๙๓ องค์กรหรอื สมาคมวิชาชพี ตลอดจนมี “จรรยาบรรณในวิชาชีพ” เพอื่ ให้สมาชิกในวิชาชพี ดำเนนิ ชวี ติ ตาม หลักมาตรฐานดงั กล่าวหลักที่กำหนดในจรรยาบรรณวิชาชีพท่ัวไป คือ แนวความประพฤตปิ ฏิบัติทมี่ ีต่อ วชิ าชพี ตอ่ ผเู้ รยี นตอ่ ตนเองและตอ่ สังคมดังน้ี ๘.๔ จรรยาบรรณตอ่ ผ้เู รียน ๘.๔.๑ จรรยาบรรณท่ี ๑ ครตู ้องรักและเมตตาศิษยโ์ ดยใหค้ วามเอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ สง่ เสริมใหก้ ำลงั ใจในการศึกษา เล่าเรยี นแกศ่ ิษยโ์ ดยเสมอหน้า ดังน้ี ๑. สรา้ งความเป็นมิตรเป็นท่ีพง่ึ พาและไว้วางใจของนักเรียนทกุ คน โดย ๑.๑ ให้ความเป็นกนั เองกับนักเรยี น โดยพูดคยุ ซักถาม ช่วยแก้ปัญหาส่วนตัว ปัญหาทางบา้ น ๑.๒ ใชค้ ำพูดทีส่ ร้างความรัก ความอบอุน่ แก่นักเรียน เพื่อสรา้ งความไว้วางใจ และสรา้ งความสมั พนั ธอ์ ันดีระหว่างครกู บั นักเรียน ๑.๓ จัดกิจกรรมรว่ มกันระหว่างคณะครภู ายในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชมุ ชน เพือ่ สรา้ งความรู้สึกที่ดตี อ่ กนั เช่น วันพอ่ วนั แม่ วนั เด็ก ฯลฯ ๒. ตอบสนองข้อเสนอแนะ และการกระทำของนกั เรยี นในการสรา้ งสรรค์ ตามสภาพ ปัญหา ความต้องการและศักยภาพของนกั เรยี นแต่ละคน โดย ๒.๑ ส่งเสริมใหน้ กั เรียนเขา้ ร่วมโครงการอนุรักษ์ไทย วฒั นธรรมไทย จนสามารถ ทำผลงานใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อโรงเรยี นและชุมชน ๒.๒ ชว่ ยแก้ไขขอ้ บกพร่องของนักเรียนในด้านการเรียน โดยการสอนซ่อมเสรมิ นอกเวลาเรยี นและสง่ เสรมิ ความสามารถของนักเรียนใหม้ ีประสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึน ๒.๓ ให้โอกาสนกั เรยี นได้แสดงออกตามความสามารถ ๘.๔.๑ จรรยาบรรณที่ ๒ ครูต้องอบรม ส่ังสอน ฝกึ ฝน สรา้ งเสรมิ ความรู้ ทักษะ และนิสัยท่ีถูกต้อง ดีงามให้เกิด แก่ศิษยอ์ ยา่ งเต็มความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธใิ์ จ ดงั น้ี ๑. ศกึ ษานกั เรียนเปน็ รายบุคคล เพอ่ื รู้ข้อมลู ทั้งในดา้ นปัญหาส่วนตัว และในดา้ นการ เรยี นพรอ้ มหาวธิ ีแก้ปัญหาและช่วยเหลอื นกั เรยี นไดถ้ ูกตอ้ ง ๒.นำความรดู้ ้านจรยิ ศกึ ษา สอดแทรกในการเรยี นการสอน เพ่ือให้นักเรียนมีจริยธรรมและ คณุ ธรรมทดี่ ี ๓.อบรมนักเรียนให้มีความประพฤตดิ ี มีระเบยี บวินยั มคี วามรับผิดชอบ กล้าแสดงออก อยา่ งมีเหตุผล รจู้ กั ทำงานเปน็ กลุ่มและยอมรบั ความคิดเหน็ ผอู้ น่ื ๔.เปดิ โอกาสให้นกั เรียนได้ฝกึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเต็มความสามารถ โดยใหน้ กั เรียนฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ ในห้องนาฏศลิ ป์
๙๔ ๕. ประเมนิ ผลงานของนักเรียนอยา่ งสมำ่ เสมอ และเสนอแนะแก้ไขขอ้ บกพร่อง เพ่ือ นำไปปรบั ปรงุ ผลงานใหด้ ีและสมบรู ณ์ย่ิงขึ้น ๘.๔.๓ จรรยาบรรณที่ ๓ ครูต้องประพฤติ ปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งที่ดแี กศ่ ิษย์ ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจดงั น้ี ๑. ตระหนกั ถึงพฤติกรรมการแสดงออกของครูมผี ลตอ่ การพฒั นาพฤตกิ รรมของ นกั เรียนอย่เู สมอ โดย ๑.๑ ระมดั ระวงั ในการกระทำและการพดู มีวาจาสุภาพและออ่ นโยนกบั บุคคล ทวั่ ไป ๑.๒ มีความอดทน อารมณด์ ี มีใจหนักแนน่ ไมโ่ กรธงา่ ย ไม่แสดงอาการไม่พอใจ วางตนเหมาะสมกับกาลเทศะและเป็นตัวอยา่ งที่ดีอยู่เสมอ ๒. พูดจาสภุ าพและสร้างสรรค์ โดยคำนึงถงึ ผลท่จี ะเกิดกบั นักเรียน ผปู้ กครองและ สังคมโดย ๒.๑ พดู จาสภุ าพ เรียบร้อย ๒.๒ พดู ยกย่อง ชมเชย ใหก้ ำลังใจนกั เรยี นเมื่อนักเรยี นทำความดี ๓. กระทำตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดสี อดคล้องกับวฒั นธรรมประเพณีอันดงี าม โดย ๓.๑ ส่งเสรมิ วฒั นธรรมประเพณีร่วมกบั คณะครูและขุมชน โดยพานกั เรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมตามประเพณี เช่น การเผยแพรก่ ิจกรรมสำคัญในเทศกาลต่าง ๆ ๓.๒ ให้ความร่วมมือกบั ชมุ ชนในการดำรงรักษาวัฒนธรรมประเพณอี นั ดีงาม ๓.๓ แสดงออกซ่ึงนิสยั ท่ดี ีในการประหยัดและมกี ารควบคมุ การใชจ้ า่ ยให้ เหมาะสมแกส่ ภาพและฐานะความเปน็ อยู่ ๓.๔ ส่งเสริมใหช้ มุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนานักเรียนทางด้านจริยธรรมและ มารยาทไทย ๘.๔.๔ จรรยาบรรณท่ี ๔ ครูตอ้ งไม่กระทำตนเปน็ ปฏปิ ักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปญั ญา จิตใจ อารมณ์ และ สงั คมของศิษย์ ดังนี้ ๑. ละเว้นการกระทำทีท่ ำให้นักเรียนเกดิ ความกระทบกระเทือนจิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คมของนักเรยี น โดย ๑.๑ ไมน่ ำปมด้อยของนักเรยี นมาลอ้ เลียน ใหก้ ำลังใจในกรณที ีเ่ ดก็ มขี ้อบกพรอ่ ง ๑.๒ ไม่ประจานนักเรยี นต่อหน้าผ้อู ่ืนและไม่กล่าวพาดพึงถงึ ผู้ปกครอง ๑.๓มีอารมณแ์ จ่มใสเสมอเมื่อทำการสอน ไม่นำความเครยี ดมาระบายกับนักเรยี น ๑.๔ ไมล่ งโทษนักเรียนเกนิ เหตอุ ันควร ๒. ละเว้นการกระทำทีเ่ ป็นอันตรายตอ่ สุขภาพและรา่ งกายของนกั เรียน โดย ๒.๑ ไม่ทำรา้ ยนักเรียน
๙๕ ๒.๒ ไมล่ งโทษเกนิ กวา่ ระเบียบกำหนด ๒.๓ ร่วมมอื กับคณะครูจดั สงิ่ แวดลอ้ มในสถานศึกษาใหป้ ลอดภัย ๒.๔ ไมใ่ ช้นกั เรยี นเกินกำลงั ความสามารถ ๓. ละเวน้ การกระทำที่สกดั ก้ันการพฒั นาทางสติปญั ญา อารมณ์ จติ ใจและสงั คมของ นกั เรยี น ๓.๑ ไม่ดวุ า่ กลา่ วซำ้ เตมิ นักเรียนทเ่ี รยี นซำ้ ให้กำลังใจและสอนซ่อมเสรมิ ๓.๒ ไม่ขัดขวางโอกาสให้นักเรียนไดแ้ สดงออกทางสรา้ งสรรค์ โดยสง่ เสริมเด็ก ที่มีความพิเศษทางภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ศลิ ปะและนาฏศลิ ป์ ใหไ้ ดแ้ สดงออกตามโอกาสอนั ควร ๘.๔.๕ จรรยาบรรณที่ ๕ ครูไมต่ ้องแสวงหาประโยชน์อันเปน็ อามสิ สินจ้างจากศิษย์ในการปฏบิ ัติหน้าที่ตามปกติ และไมใ่ ชศ้ ษิ ย์กระทำการใด ๆ อันเปน็ การหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมชิ อบดังนี้ ๑. ไมร่ บั หรอื แสวงหาอามิสสินจ้างหรือผลประโยชนอ์ ันมิควรจากนกั เรยี น ๒. ไม่ใช้นักเรียนเป็นเครื่องมือหาประโยชนใ์ ห้กับตนโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี หรือความรูส้ ึกของสงั คม ๓. เชญิ ชวนให้คณะครู ผปู้ กครอง ชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ บริจาคทรพั ย์เพื่อ ช่วยเหลอื นกั เรียนตามโอกาส ๘.๔.๖ จรรยาบรรณท่ี ๖ ครตู อ้ งพัฒนาตนเองท้ังในด้านวชิ าชีพ ด้านบคุ ลกิ ภาพ และวิสยั ทศั น์ ให้ทันต่อการ พฒั นาทางวชิ าการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื งอยเู่ สมอดงั น้ี ๑. ใส่ใจศึกษาคน้ ควา้ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ความรูใ้ หม่ที่เกี่ยวกับวชิ าชีพอย่เู สมอ ๒. มคี วามรู้ ทันสมัย ทนั เหตุการณ์ สามารถนำมาวิเคราะห์ กำหนดเปา้ หมาย แนวทางพฒั นาตนเองและวชิ าชพี ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง และ เทคโนโลยี ๓. แสดงออกทางร่างกาย กิริยา วาจา อยา่ งสง่างาม เหมาะสมกบั กาลเทศะ ขา้ พเจา้ ไดป้ ระพฤติ และปฏบิ ัตเิ ป็นแบบอย่างแก่นกั เรียน ๘.๔.๗ จรรยาบรรณที่ ๗ ครยู ่อมรักและศรัทธาในวชิ าชพี และเป็นสมาชิกท่ีดขี ององค์กรวชิ าชีพครูดงั น้ี ๑. เชอ่ื ม่นั ช่ืนชม ภมู ิใจในความเปน็ ครแู ละองคก์ รวชิ าชีพครู วา่ มีความสำคัญและ จำเปน็ ตอ่ สงั คม ๒. เป็นสมาชกิ องค์กรวิชาชพี ครแู ละสนบั สนุนหรอื เข้ารว่ มหรอื เป็นผ้นู ำในกิจกรรมพฒั นา วชิ าชีพครู ๓. ปกป้องเกยี รติภูมิของครแู ละองคก์ รวิชาชีพ
๙๖ ๘.๔.๘ จรรยาบรรณที่ ๘ ครูพงึ ช่วยเหลือเก้ือกูลครแู ละชมุ ชนในทางสร้างสรรค์ ดงั นี้ ๑.ใหค้ วามรว่ มมือและแนะนำ ปรึกษาแกเ่ พื่อนครตู ามโอกาสและความเหมาะสม ๒.ให้ความชว่ ยเหลอื ดา้ นทนุ ทรัพย์ สงิ่ ของ แด่เพ่ือนครตู ามโอกาสและความเหมาะสม ๓. เขา้ ร่วมกจิ กรรมของชมุ ชนรวมท้งั ให้คำปรึกษาแนะนำทางวิชาการ ปฏิบัตงิ านเพ่ือ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ๔.รว่ มกิจกรรมตามประเพณขี องชุมชนตามโอกาสอนั ควร ๘.๔.๙ จรรยาบรรณท่ี ๙ ครูพงึ ประพฤตติ นเปน็ ผนู้ ำในการอนรุ ักษ์ และพัฒนา ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทยดังนี้ ๑. แต่งกายในลกั ษณะอันเปน็ การแสดงออกซง่ึ การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทย ทกุ วันศุกร์ ๒. รว่ มงานประเพณีทอ้ งถ่นิ เชน่ การทำบุญตักบาตรในวันสำคญั ต่าง ๆ การเวยี นเทยี น การก่อพระทราย วันไหล งานกฐิน งานแหเ่ ทยี นพรรษา นอกจากจรรยาบรรณต่อศษิ ย์แลว้ ครจู ะตอ้ งมีความประพฤติปฏิบัตติ ่อตนเอง ดว้ ยคอื จรรยาบรรณ ต่อตนเอง ครจู ะตอ้ งพฒั นาตนเองตลอดเวลาเพื่อให้มีลกั ษณะพฤติกรรม ดงั นี้ ๑. ประพฤติชอบ ครตู ้องต้งั ตนไว้ในที่ถูกที่ควรสามารถบังคับตนเองให้ประพฤตแิ ตส่ ิ่งที่ดี งามถูกต้อง ๒. รบั ผิดชอบ ครูตอ้ งฝึกความรบั ผดิ ชอบ โดยตัง้ ใจทำงานใหส้ ำเรจ็ ลลุ ว่ ง มคี วามผดิ พลาด น้อย ๓. มีเหตผุ ลครูต้องฝกึ ถามคำถามตนเองบ่อย ๆ ฝกึ ความคิดวเิ คราะหห์ าเหตุหาผล หาข้อดี ขอ้ เสยี ของตนเอง และเรือ่ งต่าง ๆ เพื่อทำให้ตนเองเป็นคนมเี หตผุ ลทดี่ ี ๔. ใฝร่ ู้ การตดิ ตามข่าวสารข้อมูลอยเู่ สมอ ๆ ทำให้ครมู ีนิสยั ใฝ่รู้ อยากทราบคำตอบใน เร่ืองต่าง ๆ ครคู วรมคี วามรรู้ อบตวั อยา่ งดที งั้ ดา้ นสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพ่ือให้ครูดำรงชพี ในสังคม ไดอ้ ย่างเป็นสขุ ปรบั ตวั เขา้ กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ และชแี้ นะสง่ิ ท่ีถูกต้องให้ศิษยไ์ ด้ ๕. รอบคอบ ครูต้องฝึกฝนตนเองใหเ้ ป็นคนรอบคอบ ละเอียดและประณีต ในการดำเนิน กิจการต่าง ๆ การทำกจิ กรรม เช่น ควบคมุ บญั ชกี ารเงินต้องรอบคอบ ต้องเห็นตวั เลขชัดเจนไมต่ กหล่น ทำ ใหเ้ กดิ การผดิ พลาดทเ่ี ป็นผลร้ายท้งั ของตนเองและผูอ้ ่นื ๖. ฝึกจิต การพฒั นาจิต ทำให้ครอู ยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสุขและสง่ ผลทำให้ครูทำงาน ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพมากข้ึนครจู ึงต้องหมั่นฝึกจิตของตนให้สูงส่ง สงู กว่ามาตรฐาน ระงับอารมณ์ไมด่ ี คดิ อะไรไดส้ ูงกว่ามาตรบานและคิดเป็นบวก มากกวา่ คดิ ลบหรือคดิ รา้ ย ๗. สนใจศษิ ย์ การสนใจพฒั นาการของผเู้ รยี น เป็นสว่ นหน่งึ ทจี่ ะทำใหว้ ชิ าชพี ครกู า้ วหน้า เพราะถ้าไมม่ ผี ู้เรยี นก็ไม่มีวชิ าชีพครู ครจู ึงจำเปน็ ต้องศึกษาหาความรเู้ กย่ี วกบั ลักษณะธรรมชาติผ้เู รยี น การ แกป้ ญั หาผูเ้ รยี น การสง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้
๙๗ สรปุ ได้วา่ จรรยาบรรณ คือ ประมวลพฤติกรรมที่กำหนด ลักษณะมาตรฐานการกระทำของครู อัน จะทำใหว้ ิชาชพี ครูก้าวหน้าอย่างถาวร โดยท่คี รูจะต้องดำเนนิ การเรยี นการสอนโดยการยึดจรรยาบรรณต่อ วชิ าชพี ตอ่ ผเู้ รียน และต่อตนเอง ในการทำหนา้ ท่ีของครใู ห้สมบูรณ์ ๘.๕ จรรยาบรรณตอ่ อาชีพ ผูท้ อ่ี ยู่ในวงวิชาชีพจะต้องยดึ ถือจรรยาบรรณ ในการดำรงวิชาชพี ให้เปน็ ท่ยี อมรบั คือ ๑. ศรัทธาตอ่ วิชาชพี ผู้ท่ีอยู่ในวงการวิชาชีพครู ต้องมคี วามรกั และศรทั ธาต่อวิชาชีพครู เห็นวา่ อาชีพครูเป็นอาชีพทมี่ ีคณุ ค่า มปี ระโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ ในฐานะท่เี ป็นอาชีพทีส่ ร้างคนใหม้ คี วามรู้ความ สามารถ และเปน็ คนทพ่ี ึงประสงคข์ องสงั คม ผ้อู ยู่ในวชิ าชีพจะต้องม่นั ใจ ในกาประกอบวชิ าชพี นี้ดว้ ยความ รกั และช่ืนชมในความสำคัญของวชิ าชีพ ๒. ธำรงและปกปอ้ งวิชาชีพ สมาชกิ ของสงั คมวชิ าชีพต้องมีจติ สำนกึ ในการธำรง ปกป้อง และรกั ษา เกียรตภิ มู ิของวชิ าไม่ให้ใครมาดหู ม่ินดแู คลน หรือเหยียบย่ำทำให้สถานะของวิชาชีพตอ้ งตกต่ำ หรอื มวั หมอง การธำรงปกป้องต้องกระทำทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พงึ ปรารถนาหรอื ต้องมีการแก้ไขข่าวหรือประท้วง หากมขี ่าวคราวอันก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อวชิ าชพี ๓. พัฒนาองคค์ วามรูใ้ นวิชาชีพ หนา้ ที่ของสมาชกิ ในวงการวชิ าชพี คอื การที่ต้องรบั ผดิ ชอบใน การศึกษา ค้นควา้ วิจัย สร้างความรูแ้ ละเผยแพร่ความรู้ เพอ่ื ทำใหว้ ิทยาการในศาสตรส์ าขาวิชาชพี ครู กา้ วหนา้ ทันสังคมทันเหตกุ ารณ์ ก่อประโยชนต์ อ่ ประชาชนในสงั คม ทำให้คนเก่ง และฉลาดขนึ้ โดยวธิ กี าร เรยี นการสอนท่ีกระตนุ้ ให้ผ้เู รียนรกั เรียน ใฝร่ ู้ ชา่ งคิด ทวี ิจารณญาณ มบี ุคลกิ ภาพที่พึงประสงค์ มากขึ้น ๔.สรา้ งองคก์ รวิชาชพี ให้แขง็ แกรง่ สมาชกิ ในวงวิชาชพี ต้องถือเป็นหนา้ ทีท่ ี่จะต้องสรา้ งองค์กรวิชา ชพี ใหค้ งม่นั ธำรงอยู่ได้ด้วยการเป็นส่อื กลางระหว่างสมาชกิ และเป็นเวทใี หค้ นในวงการไดแ้ สดง ฝีมือและ ความสามารถทางการสรา้ งรูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนตลอดจนการเผยแพร่ผลงานทางด้านการสร้าง แบบเรยี นใหม่ ๆ การเสนอแนวความคิดห่าในเรื่องของการพฒั นาคน การเรยี นการสอน และการ ประเมนิ ผล ๕. ร่วมมือในกิจกรรมขององคก์ รวิชาชพี สมาชกิ ในสังคมวชิ าชพี ต้องรว่ มมือกันในการจัดกจิ กรรม ต่าง ๆ เพอื่ ใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นไหวในเรอ่ื งของความคิด หรือการจดั ประชุม สมั มนา แลกเปล่ียนแนวความคิด เพื่อกระตนุ้ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลง กิจกรรมต่าง ๆ ขององคก์ ร หากไม่ได้รบั ความสนับสนนุ จากสมาชิกแล้ว ทำให้องค์กรวิชาชีพขาดความสำคญั ลงและไมส่ ามารถดำเนินภารกจิ ขององคก์ รวชิ าชพี ต่อไปได้บทบาทของ การธำรงมาตรฐานและการสง่ เสริมความก้าวหนา้ ทางวชิ าการกย็ อ่ มจะลดลงดว้ ย ถ้าไม่มีปริมาณสมาชิกท่ี สนับสนนุ เพียงพอ
๙๘ ๘.๖ หลักพทุ ธธรรมในโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ คำว่าหลกั พทุ ธธรรม เปน็ คำท่มี คี วามหมายเดียวกับคำวา่ ธรรมะ ในทางพระพุทธศาสนาอันเปน็ ข้อ ประพฤติปฏิบตั ิหรือหลักธรรมคำสอนอันเป็นแนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องมวลมนุษย์เพ่ือใหส้ ังคมอยู่ ได้อยา่ งสงบสขุ และได้มีนกั วชิ าการให้ความหมายพุทธธรรมไว้ดงั นี้ ปน่ิ มุทกุ นั ต์ ๒๕๑๔: ๑๕๘) ไดก้ ลา่ วถงึ ธรรมะ คือ ความถูก ความพี ถกู กบั ดีนน่ั แหละ คือ ธรรมะ ละอธรรม ก็คือผดิ และเสีย สรปุ ไดดังนี้ ธรรมะ เปน็ สง่ิ ที่เกีย่ วกับงานทุกอย่างท่ีต้องการถูก ดี ธรรมะ คือการประหยัดเวลา ธรรมะ คือเครอื่ งหล่อเล้ียงให้เกิดผลดี ธรรมะ คอื มติ ราทดี่ ีที่สุดของคนมงี านมาก ธรรมะ คือคำสอนทางศาสนาทว่ี ่าดว้ ยหลักหรอื ข้อปฏิบตั มิ ีท้ังฝ่ายดีปละฝา่ ยไมด่ ีและเปน็ กลางๆ ท่ี เรยี กว่า กุศลธรรม อกศุ ลธรรมและอัพยากตธรรม ธรรมะ หมายถึง สภาพท่ที รงไวธ้ รรมดา ธรรมชาติ สภาวธรรม สจั ธรรม ความจริง ตน้ เหตุสง่ิ ที่ ปรากฏการณ์ สิ่งที่ใจคิด คุณธรรมความดี ความถูกต้อง ความประพฤตชิ อบ หลกั การแบบแผนธรรมเนียม หน้าท่ี ความรับผิดชอบ ความยตุ ิธรรม พระธรรม คำสั่งสอนของพระพทุ ธเจ้า ซึง่ แสดงธรรมใหเ้ ปดิ เผย ปรากฏขน้ึ ราชบัณฑิตยสถาน ( ๒๕๒๕: ๒๔๐) ได้ใหค้ วามหมายว่า ธรรมะ คอื หลักธรรมคำสัง่ สอนในทาง พระพุทธศาสนา เป็นหลักประพฤติปฏบิ ัตทิ างศาสนา เพื่อให้บุคคลมีศลี ธรรม มคี วามยตุ ิธรรม มีความจริงใจ ต่อกนั และมีความถูกต้อง คูณ โทขันธ์ (๒๕๓๒: ๑๖) ไดก้ ลา่ วถงึ ธรรมะไวห้ ลายประการคือ ธรรมะ คือ คุณากร แปลว่า บอ่ เกดิ ของความดี หรอื แหล่งคุณงามความดี ธรรมะ คอื คำสง่ั สอนขององค์พระสมั มาสมั พุทธเจา้ อันเป็นสัจธรรมทพ่ี ระองค์ค้นพบ ธรรมะ คือ สงิ่ ท่ีทรงผู้ปฏิบัติท่ีถกู ต้องทุกขั้นตอนเพื่อไถ่ถอนความปา่ เถ่ือนออกจากสันดานคน ธรรมะ คือ หนา้ ที่ ทุกคนทีเ่ กิดมาจะต้องทำหนา้ ท่ีของตนเองหรือตามท่สี ังคมกำหนด ซึ่งถอื วา่ เป็น ผมู้ ธี รรมะ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ิ ปยุตฺโต, ๒๕๓๙ : ๘๕ ) ไดก้ ลา่ วถงึ ธรรม คือ ความจรงิ ท่ีมอี ยู่ตามธรรมดา ธรรมชาติ พระพุทธเจา้ จะเกิดหรอื ไม่เกิดมนั ก็เป็นของมนั อยา่ งน้นั พระพุทธเจา้ ได้ตรสั ว่า อานาคตจะเกดิ หรือไม่กต็ ามความจรงิ กม็ อี ยู่ตามธรรมดาของมนั อย่างนน้ั นี้คือความจริงตามธรรมชาติ เม่อื กล่าวสรปุ ธรรมะ คือ คำสงั่ สอนขององค์พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ทมี่ คี ุณคา่ เป็นหนา้ ท่คี วร ปฏิบตั ิเพื่อขจดั ความช่ัว พาตัวให้รอด เม่ือความหมายเปน็ เช่นนนั้ ทกุ คนที่ยงั มีชวี ิตในแตล่ ะวัย แต่ละวนั ทีเ่ รียกว่าชวี ติ ประจำวัน จงึ จำเปน็ อยา่ งยง่ิ ทตี่ ้องมธี รรมะประจำใจ เพราะ ธรรมะ คอื หนา้ ที่ การทำ หน้าทใี่ หด้ ที ่ีสุดคือการประพฤติปฏิบัตธิ รรมะนน่ั เอง
๙๙ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๔๕) ได้มรการกำหนด เกณฑ์การเรยี นการสอนสาระการ เรยี นร้พู ระพุทธศาสนาในระดับประถมศกึ ษา มีหลักพุทธธรรมดังนี้ ๑. พทุ ธคุณ ๓คอื คุณของพระพุทธเจา้ ๓ ประการ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). ๒๕๔๓ : ๑๙๑) ๑.๑ ปัญญาคุณ พระคุณ คอื ปัญญา ๑.๒ วสิ ุทธิคุณ พระคณุ คือ ความบริสทุ ธ์ิ ๑.๓ กรณุ าธิคณุ พระคุณ คอื พระมหากรุณา ๒. พทุ ธจรยิ า ๓ หรือ กศุ ลกรรมบถ คือ ทางแห่งกุศลกรรม ทางทำความดี กรรดี อันเป็นทาง นำไปสูค่ วามสุข ความเจริญ ว่าโดยหวั ขอ้ ดงั นี้ ๒.๑ กายกรรม ๓ การกระทำทางกาย - เวน้ การฆ่า การเบียดเบียน มีเมตตากรุณาช่วยเหลือเกื้อกูลกัน - เว้นจากการขโมย เคารพกรรมสิทธิใ์ นทรัพยส์ นิ ของผู้อื่น - เว้นจากการประพฤตใิ นกาม ไม่ลว่ งละเมิดประเพณีทางเพศ ๒.๒ วจีกรรม การกระทำทางวาจา - เว้นจากการพดู เทจ็ ไม่ยอมกลา่ วเทจ็ เพราะเหน็ แก่ผลประโยชน์ - เว้นจากการพดู ส่อเสียด ช่วยสมานคนทแ่ี ตกร้าวกนั กลา่ วถ้อยคำท่สี รา้ งสามัคคี - เว้นจากการพคู ำหยาบ พูดแต่คำสุภาพ อ่อนหวาน - เวน้ จากการพูดเพอ้ เจ้อ พูดแต่ความจริงมีเหตุผล มสี ารประโยชน์ ถกู กาลเทศะ ๒.๓ มโนกรรม การกระทำทางวาจา - ไม่คดิ เพง่ เล็งอยากไดข้ องผู้อ่ืน - ไม่คดิ ร้ายผอู้ น่ื คิดปรารถนาแตว่ า่ ขอให้สัตวท์ ้ังหลายไม่มีเวร เบยี ดเบยี น ไม่ ทุกข์ ครองตนอยเู่ ป็นสขุ เถิด - เห็นชอบ ถกู ต้องตามคลองธรรม ๓. บญุ กริยาวตั ถุ ๓ ทต่ี ัง้ การทำบญุ เรื่องท่ีจดั เปน็ การทำความดี หลกั การทำความดี (พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยตุ ฺโต). ๒๕๔๓ : ๑๐๙) มี ๓ ประการ คอื ๓.๑ ทานมัย คือ ทำบุญดว้ ยการให้ปนั ส่ิงของ ๓.๒ สลี มยั คือ ทำบุญดว้ ยการรกั ษาศีล หรอื ประพฤติดมี ีระเบียบวินยั ๓.๓ ภาวนามัย คอื ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา อบรมจติ ใจ ๔. กุศลมูล ๓ คอื รากเหง้าของกุศล ความนึกคิดที่ดีงาม มี ๓ ประการ คือ (พระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุตฺโต).๒๕๔๒ : ๒๒) ๔.๑ อโลภะ ไม่โลภ(จาคะ) ๔.๒ อโทสะ ไม่คดิ ประทุษร้าย(เมตตา) ๔.๓ อโมหะ ไมห่ ลง(ปัญญา)
๑๐๐ ๕. ทจุ รติ ๓ ความประพฤติไม่ดี ประพฤติชั่ว ๓ ทาง (พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยตุ ฺโต). ๒๕๔๓ : ๑๐๐) ได้แก่ ๕.๑ กายทุจรติ ประพฤตชิ ว่ั ทางกาย ๕.๒ วจที ุจริต ประพฤติช่ัวทางวาจา ๕.๓. มโนทจุ รติ ประพฤตชิ ว่ั ทางใจ ๖. สุจรติ ๓ ความประพฤติดี การกระทำความดี ๓ทางได้แก่ ๖.๑ กายสจุ ริต ประพฤติดีทางกาย ๖.๒ วจีสจุ รติ ประพฤตดิ ีทางวาจา ๖.๓ มโนสุจรติ ประพฤตดิ ที างใจ ๗. ไตรสิกขา๓ คือ ข้อปฏบิ ตั ิท่ีตอ้ งศกึ ษา (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).๒๕๔๓ : ๘๗) มี ๓ อยา่ ง คือ ๗.๑ อธศิ ลี สกิ ขา สกิ ขา คือ ศีลอนั ย่ิง ๗.๒ อธศิ ลี สกิ ขา สิกขา คือ จติ อนั ยงิ่ ๗.๓ อธศิ ลี สกิ ขา สิกขา คือ ปญั ญาอนั ย่ิง ๘. โอวาท ๓ คำ คำสอน คำแนะนำ คำตักเตอื น โอวาทของพระพุทธเจา้ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโฺ ต).๒๕๔๓ : ๔๔๐) มี ๓ ประการ คือ ๘.๑ เว้นจากการทจุ รติ คอื ประพฤตชิ ัว่ ดว้ ยกาย วาจา ใจ (ไมท่ ำชวั่ ทงั้ ปวง) ๘.๒ ประกอบสจุ ริต คือ ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ(ทำแต่ความด)ี ๘.๓ ทำใจของตนใหห้ มดจากเรื่องเศร้าหมอง มีโลภ โกรธ หลง เปน็ ตน้ (ทำจติ ของตนให้ สะอาดบรสิ ุทธิ์) ๙. อริยสจั ๔ คอื ความจรงิ อันประเสริฐ ความจริงของอริยะ ความจรงิ ท่ีทำใหผ้ ู้เขา้ ถึงกลายเป็น อรยิ ะ (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต).๒๕๔๓ : ๑๘๑ ) มี ๔ ประการ คือ ๙.๑ ทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก สภาวะที่บีบค้นั ขัดแย้ง บกพรอ่ ง ขากแกน่ สารและความ เท่ยี งแท้ไมใ่ ห้ความพึงพอใจแท้จรงิ ๙.๒ ทกุ ข์สมุทยั เหตแุ หง่ ทกุ ข์ สาเหตุใหเ้ กดิ ทุกข์ได้แก่ ตัณหา ๓ คือ กามตณั หา ภวตณั หา และวภิ วตณั หา กำจดั อวชิ า สำรอกตัณหา ส้นิ แลว้ ไมถ่ ูกย้อม ไม่ตดิ ขดั หลดุ พ้น สงบ เป็นอสิ ระ คือ นพิ พาน ๙.๓ ทุกขน์ โิ รธ ความดบั ทกุ ขไ์ ดแ้ ก่ภาวะทตี่ ดั ปัญหาดับสนิ้ ไป สำรอกตัณหาสน้ิ แล้ว ไมต่ ิดข้อง หลดุ พน้ สงบ เป็นอิสระ คือ นพิ พาน ๙.๔ ทุกขน์ ิโรธคามินีปฏปิ ทา ปฏิปทาทีน่ ำไปสู่ความดบั แห่งทกุ ข์ ข้อปฏิบตั ใิ ห้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ อริยอฏั ฐังคกมรรค หรือ มชั ฌิมาปฏิปทา มรรคมีองค์ ๘ น้ี สรปุ ลงในไตรสิกขา ๓
๑๐๑ ๑๐. ศรทั ธา ๔ คอื ความเชอื่ ถอื ทีป่ ระกอบด้วยเหตผุ ล หรอื ความเชอื่ ม่ันในสิง่ ท่ดี งี าม มี ๔ ประการ ดงั น้ี (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโฺ ต).๒๕๔๓ : ๑๖๕) ๑๐.๑ กัมมสัทธา เชอ่ื กรรม เชือ่ ว่ากรรมมีอยู่จรงิ คือ เชอ่ื วา่ เม่ือทำอะไรโดยมเี จตนายอ่ ม เป็นกรรม คือ เปน็ ความช่ัว ความดี มีขน้ึ ในตน เปน็ เหตุปัจจัยกอ่ ให้เกดิ ผลดี ผลรา้ ยสืบเนอ่ื งต่อมา และ เชือ่ วา่ ผลทต่ี อ้ งการจะสำเรจ็ ไดด้ ว้ ยการกระทำ มใิ ช่ด้วยอ้อนวอน หรอื คอยโชค เป็นต้น ๑๐.๒ วปิ ากสัทธา เชือ่ วบิ าก เชือ่ ผลของกรรม เชอื่ ว่าผลของกรรมมจี รงิ คือ เชอ่ื ว่ากรรมที่ สำเร็จตอ้ งมีผล และผลตอ้ งมีเหตุ ผลดเี กิดจากรรมดี และผลช่วั เกดิ จากกรรมช่วั ๑๐.๓ กัมสสกดาสัทธา ความเชอื่ ที่สัตวม์ กี รรมเปน็ ของตน เช่อื วา่ แต่ละคนเป็นเจา้ ของจะต้อง รบั ผิดชอบเสวยวิบากเป็นไปตามกรรของตน ๑๐.๔ ตถาคตโพธสิ ัทธา เชอื่ ความตรัสรขู้ องพระพุทธเจ้า มน่ั ใจองค์พระตถาคตวา่ ทรงเป็น พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ทรงพระคณุ ทงั้ ๙ ประการ ตรสั ธรรม บัญญตั ิวนิ ยั ไวด้ ว้ ยดี ทรงเป็นผู้นำทางทแี่ สดง ให้เหน็ วา่ มนุษย์ คอื เราทุกคนน้ี หากฝึกตนด้วยดีกส็ ามารถเข้าถึงภูมธิ รรมสูงสุด บรสิ ทุ ธ์ิหลุดพ้นได้ ดังที่ พระองค์ได้ทรงบำเพ็ญไว้ ๑๑. อบายมขุ ๔ ชอ่ งทางของความเส่ือม เหตเุ คร่อื งชิบหาย เหตยุ อ่ ยยับแหง่ โภคทรพั ย์ ทางแห่ง ความพนิ าศ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโฺ ต).๒๕๔๓ : ๓๗๗) มี ๔ ประการ คือ ๑๑.๑ อติ ถัธตุ ตะ เปน็ นักเลงหญิง นักเทีย่ วหญงิ ๑๑.๒ สรุ าธตุ ตะ เปน็ นักเลงสุรา นกั ดืม่ ๑๑.๓ อักขธตุ ตะ เป็นนักการพนนั ๑๑.๔ ปาปมิตตะ คบคนชัว่ ๑๒. พรหมวหิ าร ๔ คือธรรมประจำใจอนั ประเสริฐ หลักความประพฤตทิ ปี่ ระเสรฐิ บริสุทธ์ิ ธรรมท่ี ต้องมีไวเ้ ปน็ หลกั ใจและกำกับความประพฤตดิ ี จงึ จะชือ่ ว่าดำเนนิ ชีวติ หมดจดและปฏบิ ตั ิตนตอ่ มนุษย์ สัตว์ ทั้งหลายโดยชอบ (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). ๒๕๔๓ : ๑๘๒) ไดแ้ ก่ ๑๒.๑ เมตตา คอื ความรักใคร่ ปรารถนาดี และคิดทำประโยชน์แก่มนุษยโ์ ดยทวั่ หนา้ ๑๒.๒ กรุณา คือความสงสาร คิดช่วยให้พน้ ทกุ ข์ ๑๒.๓ มทุ ิตาคือความยินดใี นเม่ือผู้อื่นอยู่ดมี สี ขุ พลอยยนิ ดเี มอ่ื เขาได้ดมี ีสขุ เจรญิ งอกงามยิ่งข้นึ ๑๒.๔ อเุ บกขา คือความวางใจเป็นกลาง ๑๓. อคติ ๔ ทางความประพฤติที่ผดิ ความไมเ่ ทีย่ งธรรม ความลำเอียง มี ๔ ประการ (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตโฺ ต). ๒๕๔๓ : ๑๗๔ ) คอื ๑๓.๑ ฉนั ทาคติ ความลำเอยี งเพราะชอบ ๑๓.๒ โทสาคติ ความลำเอียงเพราะชัง ๑๓.๓ โมหาคติ ความลำเอยี งเพราะหลง พลาดผดิ เพราะเขา ๑๓.๔ ภยาคติ ความลำเอยี งเพราะกลัว
๑๐๒ ๑๔. อิทธบิ าท ๔ คอื คุณธรรมท่นี ำไปสู่ความสำเรจ็ แห่งผลที่มงุ่ หมาย (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ ฺ โต).๒๕๔๓ : ๑๘๖-๑๘๗) มี ๔ ประการ คือ ๑๔.๑ ฉนั ทะ ความพอใจ คอื ความต้องการท่ีจะทำ ใฝ่ใจรกั จะทำสิง่ น้นั เสมอ ๑๔.๒ วริ ยิ ะ ความเพียร คือ ขยันหมน่ั เพยี รประกอบส่ิงนั้นดว้ ยความพยายามเข้มแข็ง อดทน ๑๔.๓ จติ ตะ ความคดิ คือ ต้งั จติ รบั รใู้ นส่ิงที่ทำ และทำสิง่ น้นั ดว้ ยความคดิ เอาใจฝักใฝ่ ๑๔.๔ วิมงั สา ความไตร่ตรอง คือ หมน่ั ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาใครค่ รวญตรวจตราหาเหตุผล ๑๕. พละ ๔ พละ คอื กำลงั ธรรมอันเปน็ พลังทำให้ดำเนนิ ชวี ติ ดว้ ยความม่ันใจ ไม่ต้องหวาดหว่นั ภยั ตา่ งๆ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).๒๕๔๓ : ๑๘๕-๑๘๖ ) มี ๔ ประการ คือ ๑๕.๑ ปญั ญาพละ กำลงั คือ ปัญญา ๑๕.๒ วริ ิยะพละ กำลงั คือ ความเพียร ๑๕.๓ อนวัชชพละ กำลังคือ การกระทำไม่มีโทษ ๑๕.๔ สังคหพละ กำลงั คือ กำลังการสงเคราะห์ คอื เกื้อกลู อยูร่ ่วมกบั ผู้อ่ืนได้ดี ๑๖. เบญจศีล ๕ ได้แก่ ๑๖.๑ เว้นจากการปลงชวี ติ , เวน้ จากการฆา่ การประทษุ รา้ ยกนั ๑๖.๒ เวน้ จากการถือเอาของทเ่ี ขามิได้ให้ เว้นจากการลักโกง ละเมิดกรรมสทิ ธิท์ ำลาย ทรัพย์สิน ๑๖.๓ เว้นจากการประพฤติผดิ ในกาม เวน้ จากการล่วงละเมดิ สง่ิ ทผี่ ู้อ่ืนรักใคร่หวงแหน ๑๖.๔ เว้นจากการพูดเทจ็ โกหก หลอกลวง ๑๖.๕ เว้นจากนำ้ เมาคือสรุ าและเมรยั อันเป็นส่ิงทีต่ ัง้ แห่งความประมาท ๑๗. เบญจธรรม ได้แก่ ๑๗.๑ เมตตาและกรณุ า คอื ความรักใครปรารถนาให้มคี วามสุขความเจริญและความสงสาร คดิ ชว่ ยใหพ้ ้นทุกข์ ๑๗.๒ สัมมาอาชีวะ คอื การมีกาชีพการงานท่ีสจุ รติ ๑๗.๓ กามสงั วร คอื ความสังวรในกาม, ความสำรวมและระวงั จกั ยับยัง้ ควบคุมทางกามารมณ์ พึงพอใจในภรรยาของตน ๑๗.๔ สัจจะ คอื ความซ่ือสตั ย์ ความซื่อตรง ๑๗.๕ สตสิ มั ปชัญญะ คือความระลึกไดแ้ ละรูต้ วั อยเู่ สมอ คือ ฝกึ ตนให้รจู้ ักยั้งคิด รู้สกึ ตวั เสมอวา่ สิ่งใดสวรทำและไม่ควรทำ ระวงั มใิ ห้เป็นคนมัวเมาประมาท ๑๘. พุทธกิจ ๕ พระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญพุทธกจิ (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ ฺโต).๒๕๔๓ : ๑๘๙- ๑๙๐ ) มี ๕ ประการ ๑๘.๑ ปพุ พัณเห ปิณฑะปาตญั จะ ตอนเช้า เสดจ็ ออกบณิ ฑบาต เพื่อโปรดสตั ว์ โดยการ สนทนาธรรมหรอื การแสดงหลกั ธรรมให้เข้าใจ
๑๐๓ ๑๘.๒ สายณั เห ธมั มะเทสะนัง ตอนเยน็ แสดงธรรมแก่ประชาชน ทมี่ าเฝา้ บริเวณท่ีประทบั ๑๘.๓ ปะโทเส ภิกขโุ อวาทงั ตอนค่ำ แสดงโอวาทแก่พระสงฆ์ ๑๘.๔ อฑั ฒรตั เต เทวปญั หะนัง ตอนเท่ียงคนื ทรงตอบปญั หาแก่พวกเทวดา ๑๘.๕ ปจั จเู สวะ คะเต กาเล ภัพพาภัพเพ วโิ ลกะนัง ตอนเชา้ มืด จวนสว่าง ทรงตรวจพิจารณา สตั ว์โลกวา่ ผู้ใดมีอปุ นสิ ัยทจ่ี ะบรรลุธรรมได้ ๑๙. อบายมขุ ๖ ชอ่ งทางแหง่ ความเสือ่ ม เหตุแห่งความฉิบหาย (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). ๒๕๔๓ : ๑๗๖-๑๗๘) มี ๖ ประการ คือ ๑๙.๑ ตดิ สุรา และของมึนเมา เปน็ เหตุให้ - ทรัพย์หมดไปๆ เหน็ ชัดๆ - กอ่ การทะเลาะววิ าท - เป็นบ่อเกดิ แห่งโรค - เสียเกยี รติ เสอ่ื ชอ่ื เสยี ง - ทำใหไ้ ม่รู้อาย - ทอนกำลงั ปญั ญา ๑๙.๒ ชอบเที่ยวกลางคืน มีโทษ ๖ อยา่ ง คือ - ช่อื วา่ ไมร่ กั ษาตน - ชอ่ื วา่ ไม่รกั ษาลูกเมีย - ช่ือว่าไมร่ ักษาทรัพย์สมบตั ิ - เปน็ ทร่ี ะแวงสงสัย - เปน็ เปา้ ใหเ้ ขาใส่ความหรือข่าวลอื - เป็นท่มี าของเรือ่ งเดอื ดรอ้ นเปน็ อนั มาก ๑๙.๓ ชอบเที่ยวดูการละเล่น มีโทษโดยการงานเส่อื มเสีย เพราะมีใจกังวลคอยคดิ จ้อง กบั เสียเวลาเมอื่ ไปดสู ่งิ นนั้ ๆ คือ - รำทไี่ หนไปทน่ี น่ั - ขบั รอ้ ง ดนตรี เสภา เพลงเถิดเทิงท่ีไหน ไปท่ีนนั่ ๑๙.๔ การตดิ พนัน มโี ทษ ๖ อย่างคือ - เม่ือชนะยอ่ มก่อเวร - เมอื่ แพ้ก็เสยี ดายทรัพย์ทีเ่ สียไป - ทรพั ย์หมดไปๆ เหน็ ชัดๆ - เขา้ ท่ีประชมุ เขาไม่เช่อื ถือถ้อยคำ - เป็นที่หม่นิ ประมาทของเพ่ือนฝงู - ไมเ่ ป็นที่พึงประสงค์ของผูท้ ี่จะหาคู่ครองให้ลูกของตน เพราะเหน็ ว่าจะเล้ียงลูกเมยี ไม่ได้
๑๐๔ ๑๙.๕ คบคนช่ัว มีโทษโดยทำใหก้ ลายเป็นคนช่วั อยา่ งทคี่ นคบ คือ ได้เพ่ือนท่ีจะนำให้ กลายเปน็ - นกั การพนัน - นักเลงหญงิ - นกั เลงเหล้า - นกั ลวงของปลอม - นกั หลอกลวง - นักเลงหวั ไม้ ๑๙.๖ เกยี จคร้านการงาน มีโทษโดยทำใหย้ กเหตุต่างๆเป็นข้ออ้างผิดเพี้ยน ไม่ทำการงาน โภคะใหมไ่ มเ่ กิด โภคะทม่ี ีอยู่กห็ มดสนิ้ ไป โดยอ้างวา่ หนาวนกั ร้อนนัก เย็นไปแลว้ ยงั เชา้ อยู่ หวิ นกั อ่มิ นัก แลว้ ไม่ทำงาน ๒๐. คารวะ ๖ ธรรม คือ ความเคารพ ถือเป็นส่ิงสำคัญทจ่ี ะพึงใส่ใจและปฏบิ ัติตามด้วยความ เออื้ เฟ้ือ หรอื โดยความหนักแน่น (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต).๒๕๔๓ : ๒๒๑) มี ๖ ประการ คือ ๒๐.๑ สตั ถุคาระวะตา ความเคารพในพระพุทธศาสนาหรือพุทธคารวะ ความเคารพใน พระพทุ ธเจา้ ๒๐.๒ ธัมมะคารวะ ความเคารพในพระธรรม ๒๐.๓ สงั ฆะคารวะ ความเคารพในพระสงฆ์ ๒๐.๔ สกิ ขาคารวะ ความเคารพในการศึกษา ๒๐.๕ อปั ปะมาทะคาะรวะ ความเคารพในความไม่ประมาท ๒๐.๖ ปฏสิ นั ถารคารวะ ความเคารพในการปฏสิ ันถาร ๒๑. หลกั ธรรม กรรม คอื การกระท่ีประกอบดว้ ยเจตนา คอื ทำด้วยความจงใจ ประกอบด้วย ความจงใจหรือจงใจทำดีกต็ าม ชว่ั กต็ าม (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ ฺโต).๒๕๔๓ : ๔ ) ๒๒. กตญั ญกู ตเวที คือ ผรู้ ู้อุปการะที่ทา่ นทำแลว้ และตอบแทน (พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตฺโต). ๒๕๔๓ : ๒ – ๓ ) แยกออกเป็น ๒ ขอ้ ๘.๗ ความม่งุ หมายของการศกึ ษาตามวิถพี ุทธ การศึกษาตามแนววิถีพุทธเป็นการศึกษาเพ่อื ลดละกำจดั กิเลส และเปน็ การศึกษาให้รู้เท่าทนั ความ เปน็ จรงิ ของสง่ิ ตา่ งๆทั้งหลาย ใหผ้ เู้ รียนมสี มรรถภาพและประสิทธิภาพในการดำรงชีวิต สามารถให้มนุษย์ มคี วามเป็นใหญ่ในตนเอง รอดพน้ จากการบีบค้ันจากปจั จยั ภายในและปัจจยั ภายนอก ( พระราชวรมนุ ี. ๒๕๑๘ : ๕) การศกึ ษาแนวทางวิถีพทุ ธมีคณุ ลักษณะพิเศษ เปน็ การศกึ ษาเพ่ือความอยู่รอดของจิตวญิ ญาณ มีความเป็นไทแก่ตัวเอง
๑๐๕ ในทางพระพทุ ธศาสนาไดพ้ ูดถงึ การปฏิบตั ิดว้ ยการฝกึ ฝน อบรมกาย จิต และปัญญา เรียกว่า “ ศกึ ษา ” เป็นภาษาสันสกฤต ในภาษาบาลีเรยี กวา่ “ สกิ ขา ” คำวา่ สิกขา แยกออกเปน็ ๒ คำ คือ สะ แปลวา่ เอง ข้างใน ใกล้ และคำวา่ “ อกิ ขะ ” แปลว่า ดูตัว มองทตี่ น รวมเปน็ คำสิกขา หมายความวา่ ศึกษาภายในตนเอง เห็นด้วยตนเอง เป็นการเอาจติ จดจ่อรู้การกระทำ รู้การพูด รู้ความคดิ ของตนเอง และฝึกฝนอบรมปัญญาใหเ้ ห็นสภาพความเปน็ จริงของส่งิ ทั้งหลาย พระเทพเวที ( ป. อ. ปยุตโฺ ตใ ๒๕๓๓ ) ไดอ้ ธิบายความหมายของคำวา่ “ ศึกษา ” ว่าเมอ่ื เอาจิต คำนงึ ถงึ เม่ือรู้ เห็นและเข้าใจ หรอื เมอ่ื ต้ังจติ กำหนด ประคองความเพยี ร เอาสติกำหนด รู้ทวั่ ดว้ ย ปญั ญา รสู้ ง่ิ ทีพ่ ึงรู้เฉพาะ ละส่ิงทพ่ี ึงละ อบรมเจริญสง่ิ ท่คี วรปฏิบตั ิ ควรฝกึ อบรม คำวา่ ศกึ ษา มีอกี ๒ คำทค่ี วามหมายใช้แทนคำวา่ ศกึ ษาได้ คือ ภาวนา แปลว่า การฝกึ ฝนอบรม การทำให้มี ให้เจรญิ ขนึ้ และ คำว่า ทมะ เปลว่า การฝึกฝน เปน็ การแสดงถงึ คุณสมบัติของผู้ท่ีได้ฝกึ ฝนอบรมดีแล้ว ทง้ั คำว่า ศกึ ษา ภาวนาและทมะตา่ งมีความหายใกลเ้ คียงใชแ้ ทนกันได้ ความหมายของการศึกษาตามแนววิถีพทุ ธ มิไดเ้ น้นในเรอ่ื งการเล่าเรยี นเนื้อหาตามตำราเพยี ง อย่างเดยี ว แตย่ งั เนน้ การปฏิบตั ิ การฝึกฝนอบรมโดยมงุ่ ถึงผลเปน็ หลกั ถอื วา่ เรยี นให้ร้ใู ห้เข้าใจและทำ ใหไ้ ดใ้ ห้เปน็ การศึกษาเป็นการปฏบิ ตั ิฝึกฝนอบรมพฒั นาชีวติ มนุษย์ การศกึ ษาจึงต้องสัมพนั ธ์สอดคล้องกับ ธรรมชาติของมนุษย์และเป้าหมายของชวี ติ ถ้าความหมายของการศึกษาท่ีเรากำหนดขนึ้ นัน้ ไมส่ อดคล้อง กบั ธรรมชาติของชวี ติ ความมุง่ หมายของการศึกษาย่อมเป็นการขดั แย้งกับธรรมชาติ ความมุ่งหมายน้ัน ย่อมไม่สมเหตุสมผล ขณะเดียวกันไมส่ อดคล้องกบั เป้าหมายสงู สดุ ของชวี ติ อีกด้วย ทำใหเ้ ปา้ หมายน้นั ไม่ ประสบความสำเรจ็ ในแนววิถีพทุ ธไดก้ ำหนดความม่งุ หมายหรือสง่ิ ที่คาดหวงั ผลในปัจจบุ ัน อนาคตและท่เี ป็นอุดมคติ ตามหลักการศึกษา ศลี สมาธิและปัญญา เรยี กว่า อตั ถประโยชน์ มี ๒ หมวด ดงั นี้ ๑. ความมุ่งหมายเพื่อตวั เองและสงั คม - ประโยชน์ตน ( อตั ตัตถะ ) - ประโยชน์ผู้อื่น ( ปรัตถะ ) - ประโยชน์ท้ังตนเองหรือผู้อ่ืน ( อภุ ยัตถะ ) ๒. ความมงุ่ หมายทีเ่ ปน็ อุดมคติ - ประโยชน์ปจั จบุ ัน ( ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ) - ประโยชน์ในอนาคตหรือเบ้ืองหน้า ( สมั ปรายกิ ัตถะ ) - ประโยชน์สงู สดุ คือ พระนิพพาน ( ปรมตั ถะ ) การศกึ ษาเลา่ เรยี นฝกึ ฝนอบรมตามแนวทางวถิ ีพุทธนน้ั มี ๒ ประเภท คือ สำหรบั ผคู้ รองเรอื นและ สำหรับผ้มู ิไดค้ รองเรอื น แต่ในทน่ี ้จี ะเน้นเฉพาะผูท้ ่ีครองเรือน โดยมงุ่ พฒั นาคุณธรรม จริยธรรม และ ปัญญา ใหร้ ู้จกั ปฏบิ ตั ิตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละชีวิตตามความเปน็ จริง มสี ตริ ู้ เทา่ ทัน ความรูส้ กึ นึกคิด สามารถปรับตวั เขา้ กบั สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละสงั คม สามารถนำชีวติ ให้เจรญิ งอกงามไปสูค่ วามเป็นอยู่ที่ดที ี่สุดได้
๑๐๖ ๘.๘ วถิ ีพทุ ธกับการศกึ ษา ชีวติ มีความจำเป็นต้องพัฒนาเพื่อความอย่รู อดและความสุขในการดำเนินชวี ติ การศึกษาเป็นเร่อื ง เกยี่ วกบั ชีวติ และสงั คม ซึ่งมีจุดม่งุ หมายพัฒนาคนทั้ง ๔ ดา้ น คอื ๑. การพัฒนาทางรา่ งกาย ( Physical Development) การศึกษาช่วยใหผ้ ู้ได้รับการศึกษามี พลานามัยร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ๒. การพัฒนาทางอารมณ์ ( Emotional Development ) การศกึ ษาชว่ ยใหผ้ ไู้ ด้รบั การศึกษามี อารมณ์จิตใจม่ันคง ไมห่ วั่นไหวง่าย สามารถควบคุมบังคบั อารมณ์ใหส้ งบได้ เม่ือประสบเหตุการณท์ ี่ทำให้ ไมพ่ อใจ ๓. การพฒั นาทางสงั คม ( Social Development ) การศึกษาช่วยใหผ้ ไู้ ด้รบั การศึกษาเห็น ความสำคัญในการอยรู่ ว่ มกันเปน็ กลมุ่ เปน็ สงั คม ทำใหต้ ้องเรียนรกู้ ารปรับตัวเองใหอ้ ยู่กับผอู้ ื่นได้อยา่ งเปน็ สุข ๔. การพฒั นาทางปญั ญา ( Intellectual Development ) การศึกษาชว่ ยใหผ้ ู้ได้รับการศกึ ษามี ความรเู้ พมิ่ พนู ศักยภาพทางสมองเพม่ิ ขึ้น มีความฉลาดรอบรู้ ร้จู ักใชค้ วามคิดในการแกป้ ัญหาและ สามารถดำรงชีวิตอย่างราบร่ืน การแสวงหาความรู้อนั กว้างขวาง ดว้ ยการศกึ ษาชวี ติ และธรรมชาติ มนษุ ย์ทกุ คนมีศักยภาพทม่ี ีอยู่ ในตวั มาพฒั นาให้เกดิ ประโยชน์ ด้วยการฝกึ ฝนอบรมคนเพื่อความเจริญงอกงามของร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคมและปัญญา อันเปน็ สาระของพุทธศาสตร์ ๘.๘.๑ ระดับของความรตู้ ามแนววิถีพุทธ สิง่ สำคญั ท่ีคู่กับการศกึ ษาไมว่ า่ จะเป็นการศกึ ษาในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรยี นหรือ การศกึ ษาดว้ ยตนเอง มีผลตอ่ การพัฒนาสมองเสรมิ สร้างปัญญาคือความรู้ จุดมุ่งหมายของการศึกษา ๑ สามารถแบ่งออกได้ ๓ สว่ น คอื พุทธิปญั ญา จติ ตะหรือสมาธิ และ ทกั ษะการปฏิบตั ิ จดุ มุ่งหมายเนน้ การพฒั นาสมอง มีทง้ั หมด ๖ ชัน้ คือ ๑. ความรู้ จำแนกออกเปน็ ในเรอื่ งเฉพาะอยา่ ง เฉพาะสิ่ง ความรใู้ นเรือ่ งวิธีดำเนินการเฉพาะ เรอื่ ง สูงข้นึ เปน็ ความรใู้ นเรื่องหลักการ ทฤษฎี กฎ โครงสร้าง ๒. ความเข้าใจ จำแนกออกเป็นการแปลความ การตคี วาม การขยายความและสรุปความ ๓. การประยุกตใ์ ช้ เป็นการจำและนำเนื้อหามาสรปุ หรืหาคำตอบท่ีเหมาะสม ๔. การวอเคราะห์จำแนกออกเป็นการวเิ คราะห์การประมวลหน่วยย่อย เปน็ การแยกเน้ือหา ทัง้ หมด การวเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ การวเิ คราะห์หลัก ทฤษฎี กฎ ๕. การสังเคราะห์ จำแนกออกเปน็ การประมวลหนว่ ยย่อยใหเ้ ป็นหนว่ ยใหญ่ การประมวลสาระ เปน็ ชดุ เพื่อใช้งาน การประมวลสาระใหเ้ ปน็ นามธรรมมากขึ้น ๖. การประเมิน เป็นการตัดสินเกี่ยวกับคุณค่าในเร่ืองต่างๆ เช่น ความคิดวิธีการ เปน็ ต้น เปน็ การประเมนิ อาศยั ความสามารถในระดบั ตน้ เปน็ พื้นฐาน ได้แก่ความรู้ ความเขา้ ใจ การประยุกต์ การ วิเคราะห์ การสังเคราะห์ โดยเพม่ิ เกณฑ์และมาตรฐานเพ่ือระบุความถูกต้อง ประสทิ ธิผล ความพึงพอใจ การประเมนิ น้เี ก่ยี วข้องกับความรู้สึก อารมณ์ เจตคติ ค่านิยม และความเช่ือ ความรูค้ วามเข้าใจเปน็ การเสรมิ สร้างปัญญาให้รูจ้ ักคิด สามารถนำไปปฏิบัตติ ่อสง่ิ ท้งั ปวงให้เปน็
๑๐๗ ประโยชน์แกต่ นเอง ให้เกดิ ความเจรญิ ความสุขต่างๆได้ ความรู้ทางพระพทุ ธศาสนานั้น เป็นศาสตรก์ าร ครองชวี ติ ทว่ี ่าจะดำเนินชวี ติ ใหด้ งี าม มีความสุขได้อยา่ งไร สอนมิใหย้ ึดมนั่ ถอื ม่ันตนเอง อุปมาเหมือนกอบวั เกิดและงอกงามจากโคลนตม แตน่ ำ้ และโคลนตมไมส่ ามารถตดิ ใบและดอกบวั ได้ ฉะนนั้ ๘.๘.๒ คุณสมบตั ขิ องความเป็นบณั ฑิต กระบวนการของกายภาวนาตามหลกั ของพุทธศาสนา ทีน่ ักเรยี นต้องมคี วามรู้ ความคิด และสตปิ ัญญานั้น คำทง้ั สามนม้ี คี วามเก่ียวเน่ืองกนั บัณฑิตย่อมส่งเสริมให้คนมีปญั ญา มีความฉลาด รูจ้ ักคดิ คดิ เปน็ (โยนิโสมนสิการ)เป็นคนมีโลกทรรศนก์ ว้างมคี วามรอบรู้จากการไดศ้ ึกษามาก ความรู้ ส่วนใหญเ่ ปน็ ข้อมูล ขา่ วสาร หลกั เกณฑ์ ทฤษฎี กฎต่างๆ ทเ่ี ปน็ ข้อเท็จจรงิ ซ่ึงมนษุ ย์ได้ ศึกษาคน้ ควา้ และได้มกี ารถา่ ยทอดความร้นู น้ั สืบต่อกันมา คณะเดียวกันคนรุ่นหลงั ได้รับและได้มีการศึกษา คน้ ควา้ เพิ่มเติมความรูใ้ หม่อยู่เสมอ ความรทู้ ั้งหมดดงั กล่าวอาจจัดทำเป็นกจิ กรรมโดยผา่ นการศึกษาใน สถาบันการศึกษา หรือการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตวั เองจากเอกสาร หรอื แสวงหาความรจู้ ากผูร้ ู้ ความรู้ทจ่ี ดั สอน ในสถานศึกษามีทั้งวิชาการและวิชาชพี ดงั นั้นความร้จู ึงมอี ยู่ทั่วไปเทา่ ที่มนษุ ย์จะให้ความสนใจใฝร่ ู้ ความคดิ การนึกคิดส่งิ หน่ึงสิ่งใด อาจจะเก่ียวกับตวั เองหรือไม่ก็ตาม ความคิดแบ่งออกเปน็ ความคิดท่ีมาจากภายนอก เป็นความคิดเกิดข้ึนแกจ่ ิตโดยมีสิง่ เรา้ มากระทบ และความคดิ ทสี่ รา้ งข้ึนเปน็ ความคิดทจ่ี ติ สร้างขึน้ โดยการผสมผสานกบั ความคดิ ต่างๆ การใชส้ มองคิดพจิ ารณา วิเคราะห์ เร่ืองใดเรื่องหนงึ่ มีจดุ ม่งุ หมาย มีขอบเขต ด้วยเหตผุ ลตามความ เปน็ จรงิ ถือวา่ บุคคลนัน้ รจู้ กั ใชค้ วามคิด โดยท่ัวไปแลว้ อายกุ บั การศึกษามีความสัมพนั ธ์กับความคิด บุคคล ท่มี อี ายุมากและมีการศึกษาสูง เปน็ ผสู้ ะสมความร้ไู ว้มาก มีความรอบรู้ก็ย่อมมีความคิดกว้าง มีแนวโน้มว่า เปน็ บคุ คลรจู้ กั ใช้ความคิดอยา่ งถูกต้อง ตรงขา้ วกับผมู้ ีอายุนอ้ ยและมกี ารศึกษานอ้ ย มีความรูน้ ้อย มี แนวโน้มว่าเป็นผไู้ มร่ ้จู กั ใช้ความคดิ แต่ถา้ ผู้มีอายุมากและมีการศึกษาสูงมีอคติ มีความโลภ ความโกรธ และ ความหลงเข้าไปแทรกเก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีคิดหรือปัญหาก็ถือว่าเป็นความคิดท่ีไม่บริสุทธิ์นำไปสคู่ วามคิดท่ีไม่ ถูกต้องได้เมือ่ มีปัญหากแ็ ก้ไม่ได้เพราะว่ามคี วามคดิ ไม่สอดคล้องกบั ความเปน็ จรงิ ความสามารถในการคิด การใชเ้ หตุผล เป็นความสามารถทเ่ี ผชญิ กับสถานการณห์ รือเหตุการณ์ ใหมๆ่ ที่แปลกไปจากเดิมดว้ ยวธิ กี ารอนั ชาญฉลาด แก้ปญั หานน้ั ๆได้อยา่ งดี เหมาะสมและถกู ต้อง เปน็ ผลดี แก่ตนเอง ต่อผูอ้ ่นื ต่อสังคม หรือประเทศชาติ มีความสามารถท่จี ะออกความเหน็ อยา่ งมีเหตผุ ล และใชก้ าร ไดส้ ถานการณ์ล่วงหน้า หรือสามารถหยง่ั เหน็ สิ่งธรรมดาในสถานการณต์ ่างๆลว่ งหน้า แล้วนำมาประมวล เขา้ เปน็ หลักเกณฑ์ท่ัวไป ความสามารถของการใชค้ วามคดิ อย่างฉลาดเปน็ สมรรถภาพของสมองในการคิด ของแต่ละคน การเพิ่มพูนปัญญาสามารถทำได้โดยการเล่าเรยี น ฝึกฝนอบรม แสวงหาความรู้ใหม่ๆอย่เู สมอ เป็นคุณสมบัติของผูเ้ ป็นบัณฑิต ๘.๘.๓ การพฒั นาคณุ ธรรม คุณธรรม คือ สภาพของคุณงามความดีภายในบุคคล ทำใหเ้ กิดความชืน่ ชมยนิ ดีมีจิตใจ ทเ่ี ตม็ เป่ยี มไปด้วยความสุขขนั้ สมบูรณ์ คอื ความสุขใจ ผลติ ผลของความดเี ป็นธรรมะทกี่ ลา่ วได้วา่ ทำดไี ด้ดี ใจท่เี ปน็ สุข คอื ใจของคนดี คำว่าใจดี คือ ใจทมี่ แี ตจ่ ะให้ ให้ความรกั ความเมตตา ความปรารถนาดีต่อผอู้ น่ื การเข้าใจในคุณความดเี ป็นกฎเกณฑส์ ากลทเ่ี ป็นท่ยี อมรับตรงกนั ทกุ ชาติ ความดี จึงเป็นความไม่เบยี ดเบยี น ทำร้าย ทำลายกนั ไม่ข่มเหงรงั แกกัน ไม่กอ่ ววิ าทบากหมางกัน เป็นตน้
๑๐๘ คุณธรรมท่ีปลกู ฝังไวใ้ นจติ สำนกึ จนเปน็ สญั ชาตญาณที่สร้างพฤติกรรมให้สามารถแกไ้ ขเหตุการณ์ เฉพาะหนา้ ตดั สินใจทจ่ี ะเลือกพฤติกรรมปฏิบตั ไิ ดอ้ ยา่ งดี อย่างเหมาะสมนำไปสูก่ ารเสรมิ สรา้ งใหส้ ังคมมี แนวความประพฤติทีย่ ึดปฏบิ ัตเิ ป็นมาตรฐานความประพฤติทด่ี ีงาม สรา้ งคุณภาพและคณุ ลักษณะทางจิตใจ ให้บคุ คลกระทำความดี ละเว้นความชว่ั สรา้ งสภาพแวดลอ้ มทีส่ งบและมีหลักแห่งการดำเนนิ ชวี ติ อนั ประเสรฐิ การพฒั นาคุณธรรมในการจัดการศกึ ษาดา้ นจรยิ ศกึ ษา พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต,๒๕๑๘ :๖ ) ไดก้ ลา่ ววา่ ผูส้ อนควนปลกู ฝังความคิดท่ีชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิดพฒั นาการ ดงั นี้ ๑. การยอมรับความแตกต่างระหว่างความดีกบั ความชวั่ ตระหนกั วา่ ความดีเป็นสงิ่ ท่ไี ม่ ทำให้ตนและผู้อืน่ เดือดรอ้ น คนดียอ่ มเปน็ ทช่ี ่ืนชมยกย่อง ผลของความดเี ปน็ สิง่ ท่ีนำความสุขใจมาให้ ความดที ป่ี ระพฤตปิ ฏิบัตติ ่อผู้อ่นื เป็นการสรา้ งคุณคา่ ของชีวิตและสงั คมในทางตรงกันขา้ ม ความช่ัวเปน็ สิ่งที่ ทำให้ตนเดือดร้อนมวั หมอง คนชัว่ ย่อมเป็นที่สาปแช่งตำหนติ ิเตยี น ผลของความชัว่ เป็นส่งิ ทน่ี ำความทุกข์ กงั วลใจมาใหค้ นประพฤตชิ ่ัวย่อมได้รับผลของการกระทำน้นั ๒. การมองการณ์ไกลจนเห็นภาพรวมโดยรอบ สามารถนำเกณฑ์แยกแยะความดงี าม กำหนดเปน็ กฎคุณธรรม ใชไ้ ด้เป็นทีย่ อมรับโดยทวั่ ไปการประยุกตร์ ะบบคุณธรรมขนึ้ มาใชอ้ ย่างกวา้ งขวาง จนเปน็ หลักสากล ๓. ความเขา้ ใจในคุณธรรม ซึมซาบอยู่ในจิตใจ เม่ือมเี หตกุ ารณ์หรือความปรารถนา สามารถตดั สินใจเลือกประพฤติอยใู่ นขอบเขตของความถูกต้องสร้างคา่ นิยมท่เี สริมสร้างคุณธรรมด้วยความ เข้าใจถูกตอ้ ง ๔. ความตอ่ เนื่องสัมพันธ์กนั ของระบบทส่ี ร้างเสรมิ คณุ ภาพ มแี ก่นสารทเี่ ปน็ หลักชดั เจน มีสมั พันธภาพติดตอ่ กันโดยลำดบั ๕. การวิเคราะหว์ จิ ารณ์ความประพฤติได้ดว้ ยแนวทางของตนเอง เพื่อได้เลือกปฏิบตั สิ ่งิ ใด แล้ว สามารถแยกแยะได้วา่ ตนเองได้กระทำดตี ามทเ่ี ขา้ ใจสภาวะของคณุ งามความดีไดม้ ากนอ้ ยเพยี งไร การ วิเคราะห์ตนเองช่วยให้คุณธรรมพฒั นางอกงามอย่างแทจ้ ริง สามารถวิจารณ์การกระทำของตนเองได้ ๖. การตดั สินคณุ ธรรม กลา่ วไดว้ า่ เป็นการพฒั นาข้ันสุดทา้ ยในการพัฒนาคุณธรรมแนว ทางการพัฒนาจริยธรรมเพื่อการมพี ฤติกรรมทางกายภาวนาท่ีดงี าม ผู้สอนควรปลูกฝงั หลักการดังกลา่ วนีไ้ ว้ โดยการสอนแนวทางประสบการณ์จริง ที่นกั เรยี นไดม้ ีการทดลอง สัมผสั ประสบการณด์ ้วยตวั เอง ซึ่งจะ เปน็ การแสดงบทละครหรือการจดั กลมุ่ เพื่อทำกิจกรรมส่วนต่างๆเปน็ ตน้ ๘.๘.๔-องคป์ ระกอบทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ การพฒั นาคณุ ธรรม นกั การศึกษาหลายท่านได้กล่าวถงึ องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมไวด้ ังนี้ ชำเลอื ง วฒุ จิ นั ทร์ ( อ้างใน จตพุ ร ศลิ าเดช,๒๕๔๓ : ๑๗ ) ได้กล่าวถึง องคป์ ระกอบที่มีอทิ ธิพลต่อ การพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรมแก่นักเรียนไวด้ ังน้ี ๑.บิดามารดา บ้านหรือสถาบันครอบครวั เปน็ แหล่งแรกทท่ี ำหน้าทปี่ ลูกฝังและหล่อ หลอมตลอดจนถ่ายทอดลกั ษณะอันทรงคุณธรรมและจรยิ ธรรมแก่สมาชกิ ในครอบครัวและต้องทำหน้าทน่ี ้ี ต่อไปแม้เด็กจะเขา้ ไปรับการศึกษาอบรมในโรงเรยี นระดับต่างๆอยแู่ ลว้ ก็ตาม ๒.ญาติผใู้ หญแ่ ละสมาชกิ อ่นื ๆในครอบครัว เป็นผู้มีอิทธิพลตอ่ การปลกู ฝังและหล่อหลอม
๑๐๙ คุณธรรมจริยธรรมให้แก้เด็กในครอบครัวเชน่ เดยี วกนั โดยปกติเดก็ จะเรียนรู้เจตคติเชิงจรยิ ธรรมจากผ้ใู หญ่ โดนการสังเกตและเลียนแบบมากกวา่ ท่ีจะไดจ้ ากการส่ังสอนของผูใ้ หญ่โดยตรง หากผู้ใหญเ่ ป็นผมู้ ลี กั ษณะ เดน่ เป็นที่ยอย่องบูชาแกเ่ ด็กมากเด็กจะมีแนวโนม้ เลียนแบบพฤติกรรมของผ้ใู หญ่มากข้นึ เท่านัน้ ๓.พระสงฆ์หรือผนู้ ำทางคุณธรรมและจรยิ ธรรมในหมู่บา้ น ตำบลหรืออำเภอ หรือท้องถิ่น ที่เดก็ หรอื นักเรียนอยู่น้ัน เป็นทเ่ี คารพนับถือของผูใ้ หญ่ในสังคมนนั้ และได้รบั การมอบหมายใหเ้ ปน็ ผอู้ บรม สั่งสอนดา้ นคุณธรรมแกป่ ระชาชนท้ังเด็กและผใู้ หญ่ การปฏบิ ัตดิ ีปฏิบัติชอบของพระสงฆ์และหรือผู้นำทาง ศาสนาในท้องถน่ิ นน้ั จะมีอิทธิพลต่อการปลูกฝนั คณุ ธรรมและจริยธรรมแก่เดก็ หรือนักเรียนในท้องถ่ินนั้น ด้วย ๔.สอ่ื สารมวลชยหรือส่อื มวลชน ทุกรูปแบบในปจั จบุ ันมีบทบาทสำคัญตอ่ การปลูกฝังหรือ เปล่ียนแปลงเจตคติ คา่ นยิ มตลอดจนรูปแบบของพฤติกรรมของเดก็ และเยาวชน นักเรียน หนงั สอื พิมพ์ วิทยุ โทรทศั น์ ตลอดไปถึงภาพยนตร์ บทเพลง หนงั สืออา่ น เป็นท้งั เคร่อื งปลูกฝงั คา่ นยิ มคุณธรรมและ จริยธรรมแกเ้ ดก็ และเยาวชนทุกวยั และในขณะเดยี วกันถ้าสง่ิ เหล่าน้ีไมไ่ ดร้ ับความสนใจในด้านทจี่ ะช่วย ปลกู ฝังความมีคณุ ธรรมทีด่ ีแก่เด็กและเยาวชนแล้ว ยงั อาจเปน็ เคร่อื งทำลายหรือขวางกั้นการปลูกฝังและ หลอ่ หลอมให้เด็กนกั เรยี นใหเ้ ป็นผู้มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทีด่ ีงามได้ด้วย ๕.โรงเรียนหรอื สถานศึกษา ซึง่ รวมถงึ การจัดสง่ิ แวดลอ้ มและสภาพแวดลอ้ มใน สถานศกึ ษา การบรหิ ารและการให้บริการต่างๆในสถานศึกษา การเปน็ ตวั อย่างอันดงี ามของครู อาจารย์ การเรยี นการสอนวชิ าต่างๆตาหลกั สตู ร การเรียนการสอนวชิ าทเี่ กยี่ วกับจริยศึกษาโดยเฉพาะการจัด กจิ กรรมต่างๆในสถานศึกษา บุญจง เรอื งสะอาด ( อา้ งใน จตพุ ร ศลิ าเดช. ๒๕๔๓: ๑๘-๑๙ ) ไดเ้ สนอแนะแนวทางในการ ปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรมใหแ้ ก่นักเรียนในระดับประถมศึกษาไดด้ ังน้ี ๑. ครอบครัว สถานบนั ครอบครัวควรตระหนกั ในหน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบในการเลยี้ งดู บุตรด้วยความเอาใจใสแ่ ละอบอุ่น เดก็ ควรไดร้ บั การปลูกฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและการปฏิบัตทิ ่ดี จี าก ครอบครวั ๒. การปลกู ฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรมในสถานศึกษา ผบู้ ริหารสถานศึกษาต้องเน้นนโยบายนี้ เปน็ พเิ ศษโดยถือวา่ เปน็ หน้าที่ความรับผดิ ชอบของครูทกุ คน โดยผสู้ อนจะต้องปลูกฝังคณุ ธรรมใหแ้ กเ่ ดก็ โดยเนน้ ความดีงามท่จี ะต้องปฏิบตั ิจริงอย่างสม่ำเสมอจนเป็นนิสยั และพฤติกรรมของครูตอ้ งเป็นแบบอย่าง ทดี่ ีงามทางจริยธรรม ๓. สถานบนั ทางศาสนา โดยเฉพาะวัดซงึ่ มสี ่งิ แวดลอ้ มที่สงบ และบางคร้ังเปน็ แหล่ง ศิลปวฒั นธรรมที่จะชว่ ยใหเ้ ดก็ เกิดการเรยี นรจู้ รยิ ธรรมได้ดี โดยเฉพาะสถานบันสงฆ์ควรเพ่ิมศักยภาพให้ การเผยแพร่หลักธรรมโดยเน้นใหส้ งฆ์ได้มสี ว่ นช่วยเหลอื สังคมมากขน้ึ โดยเฉพาะเดก็ ในการช่วยสอนวิชา จรยิ ธรรมในโรงเรยี น ๔. สอื่ มวลชนประเภทตา่ งๆโดยเฉพาะ วิทยุ โทรทศั น์ ให้สละเวลางบประมาณในการผลิต รายการสำหรับเด็กหรือรายการทม่ี ีเน้ือหาสาระท่ีมีคุณค่าและประโยชนใ์ นการปลูกฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม ใหแ้ ก่เด็กเพ่ิมมากข้นึ
๑๑๐ ๘.๙ กัลยาณมติ รในการพัฒนา ๘.๙.๑ กลั ยาณมิตรธรรม ๗ พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ได้พดู ถึง กลั ยาณมติ ตตา แปลวา่ ความมีกลั ยาณมิตร ซง่ึ มิได้ หมายถงึ เพื่อนท่ดี ีอย่างในความหมายสามัญเท่านนั้ แต่หมายถงึ บุคคลผูเ้ พรียบพร้อมดว้ ยคณุ สมบัติ ท่ีจะสั่งสอน แนะนำ ชแ้ี จง ชักจูง ชว่ ยบอกช่องทาง หรอื เป็นตวั อย่างใหผ้ ้อู ืน่ ดำเนินไปตามมรรคแห่ง การฝกึ ฝนอบรมอย่างถูกตอ้ ง ในกระบวนการพฒั นาทางปัญญา ความมีกลั ยาณมิตรนี้จัดวา่ เปน็ ระดับความ เจรญิ ทางปญั ญาในขนั้ ศรัทธา ส่วนในระบบการศึกษาอบรมความมีกัลยาณมิตรควรมคี วามหมายครอบคลุม ท้ังตัวบคุ คลผู้อบรมส่ังสอนเช่น พอ่ แม่ ครู อาจารย์ เปน็ ตน้ คณุ สมบตั ิของผสู้ อน ท้ังหลักการ วิธีการ อปุ กรณ์ อบุ ายตา่ งๆในการสอน และการจัด ดำเนนิ การตา่ งๆทกุ อยา่ งทีผ่ ทู้ ี่ทำหน้าที่ให้การศึกษาอบรมได้ผลดี ตลอดจนหนังสือ สอ่ื มวลชน บุคคล ตัวอย่าง เชน่ มหาบรุ ุษ หรือผู้ประสบความสำเร็จโดยธรรม และสง่ิ แวดลอ้ มทางสังคมท้ังหลายทดี่ ีงาม เปน็ ประโยชน์เทา่ ทจี่ ะเปน็ องคป์ ระกอบภายนอกในกระบวนการพฒั นาปัญญาด้วยนนั้ ได้๔๑ คนดี มปี ญั ญา ที่เรยี กว่าบณั ฑติ หรอื สัตบรุ ุษ เมื่อใครไปเสวนาคบหา หรือเมอื่ เขาเองทำหนา้ ท่ี เผยแพรค่ วามรู้ หรือความดงี ามแกผ่ ู้อืน่ ชักจงู ใหผ้ อู้ ื่นมีความรู้ความเห็นถูกต้อง หรือใหม้ ศี รทั ธาท่ถี ือตาม อย่างตนอย่างใดอย่างหนึ่ง จะโดยการสอน แนะนำ หรือกระจายความรู้ ความเข้าใจนน้ั ออกไปทางหนึ่ง ทางใดกต็ าม ดว้ ยความปรารถนาดี ด้วยความเมตตา กอ่ ให้เกิดสมั มาทิฐิ และการประพฤตดิ ีปฏิบัติชอบ ขึน้ กเ็ รยี กวา่ เปน็ กลั ยาณมิตรธรรม ๗ ประการ ดงั น้ี๔๒ ๑. ปิโย นา่ รัก คอื เขา้ ถึงจติ ใจ สร้างความรู้สกึ สนิทสนม เป็นกันเอง ชวนใจผูเ้ รียนใหอ้ ยากเขา้ ไป ปรกึ ษาไต่ถาม ๒. ครุ นา่ เคารพ คอื มีความประพฤติสมควรแก่ฐานะ ทำใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกอบอุ่นใจเป็นท่ีพ่งึ ได้และ ปลอดภัย ๓. ภาวนโี ย นา่ เจริญ คอื มคี วามรู้จรงิ ทรงภูมปิ ญั ญาแท้จริง และเปน็ ผู้ฝึกฝนปรับปรุงตนเองอยู่ เสมอ เปน็ ทีน่ ่ายกยอ่ ง ควรเอาอย่าง ทำใหศ้ ิษยเ์ อย่ อา้ ง และรำลึกถึงดว้ ยความซาบซ้ึง มัน่ ใจ และภาค ถมู ใิ จ ๔. วัตตาจะ รู้จกั พูดให้ไดผ้ ล คือ พดู เป็น รู้จักช้ีแจงใหเ้ ข้าใจ รวู้ ่าเม่อื ไรควรจะพูดอะไรอย่างไร คอยให้คำแนะนำว่ากลา่ ว ตกั เตือน เป็นที่ปรึกษาที่ดี ๕. วจนกั ขโม ทนตอ่ ถ้อยคำ คือ พร้อมท่จี ะรบั ฟังคำปรึกษาซกั ถามแม้จกุ จิก ตลอดจนคำล่วงเกิน และคำตักเตือนวพิ ากษว์ จิ ารณต์ า่ งๆ อดทนฟังได้ ไมเ่ บอ่ื หนา่ ย ไมเ่ สยี อารมณ์ ๖. คมั ภีรญั จะ กะถงั กัตตา แถลงเรือ่ งลำ้ ลึกได้ คือ กลา่ วชแี้ จงเรื่องต่างๆทลี่ ึกซ้ึงซบั ซ้อนใหเ้ ข้าใจ ได้ และสอนศษิ ยใ์ ห้ไดเ้ รียนรู้เรอื่ งราวทล่ี กึ ซึ้งยิ่งข้นึ ไป ๗. โน จฏั ฐาเน นโิ ยขะเย ไมช่ กั นำอฐาน คือ ไมช่ กั จูงไปในทางมเี่ สอื่ มเสีย หรอื เรอื่ งเหลวไหลไม่ สมควร
๑๑๑ สรปุ ว่า กัลยาณมิตร หมายถึง บุคคลที่มภี มู ิปญั ญา มคี วามรู้ ความสามารถ มีความประพฤติ และเปน็ ตัวอยา่ งท่ีดี เมื่อผอู้ ่ืนเขา้ ใกล้ร้สู ึกอบอนุ่ สบายใจ ซึง้ ใหค้ วามชว่ ยเหลือผอู้ ่นื ด้วยความเสยี ใจ สรปุ ทา้ ยบท การพฒั นาคุณธรรมของครูจะประสบความสำเรจ็ ได้นนั้ ครทู กุ คนจะตอ้ งมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจอยา่ ง ถูกต้องถ่องแทต้ ้ังแต่ความหมายของคณุ ธรรม กล่าวคือ จะต้องเข้าใจว่าคุณธรรมนัน้ เปน็ ลกั ษณะของความดี สภาพของความดี หรือธรรมชาตขิ องความดีท่ีมีอยใู่ นจติ ใจของบุคคลซง่ึ ทำใหบ้ คุ คลกระทำความดตี ่างๆออก มาให้ผ้อู ่นื เห็น เป็นการแสดงออกถงึ มีจรรยาบรรณด้วยความหมายของคุณธรรม จงึ ใชใ้ นลกั ษณะท่ี ครอบคลุมความหมายของจริยธรรมดว้ ย ผทู้ มี่ คี ุณธรรมจริยธรรมจะบงั เกดิ ความเจรญิ ก้าวหนา้ อยา่ งรวดเร็ว ครอบครัวมีความสขุ สงั คมและประเทศชาติไดร้ ับการพัฒนาอย่างรวดเร็ว สำหรบั หลักคุณธรรมท่ีจำเป็นสำหรบั ผู้ประกอบวชิ าชพี ครนู ั้นมีมากมาย เชน่ เบญจศีล กัลยาณ มิตตธรรม ธรรมเทศธรรม ๕ อทิ ธบิ าท ๔ พรหมวหิ าร ๔ สงั คหวตั ถุ ๔ เปน็ ต้น การพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมใหม้ อี ยใู่ นตนเองอย่เู สมอย่อมเปน็ ผ้ทู ่ีปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณได้อยา่ ง ดยี ่งิ ครูสามารถกระทำได้หลายแนวทาง เชน่ การพฒั นาโดยสถาบันผลิตครู การพฒั นาโดยหนว่ ยงานทีใ่ ช้ ครู การพฒั นาโดยองค์กรวิชาชีพครู การพัฒนาโดยสถาบนั ทางสังคมตา่ ง ๆ และที่สำคญั คือการพฒั นาด้วย ตัวครูเอง
บรรณานุกรม กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ, (2544).หลักสตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : องค์การรบั ส่งและพสั ดุภณั ฑ์(ร.ส.พ.) กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, (2545).การจัดสาระการเรียนรพู้ ระพทุ ธศาสนา.กรงุ เทพฯ : การวิชาการ. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร, (2546). แนวทางการดำเนินงานโรงเรยี นวิถีพุทธ. กรุงเทพฯ : การศาสนา. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, (2545). คู่มือการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนฝนชัน้ เรียนรวม (ระดับชนั้ ท่1ี -2).กรงุ เทพฯ : การศาสนา. เกษม กลุ ชงิ ชยั .(2552).ความคดิ เหน็ ของผปู้ กครองต่อการจดั การศกึ ษาระดับประถมศึกษาของ โรงเรยี นอสั สัมชญั ลำปาง. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ เกษการญจน์ จินะกานนท์.(2549).การใช้ข่าวและเหตุการณเ์ พอ่ื การเรียนรเู้ รอื่ ง หลกั สูตรเบญจศีล สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6. บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ คูณ โทขันธ์.(2532). พระพุทธศาสนากบั ชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ : โอเดยี่ นสโตร์. จรยิ า เผ่าน้อย.(2546). ผลสมั ฤทธผิ ลและความคงทนในการเรยี นพระพทุ ธศาสนาของนักเรยี น ประถมศกึ ษาท่ี 3 โดยใชก้ าร์ตูนสามมติ .ิ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ เฉก ธนะสริ ิ.(2533). สมาธกิ ับคุณภาพชวี ิต. กรงุ เทพฯ : แปลน พับลชิ ช่งิ . ชะไนย สงวนทรพั ย.์ (2529). การศึกษาพฤตกิ รรมของครดู ีเดน่ สงั กัดสำนกั งานประถมศึกษา จังหวัดชลบุรี. บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. ชม ภูมิภาค,บรรณาธิการ.การศกึ ษาตามแนวพุทธศาสตร์เพื่อสันติภาพและการพฒั นา.กรุงเทพฯ : ศลิ ปะสนองการพิมพ์,ม.ป.ป.. ณรงค์ กันทอนิ ทร.์ (2542). ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพระพุทธศาสนาของครูและนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ในโรงเรียนสังกดั สำนกั งานการประถมศึกษาอำเภอแม่วาง จงั วักเชียงใหม่. บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ทพิ วรรณ แสนมงคล.(2547). การประเมนิ โครงการโรงเรียนวิถพี ทุ ธของโรงเรยี นศกึ ษา สงเคราะห์เชยี งดาว อำเภอเชียงดาว จังหวดั เชียงใหม่. บณั ฑิตวทิ ยาลยั หาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ บัญชา แก้วสอ่ ง.(2522). การเปรยี บเทียบพัฒนาการทางจรยิ ธรรมของเดก็ วัยรนุ่ ในสงั คมเมอื ง และชนบทที่มีการอบรมเลี้ยงดแู ละแบบการคดิ แตกตา่ งกนั . บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ป่ิน มทุ กุ ันต์.(2514).แนวสอนธรรมตามหลกั สูตรนักธรรมตรี. กรงุ เทพฯ : มหามงกฎุ ราชวิทยาลัย. ประภาศรี สีหอำไพ.(2535). พ้นื บานการศกึ ษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. พระเทพเวที(ป.อ.ปยุตฺโต).(2533).จริยธรรมกบั ชวี ิต. พระนครศรอี ยุธยา : สหวิทยาศรีอยุธยา. พระธรรมปฎิ ก(ป.อ.ปยุตโฺ ต).(2539). การศกึ ษาเพ่ืออารยธรรมที่ย่ังยืน. กรงุ เทพฯ : มูลนธิ พิ ทุ ธธรรม. พระธรรมปฎิ ก(ป.อ.ปยุตฺโต).(2537). พุทธวิธแี ก้ปญั หาเพื่อศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ : สหธรรมมกิ . พระธรรมปฎิ ก(ป.อ.ปยุตฺโต).(2543). พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรงุ เพทฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั พระราชวรมนุ (ี ป.อ.ปยุตโฺ ต).(2518). ปรชั ญาการศกึ ษาไทย. กรงุ เทพฯ : เคล็ดไทย. พระราชวรมนุ (ี ป.อ.ปยุตฺโต).(2535). พทุ ธธรรมกับการศึกษา. กรุงเทพฯ : วิทยาจารย์ 87. พระราชวรมุน(ี ป.อ.ปยตุ ฺโต).(2539). พุทธธรรมฉบับขยายความ. กรุงเทพฯ : ดา่ นสุทธาการพมิ พ์. พริ ณุ วุฑฺฒิธมโฺ ม(ตะเนาว)์ .(2546). การพฒั นาบคุ ลิกภาพในพระพทุ ธศาสนา. บณั ฑิตวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พุทธทาสภกิ ขุ.(2518). การศึกษาสมบูรณแ์ บบ. กรงุ เทพฯ : สขุ ภาพใจ. พัฒนาพร ไชยสิทธิ.(2545). ผลการเรยี นรูก้ ลมุ่ สร้างเสริมประสลการณช์ วี ิตของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ทีใ่ ช้รูปแบบการเรียนตามแนวคดิ ทฤษฎีการสรา้ งองคค์ วามร.ู้ บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ ไพฑรู ย์ สินลารตั น์,.บรรณาธกิ ารความรู้คูค่ ุณธรรม.พมิ พ์ครั้งที่2.กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยา- มหาวทิ ยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2547). โรงเรียนวิถีพุทธ. กรงุ เทพฯ : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.(25 ).เอกสารการสอนชุดวชิ า จริยศึกษา. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ หน่วยที่ 6-10. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั สโุ ขทันธรรมาธริ าช. มาโนช ตณุ ชวนชิ ย.์ (25 ). การศกึ ษาตามแนวพทุ ธศาสตร.์ ขอนแกน่ : มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. ราชบัณฑติ สถาน.(2525).พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ตยสถาน พ.ศ.2525. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทศั น.์ วรนุช เมอื นพลอย.(2537). ระดบั เหตผุ ลเชิงจริยธรรมของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาท่ี 6 ในโรงเรยี นเขตเมืองกับโรงเรียนเขตชนบทของจังหวดั เชียงใหม่. บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. วาสนา ตะ๊ กานโค.(2548). การประเมนิ การดำเนนิ งานโครงการโรงเรยี นวถิ ีพุทธ สังกัดสำนกั งาน เขตพื้นทก่ี ารศึกษาลำพูน เขต 1. บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. นิภา แยม้ วจ.ี โรงเรียนวถิ ีพทุ ธ.(online). แหล่งทม่ี า http://www.moe.go.th/5TypeSchool/school bud. htm(26 ธันวาคม 2549). โรงเรียนวิถีพทุ ธ.(online). แหลง่ ทมี่ า http://area.obec.go.th/udonthani3/viteeput/index.htm (26 ธันวาคม 2549).ม.ป.ป..
โรงเรยี นวถิ ีพุทธ.(online). แหล่งทม่ี า http://www.dhammathai.org/articles/buddhistschool.php (26 ธันวาคม 2549).ม.ป.ป.. ส. ศิวรกั ษ์.(2526) พทุ ธทศั นะเพื่อการสรา้ งสรรคส์ งั คมใหม.่ กรงุ เทพฯ : เทยี นวรรณ. สกล เกตทุ อง.(2545). การพัฒนารปู แบบการสง่ เสรมิ จริยธรรมนกั เรยี นในโรงเรียนประถมศึกษา สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการประถมศกึ ษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 7. บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. สมจติ แกว้ แสงขวัญ.(2546). การประเมนิ โครงการโรงเรยี นสขี าวของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา สงั กัด กรมสามัญศกึ ษา จงั หวัดนครปฐม. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สถาบันราชภฏั นครปฐม. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ.(2525). ทฤษฎีการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาสุนทรียภาพและ ลักษณะ : การฝึกฝนกาย วาจา ใจ.กรุงเทพฯ : วฒั นาพานิชย์ สำราญราษฎร์. สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.(2548). มาตรการการศกึ ษาของชาต.ิ กรุงเทพฯ : สกศ. สุมน อมรววิ ัฒน์.(2533). สมบตั ทิ พิ ย์ของการศกึ ษาไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สรุ ยิ า เซ็นทองหลาง.(2537). เหตุผลเชงิ จรยิ ธรรมของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาท่ีมี 6 ในโรงเรยี น ผดุงวิทย์(วัดศรบุญเรือง)จังหวดั ลำปาง. บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่ สุวรรณ เพชรนิล.(2536). พทุ ธปรชั ญาเบื้องตน้ . กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. โสภา สามแก้ว.(2541). ความคิดเห็นของผ้ปู กครองนักเรียนท่ีมีต่อโรงเรยี นบา้ นหนองปิด สังกดั สำนกั งานการประถมศึกษาอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวยิ าลยั เชยี งใหม.่ โสรชี ์ โพธแิ กว้ .”แนวทางแหง่ การศึกษาตามแนวพระพุทธศาสนา”สรรนพิ นธ์พุทธทาสภกิ ขุ,18-24. โสรีช์ โพธิแก้ว,กรงุ เทพฯ:สำนักพมิ พม์ ลู นธิ โิ กมลคีมทอง,ม.ป.ป.. หวน พนิ ธุพันธ.์ (2529).การบรหิ ารโรงเรยี นดา้ นความสัมพนั ธ์กับชมุ ชน. กรุงเทพฯ : อักษรบณั ฑติ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122