๒.๑.๓.๓ กลมุ่ คำทีใ่ ช้เหมือนคำกริยา

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๑๒ - เขากำลงั นอนหลับปุย๋ อย่างสบายบนเตียงนอน (เป็นตวั แสดง. - เด็กน้อยนั่งเขย่าตัวไปตามจังหวะเพลง (เปน็ ตวั แสดง. ๒.๑.๓.๔ กลุ่มคำท่ใี ช้เหมือนคำบุพบท - เขานอนอ่านหนงั สืออยแู่ ถวๆขา้ งหลังบ้าน (เช่ือมคำกรยิ ากับนาม. - เขากันเงินส่วนหน่งึ สำหรบั เพอ่ื หาเสียง (เชื่อมกลุม่ คำนามกับคำกรยิ า. ๒.๑.๓.๕ กลมุ่ คำท่ใี ชเ้ หมือนคำวเิ ศษณ์ - หลอ่ นเปน็ คนทม่ี ีจิตใจมั่นคงเขม้ แข็งมาก (เป็นตัวขยายนาม. - หลายต่อหลายครง้ั ที่เขาทำให้เราผิดหวงั (เปน็ ตัวขยายกริยา. ๒.๑.๓.๖ เปน็ กลุ่มคำทใ่ี ชเ้ หมือนคำสนั ธาน - เขายังอดทนสตู้ ่อไป ถึงแม้ว่ากำลังเขาจะถดถอยลงไปทุกวนั (เชอ่ื ม ประโยคกับประโยค. - นำ้ ในเขอื่ นลดลงไปมาก เพราะฉะนนั้ จึงควยชว่ ยกันประหยัดน้ำ(เชื่อม ประโยคกบั ประโยค. ๒.๑.๓.๗ กลมุ่ คำทใ่ี ชเ้ หมอื นคำอทุ าน - อะไรกันนักกนั หนา! จะเกบ็ เงินอกี แล้วหรือน่ี - โอย๊ ตายแล้ว! ลืมปิดแกส๊ ๒.๒ ประโยค ๒.๒.๑ ความหมายของประโยค ประโยค คอื ถ้อยคำท่ีเรียบเรียงข้นึ เพื่อแสดงความคิดหรือเรอ่ื งราวทสี่ มบรู ณ์ ซึ่ง เร่มิ แรกจะต้องประกอบดว้ ยประธานและกรยิ า และประโยคยังมีหนา้ ท่ีใช้ส่ือความหมายใหส้ มบูรณ์ หรอื นำประโยชนห์ ลาย ๆ ประโยคมาเรยี บเรยี งให้เปน็ เร่ืองราวได้ ๒.๒.๒ โครงสร้างของประโยค ๒.๒.๒.๑ ประโยคจะมีความสมบูรณดว้ ย จะต้องประกอบด้วย ๒ ส่วน คอื ภาค ประธานและภาคแสดง ๒.๒.๒.๒ ภาคประธาน หมายถึง ส่วนสำคัญของข้อความเป็นผ้กู ระทำ กำ สว่ นใหญ่ เป็นคำนาม หรอื สรรพนาม ภาคประธานประกอบด้วย บทประธาน และ/ หรือ บทขยายประธานหรือความเปน็ ไป ส่วนภาคแสดง หมายถึง สว่ นท่แี สดงกริ ยิ าอาการหรือความเป็นไปของภาคประธาน ประกอบด้วย บทกรยิ า บทขยายกริยา บทกรรม และบทขยายกรรม ( ถ้ามี.

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๑๓ ๒.๒.๓ การจำแนกประโยคในภาษาไทย การจำแนกชนิดของประโยคในภาษาไทยสามารถจำแนกได้หลายวิธี ดงั น้ี ๒.๒.๓.๑ จำแนกตามรปู ประโยค การจำแนกตามประโยค เปน็ การจำแนกโดยเนน้ ความสำคัญที่คำข้ึนตน้ ประโยค มี๕ ชนดิ คอื ๒.๒.๓.๑.๑ ประโยคกรรตุ คอื ประโยคที่มีกรรตกุ ารก ( ผู้กระทำ. เป็นประธานอยู่ขา้ งหนา้ ประโยค เชน่ -ครสู อนหนังสอื -พอ่ รักลูก -รถแล่นเรว็ ๒.๒.๓.๑.๒ ประโยคกรรม คือ ประโยคที่นำเอากรรมการก ( ผู้ถกู กระทำ. ขน้ึ มาไว้ขา้ งหน้าประโยค เชน่ -นักเรยี นถกู ครูตี -ขนมนีก้ ินอร่อย -เส้ือตวั สแี ดงของฉันถูกลกั ไปแล้ว ๒.๒.๓.๑.๓ ประโยคกรยิ า คอื ประโยคทผ่ี ้พู ูดต้องการเน้นคำกริยา จงึ เอาคำกริยาขนึ้ มากล่าวไว้ก่อนบทประธาน คำกรยิ านนี้ ิยมนำมาเรยี งไวต้ น้ ประโยค มเี ฉพาะกริยาท่ีมี ความหมายว่า เกดิ มี ปรากฏ เชน่ -เกดิ อุทุกภัยขึน้ ที่ทางจงั หวัดภาคใต้ -มีพธิ กี รรมหลายอยา่ งในงานวันน้ี -ปรากฏเหตุการณ์อันน่าเศรา้ สลดข้ึนแลว้ ในโลก ๒.๒.๓.๑.๔ ประโยคการติ คือประโยคกรรตุ หรือประโยคกรรมทม่ี ี ผู้รับใช้แทรกเข้ามาโดยมกี รยิ า“ให้” เป็นกริยาสำคญั เช่น - แม่ให้นอ้ งทำอาหารเช้า -นกั ศึกษาถูกอาจารย์สั่งใหท้ ำรายงาน - คณุ พ่อบอกให้แมร่ บี กลบั บา้ นทันที ๒.๒.๓.๑.๕. ประโยคกริยาสภาวมาลา คอื ประโยคทีม่ ีกรยิ าสภาว มาลาขึน้ ต้นประโยค ( กรยิ าสภาวมาลา เปน็ คำกรยิ าท่ีนำมาใช้เป็นคำนามปรากฏในตำแหนง่ ประธาน ของประโยค. เชน่ - วิง่ ออกกำลงั เวลาเช้าทำใหร้ ่างกายแข็งแรง - ทำงานอย่างสมำ่ เสมอมผี ลต่อสุขภาพจติ ท่ีดี ๒.๒.๓.๒ จำแนกตามเจตนาของผู้สง่ สาร จำแนกตามเจตนาของผูส้ ง่ สาร มี ๕ ชนดิ คอื

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๑๔ ๒.๒.๓.๒.๑ ประโยคบอกเลา่ คือ ประโยคทม่ี ีใจความทเ่ี ปน็ กลาง ๆ เพ่ือ บอกเล่าเร่ืองราวทั่วไป ไม่เปน็ คำถาม ไม่เปน็ ปฏเิ สธ ไม่เปน็ คำสง่ั หรือคำขอร้อง ๒.๒.๓.๒.๒ ประโยคคำถาม คือ ประโยคท่ีมใี จความเป็นคำถามและตอ้ งการ คำตอบ เชน่ ใครเห็นเป้ของผมบ้าง - เธอกำลงั คิดถงึ อะไรอยู่ ๒.๒.๓.๒.๓ ประโยคปฏิเสธ คือ ประโยคท่ีมีใจความปฏิเสธหรอื ไม่ตอบรบั ซ่งึ จะมีคำวเิ ศษณท์ แ่ี สดงความปฏิเสธประกอบอยดู่ ้วย เชน่ ฉันไม่ชอบท่นี ี่เลย - พ่อมิได้มาเย่ียมนาน แล้ว ๒.๒.๓.๒.๔ ประโยคคำส่ัง คือ ประโยคท่สี ง่ สารเพ่ือสง่ั ใหท้ ำตาม หรอื หา้ มมิ ใหท้ ำตาม มักละภาคประธาน เชน่ เธอ เดนิ ดีๆนะ - เธอ. หา้ มทงิ้ ขยะบรเิ วณนี้ ๒.๒.๓.๒.๕ ประโยคขอรอ้ ง คือ ประโยคทผี่ ้สู ง่ สารเพื่อขอร้องวิงวอนหรอื ชกั ชวนให้ผรู้ ับสารกระทำอย่างใดอยา่ งหนึ่ง เช่น ชว่ ยหยบิ ปากกาใหผ้ มด้วยครับ – โปรดยนื เขา้ แถว หน้าห้องเรียนทุกเช้า ๒.๒.๓.๓ จำแนกตามสว่ นประกอบของประโยค จำแนกตามเนื้อความในประโยค จำแนกออกเปน็ ๓ ชนิดใหญ่ ๆ คอื ๒.๒.๓.๓.๑ เอกรรถประโยค( ประโยคความเดยี ว. คอื ประโยคสามัญท่ีมี ใจความเพียงอยา่ งเดียว กลา่ วคือ มีภาคประธานและภาคแสดงเพียงอยา่ งเดยี ว เช่น - ฟา้ แลบ(ฟ้าเป็นประธาน แลบ เปน็ ภาคแสดง. - นักศกึ ษาไปห้องสมดุ ทุกวัน(นักศกึ ษาเป็นภาคประธาน ไปห้องสมดุ ทุกวนั เปน็ ภาคแสดง. ๒.๒.๓.๓.๒-อเนกรรถประโยค หรอื ประโยคความรวม หมายถึง เป็น ประโยคทมี่ ีเอกรรถประโยคตั้งแต่๒ประโยคขึ้นไปมารวมกนั โดยมีสันธานตัวใดตัวหน่งึ เป็นบทเชือ่ มต่อ อเนกรรถประโยคแบ่งเป็นชนิดย่อย ตามชนิดของสันธานที่ทำให้เน้ือความแตกตา่ งกนั ๔ ชนิด คอื ๑.อนั วยาเนกรรถประโยค ได้แก่ อเนกรรถประโยค ท่ีมเี นื้อความ คลอ้ ยตามกัน อาจจะคล้อยตามกันตามเวลา ตามการกระทำหรือตามสญั ญานก็ได้ มักมีสันธานต่อไปน้ี และ….. ก็ แลว้ ….. จงึ ครัน้ ….. จงึ เปน็ ตน้ ดงั ตวั อย่างต่อไปน้ี - ผมมาถึงเขากไ็ ปพอดี - คร้นั รถไฟออกจากสถานี เขาจึงเดินทางมาถงึ - พอ่ กับแม่ไปตลาดนดั ๒. พยตเิ รกาเนกรรถประโยค ไดแ้ ก่ อเนกรรถประโยคท่มี เี นื้อความ ขดั แยง้ กนั สนั ธานที่ใช้เชอื่ มมีดังน้ี แต่ แต่ทวา่ ถงึ ….. ก็ กว่า…. ก็ เปน็ ตน้ ดงั ตวั อยา่ ง - ฉนั มวี ชิ า แตเ่ ขามีทรัพย์ - กวา่ เธอจะมาถึงเขากลับไปเสียแล้ว - ถึงหลอ่ นจะเป็นคนปากรา้ ยฉนั ก็ชอบหลอ่ น ๓. วกิ ลั ปาเนกรรถประโยค ได้แก่ อเนกรรถประโยคทีม่ ีเน้ือความให้ เลือกเอาอย่างใด

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๑๕ อย่างหนงึ่ สนั ธานทใี่ ช้เชอ่ื มมีดงั น้ี หรอื มิฉะนน้ั ไมเ่ ช่นน้ัน เป็นตน้ ดงั ตัวอย่าง - คณุ จะกลบั บา้ น หรือไปดภู าพยนตร์ - คุณตอ้ งมาสอบปลายภาคไม่เชน่ นั้นจะหมดสทิ ธไ์ิ ด้รบั ทุนการศึกษา ๔. เหตวาเนกรรถประโยค ได้แก่ อเนกรรถประโยคที่มีเน้ือความ เป็นเหตุเป็นผล(เหตตุ ้องมาก่อนผล. สันธานที่ใช้เชอื่ มมีดังนี้ จงึ ฉะนั้น ฉะนั้น…. จงึ ดังนนั้ เพราะเหตุ น้ัน เป็นตน้ ดังตวั อยา่ ง - เขาไมข่ ยนั อา่ นหนังสือจงึ สอบตก - เขาตง้ั ใจทำงานฉะนนั้ เขาจงึ ประสบความก้าวหนา้ - เขาประพฤตดิ ีเพราะฉะนน้ั เพื่อนบ้านจึงรกั เขา ๒.๒.๓.๓.๓ สงั กรประโยค หรอื ประโยคความซอ้ นหมายถงึ ประโยคซ่งึ ประกอบดว้ ยประโยคหลักหรือประโยคสำคัญ และมปี ระโยคยอ่ ยซึ่งเป็นประโยคความเดยี วซ้อนอยู่ ประโยคย่อยท่ซี อ้ นอยู่อาจทำหน้าที่เป็นประธาน บทขยายประธานกรรม หรือบทขยายกรรมของ ประโยคหลักน้นั เอง ตำราหลกั ภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสารเรียกประโยคหลักซง่ึ เป็นประโยค สำคญั ว่า มขุ ยประโยค และประโยคย่อยท่ีซอ้ นเขา้ มาวา่ อนุประโยค ๒.๒.๔ สังกรประโยคแบ่งออกเป็น ๓ ชนดิ ตามชนิดของอนุประโยค ๑. สงั กรประโยคทม่ี นี ามานุประโยคเป็นสว่ นประกอบ นามานปุ ระโยค คือ อนุ ประโยคที่ทำหน้าทแ่ี ทนคำนาม คำสรรพนาม หรือกรยิ าสภาวมาลา เชน่ - ครูสอนวชิ าภาษาไทยเป็นคนเลน่ ดนตรเี ก่ง - คนโบราณมกั สอนกนั วา่ ไก่งามเพราะขนคนงามเพราะแต่ง - กจิ การของพ่อค้าขายของเก่ากำลังเจริญร่งุ เรือง ๒. สงั กรประโยคทม่ี ีคุณานปุ ระโยคเปน็ ส่วนประกอบ คุณานปุ ระโยคหมายถึง อนุ ประโยคทีท่ ำหน้าท่ีแทนคำวเิ ศษณ์สำหรับประกอบนามหรือสรรพนาม มีประพนั ธสรรพนาม ได้แก่ ผู้ ท่ี ซง่ึ อัน เป็นบทเชื่อม เช่น - สุนัขทีเ่ หา่ มาก ๆ มักไม่กัดคน - อาหารท่ีมสี สี วย ๆ อาจเปน็ อนั ตรายได้ - ฉันชอบบ้านทต่ี ้ังอยูบ่ นเนนิ เขา ๓. สงั กรประโยคทม่ี วี ิเศษณานุประโยคเปน็ สว่ นประกอบ วิเศษณานุประโยคหมายถึง อนุประโยคทท่ี ำหนา้ ที่เปน็ วเิ ศษณป์ ระกอบกรยิ า หรือวเิ ศษณ์ด้วยกนั เอง มีบทเชือ่ มเชน่ เม่ือ จน เพราะ เพราะว่า เป็นตน้ ดังตัวอยา่ ง - เขาเดินเรว็ จนฉนั เดินตามไม่ทนั - เขามคี วามรูเ้ พราะเขาอา่ นหนงั สือมาก - หล่อนจะมาทันทเี ม่ือผมคิดถงึ หล่อน

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๑๖ บทท่ี ๓ การสรา้ งคำในภาษาไทย วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นประจำบท เมือ่ ศึกษาเนอ้ื หาในบทเรยี นนี้แลว้ ผศู้ กึ ษาสามารถ o ๑.สร้างคำในภาษาไทย และกลมุ่ คำไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง o ๒. อธบิ ายหน้าท่ขี องคำในภาษาไทยไดอ้ ย่างถกู ต้อง ขอบขา่ ยเนอื้ หา ๑. การสรา้ งคำในภาษาไทย ๒. หนา้ ท่ีของสรา้ งคำในภาษาไทย

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๑๗ ๓.๑ การสร้างคำในภาษาไทย ๓.๑.๑ คำมลู หมายถึง คำคำเดียวท่ีไม่ไดป้ ระสมกับคำอืน่ ซ่ึงคำมูลมีลักษณะดังน้ี ๑. มีความหมายสมบรู ณ์ในตัว ๒. มีมาแตเ่ ดมิ ในทกุ ภาษา ๓. อาจมพี ยางค์เดยี วหรอื หลายพยางค์กไ็ ด้ เชน่ แม่ กรรม ฉนั เหนอื วา้ ย ปา้ แดง ดำ แบตเตอรสี่ ับปะรด เป็นตน้ ข้อสังเกตเกยี่ วกบั คำมลู ๑. คำมลู ในภาษาไทยมักเปน็ คำพยางคเ์ ดียวสะกดตรงตวั ไมม่ ีคำควบกล้ำหรือการนั ต์ ๒. คำมลู หลายพยางค์ เม่ือออกเปน็ แต่ละพยางค์จะไม่มคี วามหมาย หรือความหมาย ไมเ่ ก่ยี วข้องกบั คำมูลนัน้ ๆ เลย ๓.๒ การสรา้ งคำใหม่ มีอยู่ ๓ แบบด้วยกนั ๓.๒.๑ คำซำ้ คำซำ้ คือคำคำเดยี วกนั นำมากลา่ ว ๒ ครง้ั มคี วามหมายเน้นหนักหรอื บางทตี า่ งกันไป หรือคำทเี่ พิ่มข้นึ โดยออกเสยี งให้ต่อเน่ืองกันกับคำเดยี่ วเพยี งคำเดยี ว จึงถือวา่ เปน็ คำสร้างใหม่ มีความ หมายใหมท่ ำนองเดยี วกับคำซ้อนกบั คำซำ้ ต่างกันก็แต่เพียงคำซำ้ ใชค้ ำคำเดยี วกันซ้อนกนั เท่าน้ัน และ เพอื่ ให้รวู้ ่าคำที่กลา่ ว๒ ครง้ั น้ันเปน็ คำซำ้ ไมใ่ ช่คำเดยี่ วๆ เรยี งกนั จึงต้องคิดเครือ่ งหมายกำกับไว้ ใน ภาษาไทยใช้ไมย้ มกแทนคำทา้ ยทซี่ ้ำกบั คำตน้ (ยมก แปลวา่ คู่ ไม้ยมกจงึ ใช้สำหรบั คำซ้ำที่มาเปน็ ค่ๆู กนั เท่าน้ันหาใช่มไี วแ้ ทนคำอื่นๆ ท่มี ีเสียงเดียวกนั ทุกคำไปไม่. หากไม่ใช้ไมย้ มกจะทำให้สังเกตยากว่า คำ ใดเป็นคำเดี่ยว คำใดเป็นคำซ้ำ เชน่ ชาวนาใส่เส้อื ดำดำนา หรอื พดู พดู ไปอยา่ งนั้นเอง (พูด ไมใ่ ช่คำซ้ำ. ๓.๒.๑.๑ ลกั ษณะของคำซำ้ ๑. คำซำ้ ทซ่ี ้ำคำนาม แสดงพหูพจน์ บอกว่านามน้นั มจี ำนวนมากกว่าหนงึ่ ไดแ้ ก่ เด็กๆ หนุ่มๆ สาวๆเช่น เห็นเด็กๆ เลน่ อยูใ่ นสนาม มีแต่หนมุ่ ๆ สาวๆ เดนิ ไปเดนิ มา ๒. คำซ้ำท่ซี ำ้ คำขยายนาม แสดงพหูพจน์กม็ ีเนน้ ลกั ษณะก็มี เช่น ฉันใหเ้ สอ้ื ดีๆ เขาไป เสอ้ื ตัวนี้ยังดีๆอยู่ มีแต่ปลาเป็นๆ บางทีเปล่ยี นเสียงวรรณยกุ ตท์ ี่คำต้นดว้ ยเมื่อต้องการเนน้ ลกั ษณะคำขยายน้นั ๆ ดังกล่าวแลว้ ในเรอ่ื งวรรณยุกต์ สว่ นมากเสยี งจะเปลีย่ นเป็นเสยี งตรี ดงั น้ีด๊ีดี เก๊า เกา่ บ๊าบ้า รา๊ ยร้าย ซ้วยสวย ๓. คำซ้ำทซ่ี ำ้ คำขยายนามหรือสรรพนาม แสดงความไม่เจาะจง หากพดู คำ เดีย่ วคำเดยี วยอ่ มเปน็ การยืนยันเจาะจงแน่นอนลงไป เช่น มะมว่ งเล็ก แสดงว่า เล็ก แน่ไมเ่ ป็นอืน่ แต่

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๑๘ ถ้าหากใชค้ ำซำ้ ว่า ลูกเลก็ ๆแสดงว่าอาจจะไม่เล็กทง้ั หมด มีเลก็ บ้างใหญ่บา้ ง แตส่ ว่ นมากเห็นแตล่ ูก เล็กๆ คำอน่ื ๆ กท็ ำนองเดยี วกันท่ีซำ้ คำขยาย ได้แก่ แดงๆ เช่น เสื้อสีแดงๆ แสดงวา่ ไม่แดงทเี ดียว แต่มี ลักษณะไปทางแดง พอจะเรียกวา่ แดง ได้ หรือกลมๆ เชน่ ผลไมล้ กู กลมๆ อาจจะไม่กลมดิก แตค่ ่อนไป ทางกลมอยา่ งไข่ก็ได้ท่ีซ้ำคำนาม ได้แก่ ผู้ใหญ่ๆ เด็กๆ เช่น พวกเด็กๆ น่งั คนละทางกับพวกผู้ใหญ่ๆ ซง่ึ ไมแ่ น่ว่าเป็นพวกเด็กท้ังหมด หรอื ผู้ใหญ่ท้ังหมดแตส่ ่วนมากเป็นเดก็ หรอื เป็นผู้ใหญ่ หรอื ดูเป็นเด็กดูเปน็ ผ้ใู หญท่ ่ซี ำ้ คำสรรพนามได้แก่ เราๆ ทา่ นๆ เขาๆ เราๆ หมายถงึ คนสองฝา่ ยแตไ่ ม่ไดร้ ะบุแนว่ ่าเป็นฝ่าย ใด ฝ่ายเดยี วกันหรอื ฝา่ ยตรงกันข้าม ทเ่ี ปน็ คำซ้ำซ้อนกัน ๒ คู่ ลกั ษณะเชน่ นก้ี ม็ ี เชน่ สวยๆ งามๆ ผิดๆ ถูกๆ ความหมายเจาะจงนอ้ ยกวา่ สวยงาม ผิดถกู ๔. คำซ้ำทซ่ี ำ้ คำนามหรอื คำบอกจำนวนนบั จะแยกความหมายออกเป็น ส่วนๆ เม่อื มคี ำ เป็นมาขา้ งหนา้ ถา้ ใชค้ ำเดี่ยวกเ็ ปน็ เพียงจำนวนคร้งั เดียว แต่ถา้ ใช้คำซำ้ นอกจากจะวา่ จำนวนนัน้ มมี ากกวา่ หนง่ึ แล้ว ยังแยกออกไปเปน็ ทีละหน่ึงๆ อีกด้วย เชน่ ชงั่ เป็นกโิ ลๆ (ช่งั ทีละกิโล และมีมากกวา่ กโิ ลหนึ่ง.ตรวจเปน็ บา้ นๆ ไป (ตรวจทีละบ้าน แตม่ ีหลายบา้ น. ซื้อเปน็ ร้อยๆ (ซ้ือหลาย ร้อย แตช่ ั่งหรอื นบั กันทลี ะร้อย.แตกเป็นเสยี่ งๆ (แตกออกหลายช้นิ แต่ละชน้ิ กระจัดกระจายกนั ไป. นา่ สงั เกตว่า ทำเป็นวนั ๆ กบั ทำไปวนั หนึ่งๆ มีความหมายต่างกันคือ ทำเปน็ วนั ๆ หมายความวา่ ทำวนั หน่ึงกไ็ ด้คา่ จา้ งทหี นึ่ง ทีละวันๆ ไป ส่วน ทำไปวันๆ คอื ทำงานให้พ้นๆ ทีละวันๆ ไป ๕. คำซำ้ ท่ซี ้ำบรุ พบท หรอื คำขยาย ใช้ขยายกริยาบอกความเนน้ เมอ่ื เป็น คำสั่งทซ่ี ำ้ คำบพุ บท ได้แก่ เขียนกลางๆ น่งั ในๆ เย็บตรงรมิ ๆหยิบบนๆ วางใตๆ้ ท่ซี ำ้ คำขยาย ไดแ้ ก่ เขยี นดีๆ พูดดังๆ เดนิ เร็วๆ วิ่งชา้ ๆ ๖. คำซำ้ ท่ซี ้ำจากคำซ้อน ๒ คู่ ใชเ้ ป็นคำขยายบอกความเน้น เช่น ออดๆ แอดๆ แสดงวา่ ปว่ ยไขเ้ สมอยิ่งกวา่ ออดแอด ง่อกๆ แง่กๆ ดูจะไม่ม่ังคงย่งิ กวา่ ง่อกแง่ก ขอ้ ควรสังเกต ๑.คำทีม่ ีเสียงซำ้ กันบางคร้ังไม่ใช่คำซ้ำ ได้แก่ เขาพูดกันไปต่าง ๆ นานา ฉันเห็นเขา จะจะเลย ทง้ั ๒ คำนเี้ ป็นคำมูลสองพยางค์ จะไม่ใชไ้ มย้ มก ๒.คำทีม่ ีความหมายและหนา้ ทีใ่ นประโยคตา่ งกันไมใ่ ช่คำซ้ำ เชน่ เมยก์ ำลังใชแ้ ปรง แปรงผ้าทกี่ ำลังซกั แปรง คำแรกเปน็ คำนาม แปรงคำท่สี อง เป็นคำกริยา ๓.๒.๒ คำซอ้ น คำซ้อน (บางทีเรยี ก คำคู่. คือ คำทม่ี คี ำเด่ยี ว ๒ คำ อันมีความหมายหรอื เสียง คล้ายกันใกล้เคียงกันหรอื เปน็ ไปในทำนองเดยี วกนั ซ้อนเขา้ คกู่ ัน เม่ือซ้อนแล้วจะมีความหมายใหม่ เกดิ ขึ้น หรือมคี วามหมายและทใ่ี ชต้ ่างออกไปบา้ ง คำซ้อนแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท คือ ๓.๒.๒.๑ คำซ้อนเพ่ือความหมาย ๓.๒.๒.๒ คำซอ้ นเพื่อเสียง เจตนาในการซ้อนคำก็เพอ่ื ให้ไดค้ ำใหม่ มีความหมายใหม่ ถ้าซ้อนเพือ่ ความหมาย ก็มงุ่ ท่ีความหมายเป็นสำคญั ถา้ ซ้อนเพื่อเสียง กม็ ุ่งท่ีเสียงเปน็ สำคัญ

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๑๙ ๓.๒.๒.๑ คำซ้อนเพอื่ ความหมาย ๑.วิธีสรา้ งคำซอ้ นเพื่อความหมาย ๑.๑ นำคำเด่ยี วทีม่ ีความหมายสมบรู ณ์ มที ใี่ ชใ้ นภาษามาซ้อนเข้าคกู่ นั คำหนง่ึ เปน็ คำต้น อีกคำหน่งึ เป็นคำท้าย คำตน้ กบั คำทา้ ยมีความหมายคลา้ ยกัน ใกล้เคียงกัน หรอื ไป ในทำนองเดียวกนั อาจเปน็ คำไทยด้วยกนั หรือคำตา่ งประเทศดว้ ยกนั หรอื เป็นคำไทยกับคำตา่ ง ประเทศซ้อนกนั เขา้ กนั ก็ได้ ๑.๒ ซอ้ นกนั แล้วต้องเกดิ ความหมายใหม่ ซึง่ อาจไม่เปลี่ยนไปจาก ความหมายเดมิ มากนัก หรอื อาจเปลี่ยนไปเปน็ อันมาก แตถ่ ึงจะเปลยี่ นความหมายหรือไม่เปลย่ี น อย่างไรก็ตาม ความหมายใหม่ย่อมเน่ืองกบั ความหมายเดมิ พอเหน็ เค้าความหมายได้ ๒.ประโยชน์ของคำซอ้ นเพ่ือความหมาย ๒.๑ ทำให้ไดค้ ำใหมห่ รือคำที่มคี วามหมายใหม่ข้นึ ในภาษา เช่น คำ แนน่ กบั หนา ๒ คำ อาจสรา้ งให้เป็น หนาแน่น แนน่ หนา ๒.๒ ชว่ ยแปลความหมายของคำท่นี ำมาซอ้ นกนั คำที่นำมาซ้อนกนั ต้องมี ความหมายคล้ายกัน ๒.๓ ชว่ ยทำให้รู้หนา้ ทีข่ องคำและความหมายของคำได้สะดวกขน้ึ เช่น คำ เขา อาจเป็นได้ท้ังนามและสรรพนาม ความหมายก็ต่างกนั ไปด้วย ถ้าซอ้ นกันเป็น เขาหนัง (ดังท่กี ล่าว ว่า จับได้คาหนังคาเขา หรอื ในโคลงทีว่ ่า(โคควายวายชีพดว้ ยเขาหนัง. ย่อมรู้ได้ว่า เขา เป็นคำนาม หมายถงึ อวัยวะส่วนหน่ึงบนหัวของสัตว์บางชนิด แตถ่ ้าซ้อนกันเป็น ของเรา (เช่น ทพ่ี ูดวา่ ถือเขาถือเรา. เช่นน้ี เขาตอ้ งเป็นสรรพนาม หมายถงึ ผู้ท่เี ราพดู ถึงถา้ หากว่าใชค้ ำเดี่ยวๆ ๒.๔ ชว่ ยกำหนดเสียงสูงต่ำให้ได้ และทำให้รคู้ วามหมายไปไดพ้ ร้อมกัน เชน่ นา้ อา หน้าตา หนาแนน่ ๓. ลกั ษณะของคำซ้อนเพ่ือความหมายทเี่ ปน็ คำไทยซอ้ นด้วยกนั ๓.๑ ซ้อนแล้วความหมายจะปรากฏอยู่ที่คำต้นหรอื คำท้ายตรงตาม ความหมายนน้ั เพยี งคำใดคำเดียวอกี คำหน่ึงไม่มคี วามหมายปรากฏ เชน่ ๓.๑.๑ ความหมายปรากฏอย่ทู ค่ี ำต้น ได้แก่ -คอเหนียง (ในความ คอเหนยี งแทบหัก). -ใจคอ (ในความ ใจคอไมอ่ ยู่กับเนอื้ กับตวั ). -แก้มคาง (ในความ แก้มคางเปอ้ื นหมด). -หวั หู (ในความ หวั หยู ุง่ ). ๓.๑.๒ ความหมายปรากฏอยู่ท่ีคำทา้ ย ไดแ้ ก่ -หูตา (ในความ หตู าแวววาว). -เนื้อตวั (ในความ เนื้อตัวมอมแมม).

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๒๐ ๓.๒ ความหมายของคำซ้อนปรากฏที่คำใดคำเดยี วตรงตามความหมายนั้นๆ เช่น ข้อ ๑ ตา่ งกนั ก็แต่คำทีม่ าซ้อนเข้าคกู่ นั เป็นคำตรงกันข้ามแทนทจี่ ะมีความหมายเน่ืองกบั คำตรงกัน ขา้ มน้นั ๆ กลบั มีความหมายท่ีคำใดคำเดียวอาจเปน็ คำตน้ ก็ไดค้ ำทา้ ยกไ็ ด้ เชน่ ๓.๒.๑ ความหมายปรากฏทีค่ ำตน้ ไดแ้ ก่ -ผิดชอบ (ในคำความรบั ผิดชอบ). ๓.๒.๒ ความหมายปรากฏทีค่ ำท้าย ได้แก่ -ไดเ้ สีย (เชน่ เลน่ ไพ่ไดเ้ สียกนั คนละมากๆ). ๓.๓ ความหมายของคำซ้อนท่ีปรากฏอยทู่ ่ีคำท้งั สอง ทง้ั คำต้นและคำท้าย แต่ความหมายต่างกับ ความหมายของคำเดย่ี วอย่บู ้าง เชน่ -พีน่ ้อง หมายถึงผู้ท่ีอยใู่ นวงศ์วานเดยี วกนั เปน็ เช้อื สายเดยี วกันใคร อายุมาก นับเปน็ พ่ี ใครอายนุ ้อยนบั เป็นน้อง ถา้ ใชค้ ำว่าพ่ีน้องท้องเดยี วกนั จึงถือเปน็ ผ้รู ่วมบิดามารดา เดียวกัน -ลูกหลาน กเ็ ช่นกัน มไิ ด้หมายเจาะจงว่า ลูกและหลาน หรือลกู หรอื หลาน เช่น เขาเป็นลกู หลานครูยอ่ มหมายถึงผูท้ ีส่ บื เชอื้ สายมาจากครูอาจเปน็ ลูกหรอื หลายหรอื เหลน กไ็ ด้ ไม่ไดร้ ะบลุ งไปแน่ ๓.๔ ความหมายของคำซอ้ นปรากฏเด่นอยทู่ ี่คำใดคำเดยี ว สว่ นอกี คำหนึ่งถงึ จะไม่มีความหมายปรากฏ แตก่ ็ช่วยเนน้ ความหมายยง่ิ ข้ึน เช่น เงียบเชียบ เชยี บไม่มีความหมาย แต่ ชว่ ยทำให้คำ เงียบเชียบ มีความหมายวา่ เงยี บ มากยง่ิ กวา่ เงียบ คำเดย่ี วคำเดียว ดอ้ื ดึง กม็ ลี ักษณะ ด้อื มากกวา่ ดื้อดงึ ขนาดใครว่าอยา่ งไรก็ไม่ฟัง จะทำตามใจตนให้ได้คล้ายคลงึ มลี ักษณะ เหมือน มากกวา่ คล้าย ๓.๕ ความหมายของคำซ้อนกับคำเดี่ยวต่างกนั ไป บางคำอาจถงึ กบั เปลี่ยนไปเป็นคนละความ ทีใ่ ดควรใช้คำเดยี ว กลับไปใชค้ ำซ้อนหรือกลบั กัน ท่ีใดควรใช้คำซ้อนกลับไป ใชค้ ำเด่ยี ว เช่นนี้ ความหมายยอ่ มผิดไป คำซ้อนลักษณะนี้ได้แก่ -พรอ้ ม กบั พร้อมเพรียง เช่น เด็กมคี วามพร้อมที่จะเรยี น หมายความวา่ ประสาทตา่ งๆ ถงึ เวลาจะทำงานได้ครบถว้ น เพราะพรอ้ ม แปลวา่ เวลาเดยี วกัน ครบ ครนั ฯลฯ หากใชว้ ่าเด็กมีความพรอ้ มเพรียงทีจ่ ะเรยี น ต้องหมายว่ามีความรว่ มใจกันเป็นอนั หนึ่งอัน เดียวกันในการเรยี น เพราะพรอ้ มเพรียง มคี วามหมายเชน่ นน้ั -แข็ง กับ แข็งแรง แข็งอาจใชไ้ ดท้ ง้ั กายและใจ เชน่ เปน็ คนแข็งไม่ ยอมออ่ นขอ้ ให้ใคร หรอื ใจแข็ง ไมส่ งสาร ไม่ยอมตกลงดว้ ยง่ายๆ ส่วนแขง็ แรง ใช้แต่ทางกายไม่เด่ยี ว กับใจ คนแข็งแรงคือคนร่างกายสมบูรณม์ เี รยี่ วแรงมาก ๓.๖ คำซอ้ นทีค่ ำตน้ เปน็ คำคำเดยี วกันแตค่ ำทา้ ยตา่ งกนั ความหมายย่อม ต่างกนั ไป เชน่ -จัดจ้าน (ปากกล้า ปากจดั . กับ จดั เจน (สันทัด ชำนาญ). -เคลอื บแคลง (ระแวง สงสัย. กับ เคลือบแฝง (ชวนสงสัยเพราะ ความจริงไม่กระจ่าง).

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๒๑ -ขดั ข้อง (ตดิ ชะงักอยู่ ไมส่ ะดวก. กบั ขดั ขวาง (ทำใหไ้ มส่ ะดวกไป ไดไ้ มต่ ลอด). ๓.๗ ความหมายของคำซ้อนขยายกว้างออก ไม่ได้จำกัดจำเพาะความหมาย ของคำเดีย่ วสองคำ มาซ้อนกัน ได้แก่ -เจ็บไข้ ไม่ไดจ้ ำกัดอยู่แต่เพยี งเจบ็ เพราะบาดแผลหรือฟกชำ้ และมี อาการความร้อนสงู เพราะพิษไขแ้ ต่หมายถงึ อาการไม่สบายเพราะสุขภาพไม่ดเี รื่องใดๆ กไ็ ด้ -ทุบตี หมายถึงทำรา้ ยด้วยวิธกี ารต่างๆ อนั อาจเปน็ เตะ ต่อย ทุบ ถอง ฯลฯ ไม่ไดห้ มายเฉพาะทำรา้ ยดว้ ยวิธที ุบและตีเทา่ น้ัน -ฆา่ ฟัน ไม่จำเป็นต้องทำใหต้ ายด้วยคมดาบ อาจใชป้ ืนหรอื อาวุธ อย่างอนื่ ทำใหล้ ม้ ตายก็ได้ ๔. ลักษณะคำซ้อนเพ่ือความหมายที่เป็นคำไทยซ้อนกับคำภาษาอนื่ ส่วนมากเปน็ คำภาษาบาลีสันสกฤตและเขมร เพ่ือประโยชนใ์ นการแปล ความหมายดว้ ยในการสร้างคำใหม่ด้วยดังกล่าวแลว้ คำที่มาซอ้ นกันจึงต้องมคี วามหมายคลา้ ยกันเมื่อ ซ้อนแลว้ ความหมายมักไม่เปลย่ี นไป คำซ้อนลักษณะน้ีมีดังน้ี คำไทยกับคำบาลสี นั สกฤต ได้แก่ ซากศพ (ศพ จาก ศว สนั สกฤต. รปู ร่าง โศกเศร้า ยวดยานทรัพยส์ นิ (ทรัพย์ จาก ทรฺ วฺย สนั สกฤต. ถิ่นฐาน จิตใจ ทุกข์ยาก คำไทยกับคำเขมร ไดแ้ ก่ แสวงหา เงยี บสงดั เงยี บสงบ ถนนหนทาง สะอาด หมดจด ยกเลกิ เด็ดขาด ๔.๑ คำภาษาอนื่ ซ้อนกนั เอง คำบาลกี ับสันสกฤตซ้อนกนั เอง ไดแ้ ก่ อทิ ธฤิ ทธ์(ิ อิทธฺ ิ บ. + ฤทธฺ ิ ส). รูปพรรณ (รปู บ.ส. + พรรณ จาก วรณฺ ส). รูปภาพ (รปู + ภาพ บ.ส). ยานพาหนะ (ยาน + วาหน บ.ส). ทรพั ย์สมบัติ (ทฺรวยฺ ส. + สมปฺ ตตฺ ิ บ.ส). คำเขมรกับบาลสี นั สกฤต ไดแ้ ก่ สุขสงบ สรงสนาน เสบียงอาหาร คำเขมรกับเขมรได้แก่ สะอาดสอาง สนุกสบาย เลศิ เลอ สงบเสงย่ี ม ๔.๒ คำซ้อนเพื่อเสียง ด้วยเหตทุ คี่ ำซ้อนเพื่อเสยี ง มุ่งท่เี สยี งย่ิงหวา่ ความหมาย คำท่เี ขา้ มา ซอ้ นกนั จงึ อาจจะไมม่ คี วามหมายเลย เชน่ โล กับ เล หรือมีความหมายเพยี งคำใดคำเดยี ว เช่น มอมกบั แมม มอม มคี วามหมายแต่ แมม ไมม่ ีความหมาย บางทแี ต่ละคำมีความหมาย แต่ความหมาย ไมเ่ น่ืองกบั ความ หมายใหม่เลย เชน่ งอแง งอ หมายว่า คด โค้ง แต่ แง หมายถงึ เสยี งร้องของเด็ก สว่ น งอแง หมายวา่ ไมส่ ู้ เอาใจยาก วิธีการสร้างคำซ้อนเพ่ือเสยี ง จงึ ตา่ งกับคำซอ้ นเพ่ือความหมายดังนี้

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๒๒ ๔.๒.๑ วธิ สี รา้ งคำซ้อนเพ่อื เสียง ๒.๑.๑ นำคำท่ีเสียงมที ่เี กดิ ระดับเดยี วกนั หรือใกลเ้ คยี งกนั ซอ้ นกันเขา้ ๒.๒.๒ ซ้อนกันแล้ว จะเกิดความหมายใหม่ ซึ่งโดยมากไม่ เน่ืองกบั ความหมายของคำเดี่ยวแต่ละคำ แต่ท่มี คี วามหมายเนือ่ งกันก็มี สระหนา้ กับกลาง อิ+ อะ เช่น จรงิ จัง ชงิ ชัง เอะ เอ + อะ อา เชน่ เกะกะ เปะปะ เบะบะ เละละ เกง้ กา้ ง เหง่งหง่าง แอะ แอ + อะ อา เชน่ แกรกกราก สระกลางกบั กลาง อึ+ อะ เช่น ขงึ ขัง ตึงตัง กงึ กัง ตกึ ตัก ทึกทัก หงึกหงัก เออะ เออ + อะ อา เชน่ เงอะงะ เทอะทะ เรอ่ รา่ เซ่อซ่า เลก่ิ ลั่ก เยิบยาบ สระหลงั กบั กลาง อ+ุ อะ อา เชน่ ตุต๊ ะ๊ ปุปะ กกุ กัก รงุ รงั ปุบปบั งุ่นงา่ น ซมุ่ ซา่ ม รมุ่ ร่าม โอะ โอ + อะ อา เชน่ โดง่ ดัง กระโตกกระตาก โครง่ คร่าง โผงผาง เอาะ ออ + อะ อา เชน่ หมองหมาง ๑.เสียงของคำท่มี าซ้อนกันมเี สยี งทีเ่ กดิ ระดับเดยี วกนั ดงั กลา่ วแล้วในเร่ืองเสยี งสระ เสยี ง ระดบั เดยี วกนั คือ เสยี งทเี่ กิดเม่อื โคนลนิ้ หรือปลายลน้ิ กระดกข้นึ ไดร้ ะดับเดียวกนั เสียงสระหนา้ กับสระ หลังที่ถอื ว่าอย่ใู นระดบั เดียวกัน ไดแ้ ก่ อิ กับ อุ เอะ กบั โอะ แอะ กบั เอาะ แต่คำทีน่ ำมาซอ้ นกนั เสียง สระหลังจะเป็นคำตน้ เสียงสระหน้าเปน็ คำทา้ ย ทเี่ ป็นเชน่ นคี้ งเปน็ เพราะเมื่อเวลาออกเสียง ลมหายใจ จะตอ้ งผา่ นจากดา้ นหลังของปากมาทางดา้ นหน้า คำท่ีซ้อนเพ่อื เสียงลักษณะนี้มีดงั น้ี อุ อ+ู อิ อี เชน่ ดกุ ดกิ ยุ่งยิง่ กรุม้ กร่มิ อุบอบิ อู้อี้ บ้บู ้ี จจู้ สี้ สู ี โอะ โอ + เอะ เอ เช่น โงกเงก โอนเอน โย่งเยง่ บ๊งเบง๊ โอ้เอ้ โย้เย้ โผเผ เอาะ ออ + แอะ แอ เชน่ งอ่ กแง่ก จ๋องแจง๋ กรอบแกรบ กลอ้ มแกล้ม อ้อแอ้ งอแง รอ่ แร่ วอแว ทเี่ ป็นสระผสมก็มี สว่ นมากเป็นสระผสมกบั หลงั ดังนี้ ๑.๑ สระหน้ากับหน้า เอยี + ไอ อาย เช่น เรย่ี ไร เร่ยี ราย เบยี่ งบา่ ย เอยี งอาย ไอ + เอยี เชน่ ไกลเ่ กล่ยี ไล่เล่ีย

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๒๓ ๑.๒ สระหลงั กับหลัง อัว + เอา เช่น ย่ัวเยา้ มัวเมา ๑.๓ สระหลงั กับหน้า เอา อาว + ไอ อาย เชน่ เมามาย ก้าวกา่ ย อัว + เอีย เช่น อว้ั เอย้ี ย้ังเย้ีย กล้วั เกลี้ย ตว้ มเตย้ี ม ปว้ นเปยี้ น ๒. เสยี งของคำท่ีมาซ้อนกันมีทเี่ กดิ อ่ืนๆ นอกจากที่กลา่ วแล้วคำทีม่ ีตวั สะกด ตวั สะกดคำต้น กับคำท้ายต่างกันกม็ ี ดังน้ี ๒.๑ สระกลางกบั หนา้ อะ + เอยี เชน่ พบั เพยี บ ยดั เยยี ด ฉวัดเฉวียน ๒.๒ สระกลางกบั หลัง เอือ + อา เช่น เจือจาน ๒.๓ สระกลางกับหลัง อะ + อัว เช่น ผันผวน ๒.๔ สระหนา้ กับกลาง เอีย + อา เช่น เรย่ี ราด ตะเกียกตะกาย ๒.๕ สระหนา้ กบั หลัง เอ + ออ เชน่ เร่รอ่ น ๒.๖ สระหลังกับกลาง อวั + อา เช่น ช่วั ชา้ ลวนลาม ๒.๗ สระหลังกับหนา้ อัว + เอ เชน่ รวนเร สรวลเส เอา + อี เช่น เซา้ ซี้ ๒.๘ สระหลังกับหลัง โอ + เอา เช่น โง่เงา่ ๓. คำทีน่ ำมาซ้อนกันมสี ระเดียวกันแต่ตวั สะกดตา่ งกัน มี๒ ลักษณะดว้ ยกนั ๓.๑ ตวั สะกดตา่ งกนั ในระหวา่ งแมต่ ัวสะกดวรรคเดียวกนั คอื ระหวา่ ง แม่กก กับ กง แม่กด กับ กน และแมก่ บ กับ กม ดงั น้ี แม่กก กบั แม่กง เช่น แจกแจง กกั ขัง แมก่ ด กับ แม่กน เช่น อัดอั้น ออดอ้อน เพลิดเพลิน จัดจ้าน คดั คา้ น แม่กบ กับ แม่กม เชน่ รวบรวม ปราบปราม ๓.๒ ตัวสะกดตา่ งกันไมจ่ ำกดั วรรค ไดแ้ ก่ แมก่ ก กับ แม่กม เช่น ชุกชมุ แม่กก กับ แม่กน เช่น แตกแตน ลกั ล่ัน ยอกย้อน

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๒๔ แมก่ ก กบั แมเ่ กย เชน่ ทกั ทาย ยกั ย้าย หยอกหย็อย แม่กด กับ แมก่ ง เชน่ สอดส่อง ๔. คำที่นำมาซ้อนกัน ตา่ งกันทัง้ เสียงสระ และตัวสะกด แม่กก กบั แม่กง เชน่ ยุ่งยาก ยักเยอื้ ง กระดากเด่ือง แมก่ ก กับ แม่กน เช่น รุกราน บุกบ่ัน ลุกลน แมก่ ก กบั แม่กม เชน่ ขะมกุ ขะมอม แม่กก กับ แมเ่ กย เชน่ แยกย้าย โยกยา้ ย ตะเกยี กตะกาย แมก่ ง กับ แมเ่ กย เช่น เบย่ี งบ่าย เอียงอาย มงุ่ หมาย แมก่ ง กับ แมก่ น เชน่ ค่ังแคน้ กะบงึ กระบอน แม่กด กับ แมก่ ง เช่น ปลดเปล้ือง ตปุ ดั ตปุ ่อง เริดร้าง ตะขิดตะขวง แม่กด กับ แมก่ น เช่น อิดเอ้ือน ลดหล่ัน แมก่ น กบั แม่กง เช่น เหินห่าง พรัน่ พรึง หม่นหมอง แค้นเคือง แม่กน กับ แมก่ ม เชน่ รอนแรม ลวนลาม แม่กบ กบั แมก่ ม เช่น ควบคุม แมก่ ม กับ แม่กง เชน่ คลุ้มคลั่ง แมก่ ม กับ แมเ่ กย เชน่ ฟุ่มเฟือย คำซอ้ นท่ีคำทา้ ย เปน็ คำที่ไม่มีเสียงตัวสะกดเลยก็มี เช่น ลบหลู่ ปนเป เชือนแช พื้นเพ หมิน่ เหม่ ลาดเลา หดหเู่ ขมด็ แขม่ เตร็ดเตร่ โรยรา ตะครั่นตะครอ-ทลุ กั ทเุ ล-คลกุ คลี ๕. คำที่ซ้อนกนั มสี ระเดยี วกนั แตต่ ัวสะกดคำทา้ ยกร่อนเสยี งหายไป คำเหล่านเ้ี ช่อื ว่าคงจะ เป็นคำซ้ำ เมื่อเสียงไปลงหนักที่คำตน้ เสียงคำท้ายทไ่ี มไ่ ด้เนน้ จงึ กรอ่ นหายไป น่าสังเกตวา่ เมอื่ ตวั สะกด กร่อนหาย ไป เสียงสูงต่ำจะเปลย่ี นแปลงไปด้วยเพ่ือชดเชยกับเสียงกร่อนนัน้ ๆ ไดแ้ ก่ จอนจอ่ (จาก จอนๆ. งอนหง่อรอ่ ยหรอ เลินเลอ่ เตนิ เตอ่ เทนิ เถ่อ โยกโย้ ทนโท่ ดนโด่ (ในคำกระดกกระดนโด่) คำซอ้ นเพ่ือความหมายที่สับหนา้ สับหลัง แลว้ มคี วามหมายทงั้ สองคำ ไดแ้ กแ่ นน่ หนา กบั หนาแน่น แน่นหนา ความหมายเน้นท่ี แน่น อยา่ งไมห่ ลุดไม่ถอน แนน่ หนา คือ แน่นมาก เชน่ ใส่ กุญแจแน่นหนา คือ ใส่กญุ แจเรียบรอ้ ยทุกดอก ไขอยา่ งไรกไ็ ม่ออก ส่วน หนาแน่น ความหมายเน้นที่ หนา ซึ่งตรงขา้ มกบั บาง มกั ใช้กับผู้คนจำนวนมาก เช่น ผคู้ นหนาแน่น บา้ นช่องหนาแนน่ (คอื บ้านมี มากหลงั ผคู้ นย่อมจะมีมากไปด้วย. อย่กู ิน กับ กินอยู่ กินอยู่ หมายถึงพกั อาศัย อาจรวมถงึ กนิ อาหาร ด้วย เช่น ให้เงินคา่ กนิ อยู่ คือ ใหค้ ่าทีพ่ ักและคา่ อาหาร สว่ นอยกู่ ินน้ันหมายเลยไปถึงการดำเนนิ ชวี ิต ฉนั สามีภรรยา ๕.๑ คำซอ้ น ๔ คำหรือ ๖ คำ คำซอ้ นลักษณะนี้ไม่วา่ จะเป็น ๔ คำหรือ ๖ คำ จะมีสัมผัสกลางคำ ส่วนท่ี สัมผสั กันนัน้ เหน็ ไดช้ ัดวา่ เพื่อประโยชนท์ างเสยี งโดยแท้เพราะความหมายไม่ไดป้ รากฏที่น่ันความหมาย ของทัง้ คำปรากฏทค่ี ำตน้ กบั คำท้ายบา้ ง หรือปรากฏท่คี ำข้างหน้า ๒ คำบา้ ง ส่วนคำขา้ งท้าย๒ คำ ไม่ ปรากฏความหมาย

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๒๕ หนองยงุ่ (เกีย่ วดอง. ๕.๑.๑ ท่คี วามหมายปรากฏที่คำตน้ และคำท้าย -ยากดีมีจน ยากจน. ผลหมากรากไม้ ผลไม้. ขา้ วยาก -หมากแพง ข้าวแพง. เอาใจดูหใู ส่ เอาใจใส่.หวั หายสพายขาด (หัวขาด). ๕.๑.๒ ท่คี วามหมายปรากฏที่คำข้างหน้า ๒ คำ -เจ็บไข้ได้ปว่ ย (เจ็บไข้. อดอยากปากแหง้ (อดอยาก. เกย่ี วดอง -ดหู มน่ิ ถิ่นแคลน (ดหู ม่ิน. รูปโฉมโนมพรรณ (รูปโฉม. ที่ไมป่ รากฏความหมายทค่ี ำใดๆ เลยก็มี ตอ้ งถือเป็นเรอ่ื งซ้อนเพื่อเสียงแทๆ้ เช่น อลี ยุ่ ฉยุ แฉก อหี ลุกขลกุ ขลกั อีหร่ำตำ่ ฉึก ท่ีซ้อน ๖ คำ ความหมายอยู่ที่คำตน้ กับคำทา้ ย ได้แก่ อด ตาหลบั ขบั ตานอน (อดนอน. แตส่ ว่ น ขิงก็ราขา่ ก็แรง มีความหมายทั้ง ๖ คำ ๕.๒ คำซ้อน ๒ คู่ คำซ้อนลักษณะนีจ้ ะมคี ำทม่ี ีคำ๒ คำ ซ่ึงอาจเป็นคำซ้อนหรือไม่ใชค่ ำซ้อนก็ ได้ ซอ้ นกันอยู่๒ คู่ดว้ ยกนั มีลักษณะต่างๆ กนั ๕.๒.๑ คำซอ้ นสลับ คอื คำซ้อน ๒ คสู่ ลบั ท่กี นั คู่แรกแยกเป็นคำที่๑ กบั ๓ คู่ท๒่ี แยกเปน็ คำที่๒ กบั ๔ คำทีน่ ำมาซ้อนกันมกั เปน็ คำตรงกันขา้ ม ความหมายทง้ั คำจึงตา่ งกบั ความหมายของคำท่แี ยกออกไปบา้ ง ดังนี้ -หน้า ชนื่ อก ตรม ปากหวานกน้ เปรีย้ ว ผดิ ชอบช่วั ดี หนกั นิดเบาหนอ่ ย ๕.๒.๒ คำที่ซอ้ นกนั เปน็ ๒ คู่เป็นคำประสมไม่ใช่คำซ้อน ซึ่งมคี ำท๑ี่ กบั ๓ เป็นคำเดยี วกนั และคำที่๒ กับ ๔ เป็นคำท่ีมคี วามหมายใกลเ้ คียงกนั ใชซ้ อ้ นกันอยู่ ความหมายจะเดน่ อยู่ทค่ี ำขา้ งหนา้ หรือคำขา้ งท้าย ๒ คำ คำที่๒ กบั ๔ มักเปน็ คำนาม ที่เปน็ คำกรยิ ากม็ บี ้าง -อด หลับ อด นอน (อดนอน ความหมายเด่นอย่ทู ่ีคำทา้ ย ๒ คำ. -ผิดหูผดิ ตา (ผดิ ตา ความหมายเดน่ อย่ทู ่ีคำท้าย. -ถกู อกถูกใจ (ถูกใจ ความหมายเด่นอยทู่ ี่คำท้าย. -หนา้ อกหน้าใจ (หนา้ อก ความหมายเด่นอยูท่ ค่ี ำหน้า ๒ คำ. -หายใจหายคอ (หายใจ ความหมายเดน่ อยู่ที่คำหน้า ๒ คำ. -เปน็ ทกุ ข์เปน็ ร้อน (เป็นทุกข์ ความหมายเดน่ อยู่ท่ีคำหนา้ ๒ คำ. น่าสงั เกตวา่ ถ้าเปน็ เร่ืองรา่ งกาย ความหมายเดน่ อยูท่ ี่คำอก แต่ถา้ เป็นเร่ืองความร้สู ึกความหมายอยู่ทใี่ จ ๕.๒.๓ คำที่ซ้อนกนั เปน็ คำประสม ๒ คู่ คำที่๒ กับ ๔ เปน็ คำตรงกันข้าม สว่ นคำท๑่ี กับ ๓ เปน็ คำเดียวกนั ความหมายของคำซ้อนลักษณะนจ้ี ึงตา่ งกบั ความหมายของคำเด่ียวท่ี แยกออกไปทีละคำ ดังน้ี

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๒๖ -มิดีมิรา้ ย หมายความว่า รา้ ย (ไม่ใชว่ ่าไมด่ ไี มร่ ้ายเป็นกลางๆ อยา่ งไม่ได้ไม่ เสีย ไม่แพ้ไม่ชนะ. -พอดีพอรา้ ย หมายความวา่ ปานกลาง ไม่ดีมากแต่ก็ไม่เลวมาก -ไม่มากไม่น้อย หมายความวา่ วางตวั พอดี เฉยๆ คำในข้อ ๒ กบั ข้อ ๓ อาจถือเปน็ คำซอ้ นซ้ำ คือคำที่๑ กบั ๓ เปน็ คำซำ้ ซอ้ นสลับคู่กบั คำซ้อนที่เป็นคำท่ี ๒ กบั ๔ แตท่ ี่จริงข้อ ๒ ควรเปน็ คำประสมมากกว่าเพราะคำ อด ผิด ถกู หนา้ หาย เปน็ ฯลฯท่ีเปน็ ตัว ซำ้ ไดม้ าจากคำประสมวา่ อดนอน ผดิ ตา ถกู ใจ หน้าอก หายใจ เป็นทกุ ข์ หรือคำประสมที่ตรงกันข้าม เชน่ มดิ ี กับมริ า้ ย ไม่ใช้วา่ กำหนดขึ้นมาตามชอบใจ ๕.๓ การใช้คำซอ้ นเพอ่ื เสยี ง มีใชแ้ ตเ่ ปน็ คำวิเศษณ์เสยี โดยมาก มที ั้งวเิ ศษณ์ขยายนามและขยายกรยิ า ที่ ใช้เป็นกรยิ ากม็ ีบ้าง แตท่ ่ีเปน็ คำนามมนี ้อย -ทใ่ี ชเ้ ป็นคำขยายนาม ได้แก่ เกะกะ เงอะงะ รุงรงั ซุ่มซ่าม -ที่ใชเ้ ป็นคำขยายกรยิ า ได้แก่ ย้วั เย้ีย ง่อกแง่ก ต้วมเตีย้ ม อุบอบิ -ท่ีใช้เปน็ คำกรยิ า ไดแ้ ก่ สสู ี เบยี่ งบ่าย ตะเกยี กตะกาย ยวั่ เยา้ -ทีใ่ ช้เป็นนาม ได้แก่ ผลหมากรากไม้ รปู โฉมโนมพรรณ ๕.๔ ประโยชน์ของคำซ้อนเพอ่ื เสียง ๑. ทำใหไ้ ดค้ ำใหมท่ ี่สร้างได้ง่ายกวา่ คำซ้อนเพ่ือความหมาย ๒. ได้คำทีม่ เี สยี งกระทบกระท่ังกัน เหมาะที่จะใชใ้ นการพรรณาลักษณะให้ ได้ใกลเ้ คียงความจริง ทำให้เห็นจรงิ เหน็ จงั ยง่ิ ขึน้ ๓. ไดค้ ำท่มี ที ้ังเสยี งและความหมายใหม่ โดยอาศัยคำเดิมท่ีมีอยู่แล้ว ขอ้ ควรสงั เกต ๑. คำซอ้ นในภาษาไทยส่วนใหญม่ ีเสียงสัมผสั กนั เช่น ซาบซึง้ ปนี ปา่ ย เฮฮา ๒. คำทม่ี ๒ี พยางค์ อาจซ้อนกนั กลายเป็นคำซ้อน ๔ พยางค์ เชน่ เฉลียวฉลาด ตะเกยี กตะกาย ๓.๓ คำประสม ๓.๓.๑ คำประสม คำทมี่ ีคำ๒ คำหรือมากกวา่ น้ันมาประสมกนั เขา้ เปน็ คำใหม่อีกคำหนง่ึ เจตนาในการ สร้างคำประสมก็เป็นเช่นเดียวกบั คำซ้อน คือให้ไดม้ ใี หม่ใช้ในภาษา ๓.๓.๒ ลกั ษณะคำประสม คำประสมที่สร้างมีลักษณะต่างๆ ตามการใช้ แยกไดเ้ ปน็ ท่ใี ช้เปน็ คำนาม คำกรยิ า และคำวเิ ศษณ์คำประสมทใี่ ชเ้ ปน็ คำนาม สว่ นมากคำตัวตง้ั เปน็ คำนาม ทีเ่ ปน็ คำอืน่ กม็ บี ้างคำประสม ประเภทนีใ้ ชเ้ ปน็ ช่ือสง่ิ ตา่ งๆ ที่มคี วามหมายจำกัดจำเพาะ พอเอย่ ชื่อข้นึ ยอ่ มเป็นท่ีรบั รูว้ ่าเป็นชอ่ื ของ

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๒๗ อะไรหากคำนั้นเปน็ ทยี่ อมรบั ใช้กันทวั่ ไปแลว้ ๑. คำตัวตง้ั เป็นนามและคำขยายเปน็ วเิ ศษณ์ ไดแ้ ก่ มด+แดง คือ มดชนิดหน่ึงตวั สีแดง ไม่ใช่มดตวั สแี ดงท่ัวๆ ไป อาจเตมิ ต่อเป็น มด+ แดง+ไฟ ก็ได้เป็นการบอกประเภทยอ่ ยของ มดแดง ลงไปอีกทีหนงึ่ รถ+เรว็ คือรถไฟที่เร็วกว่าธรรมดา เพราะไม่ไดห้ ยุดแวะทกุ สถานี นำ้ +แขง็ คือ นำ้ ชนดิ หนง่ึ ทแ่ี ข็งเปน็ ก้อนด้วยความเยน็ จัดตามธรรมชาติ หรอื ทำขึน้ ทีเ่ ราใช้อย่ทู ุกวนั หมายถึงนำ้ ที่แขง็ เป็นก้อนด้วยกรรมวธิ อี ยา่ งหน่ึง คำประสมลักษณะน้ีมุ่งบอกลักษณะ ของสงิ่ นัน้ ๆ ยิง่ กว่าอ่ืน จงึ ใช้คำขยายเป็นคำวิเศษณ์ ๒. คำตวั ตงั้ เป็นคำนาม คำขยายเป็นกริยา บางทีมีกรรมมารบั ด้วย ได้แก่ ผา้ +ไหว้ คือ ผา้ สำหรับไหวท้ ่ีฝ่ายชายนำไปให้แก่ญาตผิ ้ใู หญฝ่ ่ายหญงิ เพื่อแสดงความ เคารพในเวลาแต่งงาน ไม้+เท้า คือ ไมส้ ำหรบั เท้าเพ่ือยันตัว โตะ๊ +กนิ +ข้าว คอื โต๊ะสำหรบั กนิ ข้าว ๓. คำตัวต้ังเปน็ คำนาม คำขยายเป็นคำนามด้วยกนั ได้แก่ เรือน+ตน้ +ไม้ คือ เรอื นทไี่ ว้ต้นไม้ไม่ใหโ้ ดนแดดมาก เกา้ อี+้ ดนตรี คือ การเลน่ ชงิ เกา้ อี้มดี นตรปี ระกอบเปน็ สญั ญาณ คน+ไข้ คือ คนท่ีเจบ็ ไข้ไดป้ ่วย อยู่ในความดูแลของแพทย์พยาบาล แกง+ไก่ คือ แกงเผด็ ท่ใี ส่ไก่ ไมใ่ ชแ่ กงท่ีใส่ไก่ท่ัวๆ ไป ๔. คำตวั ตง้ั เปน็ คำนาม คำขยายเปน็ บุรพบท ได้แก่ คน+กลาง คือ คนท่ีไม่เข้าข้างฝ่ายใด คนทต่ี ดิ ต่อระหวา่ งผูซ้ ื้อกับผขู้ าย คน+ใน คอื คนในครอบครัว ในวงการ คนสนทิ เคร่ือง+ใน คือ อวยั วะภายในของสตั ว์ ซึ่งมักใช้เปน็ อาหาร ได้แก่ ตบั ไต ไส้ ของหมู ววั ควาย เป็นตน้ ฝา่ ย+ใน คอื หญงิ ท่สี งั กดั อยูใ่ นพระราชฐานชั้นใน เป็นเจ้านายและ ขา้ ราชการ ความ+ใน คอื เรื่องส่วนตวั ซ่งึ รกู้ ันในระหว่างคนสนิทกัน ๒-๓ คน คน+นอก คือ คนนอกครอบครัว นอกวงการ ของ+นอก คือ ของไมแ่ ท้ มกั ใช้หมายถงึ ทองวิทยาศาสตรท์ เี่ รยี กทองนอก เมอื ง+นอก คือ ตา่ งกระเทศ มกั หมายถึงยุโรป อเมริกา นกั เรยี น+นอกก็มักหมายถึงนักเรยี นท่เี รยี นในถ่ินทง้ั สองนั้น ฝ่าย+หนา้ คือ เจ้านายและข้าราชการทไี่ ม่ใชฝ่ ่ายใน ความ+หลงั คอื เร่ืองท่ีผา่ นมาแล้วของแตล่ ะคน เบี้ยล่าง คอื อยู่ใต้อำนาจ เบี้ย+บน คือ มีอำนาจเหนอื คำประสมลักษณะนยี้ ่อมมีความหมายท้งั หมดลงในคำคำเดียว

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๒๘ ๕. คำตวั ตง้ั ทีไ่ มใ่ ช่คำนาม และคำขยายก็ไม่จำกดั อาจเปน็ เพราะพูดไม่เตม็ ความ คำนามทีเ่ ป็น คำตัวต้ังจงึ หายไป กลายเปน็ คำกรยิ าบา้ ง คำวิเศษณบ์ า้ ง เป็นตวั ต้ัง ไดแ้ ก่ ตม้ +ยำ ต้ม+ส้ม ต้ม+ขา่ เป็นชื่อแกงแต่ละอยา่ ง มีลักษณะตา่ งๆ กัน เดมิ น่าจะมีคำ แกง อยู่ด้วยเพราะขณะนย้ี ังมีอกี มาก ท่ีพดู แกงตม้ ยำ แกงต้มส้ม แกง(ไก่.ต้มขา่ เรยี ง+เบอร์ คือ ใบตรวจเลขสลากกนิ แบง่ ของรัฐบาลทมี่ ีเบอร์เรียงๆ กนั ไป เดิมคงจะ มคี ำ ใบอย่ดู ว้ ย พมิ พ์+ดดี คอื เครือ่ งพมิ พด์ ีด คำ เครือ่ ง หายไป แต่ทยี่ ังใชเ้ คร่ือง ดว้ ยก็มี สาม+ลอ้ คอื รถสามลอ้ คำ รถจะหายไปในภายหลงั เชน่ เดียวกนั สาม+เกลอ (เคร่ืองยกตอกกระทุง้ ลง มีที่ถือสำหรับยกสามที่. สาม+ง่าม (ไม้หรอื เหล็กท่แี ยกเป็นสามง่าม อาวธุ ทมี่ ปี ลายแหลมเปน็ สามแฉก. ฯลฯ คำประสมทีใ่ ช้เป็นคำคณุ ศัพท์ คำตวั ต้งั อาจเป็นคำนาม คำกรยิ าหรอื คำวเิ ศษณ์ ก็ได้ เมื่อ ประสมแล้วใช้ในความหมายธรรมดากไ็ ด้ใชใ้ นความหมายเชิงอุปมาก็ได้ สว่ นมากใช้เป็นวเิ ศษณ์ขยาย นามท่ใี ชข้ ยายกริยาก็มบี า้ ง ๑. คำตัวตง้ั เปน็ นามและคำขยายเปน็ คำคุณศัพทห์ รืออ่นื ๆ เชน่ ช้นั ตำ่ ขยายนาม เช่น คน เปน็ คนช้นั ตำ่ ล้ินววั ขยายนาม เชน่ สตู เปน็ สตูล้นิ ววั ส้นสงู ขยายนาม เชน่ รองเทา้ เป็น รองเท้าส้นสูง ๒. คำตัวตัง้ เปน็ กรยิ าและคำขยายเป็นคำนามหรืออ่นื ๆ เช่น กันเปอ้ื น ขยายนาม เช่น ผา้ เป็น ผา้ กันเปือ้ น วาดเขยี น ขยายนาม เช่น ดนิ สอ กระดาษ เปน็ ดนิ สอวาดเขยี นกระดาษวาดเขยี น คดิ เลข ขยายนาม เช่น เคร่ือง เปน็ เครอ่ื งคิดเลข (คำนีล้ ะเคร่อื งไม่ไดอ้ ย่างเครื่อง พิมพด์ ดี . เผาขน ขยายนาม เชน่ ระยะ เป็น ระยะเผาขน คอื ระยะประชดิ ตวั กำลังกนิ ขยายนาม เชน่ มะม่วง เปน็ มะมว่ งกำลังกิน หรอื ใช้ กำลังกนิ กำลังนอน เช่น เดก็ วัยกำลังกนิ กำลงั นอน ๓. คำตัวต้ังเป็นคำวเิ ศษณแ์ ละคำขยายเปน็ คำนามและอนื่ ๆ เช่น เขยี วน้ำทะเล ใช้ขยาย สี เปน็ สีเขยี วน้ำทะเล หลายใจ ใช้ขยาย คน เปน็ คนหลายใจ มีความม่งุ หมายเชงิ อปุ มาวา่ เปลยี่ นใจ เปลีย่ นคนรักบ่อยๆ สองหวั ใช้ขยาย นก เป็น นกสองหัว มีความหมายเชงิ อุปมาวา่ คนท่ีเขา้ ทั้งสองขา้ ง ๔. คำตวั ตง้ั เป็นบรุ พบทและคำขยายเปน็ คำนามหรืออ่ืนๆเช่น กลางบ้าน ใช้ขยาย ยา เปน็ ยากลางบ้าน คือ ยาทีช่ าวบา้ นเชอื่ ถือกันเอง กลางแปลง ใช้ขยาย โขน หรือ ละคร เป็น โขนกลางแปลง ละครกลางแปลง คือ โขนหรือละครที่เล่นกลางแปลง ในใจ ใช้ขยาย เลข เปน็ เลขในใจ ขา้ งถนน ใช้ขยาย เด็ก เปน็ เด็กขา้ งถนน คือ เดก็ ที่ไม่มีพ่อแม่เอาใจใส่

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๒๙ นอกครู ใช้ขยาย หวั ลา้ น เปน็ หัวลา้ นนอกครู ไม่ประพฤติตามแบบ คำประสมใชเ้ ปน็ คำคุณศัพทห์ รือคำนาม มคี วามหมายในเชิงอุปมา ดังนี้ ๑. คำตังตั้งเปน็ คำนามช่อื อวยั วะของร่างกาย คำขยายเป็นคำนาม กรยิ า หรือคุณศัพท์ ความหมายของคำทป่ี ระสมแล้วมอี ปุ มาเปรียบเทยี บดจุ ดังส่ิงน้นั ๆ มีลกั ษณะหรืออาการอย่างนั้น ทใี่ ช้เปน็ ชื่อตน้ ไมม้ ีเปน็ อันมาก แสดงว่ามลี ักษณะเหมือนส่ิงนั้นๆ ดงั นี้ หวั ไดแ้ ก่ หัวนอก หัวไม้ หวั เรอื ใหญ่ หวั หน้า หัวพุงหวั มนั หัวแขง็ หัวอ่อน หนา้ ได้แก่ หน้าม้า หนา้ เป็น หนา้ ตาย หน้าหนา หน้าบาง ตา ได้แก่ ตากบ ตากงุ้ ตาไก่ ตาขาว ตาเขียว ปาก ได้แก่ ปากกา ปากไก่ ปากฉลาม ปากเปด็ ปากแข็ง ปากตลาด ลิ้น ได้แก่ ลนิ้ ไก่ ล้นิ ป่ี ลิน้ ทะเล ลิ้นหมา ลิ้นงูเห่า ลิน้ มังกร คอ ได้แก่ คอแร้ง คอหอย คอแขง็ คอสงู คอสอง ใจ ได้แก่ ใจกวา้ ง ใจแคบ ใจจืด ใจดำ ใจนอ้ ย ใจใหญ่ ใจเบา ใจเย็น ใจรอ้ น ใจลอย ๒. คำตัวต้ังเปน็ คำนามอื่นๆ ท่มี ลี ักษณะอันจะนำมาใช้เปน็ อุปมาเปรยี บเทียบได้ คำขยายเปน็ คำกรยิ าหรือคำนาม ได้แก่ ลกู มกั หมายถงึ สงิ่ ทมี่ ลี ักษณะกลมหรือทม่ี ลี ักษณะเป็นรองประกอบกบั ส่ิงทีใ่ หญ่กว่า สำคัญกว่า มีคำวา่ ลูกกวาด ลกู ช่วง ลกู ช้ิน ลกู ดงิ่ ลูกตุม้ ลูกบวบ ลกู ฟูก ลกู โยน ลกู คิด ลูกจ้าง ลูกน้อง ลกู ความ ลกู ขนุ ลูกคา้ ลกู ช้าง ลูกเลยี้ ง ลูกไล่ ลกู วดั แม่ มักหมายถงึ ผู้มีความสำคัญ อาจขนาดหัวหนา้ งาน ปกครองคนหรอื หมายถงึ สงิ่ สำคญั กวา่ ใหญ่กวา่ มคี ำว่า แม่งาน แม่ทัพ แม่บ้าน แมส่ อ่ื แม่เลี้ยง แมค่ รัว แม่มด แม่บท แม่ย่านาง แมแ่ รง แม่เหล็กแม่พมิ พ์ แมน่ ้ำ แม่เบี้ย คำประสมทใี่ ชเ้ ปน็ กริยา สว่ นมากใช้คำกรยิ าเป็นคำตัวตั้งและคำขยาย แตท่ ีใ่ ชค้ ำอ่นื เปน็ คำตัว ต้งั และคำขยายก็มี ความหมายมักเป็นไปในเชิงอปุ มา ดังน้ี ๑. คำตงั ต้งั เป็นคำกรยิ า คำขยายเป็นกรรม มีความหมาย กำหนดใชเ้ ปน็ พเิ ศษ เป็นทีร่ บั รู้กัน คอื ยงิ ปืน (หรือ ยิงธนูยิงหนา้ ไม้ ยงิ ปืนกล. หมายความว่า ยิงดว้ ยปนื ดว้ ยธนู ทำให้ลูกปืนหรือลกู ธนู แลน่ ออกไป โดยแรงดว้ ยแรงสง่ ไมใ่ ชย่ งิ ไปท่ีปนื อยา่ งยงิ คน ยงิ สัตว์ ตดั เสือ้ (ตดั กางเกง ตดั กระโปรง. หมายวา่ ตดั ผา้ ทำเปน็ เสอื้ กางเกง หรือกระโปรง ไม่ใชต่ ัด ผา้ ที่เยบ็ เปน็ เสอ้ื แลว้ ตดั ถนน (ตัดทาง. ทำใหเ้ กิดเป็นทางขน้ึ ไม่ใช่ตดั ทางหรอื ตัดถนนที่มีอยูแ่ ล้ว ขุดหลมุ (ขุดบอ่ ขุดคลอง. ทำใหเ้ กดิ เปน็ หลุม บอ่ หรือคลองข้ึน ไม่ใช่ขุด หลมุ หรือบอ่ หรอื คลอง ทีม่ อี ยู่แล้ว เดนิ จกั ร เย็บผ้าดว้ ยจกั ร คอื ทำใหจ้ ักรเดิน ไมใ่ ช่เดินไปท่จี กั ร ๒. คำตัวต้ังเป็นคำกริยา คำขยายเปน็ คำนามทเ่ี ป็นช่ือวัยวะของรา่ งกาย มีความหมาย ไปในเชิงอปุ มา ดังน้ี กรยิ า + ใจ กินใจ หมายความว่า แคลงใจ สงสัย ไมว่ างใจสนิท ตง้ั ใจ \" ทำโดยเจตนา จงใจ ตายใจ \" วางใจ เชือ่ อย่างไมส่ งสยั

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๓๐ นอนใจ \" วางใจไม่รีบร้อน เปน็ ใจ \" สมรู้รว่ มคดิ รูก้ นั กริยา + หน้า หักหน้า \" ทำใหอ้ ีกฝา่ ยหน่งึ ได้อาย ไว้หน้า \" รักษาเกียรติไวใ้ ห้ ไม่พูดจาให้เป็นที่เสอ่ื มเสยี ได้หน้า \" ไดร้ ับคำยกยอ่ งชมเชย เสยี หนา้ \" ได้รบั ความอับอาย กริยา + ตวั ไว้ตัว \" ถือตัว ไม่สนทิ สนมกบั ใครง่ายๆ ออกตัว \" พดู ถ่อมตวั ไว้ก่อน กันถูกตำหนิ ถอื ตวั \" ไวต้ วั เพราะถอื ว่าตนเหนือกวา่ ด้วย ฐานะ ความรู้ ฯลฯ ท่คี ำขยายเป็นคำนามอน่ื ๆ ก็มี เช่น วง่ิ ราว วงิ่ รอก เดินแต้ม เดนิ โตะ๊ ๓. คำตัวตั้งเป็นคำกริยา คำขยายเป็นบุรพบท ได้แก่ กนิ ใน หมายความวา่ แหนงใจ ระแวงสงสยั ไมส่ นทิ ได้ดังเดิม เสมอนอก \" เอาใจใสช่ ่วยอยู่ห่างๆ ภายนอก เปน็ กลาง \" ไมเ่ ขา้ ข้างใคร ๔. คำตัวตงั้ เปน็ บรุ พบท คำขยายเป็นคำนาม ไดแ้ ก่ นอกใจ หมายความวา่ ประพฤตไิ มช่ ื่อตรง เอาใจไปเผ่ือแผ่ผูอ้ ื่นนอกจากคู่ของตน นอกคอก \" ประพฤตไิ มต่ รงตามแบบแผนธรรมเนียม ๕. คำตวั ตั้งเป็นคำวิเศษณ์ คำขยายเป็นคำนามทเี่ ป็นอวยั วะของร่างกาย วิเศษณ+์ ใจ แขง็ ใจ หมายความวา่ ทำใจใหแ้ ขง็ แรง ไม่ท้อถอยเหน่อื ยหนา่ ย อ่อนใจ \" ระอา ท้อถอย นอ้ ยใจ \" รสู้ ึกเสยี ใจ แค้นใจที่ไดร้ ับผลไม่สมกบั ที่ลงแรงหรือทห่ี วัง ดใี จ \" ยนิ ดี วเิ ศษณ+์ หน้า นอ้ ยหนา้ \" ไม่เทียมหน้าคนอ่ืน หนกั หน้า \" ภาระหรอื ความรับผิดชอบตกอยูท่ ีต่ น วิเศษณ+์ มอื หนกั มือ \" รุนแรง กำเรบิ แขง็ มือ \" ตั้งขอ้ สู้ไม่ลดละ น่าสงั เกตวา่ คำประสมลักษณะน้โี ดยมากสบั หน้าสับหลังกันได้เช่น แข็งใจ-ใจแข็ง อ่อนใจ-ใจอ่อน น้อยใจ-ใจนอ้ ย ดีใจ-ใจดี หนกั มอื -มอื หนัก แข็งมือ-มือแขง็ (น้อยหนา้ กับ หนกั หนา้ สบั ไม่ได้ ไม่มคี วามหมาย.

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๓๑ คำทีส่ บั หน้าสับหลงั สบั ที่กนั เช่นนี้ หนา้ ท่ีของคำตา่ งกันไปด้วยคือคำที่มชี ่อื อวยั วะรา่ งกายอยู่ขา้ งทา้ ย เช่น วเิ ศษณ+์ ใจ คำนนั้ ใช้เปน็ คำกริยา แตถ่ า้ ช่ืออวยั วะรา่ งกายอย่ตู น้ คำ เชน่ ใจ+ วิเศษณ์ คำน้นั ใช้เปน็ คำขยายนาม ส่วนคำในข้อ ๒ ที่คำตวั ต้ังเปน็ กรยิ าและคำขยายเป็นชอ่ื อวยั วะ คำ ลกั ษณะน้ีสบั หนา้ สบั หลงั กนั ไมไ่ ด้ เชน่ ตั้งใจ นอนใจ ไม่มี ใจต้ัง ใจนอน นอกจากบางคำซ่งึ นับเป็นสว่ น นอ้ ย เช่น เสยี หน้า มี หนา้ เสีย ๖. คำตวั ตั้งเปน็ กรยิ า คำขยายกเ็ ปน็ กริยา มีความสำคญั เท่ากันเหมือนเชอ่ื มดว้ ยและ อาจสับหน้าสับ หลังกนั ได้ คำใดอยู่ตน้ ถือเป็นตัวต้งั ความสำคญั อยทู่ ี่น่นั คำทา้ ยเป็นคำขยายไป เชน่ เท่ียวเดิน-เดนิ เท่ียว ใหห้ า-หาให้ ๗. คำตัวตง้ั เป็นคำกริยา คำขยายเป็นกริยาวิเศษณ์ได้แก่ อวดดี หมายความว่า ทะนงใจวา่ ตัวดี ถอื ด\"ี ถือว่าตวั ดี ทะนงตัว คยุ โต \" พดู เป็นเชงิ อวด วางโต \" ทำท่าใหญโ่ ต ๘. คำตวั ตง้ั เป็นคำกริยา มีคำอ่นื ๆ ตาม มีความหมายไปในเชิงอปุ มา และมีทใี่ ช้เฉพาะ ได้แก่ ตัดสนิ หมายความว่า ลงความเห็นเดด็ ขาด ชี้ขาด \" วินจิ ฉัยเด็ดขาด นั่งนก \" น่งั หลับ อยู่โยง \" เฝา้ สถานท่ีแต่ผเู้ ดยี ว ตกลง \" ยินยอม คำประสมที่ใช้เปน็ คำกรยิ าวิเศษณ์ ทจี่ รงิ ถ้าจะเทียบกับคำประสมท่ีใชเ้ ป็นคำนาม คุณศัพท์ และกริยาแล้ว คำประสมท่ีใช้เปน็ กรยิ าวเิ ศษณม์ นี ้อยกวา่ มาก ดังน้ี ๑. คำตัวตง้ั เป็นคณุ ศัพท์ คำขยายเปน็ คำนาม ไดแ้ ก่ สามขมุ ใชก้ บั ย่าง เป็น ยา่ งสามขมุ สามหาว \" พดู เปน็ พูดสามหาว ๒. คำตัวตง้ั เป็นกรยิ า คำขยายเปน็ คำนาม ไดแ้ ก่ นับกา้ ว ใช้กบั เดิน เป็น เดนิ นับกา้ ว สับเงา \" นง่ั เป็น น่งั สับเงา ๓. คำตัวตั้งเปน็ คำนาม คำขยายเปน็ คำอน่ื ๆ ได้แก่ คอแข็ง ใชก้ ับ น่ัง เป็น น่งั คอแขง็ (เถียงไมอ่ อก. คอตก \" นัง่ เปน็ นงั่ คอตก (เศร้าเสยี ใจ. ๔. คำตวั ต้ังเป็นบุรพบท คำขยายเป็นคำนาม ได้แก่ ในตวั เชน่ เปน็ นายเปน็ บ่าวอยู่ในตัว ในท\"ี ยิ้มอยู่ในที ในหนา้ \" ยมิ้ ในหน้า นอกหน้า \" แสดงออกจนออกนอกหน้า

การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๓๒ ซึง่ หนา้ \" วา่ ซง่ึ หนา้ ๕. คำตวั ตงั้ เปน็ คำบุรพบท คำขยายเปน็ คำกริยาวเิ ศษณ์ ได้แก่ ตามมีตามเกดิ เช่น ทำไปตามมตี ามเกิด (สดุ แตจ่ ะทำได้.โดยแท\"้ เขาชำนาญเรื่องน้ี โดยแท้ ยงั มีคำอกี ประเภทหนง่ึ ซงึ่ มบี ุรพบทนำหน้า มีคำวเิ ศษณ์ตามมา เช่น โดยดี โดยเร็ว โดยดว่ น ตามสะดวกตามถนัด แต่ไม่กำหนดไปตายตัว อาจเปลย่ี นคำที่ตามมาเปน็ อยา่ งอื่นได้ จึงไม่น่าถอื เปน็ คำ ประสม สรุปไดว้ า่ คำประสมอาจใชเ้ ป็นไดท้ ้ังนาม คุณศัพท์ กริยา และกรยิ าวิเศษณ์ ๓.๔ ข้อควรสังเกตเกยี่ วกับคำประสม ๓.๔.๑ คำท่ีไม่เกดิ ความหมายใหม่ จัดเป็น วลี หรือกลมุ่ คำ เช่น ลกู หมาตัวนถี้ ูกแมท่ ้ิง เปน็ วลี เพราะไมเ่ กดิ ความหมายใหม่ เจ้าหน้าทก่ี ำลงั ฉีดยากำจัดลูกน้ำ เป็นคำประสม เพราะไม่ไดห้ มายถงึ ลกู ของน้ำ ๓.๔.๒ คำประสมกบั คำซ้อน ลักษณะท่ีเหมือนกัน ๑.ตา่ งเปน็ คำท่นี ำคำเดย่ี วอนั มีใช้อยูเ่ ดิมมารวมกันเขา้ สร้างเปน็ คำใหม่ขน้ึ ๒.เมื่อเกิดเป็นคำใหม่แลว้ ความจะต่างจากเดิมไป ทเ่ี หมือนเดมิ ก็ต้องมี ความหนกั เบาของความหมายตา่ งกนั บางทีก็มีความหมายไปในเชงิ อปุ มา ๓.คำทปี่ ระสมกันก็ดี ซอ้ นกันก็ดี ถ้าแยกออกเป็นคำๆ แลว้ แต่ละคำมี ความหมายสมบรู ณ์ มีทใ่ี ชใ้ นภาษาท้ังน้ีผดิ กบั คำทีล่ งอุปสรรคทจี่ ะกลา่ วต่อไป อุปสรรคน์ ้นั ไม่มี ความหมายและท่ใี ช้ในภาษาลักษณะที่ตา่ งกัน ๓.๑ คำประสม มี ๒ คำหรอื มากกวา่ นั้นคำซ้อน มีคำเพยี ง ๒ คำ ถ้าจะมีมากกวา่ น้นั กต็ ้องเป็น ๔ คำหรอื ๖ คำ ๓.๒-คำประสมมคี วามหมายสำคัญที่คำตัวตัง้ ส่วนคำขยายมีความ สำคัญรองลงไปคำซ้อนถอื คำแตล่ ะคำทมี่ าซ้อนกนั มคี วามสำคัญเสมอกันเพราะตา่ งก็มคี วามหมาย คลา้ ยกัน ๓.๓.-คำประสม มคี วามหมายต่างจากเดิมไปบ้าง ถ้าคงเดิมกม็ ัก เปน็ คำทใ่ี ชเ้ รียกช่ือส่งิ ตา่ งๆ คำซอ้ นมีความหมายต่างจากเดิมไปบา้ ง ถ้าคงเดิม ความเน้นหนักและที่ใช้ ก็ต้องตา่ งไป แตถ่ ึงอยา่ งไร ความหมายใหม่ต้องเนื่องกับความหมายเดิม ๓.๔ คำประสม บางคำอาจสับหนา้ สับหลงั กันได้ แต่ถ้าเรยี งสับที่ กันความหมายก็จะตา่ งไป เชน่ เสือปลา กับ ปลาเสือและหน้าท่ขี องคำกจ็ ะต่างไปด้วย เช่น ใจดี กบั ดี ใจ คำซ้อน อาจสับหน้าสบั หลงั ไดเ้ ฉพาะบางคำท่เี สยี งไปได้ไม่ขัดหอู อกเสยี งไดส้ ะดวก และบางคำสบั ที่ แล้วความหมายตา่ งไป แตท่ ี่ไมต่ า่ งกันก็มี เช่น อดั แอ กบั แออัด

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๓๓ ๓.๔.๓ ขอ้ สงั เกตคำประสมกับคำเด่ยี ว คำประสมบางคำมลี ักษณะเหมอื นคำเด่ยี วๆ (ทีเ่ คยเรียกกนั ว่าคำมลู .มาเรียงกันเข้า ทำใหพ้ จิ ารณายากว่า คำใดเป็นคำประสมคำใดไม่ใช่ มีหลักพิจารณาได้ดงั น้ี ๑. เสยี งหนักเบา เรอ่ื งเสยี งนไ้ี ม่อาจรู้ไดจ้ ากตวั เขียนแต่เวลาพดู อาจสังเกตได้โดย เสยี งหนักเบาบอกให้รู้ ดังกล่าวแลว้ ในเรอ่ื งเสยี งวรรณยุกต์ คอื ถ้าเปน็ คำประสมนำ้ หนกั เสียงจะลงที่ คำทา้ ยเปน็ ส่วนมาก ส่วนทีไ่ ม่ได้ลงเสียงหนัก เสยี งจะสัน้ เบา บางทีอาจจะฟงั ไม่ชดั เหมอื นหายไปเลยท้ัง พยางค์แตถ่ า้ ไม่ใช่คำประสม นำ้ หนกั เสียงจะเสมอกันและมีจงั หวะเว้นระหวา่ งคำ(บางทจี ะมเี สียง เหมอื น น่ะ ม่ะ หรือ อะ้ ทา้ ยคำทม่ี าข้างหน้า แต่เวลาเขยี นกำหนดไม่ได้.ทัง้ นีเ้ พราะคำท่ีเรียงกนั มาแต่ ละคำมีความสำคญั ถ้าพูดไม่ชัดเจนทุกคำไปแล้ว ความหมายย่อมไมแ่ จ่มแจ้ง แตค่ ำประสมกบั ไม่เข้าใจ ความหมายเสียทีเดียว ๒.ความหมาย คำประสมจะมีความหมายจำกัด จำเพาะว่าหมายถงึ อะไร และหมาย พเิ ศษอย่างไร เชน่ รถเร็ว ไม่ใชร่ ถทีว่ ่ิงเร็วทั่วๆ ไป เม่ือพูดย่อมเปน็ ท่เี ข้าใจกนั แต่คำบางคำไปมี ความหมายอยา่ งอ่ืน ไมต่ รงตามคำเด่ยี วท่นี ำมาประสมกันเข้า เชน่ สามเกลอ สามขา หมายถึง เครอื่ งใช้เพ่ือตอกเสาเข็มด้วยแรงคน

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๓๔ บทที่ ๔ การขยายคำกริยา วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นประจำบท เม่ือศกึ ษาเน้อื หาในบทเรียนนแี้ ลว้ ผศู้ ึกษาสามารถ o ๑.อธิบายการใช้การขยายคำกริยาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง o ๒.อธิบายหนา้ ทข่ี องการใชก้ ารขยายคำกริยาไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง o ๓.อธิบายหลกั การใชพ้ จนานกุ รมได้อย่างถกู ตอ้ ง ขอบขา่ ยเน้ือหา ๑. การใช้การขยายคำกริยา ๒. หน้าท่ีของการใชก้ ารขยายคำกรยิ า ๓. หลกั การใช้พจนานุกรม

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๓๕ ๔.๑ การใชก้ ารขยายคำกริยา นิดถามน้อยวา่ “เม่ือคุณเป็นเดก็ คุณกลับบา้ นค่ำ คุณพ่อคุณแมเ่ คยดุไหม” น้อยตอบวา่ “เคยด”ุ นดิ ซกั ว่า “ดยุ งั ไง” นอ้ ยตอบว่า “ดุนดิ หน่อย” นิดถามอีกวา่ “ดุวา่ ยังไง” นอ้ ยตอบวา่ “ดวุ า่ ลูกไมส่ นใจวา่ พ่อแม่เปน็ ห่วง” บทสนทนาน้เี กยี่ วกับการดุของพอ่ แม่ คำกริยา ดุ มคี ำว่า เคย และคำวา่ นดิ หน่อย ช่วย ขยายความหมาย และมีประโยคว่า ลกู ไมส่ นใจว่าพ่อแม่เป็นห่วง ช่วยขยายความหมายอีกด้วย คำวา่ เคย นักไวยากรณ์เรยี กวา่ คำชว่ ยกรยิ า คำว่า นิดหนอ่ ยนกั ไวยากรณ์เรียกวา่ คำวิเศษณ์ ประโยค ลกู ไม่สนใจว่าพ่อแม่เปน็ หว่ ง ซึง่ มคี ำ ว่า นำหนา้ กลายเป็น ว่าลูกไม่สนใจวา่ พ่อ แม่เปน็ หว่ ง นกั ไวยากรณเ์ รยี กวา่ ประโยคยอ่ ย ๔.๒ คำช่วยกรยิ า คำชว่ ยกรยิ า คอื คำที่ชว่ ยขยายความหมายของคำกริยาในบางแง่ คำชว่ ยกริยาในบางแง่ คำช่วยกรยิ าส่วนใหญอ่ ยูห่ นา้ คำกรยิ า ๔.๒.๑ คำชว่ ยกริยาบางคำช่วยแสดงเวลาทเ่ี กิดเหตุการณห์ รอื การกระทำใหช้ ดั เจนขน้ึ เช่น นิดจะนอน นดิ กำลังจะนอนอย่ทู ีเดียว นดิ กำลงั จะนอนอย่แู ล้ว นิดกำลังจะนอน ๔.๒.๒ คำชว่ ยกรยิ าบางคำชว่ ยแสดงวา่ ผู้พูดคาดคะเนหรือมคี วามคิดความเหน็ อย่างไรต่อ เหตุการณ์หรือการกระทำนั้น ๆ เชน่ พอ่ แมค่ งชว่ ยเหลอื ลกู พอ่ แม่นา่ จะช่วยเหลอื ลูก พ่อแม่อาจจะชว่ ยเหลอื ลูก พอ่ แม่เหน็ จะชว่ ยเหลือลกู

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๓๖ ๔.๓ คำวเิ ศษณข์ ยายกรยิ า คำวิเศษณน์ อกจากจะใช้ขยายคำนามแล้ว ยงั ใช้ขยายคำกริยาได้อีกดว้ ย นกั ไวยากรณ์ บางคนเรยี กคำวิเศษณท์ ใี่ ช้ขยายคำนามวา่ คำคณุ ศัพท์และเรียกคำวิเศษณท์ ่ใี ช้ขยายคำกริยาว่า กริยาวเิ ศษณห์ รือวิเศษณค์ ำวเิ ศษณ์บางคำใชข้ ยายได้ทั้งคำนามและคำกริยา และยงั ใชข้ ยาย คำวิเศษณ์อน่ื ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย คำวเิ ศษณ์ทีใ่ ช้ขยายคำกริยามีอยู่มาก คำวเิ ศษณ์เหล่านจ้ี ะช่วยทำใหค้ วามหมายของ คำกรยิ าชัดเจนยงิ่ ขน้ึ -คำวเิ ศษณบ์ างคำบอกลักษณ์ของอาการหรอื ภาวะ เช่น เด็กนงั่ เรยี บร้อย สาว ๆ ทำงานคล่องแคล่ว หล่อนร้องเพลงเพราะ -คำวเิ ศษณ์บางคำบอกปริมาณของอาการหรือภาวะ คำบอกปรมิ าณบางคำต้องมีคำ ลกั ษณนามใช้ร่วมดว้ ย บางคำกไ็ ม่มี เชน่ ยายตีหลาน ๒-๓ ที ผมหิวเหลือเกนิ คนงานเหนื่อยมาก -คำวิเศษณ์บางคำบอกความรวม บางคำบอกความแบง่ แยก เชน่ ทกุ คนรเู้ ร่ืองนก้ี นั ดี สมศรีซักผา้ พลางฟังเพลงพลาง ตยุ้ เดินบ้างว่งิ บ้าง -คำวิเศษณบ์ างคำบอกความช้ีเฉพาะ เชน่ ขา้ พเจ้าไม่เคยคิดเช่นน้ัน ท่านกระทำดังน้ีด้วยเหตุใด คณุ ป้าทำกบั ข้าวเอง -คำวเิ ศษณบ์ างคำบอกความไม่ช้เี ฉพาะ เช่น คุณทำอยา่ งไรก็ตามใจ ถงึ จะแพงสกั เท่าไรฉันกจ็ ะซ้ือ เขาจะไปทำไมกเ็ รื่องของเขา -คำวิเศษณ์ทบ่ี อกความไมช่ เ้ี ฉพาะน้ีใช้เปน็ คำถามได้ เช่น คุณทำอย่างไร

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๓๗ ผ้าชิ้นนีข้ ายเทา่ ไร เขาจะไปทำไม -คำวเิ ศษณบ์ างคำบอกความห้าม บางคำบอกความปฏิเสธ เช่น คุณอย่าไป ผมไม่เช่อื ข้าพเจา้ ไดเ้ ตือนแล้ว ท่านมิฟัง -คำวิเศษณ์บางคำบอกความเก่ยี วกับสถานท่ี เช่น คนตวั เล็กนงั่ ข้างหน้า คณุ มาใกล้ ๆ ซิ ผักเหีย่ ว ๆ อยู่ลา่ ง ๆ -คำวิเศษณ์บางคำบอกความเกี่ยวกบั เวลา เชน่ พี่รังแกน้องเร่ือยq -ฉันพบเขาท่ีห้องสมุดเสมอ -ใครถึงเส้นชัยก่อน คำวิเศษณน์ อกจากจะขยายคำกริยาแล้ว ยงั ใช้ขยายคำวิเศษณ์ด้วยกนั เองใหช้ ดั เจนยิง่ ขนึ้ กไ็ ด้ เชน่ ๑. ก. พายพุ ัดแรง ข. พายพุ ัดแรงมาก ๒. ก. เธอรอ้ งเพลงเพราะ ข. เธอร้องเพลงเพราะจรงิ ๆ ๓. ก. เดก็ คนน้ีทำงานคล่อง ข. เด็กคนนี้ทำงานคล่องดี คำวเิ ศษณ์ มาก จริง ดี ในประโยค ๑ ข. ๒ ข. และ ๓ ข. ชว่ ยขยายความหมายคำ วิเศษณ์ แรง เพราะ คลอ่ ง ให้ชัดเจนย่ิงข้ึน ตามลำดับ ๔.๔ ประโยคยอ่ ยขยายกรยิ า ประโยคยอ่ ยใช้ขยายคำกรยิ ากไ็ ด้ ประโยคย่อยทขี่ ยายคำกริยาจะอยหู่ ลงั คำกริยา และ มักมีคำวา่ หรือคำ ท่ี อยหู่ นา้ ประโยคเป็นเคร่ืองสังเกต ประโยคยอ่ ยท่มี ีคำ วา่ อยู่ข้างหน้าเป็นประโยคทบี่ อกเนื้อความของคำกริยาในประโยค หน้าประโยค วา่ มกั อยู่หลงั คำกริยาที่มีความหมายเกี่ยวกับการพดู หรือการส่ือสาร เชน่ บอก แถลง ชแี้ จง ลองพิจารณาบทสนทนาต่อไปน้ี วภิ า “เม่ือวานน้ี ทำไมคุณไม่ไปงานเล้ยี ง” วารี “ดิฉนั ไม่ได้รบั บตั รเชิญ” ผู้ไดย้ นิ บทสนทนาน้ีอาจเล่าใหม่ได้วา่ วภิ าถามวารีว่า เมอื่ วานนท้ี ำไมวารีไมไ่ ปงานเล้ยี ง วารีตอบว่า เขาไม่ไดร้ บั บัตรเชญิ

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๓๘ คำวา่ ถาม และ ตอบ ในตัวอยา่ งขา้ งต้น เปน็ คำทีม่ ีความหมายเก่ยี วกับการพูด คำทั้งสองมีประโยค ยอ่ ยขยายบอกเน้ือความไม่แต่คำวา่ ถาม และ ตอบ คำกรยิ าอ่ืน ๆ ทม่ี ีความหมายเก่ียวกับการสือ่ สาร ต่างก็มี ๔.๔.๑ ประโยคย่อยบอกเน้ือความ หมอดูทำนายวา่ ชีวิตของเขาจะร่งุ เรอื ง หวั หน้าชมว่าเขาทำงานดี พ่อบอกวา่ เราอาจจะตอ้ งย้ายบ้าน นอกจากนน้ั คำกริยาทเ่ี กีย่ วกับการคิด การใชส้ มอง หรือเก่ียวกบั ประสาทสัมผัสก็มักมี ๔.๔.๒ ประโยคทีบ่ อกเนื้อความชว่ ยขยายความหมายได้ เราเชือ่ วา่ เขายงั ไมต่ าย ผมได้ยนิ วา่ หัวหนา้ จะลาออก ประพันธ์กลัววา่ เขาจะตกงาน ๔.๕ กรยิ าวลี เมื่อนำคำหรอื ประโยคยอ่ ยมาขยายคำกริยา คำกริยาและส่วนขยายนั้นจะประกอบกนั เปน็ กลมุ่ คำ นักไวยากรณม์ ักเรยี กกลมุ่ คำน้วี า่ กริยาวลี กริยาวลีอาจมีคำขยายหลายคำก็ได้ คำขยายนน้ั อาจเปน็ ชนิดเดียวกันหรอื ต่างชนดิ กันก็ ได้ มปี ระโยคย่อยขยายหลายประโยคก็ได้ มที ้งั คำและประโยคย่อยขยายก็ได้ เช่น ๑. เขาคงไม่พอใจ ๒. เดก็ คนนี้เรียนเก่งทีเดยี ว ๓. อย่ามาสาย ๔. นดิ โกรธที่น้อยพดู ว่านดิ ไม่รบั ผิดชอบ ๕. เขาคงร้แู ล้วว่าหัวหนา้ งดประชุม กรยิ าวลใี นประโยคที่๑ – ๓ มีคำขยาย ไดแ้ ก่ คำที่พิมพต์ วั เอนท้ังหมด กรยิ าวลใี นประโยคท่ี ๔ มีประโยคยอ่ ยขยาย ได้แก่ คำทีพ่ ิมพ์ตัวเอนทั้งหมด กรยิ าวลีในประโยคท่ี ๕ มที ั้งคำและประโยคยอ่ ยขยาย ได้แก่คำ คง และคำ แลว้ ทพี่ ิมพ์ตัว เอน และประโยคยอ่ ย วา่ หวั หนา้ งดประชมุ ที่พิมพต์ ัวเอน ๔.๖ การเพิ่มคำกรยิ าและประโยค คุณสดุ าโทรศัพท์ไปหาคุณนารี สามีคุณนารีเปน็ ผู้รบั สาย คุณสดุ าถามวา่ “นารีไม่อยู่หรอื คะ” สามีตอบวา่ “อยู่ครบั เขานอน ผมเลยรบั สาย” คุณสุดาถอนใจ พึมพำวา่ “ถ้าอย่างนัน้ ดิฉันไม่ กวน” สามพี ดู วา่ “ไมเ่ ป็นไร เขาไม่ได้หลบั เขานอนอา่ นหนงั สอื ”

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๓๙ นา่ สงั เกตวา่ สามพี ดู ว่า “เขานอน ผมเลยรับสาย” และ “เขานอนอ่านหนังสอื ” คำพดู ของ สามขี น้ึ ตน้ อย่างเดยี วกนั วา่ เขานอน ประโยค เขานอน นอน เปน็ คำกริยา เราอาจนำคำกริยาอื่น ๆ มาตอ่ ท้าย โดยบางกรณี อาจมคี ำนามอยหู่ ลงั คำกริยาทีน่ ำมาต่อท้ายดว้ ย เช่น เขานอนหลับ เขานอนอ่านหนังสือ เขานอนดโู ทรทัศน์ หรอื อาจนำประโยคมาตอ่ ท้าย เช่น เขานอน ผมเลยรบั สาย เขานอนแตเ่ ขาไม่ไดห้ ลบั เขานอนเพราะเขาเหนื่อยมาก ๔.๖.๑ การเพมิ่ คำกรยิ า ลักษณะพเิ ศษอยา่ งหนึง่ ของภาษาไทยคือคำกรยิ าเรยี งต่อกันไดห้ ลายคำ เชน่ -นดิ ลืน่ หกล้ม -คนขายของนงั่ หาว -ฉนั ตกใจต่ืน ในบางกรณี คำกรยิ าทเี่ รียงต่อกนั นนั้ คำใดคำหนึ่งหรอื ทั้ง ๒ คำ มคี วามสัมพนั ธเ์ กยี่ วข้อง กับคำนาม โดยคำนามอาจอยู่ทา้ ยประโยค หรือแทรกอยู่ระหว่างคำกรยิ า เชน่ ๑. เขานงั่ อ่านหนงั สือ ๒. ตำรวจล้อมจบั ผ้รู ้าย ๓. แมวไล่ตะครบุ หนู ๔. เด็กซอ้ื ขนมกนิ ๕. นำ้ เซาะตลิง่ พงั ๖. แมเ่ ทน้ำรดต้นไม้ ประโยคท๑่ี -๓ คำนามอยู่ทา้ ยประโยค ประโยคท๔่ี – ๕ คำนามอยู่ระหวา่ งกริยา ประโยคท๖ี่ คำนามคำหนึง่ อยู่ระหวา่ งคำกริยา อกี คำหน่งึ อยู่ทา้ ยประโยค ๔.๖.๒ การเพิม่ ประโยค เม่ือผู้พูดพูดประโยคหน่งึ แล้ว อาจพูดประโยคอืน่ เพ่ิมเตมิ ได้อกี ประโยคทพ่ี ูดเพ่ิมเตมิ จะเกีย่ วข้องกบั ประโยคที่กลา่ วข้นึ กอ่ นตา่ ง ๆ กนั และคำที่ช่วยแสดงว่าประโยคเกย่ี วข้องกัน นกั ไวยากรณ์มักเรยี กว่า คำสันธาน ตัวอย่างตอ่ ไปนี้แสดงการเพ่ิมประโยคตอ่ เน่ืองกันไป มีคำสันธานช่วย แสดงความเก่ียวขอ้ งระหว่างประโยค

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๔๐ ผมรูจ้ ักวิชิตเพราะเขาเป็นเพ่ือนพผี่ ม แต่เขาเคยแกลง้ ผม ผมเลยไมช่ อบเขา ๑. ๒. ๓. ๔. คำสนั ธาน เพราะ ช่วยแสดงว่าประโยคท่ี ๒. เปน็ เหตุของประโยคท่ี ๑. คำสันธาน แต่ ช่วยแสดงวา่ ประโยคที่ ๓. ขดั แยง้ กับประโยคที่ ๑. และ ๒. คำสันธาน เลย ชว่ ยแสดงประโยคที่ ๔. เป็นผลของประโยคท่ี ๓. ๔.๗ ตำแหน่งต้นประโยค หญิงสาวคนหนง่ึ เดินเขา้ ไปในร้านเล็ก ๆ รา้ นหน่งึ ถามว่า “มียาหมอ่ งขายไหม” คนขาย ตอบว่า “ยาหม่องไม่มีมีแต่ยาลมกับยาแก้ไข เอาไหม” หญิงสาวส่นั ศรี ษะ พูดวา่ “ยาลมกบั ยาแก้ ไข้ฉนั มีแล้ว อยากไดย้ าหม่อง” คำพดู ของหญงิ สาวกับคนขายเรียงคำตา่ งกนั เลก็ น้อย ลอง เปรียบเทียบประโยคต่อไปนี้ ๑. ก. มียาหมอ่ งขายไหม ข. ยาหมอ่ งไม่มี ๒. ก. มแี ต่ยาลมกับยาแก้ไข้ ข. ยาลมกับยาแก้ไขฉนั มแี ลว้ ประโยค ๑ ก. และ ๒ ก. คำว่า มี ซึง่ เปน็ คำกริยา อยตู่ น้ ประโยค ประโยค ๑ ข. และ ๒ ข. สิ่งที่มี คอื ยาหม่อง และ ยาลมกบั ยาแกไ้ ข้ อยตู่ น้ ประโยค ตำแหนง่ ต้นประโยคเป็นตำแหน่งท่สี ำคัญ เม่ือผูพ้ ูดต้องการกล่าวถงึ สง่ิ ใดหรือเหตุการณ์ ใด มกั จะกล่าวถงึ ส่งิ นัน้ หรือเหตกุ ารณ์น้ันขนึ้ ก่อน แลว้ จงึ จะกลา่ วถ้อยคำขยายความต่อไป คำหรอื วลที ห่ี มายถงึ สิ่งหรือเหตุการณ์ที่ผ้พู ดู ต้องการกลา่ วถงึ ก่อนจงึ อยู่ตน้ ประโยค ๔.๗.๑ ประธานอยูต่ ้นประโยค โดยปกติ ประโยคภาษาไทย ประธานจะอย่ตู ้นประโยค เช่น -เสอื ในสวนสตั วก์ ัดคนเลย้ี ง -เทวดาไมเ่ ข้าขา้ งคนผดิ -การประชมุ ดำเนินไปอยา่ งราบรน่ื คำนาม เสอื เทวดา และ การประชมุ ซึง่ อยู่ต้นประโยคสัมพันธ์กับคำกริยาในประโยค แบบเป็นผู้กระทำ ถือได้วา่ ทำหน้าทเี่ ปน็ ประธานของประโยค อย่างไรกต็ าม บางประโยค คำหรือกล่มุ คำที่อยู่ตน้ ประโยคอาจไมใ่ ชป่ ระธาน แต่เปน็ สว่ นประกอบสว่ นอนื่ ของประโยค เช่น มผี ู้ร่วมเดนิ ขบวนถงึ สองหมืน่ คน เราถกู หลอกเสยี แล้ว ในกล่องมธี นบัตรอัดแน่น ปีนอี้ ากาศจะหนาวมาก คำว่า มี เปน็ กรยิ า สว่ น เรา เปน็ กรรม กลมุ่ คำ ในกลอ่ ง บอกสถานที่ สว่ น ปนี ี้ บอกเวลา

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๔๑ จะเหน็ ไดว้ ่า คำหรือกลมุ่ คำท่ีอยูต่ น้ ประโยคอาจเป็น กรยิ า กรรม กลมุ่ คำบอกสถานท่ี หรือกลุม่ คำบอกเวลา กไ็ ด้ ๔.๗.๒ กริยาอย่ตู น้ ประโยค เม่ือผ้พู ูดต้องการกล่าวถงึ เหตุการณ์ก่อนเรื่องอืน่ กริยาของประโยคจะอยตู่ น้ ประโยค คำกริยาที่อย่ตู น้ ประโยคได้ ได้แกค่ ำว่า เกิด ปรากฏ มี เชน่ -เกดิ การววิ าทกนั ข้นึ ในห้องเรียน -ปรากฏการทุจรติ ข้ึนในองคก์ รนอ้ี ีกแล้ว -มีเสียงซุบซิบถงึ เขาในวงสงั คม คำกริยา เกิด ปรากฏ มี ซ่ึงอยู่ตน้ ประโยค ทำหนา้ ที่เปน็ กริยาของประโยค ๔.๗.๓ กรรมอย่ตู น้ ประโยค เมอ่ื ผู้พูดต้องการกล่าวถงึ ผลของการกระทำหรือผู้ถูกกระทำก่อนเร่ืองอ่ืน กรรมจะอยู่ ตน้ ประโยค เชน่ -วดั นีส้ รา้ งต้ังแต่สมยั อยุธยา -รถคนั นใ้ี ช้ในราชการเท่านน้ั -ชาวบา้ นถูกผูร้ ้ายยิงตายหลายคน นามวลี วดั นี้ ซ่งึ สมั พันธ์กบั คำกรยิ าในลักษณะท่ีเปน็ ผลของกริยา ทำหนา้ ท่ีกรรมของ ประโยค สว่ นนามวลี รถคันนี้ และคำนาม ชาวบา้ น ต่างก็สมั พนั ธ์กบั คำกรยิ าในลักษณะทีเ่ ป็น ผ้ถู ูกกระทำ ทำหน้าทเ่ี ปน็ กรรมของประโยค น่าสงั เกตว่าในประโยคสุดทา้ ย มกี ารใชค้ ำวา่ ถูก คำวา่ ถกู น้ี ตามปกตเิ ราใช้กับคำกรยิ า ท่มี ีความหมายไปในทางไม่ดี เชน่ ถูกตี ถกู ด่า ถูกตำหนิ ถ้ามไิ ดเ้ ปน็ ไปในทางไมด่ ี เราอาจใช้คำวา่ ได้รับ คำกริยาคำเดียวกนั ถ้ามคี ำวา่ ถกู อยู่ขา้ งหนา้ จะแสดงท่าทีของผู้พดู ต่างกับคำว่า ไดร้ ับ เช่น ๑. ก. เดือนนี้ ฉนั ถกู เชิญไปงานแตง่ งาน ๕ รายแล้ว ข. เดอื นนี้ ฉนั ไดร้ บั เชญิ ไปงานแตง่ งาน ๕ รายแล้ว ๒. ก. ผมถกู เลือกให้เป็นหัวหนา้ อกี แล้ว ข. ผมไดร้ ับเลอื กให้เป็นหวั หนา้ อกี แล้ว ประโยค ๑ ก. และ ๒ ก. ซึ่งมีคำวา่ ถกู มีความหมายไปในทางท่ีไมด่ ีส่วนประโยค ๑ ข. และ ๒ ข. ซงึ่ มีคำวา่ ไดร้ บั มไิ ด้มคี วามหมายไปในทางไม่ดี ๔.๗.๔ คำหรือกลุ่มคำบอกสถานทหี่ รอื เวลาอยู่ต้นประโยค เมอ่ื ผพู้ ูดต้องการกลา่ วถงึ สถานท่หี รือเวลาทเ่ี กิดเหตกุ ารณก์ ่อนเรือ่ งอื่น คำหรือ กลุ่มคำที่บอกสถานท่หี รือเวลากจ็ ะอยตู่ ้นประโยค -วันอาทิตยใ์ คร ๆ กพ็ ักผอ่ นอยู่กบั บา้ น

การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรบั ครู ๔๒ -ในสมยั พระเพทราชาไทยเคยใชว้ า่ วในการรบ -เมือ่ วานนเ้ี กดิ เหตุการณป์ ระหลาด -เวลากลางดกึ เสียงหมาหอนไดย้ นิ ไปไกล -ทนี่ เี่ ราต้องการความเงียบ -บรเิ วณพนื้ ทล่ี มุ่ มีน้ำเจิง่ นอง -ทีป่ ลายปกี ว่าวทั้ง ๒ ข้าง พ่อตดิ พกู่ ระดาษ -ในสระมีบวั หลายชนดิ ๔ ประโยคแรก คำหรือกล่มุ คำบอกเวลาอยู่ตน้ ประโยค ส่วน ๔ ประโยคหลงั กลุ่มคำบอกสถานท่อี ยู่ตน้ ประโยค ดังได้กลา่ วแล้วว่า ตำแหนง่ ต้นประโยคเป็นตำแหน่งสำคญั ผู้พดู อาจจะเลือกประธานหรือ กริยา หรือกรรม หรือคำหรือกลมุ่ คำบอกสถานที่หรือเวลาไว้ในตำแหนง่ ตน้ ประโยคกไ็ ด้ ถ้าต้องการ กลา่ วถงึ ส่งิ หรือเหตุการณน์ ัน้ ๆ ก่อน ๔.๗.๕ การใชป้ ระโยคสือ่ สาร ผู้ชาย ๒ คน พดู กนั ทางโทรศัพท์ คนหนึ่งถามวา่ “พรงุ่ นคี้ ุณวา่ งไหม” อกี คนหนง่ึ ตอบวา่ “พรงุ่ นผ้ี มไมว่ า่ ง” คณุ มาหาผมวนั ศกุ รซ์ ิ” คำพดู ท่ผี ชู้ าย ๒ คนน้ีใชส้ ่ือสารกันล้วนเป็นประโยค ประโยคท่ีใช้ในการส่ือสารแบง่ ตามเจตนาของผสู้ ง่ สารไดเ้ ปน็ ๓ ประเภท คือ ประโยคบอกเลา่ ประโยคสอบถาม ประโยคสัง่ หรือขอรอ้ ง ๔.๗.๖ ประโยคบอกเล่า ประโยคบอกเล่า คอื ประโยคท่ีถ่ายทอดประสบการณข์ องผู้พูดหรือผเู้ ขยี นแก่ผูฟ้ ัง หรือผอู้ ่านประโยคบอกเล่าอาจเป็นการเลา่ เรอื่ งราวของบุคคลตา่ ง ๆ หรอื ส่งิ ต่าง ๆ ทเ่ี กิดขึ้นแลว้ ใน อดตี ก็ได้ หรอื กำลงั เกิดอยู่ในปจั จุบนั กไ็ ด้ หรอื อาจจะเกดิ ข้ึนในอนาคตก็ได้ หรอื เปน็ ความจรงิ ตลอดทุก ๆ สมัย ไมม่ ีกำหนดเวลาก็ได้ ในวนั หนงึ่ ๆ ประโยคทใ่ี ชส้ ื่อสารจะเป็นประโยคบอกเล่าอยมู่ าก ๔.๗.๗ ประโยคสอบถาม ประโยคสอบถาม คอื ประโยคทีผ่ ู้พดู ถามผู้ฟัง เพ่ือให้ผ้ฟู ังบอกเลา่ ประสบการณ์ของ ตนแก่ผู้พดู ถ้าประโยคเช่นน้ถี ่ายทอดออกเป็นตวั อักษร ประโยคสอบถามก็คือประโยคทผี่ ูเ้ ขียนถาม ผู้อา่ นเพื่อให้ผอู้ ่านบอกเล่าประสบการณ์ของตนแก่ผ้เู ขียน ประโยคสอบถามเหมือนประโยคบอกเลา่ ในแง่ทว่ี า่ ประโยคสอบถามอาจถาม เร่ืองราวของบุคคลตา่ ง ๆ หรือสิง่ ตา่ ง ๆ ที่เกิดขึน้ แล้วในอดีตกไ็ ด้ ที่กำลงั เกดิ อยู่ในปัจจุบันกไ็ ด้ ที่จะ เกิดขนึ้ ในอนาคตก็ได้ หรือไม่บ่งบอกเวลาท่เี กิดขึน้ ก็ได้

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรับครู ๔๓ ๔.๗.๘ ประโยคสงั่ หรอื ขอรอ้ ง ประโยคสัง่ หรือขอร้อง คือ ประโยคที่ผพู้ ดู พูดแก่ผู้ฟงั เพ่อื ใหผ้ ู้ฟังกระทำตาม ถา้ ประโยคเชน่ นถ้ี ่ายทอดออกเป็นตัวอกั ษร ประโยคสงั่ หรือขอรอ้ งกค็ ือประโยคทผ่ี เู้ ขียนเขียนถึงผ้อู ่าน เพือ่ ให้ผู้อ่านกระทำตาม วิธีการทผ่ี พู้ ูดหรอื ผู้เขียนชักจงู ใหผ้ ู้ฟังหรือผู้อา่ นกระทำตามทต่ี อ้ งการมีอยู่หลายอย่าง เชน่ ขอร้อง อ้อนวอน วงิ วอน ส่ัง บังคบั ขู่ เตอื น ไม่ว่าจะเป็นประโยคท่ีใช้ขอร้องหรือบังคับหรือส่งั ดว้ ย วธิ ีใด จะรวมเรยี กว่าประโยคสงั่ หรอื ขอร้องทั้งสิน้ ประโยคสงั่ หรอื ขอร้องมลี ักษณะคล้ายประโยคบอกเลา่ แต่ประธานในประโยคส่ังหรือ ขอร้องจะต้องเป็นบุรุษท่ี๒ เสมอ ประโยคสัง่ หรือขอรอ้ งบางประโยคไมป่ รากฏประธาน แตเ่ รากร็ ูไ้ ด้ จากเน้อื ความวา่ เป็นประโยคสั่งหรอื ขอร้อง นอกจากนัน้ ประโยคส่งั หรอื ขอร้องในภาษาไทยมกั จะมี คำ ซิ ละ นะ เถอะ อยทู่ ้ายประโยค คำเหล่านแี้ ต่ละคำไม่มีความหมาย แตช่ ่วยใหผ้ ้ฟู งั เข้าใจทา่ ที ของผู้พูดวา่ สงั่ ข้อร้อง บงั คับ หรือวงิ วอน ฯลฯ ๔.๗.๙ รูปประโยคกับการสอื่ สาร ประโยคทัง้ ๓ ชนดิ นัน้ ในบางกรณีเราดูจากรปู ประโยคก็พอทราบไดว้ ่า ผ้พู ดู เจตนา จะบอกเลา่ หรอื ถามหรือสัง่ แต่บางประโยคเมื่อดรู ปู ประโยคชวนให้คดิ ว่าผู้พดู เจตนาจะสอื่ สารอย่าง หนง่ึ แตเ่ มื่อพิจารณาข้อความแวดลอ้ มหรือเหตุการณ์แวดล้อม จึงจะทราบว่าทจี่ ริงผู้พูดเจตนาจะ สอ่ื สารอกี อย่างหนงึ่ ประโยคท่มี รี ปู ประโยคแบบประโยคสอบถาม แต่ผู้พูดเจตนาจะบอกเลา่ ก็มี เชน่ คุณ แม่ของเด็กหญิง ก. พดู กับคุณพ่อของเดก็ หญงิ ก. ว่า “คณุ รู้ไหม ขโมยข้นึ บ้านเราเม่ือคืนน้ี ที่จริงฉนั สงสัยแลว้ ตอน ๒ ยาม เจ้าดกิ๊ มัน เหา่ ใหญ่เลย ฉนั กล็ ุกขนึ้ มา แต่พอลุกขน้ึ มา เจ้าด๊กิ หยดุ เห่า ฉนั ก็เลยนอนต่อ” ประโยค คณุ รู้ไหม มรี ปู ประโยคเป็นประโยคสอบถาม แต่เราสนั นิษฐานไดจ้ าก เหตุการณ์แวดล้อมว่าผพู้ ูดมิได้ถามเพราะต้องการคำตอบ คุณร้ไู หม เปน็ การถามเพียงเพื่อเร้าความ สนใจประโยคทม่ี ีรปู ประโยคแบบประโยคสอบถาม แต่ผู้พดู เจตนาจะปฏิเสธกม็ ี เชน่ คุณพ่อของ เด็กหญงิ ก. ถามคณุ แม่ว่า เม่ือไดย้ นิ เสยี งสุนัขเห่าแล้ว เหตุใดไมเ่ รียกดว้ ย คุณแมก่ ็พูดวา่ “ใครจะรู้ ละ่ วา่ ขโมยจะมา” ประโยคนี้มรี ูปประโยคเปน็ ประโยคสอบถาม แต่สันนษิ ฐานไดจ้ ากเหตุการณ์แวดลอ้ ม ว่าผพู้ ูดมไิ ดต้ ้องการคำตอบ แต่เจตนาจะแนะใหผ้ ู้ฟังเขา้ ใจว่า ไมม่ ีใครรู้ว่าขโมยจะมา รวมท้ังตัวของผู้ พูดเองก็ไม่รู้ ประโยคทม่ี ีรปู ประโยคแบบประโยคสอบถาม แต่ผู้พูดเจตนาจะสัง่ หรือขอร้องก็มี เชน่ คณุ พ่อของเด็กหญงิ ก. พูดกับคุณแมข่ องเด็กหญิง ก. ว่า “คุณไปแจง้ ความได้ไหม” ประโยคนม้ี ีรปู ประโยคเปน็ ประโยคสอบถาม แตเ่ ราสันนิษฐานได้จากเหตุการณ์ แวดล้อมวา่ ผพู้ ดู มิไดต้ ้องการรู้แต่เพยี งว่าผูฟ้ ังไปแจ้งความได้หรอื ไมเ่ ท่านัน้ ยงั ต้องการใหผ้ ฟู้ งั ไปแจง้ ความอีกดว้ ย เจตนาของผู้พูดคือขอร้อง มิใช่ถาม

การใชภ้ าษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ๔๔ ประโยคท่ีมีรูปประโยคแบบประโยคบอกเล่า แต่ผ้พู ูดเจตนาจะสงั่ หรอื ขอร้องผ้ฟู ังกม็ ี เชน่ คุณแม่ของเดก็ หญิง ก. พูดกับเด็กหญิง ก. ว่า “แม่อยากใหล้ ูกไปแตง่ ตัวเดีย๋ วนี้” ประโยคนรี้ ูปประโยคเปน็ ประโยคบอกเล่า แต่เราสนั นษิ ฐานได้จากเหตุการณ์ แวดล้อมวา่ ผพู้ ดู มิไดบ้ อกเลา่ เพยี งเพื่อใหผ้ ู้ฟงั รูค้ วามตอ้ งการของตน แทจ้ ริงผพู้ ดู เจตนาให้ผู้ฟงั ปฏบิ ัติ ตามความต้องการนั้นด้วย เจตนาของผู้พูดคือสั่ง ไมใ่ ชบ่ อกเล่า จะเหน็ ไดว้ า่ เราไมส่ ามารถจะรู้เจตนาของผู้พดู จากรูปประโยคไดเ้ สมอไป ในการรับ สารจากผ้พู ดู เราควรจะตอ้ งพิจารณาข้อความแวดล้อมหรือเหตุการณแ์ วดล้อมประกอบด้วย จงึ จะ เข้าใจเจตนาของผู้พดู ได้ถกู ตอ้ ง ๔.๘ หลกั การใช้พจนานกุ รม พจนานุกรม เปน็ เคร่ืองมือสำหรบั ค้นควา้ หาความหมายของคำและชว่ ยให้สามารถอ่าน และ เขยี นคำต่าง ๆ ไดถ้ ูกต้อง พจนานกุ รมมีอยหู่ ลายฉบับดว้ ยกัน แต่ฉบบั ทีส่ ำคญั ที่สดุ คือ พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ซึ่งทางราชการได้กำหนดให้ใช้เป็นบรรทดั ฐานในการเรียนสะกดการนั ตถ์ ้อยคำ ภาษาไทย นักเรียนควรฝกึ ใช้พจนานุกรมให้คล่องแคลว่ เสียตงั้ แต่เรยี นในชัน้ ตน้ ๆ เพราะนักเรยี นจะต้อง ใชพ้ จนานุกรมตลอดไปเมื่อเรียนอยู่ในช้ันสูง ๆ ข้ึนและใช้ต่อไปตลอดชวี ติ ในการใช้พจนานุกรม จะต้อง เข้าใจวิธีการเรียงลำดบั คำท่บี รรจอุ ยใู่ นพจนานุกรมเป็นประการแรก ต่อจากนน้ั ต้องรจู้ ักใชป้ ระโยชน์ จากบรรทัดฐานการสะกดการันต์ นยิ าม คำอธิบายและความรู้ทางภาษาแงต่ า่ ง ๆ ที่พจนานุกรมให้ไว้ ๔.๘.๑ วธิ เี รียงลำดบั คำในพจนานกุ รม เพ่ือใหน้ กั เรียนสามารถเปดิ หาคำในพจนานกุ รมได้อยา่ งรวดเรว็ นกั เรยี นควรรูว้ ่า พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน เรยี งลำดบั คำอยา่ งไร ดังตอ่ ไปน้ี ๑. คำในพจนานุกรมเรียงลำดับตามรปู พยัญชนะตัวแรกในคำ ตามวรรคท้ัง ๕ และ เศษวรรค ดังนี้ กขฃคฅฆง จฉชซฌญ ฎฏฐฑฒณ ดตถทธน บปผฝพฟภม ย ร ฤ ฤา ล ฦ ฦา ว ศ ษ ส หฬอฮ ดงั นัน้ ถา้ จะหาคำว่า โขมด นักเรียนก็เปดิ ทห่ี มวดอักษร ข ซง่ึ ตามหลงั หมวดอักษร ก หรอื ถ้า หาคำว่า ไฝ กเ็ ปิดทห่ี มวดอักษร ฝ ซึง่ ตามหลังหมวดอักษร ผ นกั เรยี นควรสงั เกตว่า ฤ ฤา ตามหลัง ร และ ฦ ฦา ตามหลงั ล

การใช้ภาษาและเทคโนโลยสี ำหรบั ครู ๔๕ ๒. คำในพจนานุกรมไมเ่ รยี งลำดบั ตามเสียงอา่ น แต่เรียงลำดบั ตามรูปพยัญชนะดัง กลา่ วแล้ว ดังน้ัน ถ้าจะคน้ คำ หญิง หนัง หมวด หลาย ก็ต้องไปคน้ ในหมวดตัวอักษร ห ถ้าจะคน้ คำ ทราบ ทรัพย์ ก็ไปคน้ ในหมวดอักษร ท ถา้ จะคน้ คำวา่ อย่า อยาก ก็ต้องไปคน้ ในหมวดอักษร อ ๓. คำทอี่ ยใู่ นหมวดอกั ษรเดียวกันจะเรียงลำดบั ตามรูปพยัญชนะตัวถดั ไปของคำ เช่น กง มาก่อน กฎ เพราะ ง มาก่อน ฏ กฎ มาก่อน กรด เพราะ ฏ มากอ่ น ร ขนม มาก่อน ขบ เพราะ น มาก่อน บ ๔. คำทข่ี ึน้ ต้นด้วยพยัญชนะและตามด้วยพยัญชนะจะมาก่อนคำทขี่ นึ้ ตน้ ดว้ ย พยญั ชนะและตามดว้ ยสระ เช่น กรอ่ ย มาก่อน กระ คอ มากอ่ น คะ ๕. คำท่ีขน้ึ ตน้ ดว้ ยพยัญชนะและตามดว้ ยสระจะเรียงลำดบั ตามรปู สระ ดังนี้ -ะ -ุ เ-ื -ั -ู เ-ะื -ัะ เ- แ- -า เ-ะ แ-ะ -ำ เ-า โ- -ิ เ-าะ โ-ะ -ี เ-ิ ใ- -ึ เ-ี ไ- -ื เ-ีะ สำหรับตัว ย ว อ นบั ลำดบั อยใู่ นพยัญชนะเสมอ นักเรียนลองเปิดหมดวอักษร ช จะเห็นวา่ ชัย มาก่อน ชา เพราะ -ั มาก่อน -า ชาว มาก่อน ชำนิ เพราะ -า มาก่อน -ำ เชอื่ มาก่อน แช่ เพราะ เ-ื มากอ่ น แ- ในหมวดอกั ษรอืน่ ๆ ก็เชน่ เดียวกัน เช่น เงา มาก่อน เงาะ เมยี มาก่อน แม้ เสื่อ มา ก่อน แสง โย มาก่อน ใย ไย ๖. คำทมี่ ีรปู วรรณยกุ ตโ์ ดยปกติจะไม่คำนงึ ถึงรูปวรรณยกุ ต์ เช่น จะเรยี งคำ ไต้กง๋ กอ่ นไต้ฝนุ่ และไตฝ้ นุ่ ก่อน ไต่ไม้ ยกเว้นเม่ือเป็นคำท่สี ะกดต่างกนั เฉพาะรูปวรรณยุกตเ์ ท่านั้น จึงจะ เรียงตามลำดับรปู วรรณยุกต์ เชน่ ไต ไต่ ไต้ ไต๋ ราย รา่ ย รา้ ย กระตุ่น กระต้นุ