๔๓ สรุปทา้ ยบท เพอ่ื ศึกษาถงึ ความหมายและความสำคัญ ของงานอภบิ าลในโรงเรยี นโดยใช้รูปแบบการวิเคราะห์ ของสตารร์ ทั (Starratt) เกยี่ ววับภาวะผนู้ ำดา้ นจรยิ ธรรม การทำงานอภบิ าลและการศึกษาการเปลยี่ นแปลง โดยวธิ ีการวัดคณุ ภาพและจำนวน เกบ็ ข้อมูลโดยใช้แบบวดั ความคิดแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ เก่ียวกับความคิดเห็นของครู ผู้บริหารระดบั กลางและระดบั บนในเรือ่ งการเปลี่ยนแปลงโครางสร้างอภบิ าล ในโรงเรียน การค้นพบคือ ข้ันตอนการทำงานอภบิ าลในโรงเรยี น ความหมายของงานอภบิ าลและการจดั สรร ทรัพยากรทเ่ี หมาะสมเพอื่ งานอภิบาล เชน่ เวลา งบประมาณ บุคลากร การพัฒนาแบบมอื อาชพี การ วางแผนงาน การแบ่งโรงเรียนระดบั มธั ยมออกเปน็ ระดับกลางและระดบั สงู ทำให้เกดิ ความรว่ มมือท่ดี ขี อง ครแู ละผูบ้ รหิ ารในการตดั สนิ ใจเก่ียวกับจริยธรรมการศึกษาน้ที ำใหค้ วามต้องการอนั สำคัญที่จะรวมขัน้ ตอน การตดั สินใจจากระดับบนสรู่ ะดับล่างระดับล่างส่รู ะดบั บนเข้าดว้ ยกัน เมอรแ่ี ละโจเซฟ (Murry and Josseph) ได้ศึกษาเรื่อง การวิเคราะหห์ ลกั คุณธรรมของผู้นำทน่ี ำไป ประพฤตปิ ฏิบตั ใิ นโรงเรียน โดยการวิเคราะห์ของผบู้ รหิ าร ครู และนกั เรยี น ผลการวิเคราะห์พบวา่ คณุ ธรรมจริยธรรมในการบรหิ ารงานของผบู้ ริหารในโรงเรยี นที่มคี ณุ ภาพ ได้แก่การดแู ลหว่ งใย ความ ยตุ ิธรรม และความรับผิดชอบ สว่ นการศึกษาคุณธรรมของผบู้ รหิ ารจะส่งผลสะท้อนออกมาคอื ความ จรงิ ใจ ความซื่อสตั ย์ ความยุตธิ รรม และความมีประชาธิปไตย ผบู้ รหิ ารจะต้องพิจารณาถึงคุณค่าของ จรยิ ธรรม ความเหน็ และมตทิ ป่ี ระชมุ อันเป็นตวั ช่วยพัฒนารูปแบบและยุทธวิธีในการสรา้ งเสรมิ คณุ ธรรม ใหก้ บั ผู้บริหารในโรงเรียน
ห น้ า | ๔๔ บทท่ี ๔ หลักการและวธิ ีการจดั หลักสตู รการเรยี นการสอน วตั ถปุ ระสงคป์ ระจำบท เมอื่ ศกึ ษาเนอื้ หาในบท ๔ แลว้ นสิ ติ สามารถ ๑.อธบิ ายการจัดการเรียนรูโ้ รงเรยี นวิถพี ทุ ธได้ ๒.อธบิ ายการจดั วิถีพทุ ธสู่วถิ ีการเรียนรู้ได้ ๓.อธิบายกจิ กรรมการพัฒนานักเรยี นได้ เนอ้ื หาประจำบท ๑.การจดั การเรียนร้โู รงเรียนวถิ พี ุทธ ๒.การจดั วิถีพทุ ธสู่วิถีการเรยี นรู้ ๓.กิจกรรมการพฒั นานักเรียน
๔๕ ๔.๑ ความนำ การบรหิ ารหลักสูตร นบั วา่ เปน็ ขั้นตอนทีส่ ำคญั ข้ันหน่ึงของการพฒั นาหลักสตู ร เพราะนอกจาก จะต้องมีการวางแผน และ เตรียมการลว่ งหน้าแลว้ ยังตอ้ งตดิ ตามผลการดำเนินงานอย่างใกลช้ ดิ ดว้ ย ผทู้ ี่ รบั ผดิ ชอบในการบริหารงานจะต้องดแู ลกำกบั งาน เพื่อให้งานบรหิ ารหลักสตู รดำเนินไปอยา่ งราบร่นื และ บรรลคุ วามมุ่งหมายทว่ี างไว้ ความรับผิดชอบของผบู้ ริหาร ในการสนบั สนนุ การสง่ เสริมการกำกับดูแลงาน จะสามารถทำใหก้ ารบริหารหลักสูตรประสบความสำเร็จการบรหิ ารหลักสูตร ผ้บู ริหารตอ้ งเขา้ อย่างถอ่ งแท้ สามารถนำหลักสูตรไปสูเ่ ป้าหมายทแี่ ท้จริงได้ก็นบั ว่าหลักสูตรนั้นประสบความสำเร็จ การบรหิ ารหลักสตู ร จัดทำในหลายระดับ ได้แก่ระดับส่วนกลาง ระดับท้องถิน่ และระดับโรงเรียน หวั ใจของการบรหิ ารหลักสตู ร คอื การจัดการเรียนการสอน ซึง่ ประกอบด้วย การจดั กลุ่มผเู้ รียน การจัดครเู ข้าสอนและการจดั ทำแผนการ สอนรวมทัง้ การนิเทศติดตามผลการส่งเสริมการใช้หลักสูตรซง่ึ ทำได้ต้งั แต่ก่อนการสอนขณะกำลงั สอนและ หลงั การสอนการบรหิ ารจัดการหลักสตู ร (Curriculum Engineering or Adminstration of the Curriculum System) เปน็ การบรหิ ารงานทางด้านวชิ าการ หรือ การนำหลกั สูตรไปใช้ซ่ึงเปรียบเสมือนการ บรหิ ารกจิ กรรมทุกชนิดในโรงเรยี น เกยี่ วข้องกับการปรับปรุงพฒั นาการเรยี นการสอน ให้ได้ผลดีและมี ประสิทธภิ าพสูงสุด ในการบริหารหลกั สตู รนน้ั ผ้ทู ่ีทำหน้าที่สว่ นใหญ่ในโรงเรียนจะไดแ้ ก่ครใู หญ่ อาจารย์ ใหญ่ หรือผอู้ ำนวยการโรงเรยี น หวั หน้าสายวิชาการ บุคคลเหลา่ นี้จะทำงานรว่ มกับ ครูโดยการทำงานรว่ มกัน กระตนุ้ ช่วยเหลอื แนะนำใหก้ ำลงั ใจ ควบคุม สนับสนุน ประสานงานใหค้ รทู ำงาน รว่ มกนั อยา่ งมีประสิทธภิ าพในการสอน ๔.๒ การจดั การเรยี นรู้โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ ๑. หลักสตู รสถานศกึ ษา ๑.๑ สอดแทรก เพ่ิมเตมิ พุทธธรรมในวสิ ัยทัศน์ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ๑.๒ เพ่มิ เติม คณุ ธรรม จริยธรรม ในผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง ๑.๓ ใหม้ กี ารบูรณาการพทุ ธธรรมในการจัดหน่วยการเรยี นรู้ทุกกล่มุ สาระ ๑.๔ สอดแทรก ความรู้ และการปฏบิ ตั จิ ริงในการเรยี นรู้ทุกกลุ่มสาระ กิจกรรมพัฒนา ผู้เรยี น และสถานการณ์อ่นื ๆ นอกห้องเรยี น ได้แก่ บรู ณาการในการเรียนรู้ บูรณาการในวิถีชวี ติ และ บูรณาการไตรสิกขาเขา้ ในชวี ิตประจำวนั ศึกษาเพมิ่ เติมได้จากเอกสาร”การจดั การเรียนรู้สาระพระพุทธศาสนา”กรมวชิ าการ(๒๕๔๖) ๒. ผสู้ อน ๒.๑ เป็นตวั อย่างท่ดี ีในลกั ษณะ “สอนใหร้ ู้ ใหท้ ำดู อยู่ใหเ้ หน็ ” อย่างสม่ำเสมอ ๒.๒ เป็นกลั ยาณมิตรของผเู้ รียน มเี มตตาธรรม ความอ่อนโยน อดทน อดกล้ันและ สรา้ งเสริมกำลงั ใจแก่ผเู้ รียนอยเู่ สมอ
๔๖ ๓. กระบวนการเรียนรู้ ๓.๑ พฒั นาผูเ้ รยี น รอบด้าน สมดลุ สมบรู ณ์ ทั้งกาย (กายภาวนา) ความประพฤติ (ศลี ภาวนา) จติ ใจ (จติ ภาวนา) ปญั ญา (ปญั ญาภาวนา) ๓.๒ จดั โอกาสส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้และปฏิบัติธรรมอยา่ งสอดคล้องกับวถิ ชี วี ิต(กิน อยู่ ดู ฟัง) ๓.๓ สร้างเสริมให้เกดิ วัฒนธรรมแสวงปญั ญาและวฒั นธรรมเมตตา ๓.๔ เนน้ ให้เกดิ การเรยี นรู้แบบโยนิโสมนสิการ เข้าใจและคน้ พบคณุ คา่ แท้ของสรรพสงิ่ ๔.๓ ดา้ นการเรยี นการสอน สถานศกึ ษามีการจดั หลกั สตู รสถานศกึ ษา หรอื จัดการเรียนการสอนทบี่ รู ณาการพทุ ธธรรมเพอื่ พฒั นาผู้เรยี น ผ่านกจิ กรรรมการเรียนการสอนอย่างชดั เจน เพ่ือเปน็ การพฒั นาผู้เรยี นด้วยหลกั พทุ ธธรรม อยา่ งต่อเนอ่ื งสมำ่ เสมอ เช่น ๑.หลักสูตรสถานศึกษามีการกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และผลการเรียนรู้ท่ี คาดหวัง ท่ี สะท้อนการพฒั นาไตรสิกขาไปพรอ้ ม ๆ กัน หรอื ๒.การจัดหนว่ ยการเรียนรู้ทกุ ช้นั ให้มกี ารบรู ณาการพุทธธรรมในการเรียนร้แู ละปฏบิ ัติ หรอื ๓.การจัดการเรยี นรู้แต่ละครง้ั นำพทุ ธธรรมมาเป็นฐานในการคดิ หรือเป็นเกณฑ์ตรวจสอบการ เรยี นรูก้ ารปฏิบตั ิ หรอื เชอ่ื มโยงการเรยี นร้สู ู่หลกั ธรรมในการพฒั นาตนและผู้อ่ืน ๔.ประสานรว่ มมือกบั วดั /คณะสงฆ์ในการจดั การเรียนรู้ ทงั้ สาระพระพุทธศาสนาและกลมุ่ สาระ หรือกิจกรรมอื่นๆ เพ่ือสง่ เสริมให้ผ้เู รียนใกล้ชดิ กบั พระพทุ ธศาสนาในบรบิ ทตา่ งๆ ทงั้ นี้กระบวนการจัดการเรยี นรู้ควรมีลกั ษณะ “สอนให้รู้ ทำใหด้ ู อยู่ให้เหน็ ” โดยนกั เรยี นมี กระบวนการเรยี นรู้การพัฒนาทง้ั ดา้ นกาย(กายภาวนา) ด้านความประพฤติ(สีลภาวนา) ดา้ นจิตใจ(จิตตภาวนา) และด้านปญั ญา(ปัญญาภาวนา) โดยมุ่งใหน้ กั เรียนมคี ุณลกั ษณะ “กนิ อยู่ ดู ฟัง เป็น” เพือ่ ให้เกดิ ประโยชน์ ในการพฒั นาตนและสังคมโดยไม่เบียดเบียนผู้ใด และเก้ือกูลในการพัฒนาวฒั นธรรมแสวงปญั ญา และ วัฒนธรรมเมตตา เชน่ “การกนิ อยู่เป็น” เพ่ือยังประโยชนใ์ นดำรงชวี ติ ทอ่ี ยู่ได้เหมาะสมเปน็ ไปตามคณุ คา่ แท้ หรอื “การดู ฟงั เปน็ ” เพื่อเน้นประโยชนใ์ นการเรียนรู้เพิ่มพนู ปัญญา ๔.๔ การจดั วถิ พี ุทธสูว่ ิถกี ารเรียนรู้ ๑.บรู ณาการพุทธธรรม สู่การจัดการเรียนรู้ และการปฏิบตั ิจรงิ ทสี่ อดคล้องกับวัฒนธรรมและวถิ ี ชีวติ อยา่ งตอ่ เนื่อง สม่ำเสมอ เพ่ือนำสกู่ ารรู้ เขา้ ใจ ความจริง ๒.จัดการเรยี นรู้ใหเ้ กิดขนึ้ ในทุกสถานการณ์ ทกุ สถานท่ี ทั้งโดยทางตรงและทางออ้ ม ๓.ประสานความร่วมมอื วดั /คณะสงฆ์ และชุมชน ในการจัดการเรียนรู้
๔๗ ๔.๔.๑ หลักพทุ ธธรรมสำหรับพฒั นาผู้เรียน หลักพุทธธรรมคำสอนทางพุทธศาสนามีหลายหมวดหมู่และหลายระดบั ทง้ั ทเี่ ปน็ สัจธรรม เบ้อื งต้น เบื้องกลางและเบ้ืองปลาย มที ้ังส่วนทเี่ รียนว่า โลกยี ธรรมและโลกุตรธรรม ซ่ึงมีช่ือเรียกแตกตา่ งกัน ไป หลกั พุทธธรรมแต่ละหมวดหมแู่ ละแตล่ ะระดับต่างกม็ ีความสำคญั และเดีย่ วขอ้ งกับวิถีชีวิตของประชาชน ทเ่ี ป็นพทุ ธมามกะตามระดบั ชั้นแห่งการปฏิบัติ พระราชชัยกวี (๒๕๐๙, หนา้ ๘๖-๘๘) เห็นวา่ หลกั พุทธธรรมคอื หนา้ ทท่ี ี่มนุษย์จะต้องทำใหถ้ ูกตาม กฎเกณฑ์ธรรมชาติ ตอ้ งประพฤติปฏิบัติให้ถูกและตรงตามหน้าท่ีของแตล่ ะคนทั้งน้ีเพื่อความอย่รู อดของชวี ติ ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และเผา่ พันธ์ุ หลักธรรมท่จี ดั เป็นหนา้ ทข่ี องมนุษยไ์ ด้แก่ ศลี สมาธิ และ ปญั ญา สว่ นพระราชวรมนุ ี (๒๕๒๙, หน้า ๓๒-๓๔) เห็นว่าหลักธรรมเพ่ือพัฒนาคฤหัสถ์หรือเยาวชนและ ประชาชนไดแ้ ก่ ทาน ศลี ภาวนา สัปปรุ สิ ูปัสสยะ สัทธมั มัสสวนะ โยนโิ สมนสกิ าร ธัมมานุธมั มปฏิบัติ ศรทั ธา สุตะ จาคะ และปัญญา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (๒๕๒๗, หน้า ๖๖-๘๒) ทรงจัดหมวดหมู่และ ระดบั หลักธรรมให้เหมาะสมแกก่ ารประพฤติปฏิบตั ขิ องบคุ คลทุกระดับช้ันทุกเพศทุกวยั เรียกว่า นวโกวาท ภาค คหิ ปิ ฏบิ ัติ ไดแ้ กห่ มวดะรรมดงั ต่อไปนี้ กรรมกิเลส ๔ อบายมุข ๔ อบายมุข ๖ ทิฏฐธัมมกิ ัตถประโยชน์ ๔ สัมปรายกิ ตั ถประโยชน์ ๔ มติ ตปฏิรูป ๔ มิตรแท้ ๔ สงั คหวตั ถุ ๔ อิทธิบาทธรรม ๔ ประโยชนแ์ กก่ ารถอื โภคทรัพย์ ๔ ศีล ๕ ธรรม ๕ มจิ ฉสวณิชชา ๕ สมบตั ขิ องอุบาสกอุบาสิกา ๕ และทิศ ๖ สมบูรณ์ สุขสำราญ (๒๕๒๙, หนา้ ๕๒-๕๖) เหน็ ว่าหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา้ ท่ีสำคญั และ จำเปน็ ในการปลกู ฝงั ให้เยาวชนและประชาชนเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ และช่วยควบคุมพฤติกรรมของสังคม ได้แก่ ศลี ๕ ธรรม ๕ พรหมวิหาร ๔ สงั คหวตั ถุ ๔ นาถกรณธรรม ๑๐ สารานยิ ธรรม ๖ อธิปไตย ๓ ทฏิ ฐธัม มิกัตถ ๔ สงั วัตตนิกธรรม ๔ และ ชลอ อุทกภาชน์ (๒๕๑๒, หนา้ ๑๑๕-๑๑๙) เห็นว่า หลกั ะรรมทจี่ ำเป็น ในการประพฤติปฏิบัตใิ ห้เกิดสันตสิ ขุ ได้แก่ เบญจศลี เบญจธรรม สงั คหวตั ถุ ๔ โลกธรรม ๘ และอิทธิบาท ๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการเปลีย่ นแปลงเพิม่ เติมรายวชิ าสังคมศึกษามนหลกั สูตร มธั ยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๒๑ ลงวันที่ ๒ ธนั วาคม ๒๕๒๕ ไดใ้ ห้นกั เรยี นระดบั มัธยมศึกษา ตอนต้นเรียนหลักพทุ ธธรรม ดงั น้ี ศีล ๕ อทิ ธิบาท ๔ ทิศ ๖ สงั คหวัตถุ ๔ โอวาท ๓ สติสมั ปชัญญะ พละ ๕ อบายมุข ๔ ฆราวาสธรรม ๔ โลกปาลธรรม ๔ กศุ ลกรรมบถ ๑๐ ทิฏฐธัมมกิ ตั ถประโยชน์ ๔ สปั ปุรสิ ธรรม ๗ พรหมวหิ าร ๔ และไพบลู ย์ ๒ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื งการเปลีย่ นแปลงเพ่ิมเติมในหลัสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๔ ลงวนั ท่ี ๖ มกราคม ๒๕๒๗ กำหนดใหน้ กั เรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายไดเ้ รียน หลักธรรมทางพุทธศาสนาตามหวั ขอ้ ดังนี้ พละ ๔ อรยิ วฑั ฒิ ๕ ธรรมอันเป็นอดุ มงคลสำหรบั ผู้ปฏบิ ัติ สมาธิ หลักธรรม ธรรมอันเป็นมงคลสำหรับบุคคลในสังคม สาราณยิ ธรรม ๖ อปริหานิยธรรม ๗ อคติ ๔ ทศพธิ ราชธรรม ธรรมอนั เป็นอดุ มงคลสำหรบั พทุ ธศาสนิกชน และปญั ญา สว่ นหลกั สูตรประถมศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๒๑ ได้ใหน้ กั เรียนระดบั ประถมศกึ ษาเรยี นจรยิ ศกึ ษา รวม ๓๐ หัวขอ้ ตลอดเวลา ๖ ปี คือ เมตตากรุณา ไม่โลภและไม่ขโมย เอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่และเสยี สระ ไม่ละเมดิ ของรักผู้อ่นื ความพอดี ไม่พูดเท็จ มสี จั จะและจริงใจ ไม่ลองและเสพสิ่งเสพติดให้โทษ มสี ตสิ มั ปชัญญะ มี เหตผุ ล ละอายและเกรงกลัวตอ่ การทำช่ัว ความเพยี รความอดทนอดกล้ัน กลา้ หาญ กตัญญูกตเวที สุจริต สมาธิ ไม่เห็นแก่ตัว ความประณตี ถีถ่ ้วน ความรับผดิ ชอบ ไมอ่ คติ มรี ะเบียบวินัย ตรงต่อเวลา ความสามัคคี วัฒนธรรม ความจงรกั ภักดี และการแกไ้ ขข้อบกพร่อง
๔๘ สรปุ ไดว้ ่า หลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนาเป็นหลกั ธรรมชาตขิ องชวี ติ ซง่ึ สอนถึงวธิ ีการครองชวี ติ หรือ ดำเนินชวี ติ ให้อยไู่ ด้อย่างสนั ติสุข สามารถประยุกต์หลักธรรมใชแ้ ก้ปญั หา การดำรงชวี ิต ปญั หาสังคม ตลอด ทง้ั ปญั หาของประเทศชาติได้ และท่ีสำคัญอีกประการหนง่ึ กค็ ือหลกั พุทธธรรมเป็นหลกั การสรา้ งคุณภาพ ชีวติ ทำให้คนในสงั คมดำเนนิ ชวี ติ บนฐานแหง่ ความจริงรู้จักพ่งึ ตนเอง ขยนั หมน่ั เพียร รู้จักประหยดั มีความ เรยี บงา่ ย ใฝ่สันติมีศีลธรรม เผอ่ื แผค่ วามรัก ความปรารถนาดี และปราศจากความเห็นแก่ตวั โดยเฉพาะ อย่างยงิ่ หลกั เบญจศลี และเบญจธรรมเป็นหลักสันติภาพของมนุษย์ ๔.๕ กิจกรรมการพฒั นานักเรียน ๔.๕.๑ กจิ กรรมนักเรยี นในโรงเรยี นวถิ ีพุทธ หลกั การ กระบวนการพฒั นาผู้เรยี น คือ การจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย ตอ่ เน่อื ง เปน็ วถิ ชี วี ติ เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นรู้จกั คิด มีการฝึกปฏิบตั ิเสมอ ๆ ท้งั ด้านความประพฤติ (ศลี ) จิตใจ (สมาธิ) และปญั ญา (ปัญญา) เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพัฒนาทงั้ ๓ ด้าน ไปพร้อม ๆ กัน หลกั คิด การศึกษาตามแนวพุทธปรัชญาการศึกษาของโรงเรียนวิถีพุทธ คือ กระบวนการพัฒนา การเรียนรู้ท้ังในด้านความประพฤติ (ศีล) จิตใจ (สมาธิ) และปัญญา (ปัญญา) เพ่ือความเจริญงอกงามใน ทุกขั้นตอนของชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งการกิน อยู่ ดู ฟัง ในชีวิตประจำวันท่ีมีสติสัมปชัญญะคอยกำกับ เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาตนจนเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อมให้เจริญสืบต่อไป และ เนื่องจากพุทธศาสนามีหลักการพัฒนาว่ามนุษย์ทุกคนมีศักยภาพท่ีจะฝึกฝนและพัฒนาได้ ประกอบกับ วิเคราะห์ผู้เรียนว่ามีสติปัญญา อุปนิสัย ความพร้อมและภูมิหลังที่แตกต่างกัน การพัฒนาจึงเน้นท่ีตัวผู้เรียน แต่ละคนเปน็ สำคญั หลักทำ ในการจัดกจิ กรรมของโรงเรียนวถิ ีพุทธนัน้ ครแู ละผูบ้ รหิ ารสามารถจดั พัฒนาได้ตาม หลักการ หลักคดิ ข้างต้น โดยให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ในท่นี ีข้ อเสนอแนะการจดั กิจกรรมไวเ้ ป็น แนวทาง ๔ ลกั ษณะ คอื ๑. กจิ กรรมเสริมเนือ้ หาสาระตามหลกั สตู ร ๒. กิจกรรมประจำวันวนั / ประจำสัปดาห์ ๓. กิจกรรมเนอื่ งในโอกาสวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา ๔. กจิ กรรมพิเศษอื่น ๆ ๑. กิจกรรมเสรมิ เนือ้ หาสาระตามหลักสตู ร เชน่ ๑.๑ พิธีแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ ๑.๒ ประกวดมรรยาทชาวพุทธ ๑.๓ กิจกรรมคา่ ยพุทธบุตร (ตามสาระวชิ าพระพทุ ธศาสนา)
๔๙ ๑.๔ กิจกรรมบรหิ ารจติ เจริญปัญญา ๑.๕ เรยี นธรรมศึกษา / สอบธรรมศกึ ษา ๑.๖ บรรพชาสามเณรฤดูร้อน ฯลฯ ๒. กจิ กรรมประจำวัน / ประจำสปั ดาห์ เช่น ๒.๑ กิจกรรมหนา้ เสาธง - กจิ กรรมทกี่ ระทำเพ่ือรำลกึ ถึงชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ (ก่อนเคารพธงชาติ) - กจิ กรรมไหวพ้ ระสวดมนต์ แผ่เมตตาและสงบน่งิ (สมาธิ) - กจิ กรรมพุทธศาสนสุภาษิตวนั ละบท - กจิ กรรมนอ้ งไว้พ่ี (ในแถวหน้าเสาธง) - กจิ กรรมเดนิ แถวเขา้ ห้องเรยี นอย่างมสี ติ เช่น เดินพร้อมท่องคติธรรมขณะเขา้ หอ้ งเรียนฯลฯ ๒.๒ กจิ กรรมทำความดีระหว่างวนั - กจิ กรรมเดนิ อย่างมสี ติก่อนเข้าโรงอาหาร - กจิ กรรมกล่าวคำพิจารณาอาหารกอ่ นการรับประทานอาหาร - กจิ กรรมรับประทานอาหารอยา่ งมสี ติ เชน่ มกี ติกาวา่ ไม่ดงั ไมห่ ก ไม่เหลอื - กจิ กรรมขอบคุณหลังรับประทานอาหาร - กิจกรรมนง่ั สมาธิ ๑ นาที ก่อนเรียน (อาจให้นักเรียนทำพร้อมกันหน้าห้องเรยี น) ฯลฯ ๒.๓ กจิ กรรมก่อนเลิกเรียน - กจิ กรรมไหว้พระสวดมนต์ - กิจกรรมรำลึกพระคุณของผู้มพี ระคณุ - กจิ กรรมท่องอาขยานสรา้ งสมาธิ ฯลฯ ๒.๔ กจิ กรรมประจำสัปดาห์ - กจิ กรรมสวดมนต์สรภัญญะประจำสปั ดาห์ - กจิ กรรมทำบญุ ตักบาตรประจำสปั ดาห์ (อาจทำในวันพระหรอื วนั ทโ่ี รงเรียนกำหนด) ฯลฯ ๓. กิจกรรมเน่ืองในโอกาสวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธควรจดั กจิ กรรมในวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา คือ วนั วสิ าขบชู า วันอาสาฬหบชู า วนั มาฆบูชา วนั เขา้ พรรษา วนั อัฏฐมบี ูชา ดังน้ี ๑. กิจกรรมวนั วิสาขบชู า วนั อาสาฬหบูชา วนั มาฆบูชา และวันเข้าพรรษา โรงเรียน ผู้ปกครอง และชมุ ชน รว่ มกิจกรรม ดงั เชน่ - ทำบญุ ตกั บาตรบรเิ วณสนามของโรงเรียน - ฟงั พระเทศน์ (โดยนักเรยี นเปน็ ผ้ดู ำเนนิ พธิ กี รรม) - เวยี นเทียนทว่ี ัด หรอื โรงเรียน
๕๐ ๒. หลอ่ เทียนพรรษา และร่วมกบั ชมุ ชนในการหล่อเทียนและแห่เทียนพรรษา ๓. โรงเรยี นจดั บรรยากาศวันสำคัญทางศาสนาโดยประดับธงทวิ สีเหลอื ง เชิญธงธรรมจกั ร ธงฉพั พรรณรังสี และเปิดเพลงธรรมะทางวทิ ยุของโรงเรยี น (เสยี งตามสาย) ฯลฯ ๔. กจิ กรรมพเิ ศษอน่ื ๆ เชน่ - กิจกรรมไขปัญหาธรรม - กจิ กรรมวนั สำคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์ - กิจกรรมการประเมนิ ผลการทำความดี - กจิ กรรมยกย่องเชิดชูเกียรตผิ ู้ทำความดี - กิจกรรมอาสาตาวิเศษ (มผี ู้สังเกตพฤติกรรมของผ้ปู ฏิบัติธรรม) - กจิ กรรมบันทึกความดีของผู้ปฏบิ ัติธรรม - กิจกรรมต้นไม้พดู ได้ (เน้นคติธรรม) - กิจกรรมจดั นทิ รรศการผลงานทางพระพทุ ธศาสนา - กจิ กรรมการกำหนดทักษะและความรทู้ างพระพุทธศาสนา - กิจกรรมสมาทานศีลในวนั พระ - กิจกรรมสรา้ งสรรคส์ ังคม เช่น ทำความสะอาดห้องนำ้ - กิจกรรมปฏิสัมพนั ธ์ เช่น ครูตอ้ นรับทกั ทายนักเรยี นด้วยกริ ิยา วาจาออ่ นหวาน และสมั ผสั ท่ีประกอบด้วยเมตตา - กิจกรรมตน้ ไม้อธษิ ฐาน - กจิ กรรมอธิษฐานจิตก่อนเรียน - กจิ กรรมอบรมธรรมะ ๕ นาที (อาจจัดสปั ดาหล์ ะ ๑ คร้ัง) - กิจกรรมถอื ศีล นอนวัด ปฏบิ ัติธรรมช่วงเขา้ พรรษา ฯลฯ สรุปทา้ ยบท หลักการจัดวถิ ีพุทธสู่วิถกี ารเรียนรู้ ๓ ขอ้ (๑) บูรณาการพุทธธรรม สูก่ ารจดั การเรียนรแู้ ละปฏบิ ตั ิจริงทสี่ อดคล้องกับวฒั นธรรม และวิถี ชีวติ อย่างตอ่ เน่ืองสม่ำเสมอ เพือ่ นำสู่การเรียนรู้ เขา้ ใจความจรงิ ซ่ึงพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ให้ ความหมายของพุทธธรรมวา่ กฎธรรมชาติและคณุ ค่าสำหรบั ชีวิต (๒) จดั การเรียนรู้ให้เกิดข้นึ ในทุกสถานการณ์ ทุกสถานท่ี ท้ังโดยทางตรงและทางอ้อม (๓) ประสานความรว่ มมือ วัด/คณะสงฆ์และชุมชน ในการจดั การเรยี นรู้ หลักธรรมสำคญั สกู่ ารจัดการเรียนรู้โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธอย่างน้อย ๖ หัวข้อคือ ๑. ปรโตโฆสะ ๒. โยนโิ สมนสการ ๓. กลั ยาณมติ รธรรม ๗ ๔. ไตรสกิ ขา ๕. ปัญญาวฒุ ิธรรม
๕๑ ๖. พรหมวหิ าร ๔ ปรโตโฆสะ ปรโตโฆสะ ดนัย ไชยโยธา ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ คือการพง่ึ ผู้อ่นื และพระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) กล่าวว่า คือเสียงจากผูอ้ ื่น การกระตุ้นหรือชักจงู จากภายนอก เชน่ การส่งั สอน แนะนำ การถ่ายทอด การโฆษณา คำบอกเล่า ข่าวสาร ข้อเขียน คำช้แี จง อธบิ าย การเรียนรู้จากผู้อ่นื ในที่น้ี หมายเอาเฉพาะสิ่งทด่ี ีงามถูกตอ้ ง เฉพาะอย่างยิ่งการรับฟังธรรม ความรู้ หรอื คำแนะนำจากบคุ คลท่ีเป็น กัลยาณมิตร (hearing or learning from others : inducement by other) ดงั นั้นปรโตโฆสะ คอื การไดป้ ระสบการณ์ตรงจากสงิ่ รอบขา้ ง ท่เี ปน็ เรือ่ งท่ีดีงามถกู ต้อง โยนิโสมนสกิ าร ตามศัพทานุกรม พุทธศาสน์ หมายถึง การใชค้ วามคิดถกู วิธี การพิจารณาโดยแยบคาย เปน็ การพจิ ารณาเพ่ือเขา้ ถงึ ความเป็นจริง โดยสืบคน้ หาเหตุผลไปตามลำดับ หรือตรติ รองให้รู้จกั สิง่ ท่ดี ีส่ิงท่ชี ั่ว รา้ ย๓๘ โยนิโสมนสกิ าร หมายถึง การทำในใจโดยแยบคาย หรือการใช้ความคดิ ถูกวธิ ี ความรู้จกั คิด คิดเปน็ หรือคดิ อย่างมรี ะเบยี บ สว่ นพระธรรมปิฎก(ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ใหค้ วามหมายว่า การร้จู ักมอง รูจ้ กั พิจารณาส่ิง ท้งั หลาย โดยมองตามสง่ิ นัน้ ๆมนั เปน็ ของมนั และโดยวิธคี ิดหาเหตุผล สบื คน้ ถงึ ตน้ เค้า สบื สาวใหต้ ลอดสาย แยกแยะสง่ิ นน้ั หรือปญั หาน้ันๆ ออกใหเ้ หน็ ตามสภาพและตามความสมั พันธส์ บื ทอดแหง่ เหตปุ ัจจัย โดยไมเ่ อา ความรู้สึกดว้ ยตันหาอปุ ทานของตนเข้าจับ (analytical refiection : reasoned or ststematic attention) และสุลกั ษณ์ ศิวรกั ษ์ กล่าววา่ การมโี ยนิโสมนสิการ กค็ ือ การรจู้ กั ใช้ความคิดพิจารณาไตรต่ รองสิ่งตา่ งๆ อยา่ งสขุ มุ รอบคอบดว้ ยตวั เองก่อนจะปลงใจเชื่อนัน้ เอง การพิจารณาไตรต่ รองดังท่ีวา่ น้ีจะตอ้ งมีศรัทธาและ ปญั ญากำกับอยู่ด้วยอยา่ งเหมาะสมกนั จากผ้ใู ห้ความหมายหลายท่าน จงึ ไดส้ รปุ ว่า โยนิโสมนสกิ าร หมายถงึ กระบวนการคิด วเิ คราะห์ พิจารณาหาเหตผุ ลที่ดีและถกู วธิ ีโดยใช้วิจารณญาณประกอบการ ตัวอยา่ งกิจกรรมเสริมหลกั สูตรของโรงเรียนวิถีพุทธ ๑. การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ ๒. กจิ กรรมประกวดมารยาทชาวพุทธ ๓. กิจกรรมธรรมะชำระใจ ๔. กิจกรรมการฝกึ บรหิ ารจติ การเจรญิ สมาธภิ าวนา ๕. โครงการบรรพชาสารเณรภาคฤดูร้อน ๖. กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ แผเ่ มตตา ๗. กจิ กรรมเดินตามรอยคำสอนพ่อ ๘. มคั นายกนอ้ ยคอยกระซิบธรรม ๙. ตอบปญั หาธรรมะ ๑๐. ศกึ ษาเรียนรูม้ งคลชวี ิต ๑๑. งานมารยาท ๑๒. พฒั นาทางก้าวหนา้
๕๒ ๑๓. ขอเปน็ คนดถี วายพระราชกุศล ๑๔. การบำเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชน์แก่สงั คม ๑๕. ธรรมทายาท ๑๖. ยุวทตู นอ้ ยนอ้ มใจทำความดีเพ่ือพ่อ ๑๗. รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมในสถานศึกษา ๑๘. เดนิ แถวเข้าหอ้ งเรยี น ๑๙. รกั ษป์ ชู นยี สถาน ( พทุ ธสถานภายในโรงเรยี น ) ๒๐. ทางกา้ วหนา้ พฒั นาคุณธรรม ๒๑. บนั ทึกความดีถวายพ่อหลวง ๒๒. ธนาคารความดมี ีสัจธรรม ๒๓. ศึกษาพทุ ธศาสนสภุ าษิต ๒๔. ศกึ ษาตามแหลง่ เรยี นรู้ในโรงเรียน ๒๕. ทำความสะอาดภายในบริเวณโรงเรยี น ๒๖. ร้องเพลงธรรมะพฒั นาชวี ิต ๒๗. เพยี งพอเพอื่ พอเพียงถวายเป็นพระราชกุศลฯ ๒๘. สวดมนตแ์ บบลา้ นนา ๒๙. ฟา้ รุ่งใหมใ่ ฝค่ ุณธรรม ๓๐. สบื สานวัฒนธรรมลา้ นนา ๓๑. กจิ กรรมนอ้ งไหว้พ่ี/เคารพครูประจำวนั เวลาพบครู/อาจารย์ ๓๒. กิจกรรมเดินอย่างมีสติสู่หอ้ งเรียน ๓๓. กิจกรรมท่องอาขยาน อาราธนาศลี อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร ๓๔. กิจกรรทำบุญตักบาตร( แบบล้านนา ) ในวันพระและวนั สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ๓๕. กิจกรรมจดั นิทรรศการ/บอร์ดความร/ู้ บัตรสัจอธษิ ฐาน/เวยี นเทยี น/ฟังเทศนท์ ว่ี ดั ๓๖. กิจกรรมพัฒนาสถานทส่ี าธารณะต่างๆทีเ่ ห็นสมควร ๓๗. กจิ กรรมเวียนเทียนเข้าพรรษา ๓๘. กิจกรรมธนาคารความดี เชน่ ทำความสะอาด เก็บขยะ ๓๙. ทำบุญประเพณบี ูชาอินทขลิ ๔๐. กจิ กรรมวนั งดสบู บุหร่ีโลก ๔๑. กจิ กรรมวันสิง่ แวดล้อมโลก ๔๒. กจิ กรรมวันไหวค้ รู ๔๓. กจิ กรรมวนั สนุ ทรภู่ ๔๔. กจิ กรรมวันต่อตา้ นยาเสพติด ๔๕. เรียนร้ภู มู ิปญั ญาท้องถิ่นท่โี ฮงเฮียนสืบสานภูมปิ ัญญาล้านนา ๔๖. กจิ กรรมวันแมแ่ หง่ ชาติ ๔๗. กิจกรรมวนั วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ ๔๘. กจิ กรรมวันกอ่ ตั้งโรงเรียน
ห น้ า | ๕๓ บทท่ี ๕ พุทธวธิ ีการสอนในพระไตรปิฎก วตั ถปุ ระสงค์ประจำบท เมอ่ื ศึกษาเนื้อหาในบท ๕ แลว้ นิสิตสามารถ ๑.อธิบายความหมายของจดุ มุง่ หมายในการสอนและแนวคิดพุทธวิธกี ารสอนได้ ๒.อธิบายคณุ สมบตั ผิ ้สู อนและหลักธรรมตามพทุ ธวิธีการสอนได้ ๓.อธบิ ายพทุ ธลลี าการสอนและเทคนคิ วิธกี ารสอนได้ เน้ือหาประจำบท ๑.ความหมายของจุดมุง่ หมายในการสอนและแนวคดิ พุทธวธิ ีการสอน ๒.คุณสมบัตผิ ูส้ อนและหลักธรรมตามพทุ ธวธิ กี ารสอน ๓.พทุ ธลีลาการสอนและเทคนคิ วธิ กี ารสอน
๕๔ ๕.๑ ความนำ การเรียนโดยการท่องหนงั สือหรือเอาวิชาเป็นตัวตัง้ ไม่สามารถทำให้มนษุ ยเ์ ผชญิ และแก้ปัญหา เหลา่ นี้ได้เพราะโลกแหง่ วชิ ากับโลกแหง่ ความจริงตา่ งกนั การเรียนโดยเอาวชิ าเป็นตวั ตง้ั ทำใหแ้ ยกตวั ออก จากความเปน็ จริงของชีวติ และสงั คมที่ซับซ้อนและเคลอื่ นไหวเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว สถานการณ์จรงิ จะ เปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไรๆ มนษุ ยก์ อ็ ยู่ในความเปลยี่ นแปลงน้นั เรียนรู้ในความเปล่ียนแปลงนน้ั ให้รพู้ อ รู้ทัน รู้ เผชญิ และรูก้ ารจัดระบบชวี ติ และสังคมใหอ้ ยู่ในดุลยภาพในทา่ มกลางสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นตัวต้ังหรือยึดผู้เรียนสำคัญท่ีสุด หมายถึง การเรียนรู้ในสถานการณ์จริง สถานการณ์จริงของแต่ละคนไม่เหมือนกันจึงต้องเอาผู้เรียนแต่ละคนเป็นตัวต้ัง ครูจัดให้ผู้เรียนได้เรียนร้จู าก ประสบการณ์ กิจกรรม และการทำงานอันนำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนครบทุกด้านทั้งทางกาย ทางจิตหรือ อารมณ์ ทางสงั คม และทางสตปิ ญั ญา ซงึ่ รวมถึงพฒั นาการทางจติ วญิ ญาณดว้ ย๑ พระพุทธเจ้าตรัสรู้พุทธวิธีการสอน อย่างไร ? หมายถึง เมื่อพระองค์ทรงผนวชแล้ว ก็จาริกบ่าย พระพักตร์ (หนา้ ) ลงไปทางทิศใต้ของประทศอินเดีย จนถึงลมุ่ แม่น้ำคยา (ปัจจุบันต้ืนต่ำลง เรยี กว่า แม่น้ำ เนรัณชรา) ในแคว้นมคธ อันเป็นถ่ินที่อยู่ของบรรดาคณาจารย์ใหญ่ ๆ ซ่ึงตั้งอยู่สำนักเหล่าน้ีสั่งสอน ลัทธิ ของตนมีอยู่มาก ณ ท่ีน้ัน ด้านงานการศึกษา และค้นคว้าแนวทาวให้พ้นทุกข์ ก็ได้เร่ิมต้นขึ้นอย่าง จริงจงั โดยสามารถแบ่งออกเปน็ ๓ ขั้นตอน คือ ขนั้ ท่ี ๑ เสด็จเข้าไปขอรับการศึกษา ในสำนักของคณาจารย์ใหญ่ จำนวน ๒ ท่าน คอื ๑. อทุ กดาบส และ ๒. อาฬารดาบส. ข้นั ท่ี ๒ ทรงทรมานพระองค์เอง การให้ไดร้ บั ความลำบากอย่างสาหสั ซง่ึ เรยี กวา่ การบำเพญ็ ทกุ กรกริ ิยา ขั้นท่ี ๓ ทรงหนั มาบำเพ็ญเพยี รทางจติ ใจ พดู งา่ ย ๆ คือ ทรงคิดคน้ หาทางดา้ นมเี หตผุ ล ทางดา้ นจิตใจ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบันพระราชทาน ไว้ ณ พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๓ ตรัสไว้ ดงั นี้ ...เรื่องวิธีการสอนให้เข้าถึงตัวบุคคลประเภทต่าง ๆ น้ัน ความจริงมีปรากฏอยู่อย่างสมบูรณ์ใน คมั ภีร์ (พระไตรปิฎก) มีทั้งกล่าวไว้ โดยตรง และโดยอ้อม ท้ังท่ีกล่าวโดยสรุป และโดยละเอียดพิสดาร ซึ่งเช่ือว่าท่านทราบกันดีอยู่แล้วว่า เป็นหลักวิชาการท่ีนำมาปฏิบัติให้ได้ผลจริง ๆ ได้อย่างแน่นอน ผู้มี ปัญญาที่ปรารถนาจะช่วยผู้อ่ืน จะต้องพยายามศึกษาพิจารณาคัดเลือกสรรวิธีการนั้น ๆ จากตำรา นำมา สอนให้เหมาะสมแก่บุคคล แก่กาลสมัย และสถานการณ์ปัจจุบัน คนที่เรียกว่าสมัยใหม่ นั้นยึดหลัก เหตุผลเป็นสำคัญ การสอนคนสมัยใหม่น้ันจะต้องนำเหตผุ ลที่มีอยู่ในคัมภรี ์มาพิจารณา...ข้าพเจ้าขอฝากให้ ท่ีประชมุ นำขอ้ คิดน้ีไปวิเคราะห์ และพิจารณากนั ต่อไปดว้ ย... ๑ พระมหาทรรศน์ คุณทสสฺ ี (โพนดวงกรณ)์ .การศกึ ษาเปรยี บเทยี บพุทธวิธีการสอนในอรรถกถาธรรมบทกบั กระบวนการเรียนรทู้ ่ี ,เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั วทิ ยานพิ นธ์,๒๕๔๖.
๕๕ ๕.๒ ความหมาย พุทธวธิ ีในการสอน หมายถึง กระบวนการให้การศึกษา ซงึ่ พระพุทธเจ้า (พระสิทธตั ถะโคตรมะ) จัดให้แกผ่ เู้ รียน เกิดการเรียนรู้ โดยสะดวก เหมาะสมกับภมู ปิ ัญญา หรือความรู้ของตน และลักษณะ ของผรู้ บั การสอนแต่ละบคุ คล ตามทปี่ รากฏในพระไตรปิฏก โดยเทียบเคยี งกับระเบยี บวธิ ีการสอนท่วั ไป พุทธวิธีในการสอนของพระพุทธเจ้า สรุปความว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นพระบรมศาสดา หรือพระ บรมครูของทวยเทพและมนุษย์ท้ังหลาย ทรงแบ่งคนออกเป็น ๔ ประเภท และเปรียบด้วยบัว ๔ เหล่า ทรง จำแนกธรรมได้ถูกจริตหรือภมู ิปัญญาของผู้ฟงั แต่ละประเภทอย่างได้ผลด้วยลีลาการสอนท่ีว่าแจ่มแจง้ จูงใจ หาญกล้า ร่าเริง เช่นทรงโปรดพระจูฬปันถก แม้จะไม่รู้หนังสือแต่ก็ทรงสอนจนพระ จูฬปันถกบรรลุธรรม เปน็ พระอรหันต์ เปน็ ตน้ ๒ วธิ ีการสอนของพระพุทธเจ้าตามท่ีปรากฏในพระสตู รและพระวินยั สรุปความวา่ วิธีการสอนของ พระพทุ ธเจา้ โดยทว่ั ไปแล้ว นับว่าเป็นวธิ ีการทด่ี ีที่สุดที่พระองค์คิดค้นขนึ้ และได้ทดลองใชเ้ หน็ ผลมาแล้วแต่ สมยั พทุ ธกาล แต่ปจั จบุ นั กระบวนการสอนการเรียนทางด้านศลี ธรรมหรือหลกั พุทธธรรมอ่นื ๆ ดูเหมือนว่า จะเป็นปัญหาใหญ่ เมื่อมองจากสายตาของผใู้ ห้การศกึ ษาและผ้เู รยี น ทง้ั นี้กเ็ พราะหลกั การสอนอนั ยอดเยีย่ ม น้ัน มีลักษณะเป็นนามธรรมท้ังมนี ัยลึกซ้ึงมาก จึงต้องมีการตคี วามหรืออธิบายขยายความถงึ วธิ กี ารสอนของ พระพทุ ธเจ้าใหเ้ ปน็ ที่กระจ่างชัดยงิ่ ขน้ึ ๓ พระพทุ ธเจา้ ทรงมีวิธกี ารสอนทเ่ี หมาะแกแ่ ตล่ ะบคุ คล คือ ทรงคำนงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยทรงคำนงึ ถึงความพร้อมของผฟู้ ังเป็นเกณฑ์ ทรงปรบั รูปแบบการสอนให้เหมาะสมกบั สถานการณแ์ ละ สภาพแวดลอ้ มของผู้ฟงั อยู่เสมอ คือพระองค์ทรงจัดรปู แบบการสอนให้เข้ากบั จรติ ของผู้ฟังนั้นๆ เช่น ทรง รจู้ กั การเร่ิมตน้ ในการสอนสร้างบรรยากาศในการสอน ทรงปรับปรุงรปู แบบการสอนใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ของผู้ฟังน้นั ๆ เช่น ทรงสอนแบบสนทนา แบบบรรยาย แบบตอบปัญหา แบบวางกฏข้อบังคับ เปน็ ตน้ ๔ ระเบียบการสอนท่วั ไป หมายถึง วธิ ีการสอนท่ีใชใ้ นการสอนสาขาศึกษาศาสตร์ ซงึ่ สว่ นใหญจ่ ะ นำมาจาประเทศตะวนั ตก ทใี่ ชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลายทั่วไป มีดังตอ่ ไปนี้ วิธีการสอนแบบบรรยาย หมายถึง วธิ ีท่ีผู้สอนควรพูด บอกเล่าหรอื อธิบายตามเน้ือหาเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีใหผ้ เู้ ลา่ เรยี นได้รับฟงั อย่างใกล้ชดิ เป็นการสือ่ สารความหมายทางเดยี วให้เขา้ ใจได้อย่างง่ายขึ้นมาก วิธีการสอนแบบอภิปราย หมายถึง การแลกเปล่ียนความคิดเห็น ซ่ึงกันและกัน มีระหว่าง ผู้กระทำการสอน กับผู้เล่าเรียน เพ่ือแก้ไขปัญหาอย่างหน่ึง และส่งเสริมช่วยให้ผู้เรียน คิดเป็น กับ กระทำเป็นจงได้ดี ๒ พระมหาทรรศน์ คุณทสสฺ ี (โพนดว้ งกรณ)์ . อา้ งแลว้ เรอ่ื งเดยี วกัน.หนา้ ๒๔. ๓ พระมหาแหวนทอง ปญุ ญาคโม,วิธกี ารสอนของพระพุทธเจา้ ตามที่ปรากฏในพระสูตรและพระวนิ ัย, (กรงุ เทพฯ : สภามหามกุฏราช วิทยาลยั , ๒๕๔๐), หนา้ ๒. ๔ พระมหาทวี มหาปญ โญ, “การศึกษาวเิ คราะหพ์ ุทธวิธีการสอนในธมั มปทัฏฐกถา”, วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหากุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕), หน้า ข.
๕๖ วิธีการสอนแบบสาธิต หมายถึง วิธีการสอนท่ีผู้สอนมีหน้าที่ในการวางแผนของกระบวนการ เรียนการสอน โดยการแสดง หรือกระทำสิง่ น้ัน ใหด้ ูดังเป็นตัวอย่าง สำคัญมาก ผู้เล่าเรยี นจึงจะเกิดการ เรยี นรู้ ดว้ ยกระบวนการวชิ าการตา่ ง ๆ อาทิ การสงั เกต การรบั ฟัง การกระทำ ตอ่ สงิ่ นน้ั วิธีการสอนแบบทดลอง หมายถึง วิธีการที่กระทำให้ผู้เล่าเรียนเกิดการเรียนรู้ จากการลงมือ ปฏิบัติดว้ ยตนเอง วิธีการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ หมายถึง การสร้างสถานการณ์ และบทบาทสมมติ เพื่อให้ผู้ศึกษาเล่าเรียนได้แสดงออก ตามท่ีตนได้หวังคิดไว้ว่าน่าจะเป็น และถือเอาเหตุการณ์ที่แสดงออก นนั้ มาเป็นหัวขอ้ ตอ่ การอภิปราย เป็นหลักคร้งั นน้ั วิธกี ารสอนแบบสถานการณจ์ ำลอง หมายถึง การนำเอาสถานการณ์ทเ่ี ปน็ จริงมาจัดการใหม่ แตต่ ้องใหไ้ ด้ใกล้เคยี งถกู ต้องตามความเป็นจริงมากท่สี ดุ วิธีการสอนแบบนิรนัย ( Deductive technique ) หมายถึง การสอนท่ีเริ่มต้นจากกฎ หรือ หลักการตา่ ง ๆ แล้วให้ผู้เล่าเรียนสืบค้นหาหลักฐาน มีเหตุผลมาพิสูจนย์ นื ยนั ทำใหผ้ ู้เล่าเรยี นจำเป็นตอ้ ง มีเหตผุ ล ไม่หลงเช่ือส่ิงอะไรได้อย่างง่าย ๆจนกวา่ จะทราบ หรอื จะพสิ จู นใ์ ห้เห็นเปน็ จรงิ เสยี ก่อน วิธีการสอนแบบอุปนัย ( Inductive technique ) หมายถึง การสอนจากรายละเอียด ปลีกย่อย ไปหากฏเกณฑ์ หรือเป็นกานสอนจากส่วนย่อยไปหาสว่ นรวม หรือกระทำการสอนจากตัวอย่าง ไปหากฏเกณฑ์ หรอื จากหลักการ ข้อเท็จจริงไปหาข้อสรุป โดยการใหผ้ ู้เรยี นทำการศกึ ษา สังเกต ทดลอง เปรียบเทยี บแล้วพิจารณา ค้นหา องค์ประกอบ ทเี่ หมือนกนั หรือคลา้ ยคลึงกันจากตวั อยา่ งต่างๆ เพื่อนำมาเป็นขอ้ สรุป วธิ ีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกจิ กรรม หมายถึง การแบ่งกล่มุ ใหผ้ ู้เรยี นทำกจิ การงานร่วมกนั ได้ ในการศึกษาหาแหล่ง หรือสอื่ สารแสวงหาความร้เู รื่องราวตา่ ง ๆ วิธีการสอนแบบแก้ปัญหา หรือแบบวิทยาศาสตร์ หมายถึง วิธีการสอนท่ีผู้กระทำการสอนให้ ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จนบังเกิดความรู้ความรู้ ความเข้าใจ เพ่ือพิสูจน์ข้อเท็จจริง สามารถ พิสูจน์สมมตฐิ าน หรอื คน้ พบข้อความรู้ตา่ ง ๆรูจ้ ักวิธแี ก้ปัญหา และสามารถแก้ปญั หาเปน็ ขั้นตอนได้ วิธีการสอนแบสืบสวนสอบสวน ( Inquiry method ) หมายถึง วิธีการสอนท่ที ำให้ผู้เรียนได้ รู้จักค้นคว้าหาความรู้ โดยใช้กระบวนการทางความคิด หาเหตุผลจนค้นพบความรู้ หรือแนวทางในการ แกป้ ัญหาท่ีถูกต้องด้วยกัน โดยผู้สอนตั้งคำถามประเภทกระตุน้ การเรยี นใหผ้ เู้ ลา่ เรียนได้ใช้ความคิดเห็นของ ตนด้วยการหาวิธีการแก้ปัญหาได้จริง และสามารถนำมาแก้ไขได้จริงเท่าที่มีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต ไดผ้ ลจรงิ วิธกี ารสอนแบบศูนย์การเรียน หมายถึง การเรยี นร้จู ากการประกอบกจิ กรรมของผเู้ ลา่ เรียนโดย การแบ่งบทเรยี นออกจากกันเป็นกลุม่ ๆ แต่ละกลุ่มเรยี กว่าศนู ยก์ จิ กรรม. ๕.๓ จุดมุ่งหมายในการสอนและแนวคิด พระพุทธเจ้าทรงมีวิธีการสอนท่ีแยบยล และทรงใช้วิธีการสอนจากหลายวิธี ในพระราชกรณียกิจ ชัว่ พระชนม์ชีพของพระองค์ เม่ือทรงตรสั รู้แล้วทกุ ยา่ งกา้ วทรงอยู่ในพระอาการส่ังสอนมนษุ ยท์ ั้งสน้ิ วิธกี าร สอนของพระองค์เกิดขึ้นจากปฏิสัมภิทาแห่งพระองค์ทั้งสิ้น การที่พระพุทธองค์จะทรงส่ังสอนวิธีใด ย่อมข้นึ อยู่กับบุคคล สภาพแวดล้อมกบั เหตุการณ์ ภาวะปัญหาต่าง ๆของยุคสมัยน้ัน สว่ นท่มี ีมาในนิยาม เบื้องต้นนนั้ กำหนดเรียกว่า วิธกี ารสอนตา่ ง ๆ ซ่ึงเกดิ ข้ึนมาในภายหลงั .
๕๗ โดยทว่ั ไปวิธีการสอนของพระพทุ ธเจ้านน้ั สามารถแบ่งออกเปน็ หลายวิธมี ี ๔ วธิ ดี งั นี้ ๑.วธิ กี ารสอนแบบกจั ฉา ( สากัจฉา ) หรือสนทนาสอบถามกัน (สนทิ านธรรมเทศนา) หมายถึง นัดเพ่อื นจับกลุ่มเมาท์กันสปั ดาหล์ ะ ๒-๓ หน ครั้ง ๒.วธิ กี ารสอนแบบบรรยาย (อภิญญายธรรมเทศนา) หมายถึง การพูด บอกเล่า หรอื อภปิ ราย ข้าละฝ่ายขน้ึ ๓.วิธีการสอนแบบตอบปัญหา (ปฏิหาริยธรรมเทศนา) หมายถงึ การแกไ้ ขปัญหาเอง ๔.วธิ กี ารสอนแบบวางกฏเกณฑไ์ ว้ หมายถึง มีรายละเอียดปลีกย่อยเพ่ือขยายความเข้าใจกัน การสอน คือ กรรมวิธีสำหรับเร้าใจให้ผู้เรียน เกิดความรู้ในระดับต่าง ๆ กัน ตั้งแต่ต่ำสุดถึง สูงสุดและเรียนรู้สัจจะระดับต่าง ๆ ต้ังแต่สมมติสัจจะถึงอริยสัจจะ เพ่ือให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปใน แนวทางท่ีดียิ่งข้ึนไปอกี เท่าตัว ดังนั้น พระพุทธเจา้ ของเราทรงเป็นครูช้นั ยอดเยี่ยม อีกพระองคห์ นึ่ง ใน บรรดาคณุ สมบัติของพระองคน์ ้นั มีอยู่ ๒ ประการ ดงั นี้ ๑. อนตุ ตโร ปรุ ิสทมั มสารถิ ทรงเปน็ สารถผี ฝู้ กึ คนที่ไม่มีผูเ้ ทยี มเท่า ๒. สตั ถา เทวมนสุ สานงั เป็นครูของเทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย พระพทุ ธองคส์ ามารถสอน ให้คนเกิดความรู้ถึงข้นั วิชชญุ าณ (วดิ -ชุ ) หมายถงึ แสดงอยา่ งสายฟ้า และสัมโพธิญาณ คือความตรัสร้หู มดทุกเร่ือง ไดด้ ว้ ยการพูดอย่างธรรมดา รูฟ้ ังถึงขน้ั อริยสจั จะ และเกดิ การเปล่ยี นแปลงถึงขนั้ จากปุถุชนเป็นอรยิ บคุ คลได้ดีเลิศอยา่ งงดงาม การสอนที่จะมีผลท่ีดีขึ้นนั้น ย่อมข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ด้านสติปัญญา ได้แก่ สติ ความระลึกได้ ปญั ญา ความรู้รอบ และความเอาใจใส่ของนักเรยี น ความร้คู วามสามารถและความเอาใจ ใส่ของคุณครู และวิธีการสอนท่ีดียิ่งข้ึน อาจจะมีอุปกรณ์ส่งเสริม หรือส่ือการเรียนการสอนโดยตรง คือ ปากกับใจ เป็นความสำคญั มาก การศกึ ษาคุณสมบตั ิ และวิธีการการสอนของพระพุทธเจา้ จงึ เท่ากบั เป็นการศกึ ษาวธิ ีการสอน ของหลกั สตู รพทุ ธศาสตรภ์ ายในน้ัน และเราอาจจะได้นำเอาหลกั การ หรอื วิชาการที่ศกึ ษาเล่าเรียนมา บางอยา่ ง เพอ่ื นำมาประยุกต์ใช่ในหลกั การศึกษา ในยุคสมัยปัจจบุ ันน้ี ขอยกตัวอย่าง คือการเรียนเรอ่ื งหลักอริยสัจจะ คอื หลักการของความเป็นจริง ชัดเจนน้ี ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างมาก ในหมบู่ ุคคล สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ มข้างตัวเรา ไดแ้ ก่ ความรู้ในตัว ของผ้เู รียนรเู้ อง เรียกวา่ การเรียนรู้ คอื การเปล่ียนแปลง (To Learn is to change ) มลี กั ษณะท่ี อาศยั ซึ่งกนั และกัน สามารถแบ่งออกเปน็ ๕ ด้าน ดงั นี้ ๑. ดา้ นปญั ญา คือการเปล่ียนแปลงจากความไมร่ ู้ใหเ้ ปน็ ความรู้ จากความมืดเปน็ ความสวา่ ง เป็นต้น ๒. ด้านคณุ ภาพจิต คือการเปล่ียนแปลงจากความสกปรกหมกั หมมไปสู่ความสะอาดบริสุทธิ์ เป็นต้น ๓. ด้านอารมณ์ คอื การเปล่ียนแปลงจากความเดือดร้อนวุ่นวาย ไปส่คู วามสงบสุข ๔. ด้านทศั นคติตอ่ ชาวโลก คอื การเปลีย่ นแปลงจากความยดึ ถือ เป็นการปลอ่ ยวาง (นสิ สคั คะ) ตอ่ มนุษย์ และสตั ว์โลกทงั้ มวลจะเปลย่ี นแปลงจากความรัก โลภ โกรธ หลง เป็นความกรุณา สงสารพวกเขาเหล่านัน้ ดว้ ยความช่วยเหลือยนิ ยอมตามตน ๕. ด้านพฤติกรรม คอื การเปลย่ี นแปลงจากความชวั่ ร้ายเป็นดี หรอื จากการทำลายมาเป็นการ สร้างสรรค์ หรือจากอยากจะเอาเป็นการให้ และจากความเบยี ดเบียนเป็นความชว่ ยเหลือ (โลกัตถจริยา) ประโยชนต์ อ่ ชาวโลก เป็นต้น.
๕๘ เรือ่ งพทุ ธวิธใี นการสอน หมายความวา่ วธิ กี ารทีพ่ ระพุทธเจ้า ทรงสั่งสอนพุทธบรษิ ัท คือ ภกิ ษุ ภกิ ษุณี (ปจั จุบนั น้ีไมม่ ีแลว้ ) อุบาสก อุบาสิกา หรือบุคคลทัว่ ไป ทง้ั เทวดา และมนษุ ย์ท้ังหลาย กบั มี เป็นอเนกปริยายนำมากล่าวในท่ีน้ีเพยี งเล็กนอ้ ยพอเพียงเป็นตวั อยา่ งเท่านั้น. กลวิธีการสอนตามแนวพุทธศาสตร์ คือ ลักษณะของพุทธวิธีในการสอนที่นำไปสู่ความสำเร็จ ดัง คำกล่าวในพระไตรปฎิ กวา่ อาทกิ ัลยาณัง มัชเชกัลยาณัง ปริโยสานกัลยาณัง สาตถัง สัพพะยัญชะนัง เกวะละปริปุณณัง ปริสุทธัง แปลว่า คำสอนของพระพุทธเจ้าไพเราะในเบ้ืองต้น ไพเราะในท่านกลาง และไพเราะในทสี่ ดุ สมบูรณ์ด้วยอรรถรส และสมบรู ณด์ ้วย พยัญชนรส บรสิ ุทธ์ิ บรบิ รู ณ์ ทุกประการ. ๕.๔ สรปุ โครงสรา้ งระบบการสอนตามแนวทางพุทธวิธี ศรทั ธา [ความเลื่อมใส] + วิรยิ ะ[ความเพียร] ปรโตโฆสะ [ ปจั จัยภายนอก ] โยนโิ สมนสิการ [ปจั จยั ภายใน] สมั มาทฏิ ฐิ คือ ความ เห็นชอบตามความเขา้ ใจอนั ท่ีถูกต้องตน สมั มาญาณ คือ ความรแู้ จง้ เห็นจรงิ ตามหลกั อริยสจั สี่ สมั มาวิมตุ ติ คือ มอี ิสรภาพท้งั ภายนอกและภายใน ปรโตโฆสะ โยนโิ สมนสิการ สมั มาทิฏฐิ สัมมาญาณ สมั มาวมิ ุตติ ปัจจยั ภายนอก ปัจจัยภายใน ความเห็นชอบ ความร้แู จง้ เห็น อิสรภาพทัง้ ภายนอก ตามความเขา้ ใจที่ จริง และภายใน ถูกต้อง อิสรภาพภายนอก คือ ปรบั ตัวได้กับธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม กบั ความเจริญ และการ เปล่ียนแปลง พน้ จากพนั ธนาการของระบบสงั คมทีเ่ บยี ดเบียน สามารถเสวยประโยชน์จากความเจรญิ อย่า ประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ. อสิ รภาพภายใน คือ จติ หลุดพน้ จากความอยาก ความโลก และความผดิ เป็นนายเหนือ ธรรมชาตภิ ายในตัวเอง หมายถงึ จติ ใจสงบ แจม่ ใส ช้นื บาน สดชืน้ รม่ เยน็ ระงับได้. หลักธรรมท่ีเก่ียวกับการสอนหลักธรรมทเ่ี กีย่ วกับการสอน คือการสอนทเ่ี นน้ ความ สามารถตามอัตภาพของผู้เรยี นเป็นจดุ รวมศูนย์กลาง เป็นส่ิงสำคัญ พระพุทธเจ้าทรงบรรลุหลักธรรมวิเศษ โดยการศึกษาระบบทางตรงด้วยตนเอง ดังนั้นเม่ือพระพุทธองค์ส่ังสอนพระพุทธศาสนาแล้ว พระองค์จึง ทรงใช้ หลักพุทธจิตวิทยารายบุคคล เป็นหลักวิชาการในการสอน คือ การศึกษาตามอัตถภาพ (Individual Learning ) เป็นต้น. เพอ่ื เปน็ ประโยชนใ์ นการสอน พระพุทธเจา้ ทรงแบ่งผเู้ ล่าเรยี นออกเปน็ ๔ ประเภท ตามภมู ปิ ัญญา ดังน้ี คอื ๑. อคุ ฆฎติ ญั ญู คือ ผทู้ อี่ าจรธู้ รรมได้ เมื่อยกแต่หัวข้อตงั้ ข้ึนแสดง ๒. วิปจิตญั ญู คือ ผทู้ รี่ ูธ้ รรมตอ่ เมอ่ื อธิบายเนื้อความแหง่ หัวข้อน้นั ๓. เนยยะ คือ ผู้ท่พี อจักแนะนำได้ด้วยการฝึกฝน ๔. ปทปรมะ คือ ผูท้ ่ีลำบากมากในการแนะนำ
๕๙ ผู้เล่าเรียนท้ังส่ีประเภทนี้ อาจจะเปรียบได้กับเหมือนดอกบัวส่ีเหล่า คือ พวกท่ีหน่ึงได้แก่ ดอกบัวที่พ้นน้ำ พวกที่สองได้แก่ ดอกบัวปร่ิมน้ำ พวกที่สามได้แก่ ดอกบัวที่จมอยู่ในน้ำ และพวกที่สี่ ได้แก่ ดอกบัวที่ติดอยู่กับดิน หรือโคลนตม แต่ถ้าไม่ได้รับการเอาใจใส่ดูแลรักษา อย่างใด อาจจะเป็น ภกั ษาหาร (อาหาร) ของเต่ากบั ปลา และสัตว์อน่ื ๆท่ัวไป. เมอ่ื แบ่งผู้เล่าเรยี นออกเป็นกลุ่มตามสตปิ ัญญา โอกาสที่พระพุทธเจ้าจะสอน พระองค์ก็จะทรง เลอื กคำพดู หรอื เวลาพูด เลอื กสิ่งแวดล้อมในขณะที่พูด เพอื่ ทำให้คำพูดนั้น บังเกิดผลเหมาะสมกับผูเ้ ล่า เรียนมากที่สดุ จนสามารถก่อให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงทางสติปัญญาของผู้เลา่ เรยี นได้ดียิ่ง. ๕.๕ คุณสมบตั ิผู้สอน พระพทุ ธเจ้าทรงกระทำการสอนในฐานะผู้ส่ังสอน ให้เป็นกลั ยาณมติ รที่แท้จริง ของผเู้ ล่าเรียน คอื พระองคท์ รงประกอบด้วยองค์คุณทั้ง ๗ ประการ ดังนี้ ๑. ปิโย น่ารัก ๒. ครุ นา่ เคารพ ๓. ภาวนโี ย นา่ ยกยอ่ งเอาแบบอย่าง ๔. จตั ตาจะ (วตั ตา) รู้จักพูดชแ้ี จง ๕. วะจะนักขะโม อดทนต่อถ้อยคำ ๖. คมั ภรี ัง กะถัง กัตตา กลา่ วช้แี จงเรอ่ื งราวท่ลี ึกซงึ่ ไดด้ ี ๗. โน จฎั ฐาเน นโิ ยชะเย ไม่แนะนำในทางเส่ือมเสียหายเลย อีกแบบหน่ึงสำหรับคนผูส้ งั่ สอนหรอื ให้การศกึ ษา (ครู อาจารย์หรือผแู้ สดงธรรม)ผู้ทำหนา้ ท่สี ่งั สอน ให้การศึกษาแก่ผู้อื่น โดยเฉพาะครู อาจารย์ พึงประกอบด้วยคณุ สมบัตแิ ละประพฤติตามหลกั ปฏบิ ตั ิ ดังนี้ ๑ . ความเปน็ กัลยาณมิตร คือ ประกอบดว้ ยองค์คณุ ของกัลยาณมิตร หรือกัลยาณมิตรธรรมมี ๗ ประการ ดังน้ี ๑.๑ ปิโย น่ารัก คือ มีความเมตตากรณุ า ใส่ใจคน และประโยชน์สขุ ของเขา เขา้ ถึง จติ ใจ และสร้างความรสู้ กึ สนิทสนมเปน็ กนั เอง ๑.๒ ครุ น่าเคารพ คอื เป็นผู้หนักแน่น ถือหลักการเป็นสำคัญ และมีความประพฤติ สมควรแกฐ่ านะ ๑.๓ ภาวนีโย นา่ เจรญิ ใจ คือ มคี วามรู้จริง ทรงภูมปิ ญั ญาแทจ้ รงิ และเป็นผู้ฝึกฝน ปรับปรุงตนเองอยูเ่ สมอ ๑.๔ วตฺตา รู้จักพูดให้ได้ผล คอื รจู้ ักชแ้ี จงให้เข้าใจ รู้ว่าเมือ่ ไรควรพดู อะไร อยา่ งไร และคอยให้คำแนะนำว่ากลา่ วตกั เตือนกนั ๑.๕ วจนกขฺ โม อดทนตอ่ ถ้อยคำ คือ รับฟงั คำตำหนวิ ิพากษว์ จิ ารณ์ได้ และพร้อมท่ีจะ แก้ไขปรบั ปรุงตน ๑.๖ คมภฺ ีรญฺจ กถํ กตฺตา แถลงเรื่องลำ้ ลกึ ได้ คือ กล่าวชแี้ จงเร่อื งตา่ ง ๆที่ยุ่งยาก ลกึ ซ้ึงให้เข้าใจได้ สัง่ สอนลูกศษิ ยใ์ ห้ได้เรยี นรเู้ รือ่ งลึกซ้ึงยง่ิ ข้นึ ไป
๖๐ ๑.๗ โน จฏฺฐาเน นโิ ยชเย ไม่ชักนำในอฐาน คือ ไมช่ ักนำไปในทางท่ีเสือ่ มเสีย หรือ เร่ืองเหลวไหลก็ไม่สมควรคนผู้เลา่ เรยี นศกึ ษา ( นักเรยี น นักศึกษา นักคน้ คว้า ) คนที่เล่าเรียนศึกษา จะเปน็ นักเรยี น นกั ศึกษา หรือนักค้นคว้ากต็ าม นอกจากจะพึงปฏิบัตติ าม หลกั ธรรมสำหรับคนท่ีจะประสบความสำเรจ็ คอื จักร ๔ และอิทธิบาท ๔ ยงั มหี ลกั การที่ควรรู้ และ หลกั การปฏิบัตทิ ี่ควรประพฤตอิ ีก ดังนี้ ร้หู ลักบุพภาคของการศึกษา คอื รู้จกั องคป์ ระกอบทเี่ ป็น ปจั จยั แห่งสัมมาทิฏฐิ มี ๒ ประการ ดงั นี้ องคป์ ระกอบภายนอกทีด่ ี คือ มีกลั ยาณมติ ร หมายถงึ รู้จกั หาผ้แู นะนำสงั่ สอน ทป่ี รึกษา เพือ่ น หนงั สือ ตลอดจนส่ิงแวดลอ้ มทางสังคม โดยทว่ั ไป ทด่ี ี ท่เี ก้อื กลู ซ่งึ จะชักจงู หรือกระตุ้นให้เกิดปัญญาได้ ด้วยการฟัง การสนทนา ปรึกษา ซักถาม การอ่าน การค้นคว้า ตลอดจนการรจู้ ักเลือกใช้ส่ือมวลชนให้เป็นประโยชน์องคป์ ระกอบภายในทด่ี ี คือ โยนิโสมนสกิ า หมายถึง การใชค้ วามคิดถูกวธิ ี รูจ้ ักคิดเป็น ทำเป็น และมองสงิ่ ทั้งหลายด้วยความพิจารณาสบื สาวหาเหตุผล รู้จัก แยกแยะส่ิงนั้น ๆ ตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยจนเข้าถึงความเป็นจริง และแก้ไขปัญหา หรือทำ ประโยชนน์ น้ั ใหเ้ กดิ ขนึ้ ได้ผลดี สรุป กลา่ วโดยยอ่ ว่ารจู้ ักพ่ึงพาใหไ้ ดป้ ระโยชนจ์ ากคน และส่งิ ทแี่ วดล้อมเกิดรจู้ กั พ่ึงตนเอง และ ทำตัวใหเ้ ป็นที่พ่งึ ของผอู้ น่ื ๕.๖ หลกั ธรรมตามพุทธวธิ ีในการสอน หลักธรรมการสอนพทุ ธวธิ ขี องพระพทุ ธองค์ คือ การดำเนินงานอันเป็นไปตามขน้ั ตอน และ ตามลำดบั ดังนี้ ๑. พระพทุ ธเจา้ ทรงมีความรู้ย่งิ เห็นจริง กบั ความเข้าใจง่ายอย่างแทจ้ ริงในเรื่องทจ่ี ะทำการสอน ๒. ส่งิ ทจ่ี ะสอนนั้น เป็นสิง่ ที่เป็นจริง และมปี ระโยชนต์ อ่ ผู้เล่าเรียน ๓. พระพุทธองคท์ รงมีเมตตา และมพี ระมหากรณุ าธิคุณเป็นที่ตัง้ ไม่หวังผลประโยชน์ ส่ิงอื่น ๆ ต่างตอบแทนใด ๆเลย ๔. สิ่งท่ที รงสั่งสอนน้ัน พระองค์ประพฤตปิ ฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ ๕. พระองค์ทรงมีบุคลิกลกั ษณะท่ีทำให้เกิดความมศี รัทธาเล่อื มใส ๖. พระพุทธเจ้าทรงมพี ระอัธยาศัยท่จี ะคอยรับได้ ไมร่ ีบร้อนกังวลเกินควร ๗. พระพุทธเจา้ ทรงใหผ้ เู้ ล่าเรียนเกดิ ความเขา้ ใจง่าย ชดั เจน เห็นจรงิ เกดิ ความเชื่อถือและ กระทำตามจนเห็นจริงไดด้ ้วยตนเอง. ๕.๗ วิธีการสอนของพระพทุ ธเจา้ ๕ แบบ ๑.วธิ เี อกงั สลักลักษณะ ( เอกงั สพยากรณยี ปัญหา ) คือปัญหาท่ีพึ่งตอบตรงไปตรงมาตายตัว ทา่ นพระอรรถกถาจารย์ ขอยกตวั อย่าง เช่น ท่านถามว่าจกั ษเุ ป็นอนจิ จงั หรอื พึงตอบว่า ถูกแล้ว ๒.วิธีวิภชั ชลักษณะ ( วภิ ชั ชพยากรณียปัญหา ) คือปัญหาทีจ่ ะต้องแยกความตอบ เชน่ เมือ่ เขาถามวา่ สง่ิ ท่เี ป็นอนิจจงั ไดแ้ ก่ จักษุใช่ไหม ? พึงแยกตอบวา่ ไม่เฉพาะจกั ษเุ ท่านน้ั ถึง โสตะ คอื หู ฆา่ นะ คือ จมูก ก็เปน็ อนิจจัง เป็นตน้
๖๑ ๓.วิธีปฏิปุจฉาลักษณะ ( ปฏิปุจฉาพยากรณีปัญหา ) คือปัญหาท่ีพึ่งย้อนถามแล้วจึงแก้ไข ทา่ นยกตัวอย่าง เชน่ ทา่ นถามว่า โสตะกเ็ หมือนจักษุหรือ ? พึงย้อนถามอีกว่า ท่ีถามมานั้นหมายถึงอะไร ? ถา้ เขาว่า ในแง่เป็นเคร่อื งมองเห็น พึงตอบว่าไมเ่ หมือนกัน เป็นตน้ ๔.วิธีฐปนลักษณะ ( ฐปนียปัญหา ) คือปัญหาท่ีพึ่งยับยั้งเสีย ได้แก่ ปัญหาท่ีถามนอกเร่ือง ไร้สารประโยชน์ อันจะเป็นเหตุให้เขวได้ ยึดเย้ือสิ้นเปลืองเวลาเปล่า ท่านยกตัวอย่างมาว่า เมื่อถามว่า ชีวะอันใด สรีระก็อันน้ันหรือ ? อย่างนี้เป็นคำถามประเภทเก็จความเป็นจริง ซึ่งถึงอธิบายไปอย่างไร ผู้ที่ ถามกย็ ิ่งไมเ่ ข้าใจเนือ้ ข้อความน้นั ๆ เลย ๕.วิธอี ปุ มาลักษณะ ( แบบวางกฎข้อบงั คับ ) คือเม่ือเกดิ เร่ืองราวขึน้ มีภกิ ษุกระทำความผิด วินัยอย่างใดอยา่ งหนึง่ เกิดขน้ึ เปน็ ครง้ั แรก พระสงฆ์ทัง้ มวล หรอื ชาวประชาชนเลา่ ลอื กันมากติเตียนกนั อยู่ มผี นู้ ำความมากราบทตู พระพุ?เจ้า พระองค์ก็ทรงเรียกประชุมสงฆข์ ้นึ มา เพอื่ ตรวดสอบสวนข้อความนน้ั เป็นจริงตอ่ ผู้กระทำความผิด เมอ่ื ทรงทราบเจ้าผูร้ บั วา่ เปน็ จรงิ แลว้ ก็ทรงชี้แจง และตำหนถิ ึงผลเสียหาย น้ันในทเ่ี กิดเหตุตอ่ ส่วนรวมรบั ทราบ และคณุ ประโยชนข์ องความประพฤติท่ีดงี ามนน้ั ทรงบัญญตั ขิ ้อความ สิกขาบทขึน้ มาใหม่ โดยทรงแถลงวตั ถปุ ระสงค์ในการบญั ญตั ใิ หร้ บั ทราบ แลว้ ทรงบัญญัติสกิ ขาบท ขอ้ ความนนั้ ๆ ไว้ โดยมีความเหน็ ชอบพร้อมกนั ของคณะสงฆ์ ยอมรับไว้ ในท่ามกลางสงฆ์ และโดย ขอ้ ความรับทราบรว่ มกันทั่วไป. สรุปพุทธวิธีในการสอนวา่ วธิ ีการสอนของพระพุทธเจ้า ทรงเน้นหนักไปในทางทจี่ ะทำใหท้ กุ คน ต่างเปน็ ครขู องตัวเองได้ สอนตนเองได้ และเป็นตวั อย่างท่ดี ขี องผูอ้ นื่ ได.้ ๕.๘ พุทธลลี าในการสอน พทุ ธลีลาในการสอน หมายถึง การสอนของพระพทุ ธองค์แตล่ ะคร้งั แม้เปน็ เพยี งธรรมมี กถา หรือการสนทนาทัว่ ไป ซ่งึ มิใช่คราวทีม่ ีความมุ่งหมายเฉพาะพเิ ศษ กจ็ ะดำเนนิ ไปอยา่ งสำเร็จได้ผลดี โดยมี องคป์ ระกอบท่เี ป็นคุณลักษณะ ๔ ประการ ดงั นี้ ๑.สนั ทสั สนา หมายถงึ ชี้แจงให้เหน็ ชดั เจน คือ จะสอนอะไรก็ชีแ้ จง จำแนกแยกแยะ อธิบายและแสดงเหตผุ ลให้ชัดเจน จนผ้ฟู งั เขา้ ใจแจ่มแจง้ เห็นจริงเหน็ จัง ดงั จูงมอื ไปดูจนเหน็ กบั ตา ๒.สมาทปนา หมายถึง ชวนใจให้อยากรบั เอาไปปฏิบัติ คือ ส่ิงใดควรปฏบิ ตั ิ หรือหัดทำ ก็ แนะนำ หรือบรรยายให้ทราบซึง่ ในคุณค่า เหน็ ความสำคัญที่จะต้องฝกึ ฝนบำเพ็ญจนใจยอมอยากลงมือ กระทำ หรือนำไปปฏบิ ตั ไิ ดผ้ ล ๓.สมุตเตชนา หมายถึง เร้าใจใหอ้ าจหาญแกลว้ กล้า คือ ปลุกเร้าใจใหก้ ระตือรือรน้ เกิด ความอุตสาหะ มีกำลงั ใจท่ีเข้มแขง็ มั่นใจทีจ่ ะทำใหส้ ำเร็จ สกู้ ารงานไมห่ วน่ั ระย่อ ไม่กลัวเหน่ือยเลย ไม่ กลัวยากลำบาก ๔.สมั ปหังสนา หมายถงึ ปลอบชโลมใจให้ใจสดช่ืนร่าเริง คอื บำรงุ จติ ใจใหแ้ ชม่ ช้ืนเบิก บาน โดยช้แี จงใหเ้ หน็ ผลดี หรอื คณุ ประโยชนท์ จี่ ะได้รับผลจริง และหนทางท่จี ะเจรญิ ก้าวหนา้ บรรลุผล สำเร็จย่ิง ๆ ข้ึนไป จนทำให้ได้รบั ผลการสอนมคี วามสมหวัง และร่าเรงิ เบิกบานใจ ไมร่ ู้สึกหดหใู่ จ ไม่รสู้ ึก สิ้นหวังเลย. สรุป ลกั ษณะการสอน ทงั้ ๔ ประการนี้ คือ “ ช้ีให้ชัด ชวนใหป้ ฏบิ ัติ เร้าใจให้กล้า กระทำ และปลกุ จิตใจใหร้ ่าเริง ” หรอื “แจ่มแจ้ง จูงใจ แกลว้ กล้า ร่าเรงิ ” เป็นตน้ .
๖๒ ๕.๙ เทคนิควิธีการการสอนของพระพทุ ธเจา้ - ทรงสอนโดยกระทำตัวอยา่ งให้ดู - ทรงสอนโดยใชอ้ ปุ กรณ์การสอน - ทรงสอนโดยใช้วาจายักย้ายถ้อนคำคำสงั่ สอนเปน็ สำนวน - ทรงสอนโดยใช้วิธีชักถาม - ทรงสอนโดยใช้วิธกี ารเปรียบเทียบ - ทรงสอนโดยใช้เรื่องราวทีผ่ ู้ฟงั เข้าใจดีอยู่แล้ว - ทรงสอนโดยการยกประวัตศิ าสตรข์ น้ึ มาเช่ือมโยง - ทรงสอนโดยเทยี บเคียงกับวชิ าการต่าง ๆ เท่าที่มีอยใู่ นสมัยนัน้ ๆ - ทรงสอนโดยให้ใชส้ ตปิ ญั ญาของตนกำกับ - ทรงสอนโดยใช้วธิ ีเลอ่ื มความเขา้ ใจของผู้ฟังเป็นขัน้ ๆ - ทรงสอนโดยดูความร้สู ึกของตนเอง เปรยี บเทยี บกับคนอนื่ . สรุปทา้ ยบท พระพุทธเจ้าทรงเผยแผ่พระธรรม เพ่ือช่วยช้ีทางสว่างสงบแก่มวลมนุษย์โลก ก่อนที่จะตรัสรู้พระ ธรรมวิเศษ พระองค์ได้ทรงศึกษาถึงสภาวะของมนุษย์เรา ได้แก่ สภาวะชีวิต จิต และความเป็นไปใน ชีวิตมนุษย์อย่างลึกซึ่ง ได้ทรงตระหนักถึงปัจจัยต่าง ๆ ท่ีทำให้มนุษย์ต้องเผชิญกับปัญหา และการเวียน ว่านวนอยู่ในห้วงแห่งความทุกข์อย่างใหญ่หลวง พระองค์ได้ตรัสรู้สัจธรรมท่ีชี้ทางให้ไปสู่การดับทุกข์ได้ ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้เอง ถ้าหากว่า เราท้ังหลายได้รับการศึกษาพระธรรมคำส่ังสอน และวิธีการเผยแผ่พระ ธรรม หรือการสื่อธรรมของพระพุทธเจ้าจะเห็นประจักษ์ว่า พระองค์ทรงมีความเข้าใจในธรรมชาติของ มนุษย์ และสามารถจัดกับวิธีการสอนได้เหมาะสมกับจริต กิริยา อัธยาศัย บุคคลทุกระดับ พระพุทธศาสนาจึงได้หย่ังรากลึกลง และกระทำการเผยแผ่ไปได้อย่างรวดเร็วมากในสมัยพุทธกาล และ ยง่ั ยืนยาวนานมาจวบจนสมัยปัจจุบันน้ี ก็ด้วยเหตุผลท่ีสำคัญย่ิงประการหน่ึง คือ พระธรรมคำส่ังสอนของ พระองค์นั้นเอง เป็นสัจธรรม หรือความจริงแท้ มีความดีงาม ความงดงาม ไพเราะทั้งเบ้ืองต้น ทา่ มกลาง และที่สุด อันมลี ำดับขั้นตอนที่ลาดลุ่มลึกตอ่ เนื่องกันเป็นเหตุผล ท่ีต้องอาศัย และมผี ลกระทบ ต่ออุปสรรคกันและกัน โดยตลอดมา มีความกระจ่างชัดด้วยการอธิบายในหลายรูปแบบ รวมถึงมีการ อปุ มาอปุ ไมยใหไ้ ดเ้ ห็นความจริงท่ีเป็นประโยชน์อย่างยง่ิ แก่ผปู้ ระพฤติปฏิบัติ นอกจากนเี้ องพระองค์ยังได้ ประทานคำสั่งสอนไว้หลายลักษณะ เพื่อให้เป็นคำส่ังสอนที่เหมาะสมกับ หลักศรัทธา หรือความเลื่อมใส อัธยาศัย จริตของตน และเป็นการปูพื้นฐานทางจิตใจของผู้เรียนก่อน คำสั่งสอนของพ ระองค์จึง ประกอบด้วย องค์ธรรม ๙ ประการ เรยี กวา่ (นวังคสตั ถศุ าสน์ ) ดังนี้ ๑. สุตตะ คือ ถว้ นคำท่ีแสดงเปน็ เรื่องราวต่าง ๆ เชน่ ปรนิ ิพพานสตู ร ๒. เคยยะ คือ ท่เี ป็นจุณณิยบท หรอื เปน็ ประเภทเรียงความบา้ ง คาถาบ้าง มปี น ๓. ไวยยากรณะ (เวยยากรณะ) คอื คำทีเ่ ป็นจุณณยิ บท (รอ้ ยแก้ว) ลว้ น ไม่มคี าถา หรอื รอ้ ย กรองปนเลย ๔. คาถา คือ ระเบียบแห่งคำทีเ่ ปน็ ร้อยกรองล้วน ไม่มจี ุณณยิ บท ปนเลย
๖๓ ๕. อทุ าน คือ ถอ้ ยคำท่ีพระพุทธเจา้ อาศัยพระโสมนัสญาณแล้ว ทรงเปล่ง ออกมาเป็นคติพจน์ ๖. อิติวุตตกะ คือ ถว้ นคำที่พระพุทธเจ้าตรัสอุเทศ (หัวข้อ) ขึน้ มาก่อนแสดงนเิ ทศแล้ว จึงทรงแสดงนยิ าม (สรปุ ) ในภายหลงั ๗. ชาตกะ (ชาดก) คอื ระเบียบคำท่ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงบรุ พจรรยา หรอื บรุ พจารีต (นทิ าน) ๘. อพั ภตู ธัมมะ คือ คำทป่ี ระกอบด้วยอัจฉริยะธรรม คือ ขอ้ น่าอัศจรรย์ ๙. เวทัลละ คือ ระเบยี บแห่งคำสอนที่ผู้ถามไดค้ วามรู้แจง้ แลว้ ถามต่อ ๆ ไป การสรา้ งแรงจูงใจใหเ้ กิดความเล่ือมใสศรัทธาประสาทะนนั้ เกดิ จากองคป์ ระกอบทุกอย่าง นับแต่ การสรา้ งบรรยากาศ การสรา้ ง และเร้าความสนใจศรัทธา มผี ลสมฤทธิท์ ่ีสนองตอบทนั ท่ี การเสรมิ แรง ด้วยวิธกี ารสอนทดี่ ี ได้แก่ ตอ้ งมหี ลกั โยนโิ สมนสิการ คือผูส้ อนต้องเป็นกลั ยาณมิตรด้วย. เม่ือมองมุมกว้าง ๆ การส่ือธรรมของพระพุทธเจา้ แตล่ ะครงั้ จะดำเนินไปจนถงึ ผลสำเร็จ โดยมคี ณุ ลกั ษณะ ซง่ึ เรยี กว่าเปน็ พทุ ธลีลาในการสอนมี ๔ ประการ ดังน้ี ซ่ึงเรยี กวา่ ผ้รู ้บู ัญญัติไว้ สมคำวา่ “ ทฤษฏี ๔ ส ” คือ ส. ท่ี ๑. ได้แก่ สนั ทสั นา คอื อธบิ ายให้เหน็ ชดั เจนแจ่มแจง้ เหมือนจูงมือไปดูเหน็ กับตาเราเอง (ชแ้ี จงให้เหน็ ชัดเจน ว่าอะไรเป็นอะไร ดังหนง่ึ ยกมาไวต้ รงหน้าให้เหน็ อยา่ งจะแจง้ ชดั หายสงสัย) ส. ที่ ๒. ได้แก่ สมาทปนา คอื ชกั จูงใจใหเ้ หน็ ชดั จริงด้วย ชวนให้คลอ้ ยตามจนตอ้ งยอมรับ และนำไปปฏบิ ตั ิ ( ชวนให้ปฏบิ ตั ิ ไมว่ า่ อธิบายเรอื งอะไร ทำใหผ้ ้อู ยากทำตาม เพราะเหน็ สมจริงใน คุณค่า ) ส. ที่ ๓. ได้แก่ สมุตเตชนา คือ เร้าใจให้แกลว้ กลา้ บังเกิดกำลงั ใจ ปลุกใหม้ ีอตุ สาหะแข็งขนั ม่นั ใจวา่ จะทำให้สำเรจ็ ได้ ไม่หว่นั ระย่อต่อความเหนื่อยยาก (ปลกุ ใจให้กระตือรือรน้ มีกำลงั ใจที่เข็มแข็ง พร้อมท่จี ะนำเอาธรรมน้ัน ๆ มาเปน็ แนวทางดำเนนิ ชีวิต ไมใ่ ช่ฟังแลว้ “ ปลงในแง่ลบ ” ) ส. ที่ ๔ ได้แก่ สมั ปหังสนา คอื ชโลมใจให้แชม่ ช่นื รา่ เรงิ เบกิ บาน ฟังไมเ่ บื่อ และเปี่ยม ด้วยความหวงั เพราะมองเห็นคุณประโยชน์ที่จะพงึ ไดร้ บั จากการปฏบิ ัติ สรา้ งบรรยากาศให้สนกุ สนาน ร่า เริงแจ่มใส ฟังไปย้ิมแย้ม หรอื หวั เราะไปในบางคร้งั
ห น้ า | ๖๔ บทท่ี ๖ การพฒั นาศักยภาพผเู้ รียนในด้านการกิน อยู่ ดู ฟงั ทถี่ ูกต้องตามกระบวนการทางวฒั นธรรมแสวงหาปญั ญา วัตถุประสงค์ประจำบท เมอ่ื ศกึ ษาเน้อื หาในบท ๖ แล้ว นสิ ติ สามารถ ๑.อธิบายความหมายและความจำเป็นในการพัฒนาศักยภาพได้ ๒.อธบิ ายความสำคญั ของการพฒั นาศกั ยภาพครไู ด้ ๓.อธบิ ายประโยชนข์ องการพฒั นาศกั ยภาพครูได้ ๔.อธบิ ายการจัดลกั ษณะทางกายภาพโรงเรียนวิถีพทุ ธได้ เนอ้ื หาประจำบท ๑.ความหมายและความจำเป็นในการพฒั นาศักยภาพ ๒.ความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพครู ๓.ประโยชน์ของการพฒั นาศักยภาพครู ๔.การจัดลกั ษณะทางกายภาพโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ
๖๕ ๖.๑ ความนำ การพฒั นาตน ตรงกับภาษาอังกฤษวา่ self-development แตย่ ังมคี ำท่มี คี วามหมายใกล้เคยี งกับคำ ว่าการพฒั นาตน และมักใชแ้ ทนกนั บอ่ ยๆ ไดแ้ ก่ การปรบั ปรงุ ตน (self-improvement) การบริหารตน (self- management) และการปรับตน (self-modification) หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงตัวเองให้เหมาะสมเพ่ือสนอง ความต้องการและเป้าหมายของตนเอง หรอื เพื่อใหส้ อดคล้องกบั ส่ิงทส่ี งั คมคาดหวังบุคคลทจ่ี ะพฒั นาตนเองได้ จะต้องเปน็ ผมู้ ุ่งมน่ั ที่จะเปล่ยี นแปลงหรือปรับปรุงตัวเอง โดยมคี วามเชอ่ื หรอื แนวคดิ พื้นฐานในการพฒั นาตนที่ ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นส่ิงที่ช่วยส่งเสรมิ ใหก้ ารพัฒนาตนเองประสบความสำเร็จ บคุ คลล้วนต้องการเป็นมนุษยท์ ่ี สมบูรณ์ หรืออยา่ งน้อยกต็ ้องการมีชวี ติ ท่เี ป็นสขุ ในสังคม ประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมายและความต้องการ ของตนเองพฒั นาตนเองได้ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงที่เกิดขึน้ ในสังคมโลก๑ ๖.๒ ความหมาย คำวา่ การพฒั นา ตรงกบั ภาษาอังกฤษวา่ Development ตามความหมายของรูปศัพท์ แปลว่า การทาใหเ้ จรญิ ซง่ึ จารัส นวลน่ิม (๒๕๔๐, หนา้ ๗) ได้อธิบายวา่ หมายถงึ การทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงที ละนอ้ ย ๆ โดยผ่านลาดับขั้นตอนตา่ ง ๆ ไปสูร่ ะดบั ทีส่ ามารถขยายตวั ข้ึน เติบโตข้ึน มีการปรบั ปรงุ ใหด้ ีข้นึ และเหมาะสมไปกว่าเดิม หรืออาจก้าวหน้าไปถึงข้ันที่อดุ มสมบูรณเ์ ป็นที่น่าพอใจ ในลกั ษณะความหมายหรือนยิ ามของการพัฒนาท่ีมีนักวิชาการกลา่ วไวเ้ ป็นการใชโ้ ดยท่ัวไปกว้าง ๆ อาทิเชน่ สญั ญา สญั ญาววิ ฒั น์ (๒๕๓๒ : ๕) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การพัฒนา หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงทม่ี ี การกำหนดทศิ ทางหรือการเปลีย่ นแปลงทม่ี กี ารกำหนดแผนเอาไวล้ ่วงหน้าแล้ว ซงึ่ ทศิ ทางหรอื แผนท่กี ำหนด ไว้น้ยี ่อมจะเปน็ ไปในลักษณะท่ีพงึ ปรารถนาของสมาชิกในสังคมน้ัน ชนติ า รักษ์พลเมือง (๒๕๓๒ : ๕๕) ได้ใหค้ วามหมายของการพฒั นาวา่ หมายถึง การเปล่ียนแปลง ไปในการทด่ี ขี น้ึ ในทศิ ทางท่ีกำหนด ดารา ทีปะปาล (๒๕๓๘ : ๑๕) ให้ความหมายวา่ หมายถึง เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดขี น้ึ อยา่ งมี เป้าหมาย เปน็ การเปลีย่ นแปลงทมี่ ีการกำหนดทิศทาง เพื่อให้บรรลุตามแผนทกี่ ำหนดไว้ลว่ งหนา้ มีชยั สายอรา่ ม (๒๕๔๐ : ๕๙) อธิบายความหมายของการพฒั นาในลักษณะครอบคลมุ และ กวา้ งขวางพอสรุปไดว้ า่ การพฒั นาเปน็ กระบวนการของการเปลี่ยนแปลงและสรรค์สรา้ งความกา้ วหนา้ ในทางเศรษฐกจิ ความเปน็ ธรรมในสังคม ความเสมอภาคในทางการเมอื ง การธำรงรักษาวฒั นธรรมอนั ดงี าม การจัดสรรและกระจายทรัพยากรดว้ ยวิธกี ารบริหารทเ่ี หมาะสม เพื่อบรรลเุ ป้าหมายในอันทีจ่ ะสรา้ งคุณภาพ ชีวติ ทดี่ ีขนึ้ จากความหมายและนยิ ามดงั กล่าว พอสรุปไดว้ า่ การพัฒนา คือ “กระบวนการท่ีก่อให้เกิดการ เปลย่ี นแปลงโดยผา่ นขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ไปสคู่ วามเจริญ มีการปรบั ปรงุ ให้ดีข้นึ และเป็นไปตามทิศทางที่พึง ๑http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Self_Development.htm
๖๖ ปรารถนา อันจะส่งผลตอ่ ความพึงพอใจสงู สดุ โดยวธิ กี ารพัฒนา ได้แก่ การจดั อบรม ประชุม สัมมนา และ ศึกษาเพ่มิ พนู ความร้เู ฉพาะด้าน เปน็ ตน้ ”๒ คำว่า “ศักยภาพ” และ “สมรรถภาพ” นี้ พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ อธบิ ายไวด้ งั น้ี ศกั ยภาพ คือ ภาวะแฝง อำนาจหรอื คุณสมบตั ิท่แี ฝงอยใู่ นสิ่งตา่ ง ๆ อาจทำให้พัฒนาหรอื ปรากฏ เปน็ สิ่งทป่ี ระจักษไ์ ด้ ส่วนคำวา่ “สมรรถภาพ” คอื ความสามารถ (ราชบณั ฑิตยสถาน. ๒๕๔๖ : ๑๐๙๕,๑๑๒๘) จากความหมายดงั กลา่ ว พออนุมานได้ว่า ศักยภาพคือ อำนาจหรือคณุ สมบตั ทิ ่ีมีแฝงอยู่ในสิง่ ใด ๆ ดังนัน้ เพื่อกลา่ วถึงสง่ิ มชี ีวิต เชน่ มนุษย์หรือสตั ว์ จึงหมายถึง คณุ สมบัตทิ ่ีมีแฝงอยใู่ นมนุษย์ หรือสตั ว์ และ เมอ่ื โยงส่บู ุคคลท่ีเป็นครู จึงหมายถงึ คุณสมบัติต่าง ๆ ทีแ่ ฝงอยูใ่ นตวั ครู เชน่ ความรู้ บคุ ลกิ ภาพ สขุ ภาพ อนามยั และพฤติกรรมต่าง ๆ ซ่งึ อาจก่อใหเ้ กิดการพัฒนาตนเองต่อสถาบนั วิชาชีพ และต่อชาติบ้านเมือง ส่วนสมรรถภาพความเปน็ ครูน้ัน คอื ความสามารถของผ้เู ปน็ ครูทจี่ ะใช้คณุ สมบตั ิหรือศักยภาพต่าง ๆ ทีม่ ีแฝงอยูใ่ นตนเพือ่ การปฏิบัตภิ ารกิจต่าง ๆ ในหน้าท่ีครูให้เกิดประสิทธิผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สำหรบั ศักยภาพและสมรรถภาพ หรือคณุ สมบตั ิที่มีแฝงอยู่ในตวั ครู ซึ่งผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครูทุกคน จำเป็นต้องขวนขวายเพม่ิ พนู พฒั นาให้มีในตนเองนัน้ มีมากมาย แต่ที่สำคัญและถอื วา่ เปน็ สง่ิ จำเป็นเบอ้ื งต้น คอื ความรู้ และบุคลกิ ภาพ ซึ่งผเู้ ขียนจะขอนำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการพฒั นาศักยภาพครู สมรรถภาพ ความรขู้ องครู ตามเกณฑม์ าตรฐานของคุรุสภา และคุณสมบตั ิดา้ นบคุ ลกิ ภาพต่อไป ๖.๓ ความจำเป็นในการพฒั นาศักยภาพ การพฒั นาศักยภาพ หมายถึง การพฒั นาเพ่ิมพูนความรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ ความชำนาญและความ สามารบถในการปฏิบัติหน้าท่ีรวมท้ังการพัฒนาด้านคุณธรรมและจริยธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดเวลาการพัฒนาบุคลากรเป็นส่ิงจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นกรรมวิธีที่จะช่วยเพ่ิมพูนความรู้ ความสามารถและทกั ษะในการปฏบิ ัติงานของบุคลากรให้ไดผ้ ลดี มที ้ังประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล ช่วยให้ บรรลุเป้าหมายขององค์กร ตามแนวคิดด้ังเดิมเช่ือว่าการพัฒนาบุคลากร เป็นส่ิงไม่จำเป็นสำหรับองค์กร ผนู้ ำมีหน้าท่ีเฉพาะแต่เพยี งบังคับบัญชาควบคุมใหพ้ นักงานแต่ละคนปฏิบัติหน้าท่ีตามคำสั่ง หรืองานทีไ่ ด้รับ มอบหมาย ถ้าหากบุคคลใดต้องการเพ่ิมพูนความรู้ความสามารถของตนจะต้องขวนขวายเอง แต่แนวคิด สมัยใหม่เชื่อว่าการพัฒนาบุคลากรเป็นหน้าที่ท่ีสำคัญและจำเป็นท่ีองค์กรทุกองค์กรจะต้องกร ะทำอย่าง สม่ำเสมอ ถึงแม้ว่าจะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ แต่องค์กรจะได้รับประโยชน์มากกว่าโดยมี เหตุผลสนับสนนุ ๒ ประการ คอื ๑. ถึงแม้ว่าองค์กร จะมรี ะบบสรรหาคดั เลอื กทด่ี ีพอ ได้ผู้ทมี่ คี วามรู้ความสามารถเพียงใดกต็ าม ก็ มไิ ดเ้ ป็นหลักประกันวา่ บุคคลนนั้ จะสามารถปฏิบัตหิ นา้ ทท่ี ี่ได้รบั มอบหมายได้ในทันที และตลอดไป โดย เฉพาะอยา่ งยิง่ เม่ือได้รบั การเลื่อนตำแหนง่ หรือโอนยา้ ยไปปฏบิ ตั หิ นา้ ท่อี น่ื ยอ่ มมีความจำเป็นตอ้ งไดร้ ับการ พฒั นาเปน็ อย่างดีเสยี ก่อน ๒ www.ex-mba.buu.ac.th/Research/Bkk/Mk-6-Bkk/.../05_ch2.pdf
๖๗ ๒. ในปจั จบุ ันไดม้ กี ารคิดคน้ และนำเอาวทิ ยาการบริหารสมยั ใหม่มาใช้ในการบริหารงานด้านต่าง ๆ อยา่ งแพร่หลาย จึงเป็นความจำเปน็ ท่บี คุ คลทุกคนจะต้องปรับปรุงตนเองให้มีความรู้ทนั สมัย โดยเฉพาะ อยา่ งย่ิงในองคก์ รท่ีตอ้ งแขง่ ขันกับผอู้ ่ืน ย่อมมีความจำเป็นท่จี ะต้องพฒั นาบคุ ลากรของตนใหม้ คี วามรู้ ความสามารถท่ีสูงขนึ้ อยเู่ สมอ ยิ่งในยคุ โลกาภวิ ัตน์นี้ ความเชื่อเก่ียวกบั การพัฒนาบุคลากรมแี นวโนม้ สงู ขึ้น เพราะเป็นช่วงหัวเลีย้ วหวั ตอ่ ของการก้าวกระโดดสคู่ วามเจริญทางด้านวิชาการและเทคโนโลยอี ยา่ งไร้ พรมแดน ซง่ึ องคก์ รต้องดำเนินการแขง่ ขันกับต่างประเทศดว้ ยการพัฒนา ต้องดำเนนิ งานเฉพาะท่เี ฉพาะ องค์กร ไม่มกี ารลอกเลยี นแบบกัน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่องค์กรน้นั ๆ มคี วามจำเป็นและต้องการพัฒนา เรอื่ งอะไร การพัฒนาบุคลากรมีความสำคัญและความจำเป็นมากสำหรับหนว่ ยงานหรอื สถานศึกษา เพราะ การพฒั นาบุคลากรทำใหค้ นเรามีความสัมพันธท์ ่ดี เี กิดความถูกต้องระหวา่ งบคุ คล ทำให้มวี ธิ ีการทำงานที่ดี จะทำให้การปฏิบตั งิ านของบุคลากรมคี ุณภาพ มีความเหมาะสมกับงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย หรืองานที่ รบั ผิดชอบ สามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มคี ุณภาพบรรลุตามจุดประสงค์ท่ีตงั้ ไว้ กล่าวโดยสรปุ วา่ แตล่ ะหนว่ ยงานตอ้ งมีการกำหนดความจำเปน็ ในการพฒั นาบคุ ลากร เพื่อจะได้ กำหนดทิศทางของการพัฒนาบคุ ลากรวา่ แตล่ ะหน่วยงานจะพฒั นาบุคลากรในลักษณะใด ท่ีจะทำให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดต่อหนว่ ยงานนัน้ ๆ และหน่วยงานจะได้วางแผนกำหนด ความจำเปน็ เพ่ือจดั กจิ กรรมในการ พฒั นาต่อไป ดังนน้ั การพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากรทุกคนในสถานศึกษาจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบรหิ าร งานของสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ผ้บู ริหารควรได้รบั การพฒั นาให้ สามารถนำภาวะผูน้ ำและบคุ ลกิ ภาพประชาธิปไตยมาเออ้ื ต่อการทำงานของครู ให้ครมู ีเสรภี าพในการคดิ มี โอกาสพฒั นาคุณภาพผลงาน รวมทง้ั การพฒั นาศักยภาพในการนำหลักสตู รไปใช้ การเพ่มิ พูนความรู้ ความสามารถในวชิ าทีส่ อน สามารถพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคล้อง กับความสนใจความ ตอ้ งการ และระดบั พัฒนาการของผเู้ รยี นดว้ ยเทคนคิ วิธที ่ีมีประสิทธิภาพยิ่งข้นึ ๖.๔ ความสำคญั ของการพัฒนาศกั ยภาพครู เป็นทยี่ อมรับกันโดยท่วั ไปแล้วว่า ครูเปน็ บุคคลท่ีมีความสำคัญท่สี ุดต่อการพฒั นาสังคมและชาติ บ้านเมือง ท้งั น้ีเพราะครูต้องรับหนา้ ท่ใี นการพัฒนาบุคคลในสงั คมให้มคี วามเจริญงอกงามอย่างเตม็ ที่ จน บุคคลเหล่าน้นั สามารถทจ่ี ะใชค้ วามรคู้ วามสามารถของตนเพอ่ื พฒั นาชาติบ้านเมืองต่อไป ดังนนั้ การพฒั นา ครใู หเ้ ป็นบคุ คลท่ีมีศักยภาพอย่างทส่ี ดุ จึงเป็นงานทีน่ ักวชิ าการศกึ ษา/ผู้นเิ ทศก์และ/หรอื ผู้บริหารการศึกษา จะตอ้ งกระทำอย่างจริงจงั และต่อเน่ือง กล่าวโดยสรปุ การพฒั นาครูก่อให้เกดิ ประโยชนห์ ลายประการ ดงั น้ี ๑. การพฒั นาครู ชว่ ยพัฒนาคุณภาพและวธิ กี ารทำงานของครู ทำให้ครมู สี มรรถภาพในการสอน มี ความรู้เพม่ิ ขน้ึ เขา้ ใจบทบาทหน้าท่แี ละปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขขอ้ บกพร่องใหด้ ี ขนึ้ ๒. การพัฒนาครู ช่วยทำให้เกิดการประหยัดเวลา และลดความสูญเปลา่ ทางวชิ าการ เพราะครูท่ี ได้รับการพฒั นาจนเปน็ ครูทีม่ ีคณุ ภาพนนั้ ย่อมไม่ทำสงิ่ ใดผิดพลาดงา่ ย ๆ สามารถใช้ส่ือการเรยี นการสอน
๖๘ อย่างมปี ระสิทธิภาพ ทำการสอนนักเรยี นไดผ้ ลเตม็ ทแี่ ละตรงตามจุดประสงค์ ส่วนนักเรียนกม็ ีความรู้ ความสามารถตามเกณฑ์ท่กี ำหนด ๓. การพัฒนาครู ชว่ ยทำให้ครไู ด้เรียนรงู้ านในหน้าท่ไี ดเ้ รว็ ขน้ึ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ครูที่พึ่งไดร้ ับการ บรรจุใหเ้ ขา้ ทำงานใหม่ ๆ และครูทย่ี ้ายไปทำการสอน ณ ท่ีทำงานแห่งใหม่ ๔. การพฒั นาครู ช่วยแบง่ เบาหรือลดภาระหน้าท่ีของผบู้ ังคับบัญชา หรอื หัวหนา้ งานในสายงาน ตา่ ง ๆ เพราะครูที่ได้รบั การพัฒนาอยา่ งดีและอย่างต่อเนือ่ ง จะมคี วามเข้าใจงาน การสอนและงานอน่ื ๆ ได้ เป็นอย่างดี ๕. การพฒั นาครู ชว่ ยกระต้นุ ใหค้ รูปฏบิ ตั ิงานเพ่อื ความก้าวหน้าในตำแหน่งหนา้ ที่การงานกลา่ วคือ ทำใหค้ รูทุกคนมโี อกาสกา้ วหนา้ ไปสู่ตำแหนง่ ทางการบรหิ ารทม่ี สี ถานภาพดขี ึ้น ๖. การพัฒนาครู ชว่ ยทำให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมยั อยู่เสมอ ทั้งในด้านความรู้และเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมท้งั หลักการปฏบิ ตั งิ านและเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ การพฒั นาครูเป็นหวั ใจสำคัญในการบรหิ ารการศกึ ษา เพราะงานทกุ ชนดิ ของสถานศึกษาจะตอ้ ง ดำเนนิ การเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และได้รับผลสำเร็จตามเปา้ หมายหรอื ไม่เพยี งใดขึน้ อยู่กบั ความสามารถและความรว่ มมือของครู ถา้ ครูขาดความร้คู วามสามารถขาดขวญั กำลงั ใจในการปฏบิ ัติงาน ไม่ จงรกั ภกั ดีต่อหน่วยงานของตนเอง และขาดความรับผดิ ชอบทะเลาะเบาะแว้งกัน แตกแยกความสามคั คี ตา่ งคนต่างอยู่และทำงานไปวัน ๆ โดยไมใ่ หค้ วามรว่ มมือ กิจกรรมตา่ ง ๆ ทีส่ ถานศกึ ษาไดว้ างไวก้ ็จะประสบ ความลม้ เหลว เพราะมีคนก็เหมอื นไม่มี ในเมื่อคนเหล่านนั้ ไม่รว่ มมือกนั และหย่อนสมรรถภาพ การพัฒนาครจู ึงมีความสำคัญและจำเปน็ อย่างยง่ิ ในการบริหารการศึกษา แมว้ ่าครูทุกคนของสถานศึกษาจะ มคี วามสามารถเพยี งใดก็ตาม ถ้าเวลาผ่านไปนาน ๆ บรรดาความรู้ความชำนาญก็ยอ่ มอ่อนลงไปเป็นของ ธรรมดา หรือบางทีการทำงานจำเจอยูเ่ สมอ ๆ งานทีท่ ำอาจจะกลายเป็นความเบอ่ื หนา่ ยไดเ้ หมือนกนั ดงั นน้ั การทผ่ี บู้ ริหารให้คำปรกึ ษา แนะนำ ช่วยแกป้ ัญหาและส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ครไู ดร้ บั การพัฒนาในรูปแบบ ต่าง ๆ จงึ เป็นส่ิงจำเป็นอย่างย่ิงเพ่อื ให้ครทู ำงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพรวมท้งั มขี วัญและกำลงั ใจ ๖.๕ ประโยชน์ของการพัฒนาศักยภาพครู ความต้องการในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา จงึ จำเป็นอยา่ งย่งิ ท่ีจะต้องพัฒนาอาชีพ และ บคุ ลากรที่เกีย่ วขอ้ งให้ได้ตามมาตรฐานทว่ี างไว้ โดยเน้นการพัฒนาครูใหเ้ ป็นครูขั้นฝมี ืออาชีพ การเร่งรัด พฒั นาครู จงึ เป็นยุทธศาสตร์ทส่ี ำคัญ ประโยชนข์ องการพัฒนาศกั ยภาพครู คือ ๑. สามารถจัดการเรียนรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒. เป็นท่ยี อมรบั เชื่อถือซงึ่ กันและกันกับบุคคลทว่ั ไป ๓. มีความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพของตนเอง และชีวติ สว่ นตัว ๔. มีบคุ ลิกภาพทด่ี ี มีความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลสูง ๕. มคี วามสมคั รสมานสามัคคีกนั ร่วมมือในการทำงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ บรรยากาศในการ ทำงานเป็นไปอยา่ งฉนั ทม์ ิตร ๖. ไดม้ โี อกาสแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ระหว่างเพ่ือนรว่ มงานและบุคลากรในสถานศึกษาอื่น ๆ
๖๙ ๗. เป็นผู้ทรี่ ักความก้าวหน้าติดตามข่าวสารตา่ ง ๆ อย่เู สมอ จนเป็นคนท่ที นั สมยั และทันเหตกุ ารณ์ อยู่เสมอ ๘. มีขวัญและกำลงั ใจดีอยเู่ สมอ ๙. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ดีอยเู่ สมอ๓ ๖.๖ การจดั ลกั ษณะทางกายภาพโรงเรียนวิถีพทุ ธ หลกั การ จากความสำคัญของสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้ ตามทปี่ รากฏในพระพุทธศาสนาและแนวทาง ในการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษาที่กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด สามารถสรุปเปน็ หลักการ ในการจดั สภาพแวดล้อมทางกายของโรงเรียนวิถพี ุทธได้ ดังน้ี ๑. บรรยากาศสงบเงียบ เรียบง่าย ๒. ใกลช้ ดิ กับธรรมชาติ ร่มรนื่ ๓. ใกล้ชดิ กับชมุ ชน ๔. สะอาด มรี ะเบยี บ ๕. ทันสมัย มีการปรบั ปรุงพัฒนาอยเู่ สมอ ๖. เป็นแหล่งเรียนรู้ ทง้ั ดา้ นวชิ าการ วิชาชพี และคุณธรรม หลกั คิด โรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาเปน็ ปจั จัยภายนอกที่สำคญั ตอ่ การเรยี นรู้ พระพุทธเจา้ ทรงให้ความสำคญั กับสถานท่ีทเ่ี กยี่ วข้องกับการเรียนร้มู าก เหตุการณ์ในพระพุทธศาสนาหลายตอน เนน้ ถึงความสำคัญของ สถานที่และบรรยากาศ เชน่ ๑. ทรงเจริญอานาปนสติกรรมฐานเมือ่ มีพระชนมายุ ๗ พรรษา ณ ใต้ต้นหวา้ ในบรรยากาศท่ีเงียบ สงบ ๒. ทรงเลือกสถานที่ทใ่ี กลช้ ิดธรรมชาตแิ ละชมุ ชนสำหรับบำเพญ็ เพียร ๓. เมอ่ื ตรัสรู้แล้วทรงเปล่ียนสถานที่จากท่ตี รัสรไู้ ปประทบั ใตต้ น้ ไทรและต้นอน่ื ๆ ๔. ทรงกำหนดเรอ่ื งความสะอาด ความมรี ะเบยี บไว้ในพระวินยั ปิฎกวา่ ด้วย เสนาสนวตั รและ เสนาสนะขนั ธกะ ๕. ทรงกำหนดความเหมาะสม สะดวกสบายของสภาพแวดล้อม ๗ ประการ คือ สปั ปายะ ๗ แนวทางการปฏิรูปการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.๒๕๓๙–๒๕๕๐ : โรงเรียนในอดุ มคติ ได้ กำหนดให้มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมทเ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ เพือ่ ใหน้ กั เรยี นได้เรียนอย่างมีความสขุ คอื มุ่งเนน้ ๓ www.oo-cha.com/courses/TC๑/๗.pdf
๗๐ การเรียนรู้ตามธรรมชาติ ปลูกฝงั เร่ืองความสะอาด ความมวี นิ ัย รวมท้งั การจดั โรงเรียนให้มคี วามรม่ รืน่ มี ตน้ ไม้ มแี หลง่ น้ำ บอ่ นำ้ ไร้ฝนุ่ ไรม้ ลภาวะ ปลอดภยั และไม่มมี ุมอับ หลักทำ โรงเรยี นวิถีพทุ ธ มีลกั ษณะทางกายภาพท่ีเป็นธรรมชาติ ร่มรนื่ สวยงาม สะอาด เปน็ ระเบียบ ปลอดภยั ให้ความรู้สกึ ท่ผี ่อนคลาย สบายกาย สบายใจ มีศูนย์รวมศรัทธาของครู นักเรียน และบคุ คลในชมุ ชน คอื มีพระพทุ ธรูปที่เด่นชวนใหร้ ะลกึ ถงึ พระรัตนตรัย มสี วนพุทธธรรมประกอบดว้ ยต้นไมส้ ำคัญใน พระพุทธศาสนามปี า้ ยนิเทศ ป้ายคณุ ธรรม มีอาคารสถานท่ที ่สี ะอาดเปน็ ระเบียบและเพียงพอต่อการใชส้ อย มี แปลงเกษตร โรงฝึกงานทีเ่ หมาะสมต่อการฝกึ ฝนคณุ ธรรมเพอื่ ประกอบสมั มาอาชีวะ มีหอ้ งจริยธรรม หอ้ งสมดุ พระพทุ ธศาสนา ทุกห้องเรยี นมีพระพุทธรปู เพอื่ ให้นกั เรยี นได้เหน็ และระลึกถึงพระรัตนตรัยอยู่เสมอ บรรยากาศในห้องเรยี นมีความสงบ สะอาด ครูและนักเรยี น มคี วามสำรวมตนอยู่เสมอ สื่อและอุปกรณ์ การเรียนการสอนทันสมัยและครบครัน ทั้งส่ือที่เกิดจากภูมิปัญญาของครู นักเรียนและชุมชนตลอดจนส่ือ เทคโนโลยตี ่าง ๆ เพ่ือให้เกิดการเรียนรูอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ปลกู ฝังคุณลักษณะใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น และความรูท้ เ่ี ท่าทันต่อ การเปลีย่ นแปลงของโลก โรงเรยี นตอ้ งมีความใกล้ชดิ ธรรมชาติ ชมุ ชนและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ความสะอาด มรี ะเบยี บเรียบร้อยของโรงเรียนวถิ ีพุทธ จะต้องเกิดจากความร่วมมือ รว่ มใจของนักเรยี น ทกุ คน โดยครูสรา้ งบรรยากาศของความรักความสามัคคี และความรบั ผิดชอบ
๗๑ ปัญญา ปรีชาญาณ ความรู้ เข้าใจ เหตุผล การเข้าถงึ ความจริงรวม ทง้ั ความเชอ่ื ทัศนคติ คา่ นิยมและ แนวความคดิ ต่าง ๆ เพื่อใช้ปัญญาเป็น ตวั แก้ปญั หา เปน็ ตวั ปรบั จัดทุกอย่างทงั้ พฤติกรรมและจิตใจให้ลงตวั พอดีและเป็น ตัวนำสจู่ ดุ หมายแห่งสันติสุขและความมีอสิ ระภาพ จติ ใจ ไดแ้ ก่ คณุ ธรรม ความรู้สกึ แรงจงู ใจและสภาพ จติ ใจ โดยมีเจตจำนงเปน็ ตวั ช้นี ำพฤติกรรม มผี ลตอ่ ความมนั่ คงในความดีงาม ความสดชืน่ เบกิ บานและความสุข พฤติกรรม มงุ่ สรา้ งพฤติกรรมความเคยชินท่ดี ี สมั พนั ธ์อยา่ งเกื้อกูล กับสงั คม สิง่ แวดล้อมธรรมชาติ และสงิ่ สร้างสรรคท์ ั้งหลาย จะ สง่ ผลใหเ้ กดิ สภาพจติ ใจท่ีดีงาม มคี วามสขุ พรอ้ มเอ้ือต่อการแยกแยะ และรับข้อมลู ความรู้การคดิ การสร้างสรรค์ ทำให้ปัญญางอกงาม แผนภาพ สรุปแนวคิดจากหนงั สอื การพฒั นาทย่ี ั่งยนื โดย พระธรรมปิฎก ( ป. อ. ปยตุ โต )
๗๒ สรปุ ท้ายบท ในการบริหารงานไม่ว่าภาครัฐ หรือเอกชน ผบู้ รหิ ารทกุ คนลว้ นมคี วามตอ้ งการให้บุคลากรของตน ได้รับการพัฒนา และต้องการใหบ้ คุ ลากรของตนมีการพัฒนาตนเองอยูต่ ลอดเวลา ซ่ึงบุคคลท่มี ีการพฒั นา ตนเองอยตู่ ลอดเวลาน้นั จะมคี วามพร้อมตอ่ การแขง่ ขัน และจะเปน็ บุคคลท่ีพรอ้ มรบั มือกับการเปลยี่ นแปลง อยูต่ ลอดเวลา หน่วยงานหรอื องค์กรใดกต็ ามท่ีบุคลากรมีการพัฒนาตนเอง ย่อมก่อให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพใน การทำงานและนำมาซ่ึงความเจริญก้าวหนา้ ขององค์กร นอกเหนือจากการพัฒนาบุคลากรเพื่อองค์กรแลว้ การพัฒนาตนเองของบคุ ลากรยังส่งผลตอ่ ความสำเร็จหรอื เพือ่ ความกา้ วหนา้ ในอาชพี อกี ด้วย การพฒั นาตนเองน้นั ถือเปน็ การแขง่ ขนั กบั ตัวเองเพ่ือ เปน็ บนั ไดไปสู่ความกา้ วหน้าในอนาคต และเป็นการเตรยี มความพร้อมในการท่จี ะต้องแขง่ ขันกบั คนอน่ื ใน โลกของการทำงานที่มีการแข่งขันสูง เวทีการทำงานจะเปดิ โอกาสใหก้ ับคนที่มีประสทิ ธภิ าพในการทำงาน เสมอ และเช่นเดยี วกัน “คนที่มีประสทิ ธภิ าพในการทำงานสงู จากการพัฒนาตวั เองอย่างตอ่ เน่ืองในเร่ืองต่าง ๆ มักจะพร้อมอยู่เสมอสำหรับการแข่งขันไม่ว่าในเวทหี รือสถานการณ์ใดก็ตาม”๔ ๔ การพฒั นาประสทิ ธภิ าพในการทำงานของบุคคล https://sites.google.com/site/potarticle/02
ห น้ า | ๗๓ บทที่ ๗ คุณสมบัตขิ องผู้สอนตามหลักพระพทุ ธศาสนา วัตถุประสงค์ประจำบท เมอื่ ศึกษาเนอ้ื หาในบท ๗ แลว้ นสิ ติ สามารถ ๑.อธิบายความหมายและคุณลกั ษณะ / คุณสมบัติของครูได้ ๒.อธบิ ายความครูในฐานะเปน็ ผู้นำทางจติ วญิ ญาณได้ ๓.อธบิ ายความครใู นฐานะเป็นผู้นำทางวิชาการได้ ๔.อธบิ ายความครูในฐานะเป็นวศิ วกรของสังคมและของโลกได้ เนือ้ หาประจำบท ๑.ความหมายและคณุ ลักษณะ / คุณสมบัตขิ องครู ๒.ครูในฐานะเป็นผู้นำทางจติ วิญญาณ ๓.ครใู นฐานะเปน็ ผู้นำทางวชิ าการ ๔.ครูในฐานะเป็นวศิ วกรของสงั คมและของโลก
๗๔ ๗.๑ ความนำ เนือ่ งจากการปฏิรปู การศกึ ษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มีวตั ถปุ ระสงคห์ รือความมุง่ หมายที่สำคญั คือ การปรับปรุงการศกึ ษา ซงึ่ จะเห็นได้ วา่ สาระสำคญั เป็นการมุ่งเนน้ ใหก้ ารจดั การศกึ ษา ตอ้ งเป็นไปเพื่อพฒั นาคนไทยให้เป็นมนุษยส์ มบูรณ์ทง้ั ร่างกายและจิตใจ สตปิ ัญญา ความร้แู ละคณุ ธรรม มีจรยิ ธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถ อยู่รว่ มกบั บุคคลอ่ืนได้อยา่ งมีความสุข ( ม.๖) เป้าหมายปลายทางของการปฏริ ูปการศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ ฉบบั ดังกลา่ ว น้ี มงุ่ เน้นรูปลกั ษณข์ องคนไทยยคุ ใหม่วา่ ต้องเป็นคนท่มี ีความสมดลุ พอดี ระหว่างการเป็น คนเก่ง คนดี และมคี วามสขุ จะตอ้ งคิดเปน็ ทำเปน็ มคี ุณธรรม ศลี ธรรม อดทน ควบคมุ อารมณแ์ ละสามารถอยู่ ร่วมกบั คนอ่ืนได้ โดยมคี ำนิยาม ดงั น้ี ๑. คนดี หมายถงึ คนที่มีความรับผดิ ชอบ เหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวม ปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรม ของแตล่ ะศาสนาและรู้จักประมาณตน การมวี ินัยในเร่อื งเกย่ี วกบั ความรู้ความสนใจใฝ่รู้มสี ตใิ นการควบคุม ตนเอง รบั ผิดชอบ มเี หตุผล ซอื่ สัตยแ์ ละขยนั คา่ นยิ มประชาธิปไตย ได้แก่ การเห็นคุณค่าแหง่ ตนเอง และผู้อืน่ ทำหน้าทต่ี นเองอยา่ งสมบรู ณ์ ยอมรบั ความคิดเห็นของผู้อนื่ เคารพกติกาของสังคม ทำงาน ร่วมกบั ผู้อื่นเปน็ มเี หตุผลและเสียสละ ๒. คนเกง่ หมายถงึ เป็นผมู้ สี ติปญั ญา มจี ติ นาการ สามารถคดิ รเิ ริ่ม คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหา เป็น สามารถพึง่ ตนเองได้ มีความสามารถในการประกอบอาชีพ มีความสามารถในการฟันฝ่าอปุ สรรค ประสบความสำเรจ็ ไดด้ ้วยตนเอง เปน็ บุคลากรท่มี ่คี วามสามารถในการแขง่ ขันในสงั คมโลกและที่สำคัญ คือ เป็นผใู้ ฝร่ แู้ ละสามารถแสวงหาความรู้เพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต มคี วามรู้เรือ่ งภาษาและวฒั นธรรมนานาชาติ ๓.คนมีความสุข หมายถึง ผทู้ ่ีมสี ขุ ภาพกายดี สขุ ภาพจติ ดี และสามารถรกั ชุมชน มีความสามารถ ในการดำรงชวี ติ อยา่ งมคี วามสุข และสามารถปลอ่ ยวาง การศกึ ษาเลา่ เรยี นจะต้องนำมาซ่งึ ความสุข ซึง่ หมายถงึ คณุ สมบตั ิท่ีจะตอ้ งปลูกฝังหรือสรา้ งให้มี ได้แก่ ความรักและการแบ่งปัน ความเข้าใจความสัมพนั ธ์ ระหว่าง ความจริงความงามและความเป็นธรรม ประพฤติชอบ มคี วามสงบสุข สนั ติ และไม่เบียดเบยี น บริโภคสิ่งต่าง ๆ ดว้ ยปญั ญา ไม่ตดิ อยภู่ ายใตอ้ ิทธิพลของกระแส ความสขุ ในขณะเรียน ต้องมีสว่ นสัมพันธ์กนั หมายความว่า กระบวนการเรียนการสอนและเรียนรู้ จะตอ้ งเป็นกระบวนการท่ีทำใหผ้ เู้ รยี นศึกษาและเรียนรู้อย่างมคี วามสขุ ไมก่ ดดัน และเป็นกระบวนการท่ใี ห้ สาระหรอื หลักการทจี่ ักนำไปใช้และปฏิบตั ิเพ่ือให้ชวี ิตเป็นสุข ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน ( เชาวลิต ตนา นนทช์ ัย : วารสารวชิ าการ, ๒๕๔๔ ) ดังนัน้ ครู – อาจารย์ ท่ีพึงประสงค์ หรือรูปลักษณ์ของครู – อาจารยย์ คุ ใหม่ ยุคปฏิรูป หรอื ครู – อาจารย์ ในอดุ มคติ ต้องมีคุณลกั ษณะทจ่ี ะสามารถสร้างคนไทยยุคใหม่ได้ ตอ้ งมีจติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู เปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวก ( Facilitator ) และ ( Coach ) ให้แก่เด็กทั้งในดา้ นวชิ าการและ แนวทางชีวติ เป็นคนใจดมี ีเหตผุ ล เป็นตวั อยา่ งทด่ี ีแกเ่ ดก็ ใฝ่ศึกษาหาความรู้ ช่างคดิ และสามารถตั้ง คำถามท่แี หลมคม เพื่อกระตุ้นใหเ้ ดก็ ร้จู ักคดิ วิเคราะห์ และคน้ ควา้ หาความรู้ สำหรบั ข้นั อุดมศกึ ษา ครู – อาจารย์ต้องมีคุณลักษณะเพิ่มเตมิ คือ ต้องสร้างงานวิจยั ทงั้ ทเ่ี ปน็ การสร้างองค์ความรู้และทีส่ ามารถนำไป ประยกุ ต์ใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ รวมทั้งให้บรกิ ารวิชาการแก่สงั คม และชีน้ ำสงั คมได้ ( กองบรรณาธกิ าร : วทิ ยาจารย์ ,๒๕๔๔ )
๗๕ ๗.๒ ความหมาย ครู โดยทั่วไป แปลว่า ผ้มู คี วามหนกั แนน่ หรือผูม้ ภี าระหนักแนน่ และครู หมายถึง ผใู้ ห้ หมายถงึ การใหซ้ ง่ึ วิชาความรูโ้ ดยมิได้หวังผลตอบแทนใด ๆ ( ประพันธ์ จมู คำมลู : วารสารวชิ าการ, ๒๕๔๓ ) ครู ในความหมาย ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔ วรรค๑๐ ความ ว่า “ ครู คือบุคลากรวิชาชีพหน่ึงซ่งึ ทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรูข้ อง ผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ใน สถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน ” (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ ๑๑๙ ตอนท่ี ๑๒๓ วันที่ ๑๙ ธนั วาคม ๒๕๔๕ ) กล่าวโดยสรุป ครู คือ ผู้ที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือกระบวนการเรียนรู้และจะต้องมี ความเป็นครูอาชพี ๗.๒.๑ อาชีพครู / ครูอาชพี อาชพี ครู เป็นอาชีพหนึ่ง ที่มเี กียรตเิ ป็นอาชีพท่ีหมู่คนให้ความเคารพนบั ถือ ครู เป็นปูชนีย บคุ คลท่ีสมควรแก่การยกย่องย่งิ กวา่ อาชีพใด ๆ ในโลก ผเู้ ป็นครยู ่อมเปน็ ผู้มคี วามสารถในการถ่ายทอดวชิ า ความรใู้ หก้ ับศิษย์ไดต้ ามหลักวิชาที่ได้รำ่ เรียนมา แต่จะประสบผลสำเรจ็ ในดา้ นการสอนเพียงใดนน้ั ก็ข้นึ อยู่ กับครผู นู้ ัน้ จะเปน็ ครูมอื อาชีพ หรอื ไม่เท่าน้ัน ๗.๒.๒ ครมู อื อาชีพ การจะเป็นครูมืออาชีพได้นน้ั ตอ้ งเข้าใจหัวใจสำคญั ของการปฏิรูปการศกึ ษา คือ ปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื สร้างใหเ้ ยาวชนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง และมคี วามสุขในวนั ข้างหน้า ครมู ือ อาชีพจริง ๆ ต้องจดั กจิ กรรมใหผ้ ้เู รยี นได้เรยี นร้จู ากประสบการณ์จรงิ ฝึกปฏบิ ตั ิ ใหท้ ำได้ คิดเปน็ ทำเป็น รักการอา่ นและเกิดการใฝ่ร้อู ยา่ งต่อเน่ือง ท่ีสำคัญ ครูมืออาชีพควรฝกึ ฝนตนเองให้มที กั ษะการวเิ คราะห์ ดา้ นการสงั เกต พจิ ารณามองอะไรหลายมุม ฟังข่าวสารหลายดา้ น คดิ อะไรหลายทาง มีความคดิ สรา้ งสรรค์ เพือ่ พัฒนาอาชีพของตนเอง และได้ช่ือวา่ เป็นครูผ้มู ีจิตวิญญาณ แหง่ ความเปน็ ครมู ืออาชีพ อย่างแทจ้ รงิ (ประพนั ธ์ จมู คำมลู : วารสารวิชาการ ,๒๕๔๓) พลเอกเปรม ติณสลู านนท์ ประธานองคมนตรีและรฐั บรุ ุษ กล่าวถงึ ครอู าชีพวา่ ........... “ ครู คือ ครูที่เป็นครดู ว้ ยใจรัก เปน็ ครูดว้ ยจิตวญิ ญาณ มคี วามเปน็ ครู ทุกลมหายใจ ตัง้ แต่เกดิ จนตาย เปน็ ครูท่รี ักและหวงแหน ห่วงใย อาทรต่อนักเรียนต่อศิษย์ ดจุ ลกู ในไส้ของตนเอง จะทำ ทุกวถิ ีทางทีจ่ ะใหศ้ ษิ ย์เป็นคนดี ไม่ยนิ ยอมให้ศษิ ยเ์ ปน็ คนไมด่ ี เปน็ อันขาด จะตดิ ตามสอดส่องศษิ ยท์ ุกเมื่อ เชอ่ื วนั โดยไมล่ ะท้ิง และมคี วามสุขมากในการท่ไี ด้เกดิ มาเป็นครู รักเกียรติ เทิดทูนสถาบันครูอยา่ งภาคภมู ิ (ชุมพล ศรที องสขุ : วารสารวชิ าการ , ๒๕๔๔ ) ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ (อดีต)ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้กลา่ วสรปุ ถึงครอู าชีพว่า …. “ ครอู าชพี คือ ครทู ี่มคี วามพร้อมในทุก ๆ ด้านท่จี ะเปน็ ครู มคี วามประพฤตดิ ี วางตัวดี เอาใจใส่ต่อลกู ศิษยด์ ี มวี ิญญาณของความเปน็ ครู และปฏบิ ตั หิ น้าท่คี รดู ว้ ยจติ วิญญาณของความเป็นครู” (ชมุ พล ศรีทองสุข : วารสารวชิ าการ , ๒๕๔๔ ) ด้วยเจตนารมณ์แหง่ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๔๐และพระราชบัญญัติการศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพมิ่ เติม ( ฉบบั ท่ี ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ และความจำเป็นของสงั คมทต่ี ้องการครู
๗๖ อาชพี อย่างแทจ้ ริง ทำให้ทกุ คนไดใ้ หค้ วามสำคญั กับ ครอู าชพี และถือว่าครเู ป็นผู้มบี ทบาทต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาผ้เู รียนให้มีคุณภาพเป็นพืน้ ฐานของการพัฒนาประเทศ ดว้ ยเหตผุ ลดงั กล่าว จึงมบี ทบญั ญัตวิ า่ ครู บคุ ลากรวิชาชพี หลักด้านการเรียนการสอนและการ สง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้ต้องผา่ นระบบการควบคุม เพอ่ื ใหเ้ ป็นครูอาชีพ เชน่ การให้มมี าตรฐานวชิ าชีพ และจรรยาบรรณของวชิ าชพี รวมทงั้ การพัฒนาวิชาชพี ครู (ม.๕๓) เพ่อื ให้เปน็ ครูอาชพี อยา่ งแทจ้ ริง โดยส่งเสริมใหม้ ีระบบ กระบวนการผลติ การพฒั นาครู ใหม้ ี คุณภาพและมาตรฐานทเี่ หมาะสมกบั การเปน็ วชิ าชพี ช้นั สูง (ม.๕๒ )มีองค์กรกลางบรหิ ารงานบุคคลของ ขา้ ราชการครู (ม.๕๔)ท่สี ำคัญ คือใหม้ กี ฎหมายวา่ ดว้ ย เงินเดอื น ค่าตอบแทน สวสั ดิการ และสิทธิ ประโยชนเ์ กื้อกูล เพ่ือให้มีรายได้เพียงพอและเหมาะสมกบั ฐานะทางสงั คมและวชิ าชีพ นอกจากนี้ยงั กำหนดให้มีกองทุนสง่ เสรมิ ครู เพือ่ จัดสรรเป็นเงนิ อุดหนุนงานรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ (ม.๕๕) เพือ่ ส่งเสริมใหค้ รู สร้างผลงานทางวิชาการอันเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พระราชบัญญตั ิการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงราชกจิ จานเุ บกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่ม ท่ี ๑๑๙ ตอนท่ี ๑๒๓วนั ที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕ ) ๗.๓ แนวคิดสำคัญ ๑. คุณลักษณะของครูทพ่ี งึ ประสงค์ หรอื รูปลักษณ์ของครูยุคใหม่ ยุคปฏิรูป หรือ ครู ในอดุ มคติ ตอ้ งมีคณุ ลกั ษณะทจี่ ะสามารถสร้างคนไทยยคุ ใหม่ได้ ตอ้ งมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เป็นผู้อำนวย ความสะดวก ( Facilitator ) และ ( Coach ) ใหแ้ ก่เด็กท้งั ในด้านวชิ าการและแนวทางชวี ิต เป็นคนใจดีมี เหตผุ ล เปน็ ตัวอย่างทีด่ ีแก่เด็ก ใฝศ่ กึ ษาหาความรู้ ชา่ งคิดและสามารถตงั้ คำถามทีแ่ หลมคม เพ่ือกระตนุ้ ให้ เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ และคน้ คว้าหาความรู้ ๒. สำหรับ ครู – อาจารย์ ข้ันอุดมศึกษา ต้องมีคุณลักษณะเพิ่มเติม คือ ต้องสร้างงานวิจัยทั้งท่ี เป็นการสร้างองค์ความรู้และท่ีสามารถนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้จริง รวมทั้งให้บริการทางวิชาการแก่ สงั คม และชน้ี ำสังคมได้ ๓. ทัศนคติของบุคคลตา่ ง ๆ หลากหลายสาขาวชิ าชีพ ทีม่ ีต่อวิชาชีพครู ย่อมมีผลทำให้ครูตระหนัก ถึงความสำคญั บทบาท หนา้ ทภี่ าระงาน คณุ ลักษณะ และสามารถปรบั ทัศนคติต่อวิชาชีพได้ ๗.๓.๑ คณุ ลักษณะ / คุณสมบตั ขิ องครู ๑. คณุ ลักษณะ / คุณสมบตั ิทด่ี ขี องครู คุณลักษณะ คือ เคร่ืองหมายหรือสิ่งที่ชี้ให้เห็นความดีหรือลักษณะประจำ ดังน้ัน คุณลักษณะของครู จึงหมายถึง เครื่องหมายหรือส่ิงที่ชี้ให้เห็นความดีหรือลักษณะประจำของบุคคล ท่ีเป็นครูหรือผู้ที่จะมาประกอบวิชาชีพครู สิ่งที่ครู ต้องตระหนักอยู่เสมอ คือการกระทำหน้าท่ี ของตนให้ เสร็จสมบูรณ์เท่าที่ตนจะกระทำได้ ผู้ที่เป็นครูคนใดมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีของตนอย่างสูง ย่อมได้ช่ือ วา่ เป็นผู้ทมี่ ีคุณลกั ษณะของครูดี หรือคุณลกั ษณะของครูไทยที่พึงประสงค์ ซ่ึงมีสิ่งท่ีควรศึกษาหลายมุมมอง ดังตอ่ ไปนี้
๗๗ ๒. ครใู นฐานะเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ครใู นฐานะเปน็ ผูน้ ำทางจิตวิญญาณนั้น ทา่ นพุทธทาสภกิ ขุ ได้ให้ทัศนะไวด้ งั นี้ ครู คือ ผู้นำทางวิญญาณ ครู คือ ผู้เปิดประตใู หศ้ ิษยไ์ ปสู่ความสำเรจ็ จงึ นับว่าครูเปน็ ผ้มู ีบาทบาทอย่างยิ่ง ในการเปน็ ผู้นำทางวญิ ญาณ เพราะครูจะต้องเปน็ ผู้นำหรอื ตอ้ งเป็นผ้ทู ่ีต้องฝึกมารยาททัง้ ทางกายและทาง วาจา ซง่ึ การฝกึ ดังกล่าว หากครู สามารถทำไดก้ ็ถือวา่ ครเู ป็นครูทด่ี ี เพราะหากทำไดจ้ ะทำใหค้ รูน่าเคารพ และจากบทบาทของครูทตี่ ้องทำตัวอยา่ งทดี่ ใี ห้กบั ศิษยเ์ ห็น ฉะน้นั อาจกลา่ วไดว้ า่ ถ้าครูสามารถฝึกมารยาท ทั้งทางกายและใจได้แลว้ ก็ถือว่าครูเป็นผ้นู ำทางวญิ ญาณได้ ครู คือ ผ้เู ปิดประตู บทบาทของครูในข้อนค้ี ือ ครจู ะต้องเปน็ ผ้เู ปดิ ประตูให้กบั ศิษย์ใหเ้ หน็ แสงสวา่ ง ต้องเป็นผู้คอยเปิดประตู ให้ศิษยเ์ ดนิ ไปในทิศทางทถ่ี ูกต้อง การการถูกขังอยู่ในห้องมดื กเ็ ปรยี บเสมือน มนุษย์อยู่ในหว้ งของความทุกข์ ครจู งึ ต้องเปน็ ผู้คอยชี้แนะนำทางแก้ไขปัญหาให้กับศษิ ย์ใหพ้ ้นจากความมดื หรือความทุกข์เหล่านั้น จะต้องเปิดประตใู ห้กับศษิ ย์จากไม่รู้ตอ้ งทำใหเ้ ดก็ ค่อย ๆ รู้ จนสามรถยนื อยู่และ แก้ไขปญั หา สามารถอยใู่ นสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ครูทด่ี ีจะตอ้ งไม่หลงใหลไดป้ ล้มื กบั วตั ถุนยิ ม ไม่ชักนำพา ตวั เองไปในทางเส่ือมหรือถดถอย ซง่ึ วตั ถนุ ยิ มตา่ ง ๆ มากนัก ครจู ะต้องเป็นผนู้ ำในทางท่ีไม่เส่ือม ร้แู ละปรบั ใช้วัตถหุ รือเทคโนโลยใี ห้เหมาะสม สติครตู ้องไม่หลงใหลหรอื ทำตวั ปลอ่ ยตัวไปกบั วัตถนุ ิยม จนทำให้ วญิ ญาณของความเปน็ ครู ตำ่ ทรามลง บทบาทในข้อนจ้ี งึ ถือได้ว่าเป็นบทบาทสำคญั เพราะครูต้องเป็นผ้นู ำ ทางวิญญาณไมห่ ลงใหลในสิง่ ท่ีเป็นวตั ถุมากเกินไป ครจู ะต้องทำหนา้ ทมี่ ากกว่าที่จะสอนอยา่ งเดียวครจู ะต้องมีทศั นคติทีก่ วา้ งไกลมีความคดิ สรา้ งสรรค์ ไมใ่ ชข่ ายแรงงานโดยการสอนเพื่อแลกกบั เงินเดือน หรือใช้ชวี ติ ไปวันหนง่ึ ๆ ครูจะต้องเป็นผทู้ ร่ี ู้และเข้าใจ บทบาทของความเป็นครู และเป็นครูทสี่ มบรู ณ์ ดังนั้น ผู้ท่ีเป็นครูจะต้องมีคุณลักษณะที่ดี ตามแบบอย่างที่ได้กล่าวมาแล้วเบื้องต้นและหากผู้ใดที่ เป็นครูสามารถปฏิบัติได้ตามท่ีกล่าวมาแล้วน้ันได้ บุคคลน้ันถือว่าเป็นผู้ท่ีมีจิตวิญญาณของความเป็นครูสูง เพราะหากทำไดจ้ ริง จะเป็นบุคคลทส่ี ามารถเปดิ ประตูสู่ความสำเรจ็ และเป็นผนู้ ำทางวิญญาณ ที่จะสามารถ พฒั นาคนให้สู่ความสำเร็จได้ จึงนับได้ว่า ผู้ท่ีจะเป็นครู และสามารถปฏิบัติตามอุดมการณ์และอุดมคตไิ ด้จึง เป็นผูท้ ่ีเป็นผทู้ ่ปี ระเสริฐควรแก่การยกย่อง เคารพบูชา ( สมทรง ปุญญฤทธิ์ : ธรรมปรทิ ัศน์ , ๒๕๓๗ ) วญิ ญาณครู (Teacher’s Spirit ) หมายถงึ ลกั ษณะทีเ่ ปน็ แกน่ แท้ในสภาวะของความเป็นครูอนั เปน็ สำนกึ ดีงาม ในตวั ครทู ่ีพึงมแี ละแสดงออก ซ่งึ ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดดงั น้ี ๑. อดทนและอดกล้ันต่อพฤติกรรมตา่ ง ๆ ของศิษย์ ๒. อบรมศษิ ย์ให้เปน็ พลเมืองดขี องสังคม ๓. หาทางขจัดปัญหาของศิษยใ์ หห้ มดไป ๔. รกั และหวังดตี ่อศิษย์ประดุจบุตรธิดาของตน ๕. เป็นมติ รกบั ศิษย์ ๖. ให้กำลังใจแกศ่ ิษยท์ ง้ั ดา้ นการเรียนและความประพฤติ ๗. ให้เกยี รตแิ กศ่ ิษยโ์ ดยไมเ่ ลือกเชื้อชาติ ศาสนา ฐานะทางครอบครวั เพศและวัย ๘. สนใจและรว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรของศิษยส์ มำ่ เสมอ ๙. กระตอื รอื รน้ ในการอบรมส่ังสอนและทำงานในหน้าท่ี ๑๐. รับฟงั ความคดิ เหน็ ของศิษยแ์ ละนำมาพจิ ารณาไตรต่ รอง ๑๑. พยายามหาทางแก้ปมด้อยของศษิ ย์ ๑๒. เปิดโอกาสใหศ้ ษิ ย์ไดป้ รกึ ษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
๗๘ ๑๓. แสดงความชน่ื ชมยินดตี อ่ ความก้าวหนา้ ของศิษย์ ๑๔. สนใจและตดิ ตามดูความเปน็ อยขู่ องศิษยเ์ สมอ ๑๕. เอาใจใสด่ ้านความประพฤติแนะแนวการเรียนแกศ่ ิษย์ ๑๖. เอาใจใส่ต่อการเรียนของศษิ ยอ์ ยเู่ สมอ ๑๗. เอาใจใสต่ ่อความเจ็บป่วยของศิษย์ ๑๘. ไมย่ อ่ ท้อตอ่ ความลำบากและความเหน่ือยยากในการทำงาน ๑๙. ชว่ ยเหลอื ศิษย์ทข่ี าดแคลน ๒๐. ยินดีสอนพิเศษโดยไม่คิดค่าตอบแทน ๒๑. เปดิ โอกาสใหศ้ ษิ ย์ได้ประเมินการสอนครู ๒๒. รว่ มมือกบั ผ้ปู กครองในการอบรมสงั่ สอนอยา่ งใกล้ชดิ ๒๓. ส่งเสรมิ ความสัมพันธ์อันดรี ะหวา่ งโรงเรียนกบั ชุมชน ๒๔. ใหก้ ำลงั ใจและปลุกปลอบใจศษิ ย์อยู่เสมอ ๒๕. หมัน่ สำรวจและปรับปรุงตนเองอยูเ่ สมอ ๒๖. ภมู ิใจและรับผดิ ชอบต่ออาชีพตนเอง ๒๗. ขยันหมั่นเพยี รในการสอนและการหาความรเู้ พ่ิมเติมอย่เู สมอ ๒๘. ยดึ มนั่ ในกิจกรรมทส่ี ่งเสริมประชาธปิ ไตย ๒๙. พยายามใชค้ วามเพยี รทุกอยา่ ง เพื่อใหห้ น้าที่ของตนประสบความสำเร็จ ๓๐. เข้าใจความแตกต่างระหว่างบคุ คลของศิษย์ ๓๑. รูจ้ ริงและตัง้ ใจสอนจนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีได้ ๗.๔ ครูในฐานะเปน็ ผนู้ ำทางจิตวิญญาณ ๗.๔.๑ ดา้ นส่วนตวั คนที่จะเป็นครูและประสบความสำเร็จในวิชาชีพของตนเองนน้ั เทยี บได้ดังน้ี ๑. จะต้องมีราศตี อนเชา้ มรี าศีตอนเช้า หมายความวา่ เปน็ ผู้มคี วามรคู้ วามฉลาด ไดร้ บั การศึกษามาเปน็ อย่างดที ้ังในสว่ นทีเ่ ป็นวชิ าพน้ื ฐานหรือวชิ าการศกึ ษาทว่ั ไป วิชาชีพและวิชาเอก เป็นผมู้ ีใบหนา้ หมดจด ไม่ มคี วามสงสัยหรอื สับสนในอาชีพของตน ดวงตาส่อแววฉลาด รูท้ นั คน ทนั โลก ทันเหตกุ ารณ์ มีความตน่ื ความเบกิ บาน เหมอื นมนุษย์ที่ผา่ นการล้างหนา้ หลงั ตื่นนอนตอนเชา้ มาแล้ว ๒.มรี าศีตอนกลางวัน มรี าศตี อนกลางวัน หมายความวา่ เปน็ ผู้มคี ณุ ธรรม มโนธรรม และจรยิ ธรรม ซ่งึ เปรียบไดด้ ัง เชน่ อาภรณ์ที่หอ่ หมุ้ จติ ใจไมใ่ ห้หนาวเพราะราคะ โมหะ และรอ้ นเพราะโทสะ ๓.มรี าศีตอนเยน็ มรี าศีตอนเย็น หมายความว่า เป็นผู้สะอาดท้งั กายและใจ ใชป้ ระสบการณ์และ สำนกึ อันดีงามสร้างชีวติ บ้ันปลายใหเ้ ปน็ ชวี ิตท่ีขาวสะอาด เมือ่ เจรญิ วัยและคุณวฒุ ิ ไมท่ ิ้งร่องรอยสกปรก ประทับไว้บนโลกใหค้ นเหน็ เหมอื นบรุ ุษสตรีผชู้ ำระเทา้ ตัวเองใหส้ ะอาดก่อนก้าวข้นึ นอน ยอ่ มไมส่ ร้างราคี ให้ปรากฏบนทน่ี อน
๗๙ ๗.๔.๒ ด้านบุคคลอื่น ๑.ราศีตอนเชา้ ของครู มองศิษย์ด้วยความรักความหวงั ดี และความเอื้ออาทรต่อศิษย์ ประดจุ บุตรธิดา ๒.ราศีตอนกลางวนั โลกทัศนข์ องครู ครตู ้องมองโลกมองสงั คมโดยมวี จิ ารณญาณ และเหตผุ ลรกั และ ภูมใิ จในอาชพี ของตน ประกอบอาชพี ดว้ ยสตปิ ญั ญาและวิริยะ อุตสาหะ มีคุณธรรม มโนธรรมตอ่ เพื่อนรว่ ม อาชพี และรว่ มโลก ๓.ราศีตอนเย็น เป็นผู้มองโลกในแง่ดี จติ ใจมีคารวะธรรมตอ่ ผูอ้ าวุโส มทุ ติ าธรรมตอ่ ผ้ปู ระกอบ คุณงามความดี และอเุ บกขาธรรมตอ่ ผผู้ ่านพน้ ความทุกข์ ความเดือดร้อน โดยความช่วยเหลือของตน ไม่ ลำเลกิ บญุ คุณหรืออจิ ฉาริษยา ( ผศ.เจรญิ ไวรวจั นกลุ : ความเป็นครู , ๒๕๓๑) ๗.๕ ครูในฐานะเปน็ ผนู้ ำทางวิชาการ ครใู นฐานะเป็นผู้นำทางวิชาการ หมายความวา่ ครูตอ้ งมหี น้าที่และความรบั ผิดชอบต่อวิชาการ ทัง้ ของตนเองและของนักเรียน ซึ่งความจรงิ แลว้ งานของครตู ้องเกยี่ วข้องกับวชิ าการอยู่ตลอดเวลา เพราะวชิ าชพี ครูต้องใชค้ วามรเู้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการประกอบวชิ าชพี ด้วยเหตนุ ี้ ครูอาจารยท์ ุกคนจะต้อง หม่นั ศกึ ษาหาความรู้เพ่ือพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ หากไมเ่ ป็นเชน่ นน้ั จะทำให้ความร้ตู า่ ง ๆ ทีค่ รอู าจารยม์ ีอยู่ ลา้ สมัย ไม่ทนั กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกยุคโลกไรพ้ รมแดนในปจั จุบนั นอกจากน้คี รผู ูน้ ำทาง วิชาการ ควรมีลกั ษณะดังต่อไปนี้ ๑.ครูตอ้ งเปน็ คนทนั การทันสมัย รรู้ อบและรอบรู้ในวิชาการใหม่ ๆ อยเู่ สมอ กระทำตนให้สมกบั ที่ ไดช้ อื่ วา่ เปน็ ทรัพยากรท้องถนิ่ หลกั ๒.ครูต้องเตรยี มการสอน สาระทเ่ี ตรียมจะต้องกวา้ งขวางกวา่ ทีห่ ลกั สตู รระบุไว้ การเตรยี มการ สอนของครู จะต้องมีการสรา้ งสถานการณ์เผื่อไวเ้ สมอ แบบฝึกหดั ท่ีเตรยี มให้แดก็ ทำจะตอ้ งมีการตรวจสอบ ความถูกต้องและหาคำตอบไว้เปน็ การลว่ งหน้า ๓.ครตู อ้ งสอน ทัง้ ปฏบิ ัติหน้าท่ีดา้ นวชิ าการ ด้วยความรใู้ นเนอื้ หาวิชาน้ัน ๆ มจี ิตวิทยาในการ ถา่ ยทอด มีหลักมนุษยสมั พันธ์ ไม่ควรใหบ้ ุคลกิ ของครเู ปน็ ตัวสกดั กนั้ การเรียนรู้ของเด็ก ๔.ครตู อ้ งไม่กระทำตนเปน็ โจรทางปญั ญา ไมต่ ู่หรอื แอบอา้ งผลงานทางวิชาการของบุคคลอื่นมา เปน็ ของตน ต้องให้เกยี รติแก่เจ้าของผลงาน เม่ือมกี ารนำสาระจากเอกสาร ตำราเล่มใดมาประกอบการ สอน ควรบอกใหผ้ ูเ้ รยี นทราบพรอ้ มกบั แจ้งแหลง่ ทีส่ ามารถไปศึกษาเพิ่มเตมิ ได้ ๕.ขณะทำหน้าทค่ี รตู ้องสำนกึ อยเู่ สมอว่า ตนคือบรรพบรุ ุษทางความรู้ ความประพฤตติ ้องไมส่ อน หรอื อธบิ ายโดยเกรงว่าผเู้ รยี นจะร้ทู ัน อาชพี ครคู ือ อบรมส่งั สอนศิษย์ ครทู ป่ี ฏบิ ัตหิ น้าท่ดี ังกลา่ วบกพร่อง คอื ครูที่ไม่ได้ทำหนา้ ทตี่ ามอาชพี ตน สำนกึ ทีค่ รูควรมคี ือ มนั เป็นบาปแมแ้ ตจ่ ะสอนศษิ ย์ใหม้ ีความรคู้ วาม ประพฤติเท่าครูดว้ ยซ้ำไป เดก็ ท่ีดมี ีความหมายสำหรับสังคมอนาคตคือเด็กทดี่ ีกวา่ ครู ดีกวา่ ผปู้ กครอง สังคมอนาคตเป็นสังคมท่ีนบั วันแต่จะยุ่งยาก ซับซ้อน ฝืดเคอื ง ชีวิตอนั สงบสขุ ในอนาคตจำเป็นตอ้ งมีการ เตรยี มท่เี หมาะสม ความโง่หรือความฉลาดเทา่ ท่ปี จั จบุ นั มีอยูจ่ ะแก้ปัญหาอนาคตไม่ได้ ครทู ่ีตายไปพร้อม กบั ความรทู้ เ่ี ปน็ ความลบั คือครทู ่ไี ม่มีอนสุ าวรีย์ ทำตนเป็นสมุนปศี าจ เปน็ ผู้ทำให้โลกนม้ี ืดมนลงไปอีก สงั คมจะต้องเผชิญกับหายนะ เพราะไม่มีผู้รูเ้ หลืออยู่
๘๐ ๖.ครตู ้องปฏิบัตหิ น้าทด่ี ้วยเหตผุ ลและวิธีการแห่งปัญญา ไม่ทำตนเปน็ เจ้าอารมณห์ รือศูนยก์ ลาง ของการเรียนการสอน ครูไม่ควรใช้อิทธพิ ลการตดั หรือใหค้ ะแนนเป็นเคร่ืองมอื ผกู สัมพนั ธ์กับเดก็ อนาคต ของเด็กนน้ั สำคัญและยิง่ ใหญ่เกินไปท่จี ะมาเหยียบหรอื ขยี้ทิ้งดว้ ยอำนาจของโทสะ โมหะ อนั เป็นอารมณ์ ช่ัววูบ ยง่ิ ถา้ มองถึงภาระหนา้ ที่ทเ่ี ขาจะต้องรับชว่ งในฐานะเปน็ ทายาทของสังคมด้วยแล้ว แทบมองไม่เหน็ ว่า ปลายปากกาครูจะไปทรงอำนาจเหนอื ชวี ิตเขาถึงปานน้ัน( ผศ.เจริญ ไวรวัจนกุล : ความเป็นครู,๒๕๓๑ ) ๗.ครตู อ้ งเป็นผทู้ ี่ทำหนา้ ทห่ี ลักทางด้านการเรียนการสอน และส่งเสริมการเรยี นรู้ของผเู้ รียนดว้ ย วิธกี ารตา่ ง ๆ ในสถานศึกษาของรัฐหรือของเอกชน ฉะนัน้ ผู้ทีไ่ ม่ไดท้ ำหนา้ ทท่ี างด้านการเรยี นการสอนใน สถานศกึ ษากจ็ ะไม่เรยี กวา่ ครูอีกต่อไป สำหรบั หน้าท่ีทางด้านการเรียนการสอนกห็ มายความว่าครูต้องเปน็ ผ้จู ดุ ประกายการเรียนรใู้ หก้ ับผู้เรียน เป็นผู้อำนวยความสะดวกเพื่อให้เกดิ การเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น ครตู ้องเปน็ ผแู้ สวงหาสาระการเรยี นตลอดจนกิจกรรมการเรียนตา่ ง ๆ เพ่อื สนองความสนใจและความต้องการของ ผเู้ รยี น ครไู ม่ใช่ผู้ยนื สอนอยหู่ นา้ ชน้ั แบบเปน็ องค์ความร้แู บบเบด็ เสรจ็ ในห้องเรียนอย่างในอดีต ( ธรี ศกั ด์ิ อัครบวร : ความเป็นครไู ทย , ๒๕๔๔ ) ๗.๖ ครูในฐานะเปน็ ผ้ชู ี้นำสังคม ครนู อกจะทำหน้าทส่ี อนแล้วยังมีหน้าทใี่ นการพัฒนาสงั คม หรือเปน็ ผูช้ ้ีนำสังคมไปในทิศทางที่ ถูกต้องอีกด้วย ซงึ่ สามารถกระทำไดห้ ลายวธิ ี เชน่ ๑.การให้การศึกษาและความรู้แกป่ ระชาชนท่ัวไป อาจจดั ขึ้นในรปู แบบของการเลือกฝกึ อบรม ระยะสน้ั หรือการให้การศกึ ษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบโรงเรยี นก็ได้ นอกจากนี้ครูยังสามารถให้ ความรูขอ้ มูลขา่ วสารตา่ ง ๆ โดยผา่ นทางนักเรยี นไปสปู่ ระชาชนในทอ้ งถิ่น ๒.เปน็ นำหรอื ผูร้ เิ รมิ่ โดยการกระตนุ้ เรง่ เรา้ ให้ประชาชน ต่ืนตัวในเร่ืองอาชีพการปรบั ปรุง ความเปน็ อยู่ในสงั คมและวัฒนธรรม โดยการทค่ี รกู ระทำตนให้เปน็ แบบอย่าง หรอื ทำใหด้ ูจนบงั เกดิ ผล ๓.เป็นผู้ปรับปรุงส่งเสรมิ โดยครใู ชค้ วามร้คู วามสามารถที่มีอย่เู ฉพาะตัวไปชว่ ยสง่ เสรมิ ให้ ประชาชนมีความเข้าใจในงานท่ีทำอยู่ให้มีคุณภาพยงิ่ ข้นึ ๔.เป็นทีป่ รึกษาให้กบั ชมุ ชน เนอ่ื งจากครอู าจารย์ในแตล่ ะสถาบนั การศึกษามจี ำนวนหลายคน แต่ละคนกม็ คี วามรู้ความสามารถและความถนดั แตกต่างกันออกไป จึงเป็นโอกาสของครทู ่ีจะทำหน้าที่ให้ คำปรึกษาหารือในการทำมาหากนิ ของประชาชน การปรบั ปรงุ ชีวิตความเปน็ อยู่ การดูแลสขุ ภาพอนามัย การปฏิบตั ติ ามขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรมของท้องถิ่น ๕.เป็นผู้สรา้ งความตื่นตวั โดยการประชาสมั พันธใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ รวมท้งั การสรา้ งสัมพันธภาพ อนั ดีกบั ประชาชนในท้องถ่ิน เพือ่ ใหป้ ระชาชนได้มคี วามต่ืนตัวการประกอบอาชีพอนั สจุ ริต การปรบั ปรุง คณุ ภาพชวี ิตใหท้ นั กบั การเปลี่ยนแปลงในทกุ ๆ ด้าน ๖.เป็นผู้อำนวยความสะดวกและประสานงาน โดยครูเป็นผู้ชว่ ยเหลอื ประชาชนในทอ้ งถน่ิ เพ่ือ การติดต่อกับหน่วยงานตา่ ง ๆ ท้ังในระดับอำเภอ จงั หวัด และสว่ นกลาง
๘๑ ๗.๗ ครูในฐานะเปน็ วิศวกรของสงั คมและของโลก ครูในฐานะเปน็ วศิ วกรของสงั คมและของโลก วศิ วกร หมายถึง นกั สร้างทางแนวคิดและหลกั การ สรา้ งอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ตลอดจนอาคาร โครงสร้าง และสิ่งซ่อนเร้นอยู่เบ้ืองหลงั คือการเปน็ นกั แก้ไขปัญหา กลา่ วโดยสรปุ วศิ วกร คอื นักสร้าง นักออกแบบ นักแก้ไข นกั ปรับปรงุ นักเปลย่ี นแปลง และ นกั พัฒนา ดังน้ัน ครใู นฐานะเปน็ วิศวกรของสงั คมและของโลก ทสี่ ำคัญมีดังต่อไปนี้ :- ๑.ครูทำงานวจิ ัย วศิ วกรในฐานะเป็นนักวิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ต้องพยายามค้นควา้ วจิ ัย แปล ความหมายของข้อมูลจากการวิจยั เพอื่ ให้ไดค้ วามจรงิ ใหม่ ๆ และศึกษาต่อไปจนสามารถพบศักยภาพใน การใชง้ านให้เปน็ ประโยชน์ ๒.ครูทำงานพฒั นา วิศวกรในฐานะเปน็ นักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้นำความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ทคี่ ้นพบใหม่ ๆ น้นั ไปพฒั นาเคร่ืองมือเครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ โดยเริ่มจากการสร้างตน้ แบบและทำการทดลองความ เหมาะสมของผลติ ภัณฑ์และความเหมาะสมในการใช้งาน ในทำนองเดียวกนั ครไู ดน้ ำความรูทไ่ี ดจ้ าก การศกึ ษาคน้ ควา้ ทดลองทางการศึกษาและจติ วิทยาไปทดลองในการเรียนการสอน เพอื่ หาความเหมาะสม และพฒั นาใหด้ ขี นึ้ งานของครสู ว่ นใหญม่ ุง่ พฒั นาในกระบวนการเรยี นการสอนโดยมีจดุ มุง่ หมายปลายทาง ทีส่ ำคัญย่งิ คือ การพัฒนาคน ๓. ครูทำงานออกแบบ วิศวกรในฐานะเป็นนกั วิทยาศาสตร์ประยุกต์ออกแบบการทำงานภายใต้ เงอ่ื นไขจำกัดของความรู้ความชำนาญที่เกีย่ วกบั คุณลักษณะของวัสดทุ ใี่ ชใ้ นงานน้นั ๆ อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการ ผลิตท่ีมีอยู่ และพิจารณาความเหมาะสมดา้ นเศรษฐศาสตร์ สว่ นการออกแบบของครนู ั้นเปน็ การออกแบบ ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพืน้ ฐานความสามารถของนักเรยี น และให้สอดคล้องกบั วสั ดุอุปกรณท์ ่ีนำมาใช้ในการประกอบการสอนต่าง ๆ นอกจากน้ี ยงั ตอ้ งออกแบผู้เรยี นให้มคี ุณลักษณะ ตามท่ีสงั คมและประเทศชาติต้องการ ๔.ครทู ำงานการผลติ วิศวกรในฐานะเปน็ นักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ดูแลการผลติ ตามท่ีตนได้ ออกแบบไว้ รวมทั้งการทดสอบผลิตภณั ฑก์ ่อนส่งออกจำหน่าย สว่ นงานของครู คอื การให้ความรู้ ความสามารถแกน่ ักเรียนนักศึกษาก่อนที่พวกเขาเหล่าน้นั จะออกไปรับใชส้ ังคม ครจู ะต้องมีการทดสอบครัง้ แล้งครัง้ เล่า เพื่อให้ผลิตผลเปน็ บคุ คลทม่ี ีคณุ ภาพตามที่สังคมตอ้ งการ ๕.ครทู ำงานก่อสร้าง วิศวกรโยธารับผดิ ชอบงานกอ่ สรา้ งต่าง ๆ โดยเปน็ ผ้อู อกแบบและควบคุม การก่อสร้างให้เปน็ ไปตามรปู แบบทกี่ ำหนด สว่ นงานก่อสร้างของครูนั้น เปน็ การสร้างพฤติกรรมของคนให้ เป็นไปตามรปู แบบท่ีสงั คมส่วนใหญ่ต้องการ (คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์) ซึ่งเป็นงานทม่ี คี วามยงุ่ ยาก ซับซอ้ นมากกวา่ การก่อสร้างตึกรามบา้ นชอ่ งหลายเท่า ดังท่ี หม่อมหลวงป่นิ มาลากุล ได้เขียนเปน็ คำ กลอนสอนใจไวว้ า่ อนั ตกึ รามสนามกวา้ งสรา้ งขึน้ ได้ มเี งนิ หยบิ โยนใหก้ ็เสรจ็ สรรพ์ แต่งามจติ ใจกวา้ งน้ันต่างกนั การอบรมเท่านัน้ เป็นปจั จัย ๖.ครทู ำงานควบคุมโรงเรียน ความรบั ผดิ ชอบของวิศวกรประจำโรงเรยี นหลังจากการสร้าง โรงเรยี นเสรจ็ สนิ้ แล้วกค็ อื การทำให้โรงงานผลติ สนิ ค้าไดด้ ี บำรงุ เครื่องจักรให้อยูใ่ นสภาพท่มี ีความสมบูรณ์ รวมท้ังมีการบำรงุ รกั ษาวสั ดุอุปกรณต์ ่าง ๆ สำหรบั ความรบั ผดิ ชอบของครูท่ีมตี ่อโรงเรียนกลา่ วโดยสรุป คอื ถ้าหากวศิ วกรสามารถสร้างบรรยากาศทด่ี ีในการทำงาน จะทำให้โรงงานนั้นเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ น่ันย่อมหมายถึงผลิตภัณฑ์ของงานน้ันยอ่ มมคี ุณภาพไปดว้ ย เช่นเดยี วกัน หากครูสามารถควบคุมดูแล โรงเรยี นให้สะอาดเรียบร้อย ตกแต่งอาคารบริเวณสวยงาม มีบรรยากาศนา่ อยูน่ า่ เรียน นักเรยี นใน
๘๒ โรงเรียนอยู่ดว้ ยกันดว้ ยความรักสามัคคี สภาพแวดล้อมทงั้ ทางกายภาพและทางสงั คมดี การจัดกระบวนการ เรียนการสอนในโรงเรียนก็จะเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ ผลผลิตของโรงเรยี น คือ นกั เรยี นจะต้องมี คุณภาพดีด้วยอยา่ งแน่นอน ๗.ครทู ำงานทดสอบ งานทดสอบเปน็ ส่วนสำคัญของงานวิศวกรรมทุก ๆ ด้าน เช่นเดียวกนั ใน การศึกษาทุกสาขาจะต้องมีการทดสอบและประเมิน จนสามารถกล่าวได้ว่า ณ ท่ีใดมกี ารสอน ที่นนั่ จะตอ้ งมกี ารสอบ เพราะการสอบทำให้ผสู้ อนสามารถทราบถงึ ความเปล่ียนแปลงของผู้เรียนจากระดับหนงึ่ ไปสูร่ ะดบั หนึง่ ๘.ครทู ำงานการขายและการตลาด วิศวกรต้องโน้มน้าวให้คณะผบู้ ริหารเหน็ ด้วยกับการพฒั นา หลักการบางอย่าง หรือเพ่มิ อุปกรณ์การผลติ หรอื เพ่มิ โครงการใหมท่ ่ตี นเองคิดขึ้น ซงึ่ ถอื ว่าเปน็ การขาย อย่างหน่ึง ในทำนองเดยี วกัน ครูต้องพยายามโนม้ น้าวให้ผบู้ ริหารมองเหน็ ความสำคัญในการเพม่ิ อุปกรณ์ การเรียนการสอน และมองเห็นความสำคัญของการพฒั นาการเรียนการสอนอยูเ่ สมอ ๙.ครทู ำงานบรกิ าร งานวศิ วกรรมศาสตร์ยุคใหมต่ ้องใช้บคุ ลากรเป็นคณะ การทำงานเป็นคณะ จะสมั ฤทธิผ์ ลได้กต็ ่อเม่ือมผี นู้ ำกลุม่ ทดี่ ีและเข้มแข็ง ในทางการศกึ ษา การบรหิ ารเปน็ สง่ิ จำเป็นมาก เพราะ ในแตล่ ะสถาบันการศึกษาจะมคี รอู าจารย์และนักเรยี นจำนวนมาก หากการบริหารงานไม่มีประสทิ ธภิ าพ จะทำให้ขวญั และกำลังใจในการทำงานของครูอาจารย์ไมด่ ี ซึ่งจะมผี ลไปถึงคุณภาพของการสอนและ คณุ ภาพของผูเ้ รยี นด้วย ๑๐.ครทู ำงานท่ปี รกึ ษา วศิ วกรทำหน้าที่เปน็ ที่ปรึกษาใหก้ ับบรษิ ัทหรอื หนว่ ยงานต่าง ๆ บางคร้ัง อาจมกี ารรวมกลุ่มกนั เปดิ เป็นบรษิ ทั ท่ปี รึกษา วิศวกรใหก้ ารปรกึ ษา จะต้องมีความสามารถในการ แก้ปัญหา เช่นเดยี วกับ งานของครทู กุ ระดับชน้ั กต็ ้องเกี่ยวขอ้ งกับการให้คำปรึกษาแก่ศิษย์ และบางครั้ง ตอ้ งให้คำปรึกษาแก่ประชาชนในชมุ ชนข้างเคยี งสถานศึกษา โดยเฉพาะการใหค้ ำปรึกษาแก่ศิษยน์ นั้ เป็นส่งิ สำคญั ยง่ิ ๑๑.ครูทำงานการศึกษาโดยตรง งานการศึกษาเปน็ งานครูโดยตรง ครตู ้องรบั ผิดชอบตอ่ การศกึ ษาทุกระดับชั้น ต้งั แตร่ ะดบั อนุบาลกระทัง่ ถึงระดับอดุ มศึกษา แมว้ ศิ วกรทีท่ ำหนา้ ทเี่ ป็นผสู้ อนใน คณะวิศวกรรมศาสตร์กต็ อ้ งอยใู่ นฐานะความเปน็ ครูด้วย ๗.๘ ครูในฐานะเป็นตน้ แบบทางวฒั นธรรม ครูเป็นผทู้ มี่ ีบทบาทสำคัญตอ่ การสง่ เสริมความมัน่ คงทางศาสนาและวฒั นธรรม กล่าวคอื ศาสนา จะย่ังยืนมน่ั คงอยู่ได้ ก็เพราะศาสนิกชนของศาสนานัน้ ๆ มีความรูความเขา้ ใจหลักคำสอน และนำ หลกั ธรรมคำสอนไปประพฤติปฏิบตั ิอยา่ งถูกต้อง ในส่วนของวัฒนธรรมก็เช่นเดียวกัน สมาชกิ ในสงั คมน้ัน ๆ จะต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจและรูส้ กึ ซาบซึ้งในวัฒนธรรมของตนเอง มคี วามยนิ ดีภาคภูมิใจในวฒั นธรรมที่ ตนมี รสู กึ หวงแหนหรอื ต่อต้านเมือ่ มีบุคคลบางพวกบางกลุ่มประพฤตปิ ฏบิ ัตผิ ิดเพีย้ นสิง่ ตา่ ง ๆ เหลา่ น้จี ะ บังเกดิ มีในตวั บุคคลซึ่งเป็นสมาชขิ องสงั คมได้นนั้ ตอ้ งอาศัยการปลกู ฝงั อบรมผ่านทางกระบวนการศึกษาซงึ่ มี ครอู าจารย์ที่มีความรอบรูใ้ นเรือ่ งดงั กลา่ วเปน็ ผู้คอยอบรมส่ังสอน กล่าวโดยสรปุ ท้งั ศาสนาและวัฒนธรรมมีความสำคัญตอ่ ความอยรู่ อดปลอดภัยของสงั คมและชาติ บ้านเมือง หากสถาบันใดอ่อนแอและถูกทำลายยอ่ มมีผลกระทบกระเทือนต่อสถาบนั อืน่ ดว้ ย ดงั น้ัน ครู อาจารยต์ ้องชว่ ยกนั รกั ษาและส่งเสริมศาสนาให้มั่นคง ดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เชน่ มีความเลือ่ มใส ศรัทธาในศาสนาตนทน่ี บั ถือ ศึกษาหาความรู้ความเขา้ ใจใหถ้ ูกต้องตามหลักธรรมคำสอนของศาสนา นำ
๘๓ หลักธรรมมาปฏบิ ัตใิ นชีวติ ประจำวนั ปฏบิ ตั ศิ าสนกิจเปน็ ประจำ สอนโดยการแทรกวัฒนธรรม จัดห้อง วฒั นธรรมในสถานศึกษา ศกึ ษาวธิ ถี า่ ยทอดวัฒนธรรม เป็นต้น ฯลฯ ๗.๘.๑ คุณลกั ษณะ / คณุ สมบตั ิครตู ามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา คณุ สมบัติ หมายถึง ความถงึ พร้อมด้วยคุณงามความดีของครูที่กระทำไปด้วยความสำนึก ในจิตใจ โดยมีเปา้ หมายว่าเป็นการกระทำหรือพฤตกิ รรมที่ดี คุณสมบัติของครจู งึ เป็นคุณสมบัตทิ ดี่ ีงาม ความถกู ตอ้ งที่ถือปฏิบตั ิเป็นประจำ ทำหน้าที่อบรมสง่ั สอนใหก้ ารศกึ ษาแกศ่ ษิ ย์ โดยเฉพาะครูพึง ประกอบดว้ ยคุณสมบัติ คือ .- - นา่ รัก และเข้าถงึ จติ ใจ สร้างความรสู้ กึ สนิทสนมเป็นกันเอง - นา่ เคารพ คือ มีความประพฤตสิ มควรแกฐ่ านะ - นา่ เจริญใจ คือ มคี วามจริง ทรงภูมิปัญญาแท้จรงิ นอกจากนี้ ครคู วรมีคุณสมบตั ภิ ายในตัวให้สมกบั ความเป็นครู โดยยึดถือคุณสมบัติของพระบรม ครู (พระศาสดา) เปน็ ทีต่ ัง้ คือ …. ๗.๘.๒ มีปัญญา คือต้องมีความรดู้ ีในแขนงวชิ าการตา่ ง ๆ รวู้ ชิ าครอู ยา่ งดี รู้หลักการสอน หลกั การศึกษา หลกั จติ วิทยา และมคี วามร้รู อบตัวเปน็ เลศิ คอื มีวตั ถดุ ิบท่ีจะต้องป้อนโรงงาน คือ ศิษยใ์ ห้ มากทสี่ ุด ซงึ่ เมอ่ื รวมแลว้ ครู ควรมีความรู้ ๔ อย่าง คือ…. ๑. รู้วชิ า ได้แก่ ร้วู ิชาการศึกษารถู้ ึงท่มี าอ้างเป็นหลักฐานรู้นโยบายตา่ ง ๆ ๒. รู้วิธี ไดแ้ ก่ รู้วิธีการสอน รู้วธิ ีการอา่ นถา่ ยทอดวิชาความรู้ รู้วิธปี รบั ปรุง และ แกไ้ ขพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของศิษย์ ๓. รวู้ ิสยั ได้แก่ ร้เู ร่อื งของศิษยท์ ีจ่ ะสอนจิตวทิ ยาเด็ก เช่น ความประพฤตคิ วาม พร้อม วุฒิภาวะของเด็ก ๔. รูว้ นิ ยั ไดแ้ ก่ระเบยี บการ รู้จักการวางตวั รู้กฎหมาย และกฎกระทรวง ฯลฯ ๗.๘.๓ มคี วามบริสุทธ์ิ คอื มคี วามประพฤติดี และการกระทำดตี ่าง ๆ เชน่ … ๑. ครตู อ้ งเป็นผนู้ ำที่ดี พูดอย่างใดทำอย่างนน้ั มีใจซอื่ บรสิ ุทธิ์ต่อหนา้ ทตี่ ่อศิษย์ รักความ เปน็ ครู รักการสอน มงุ่ หมายเพ่อื ให้ศิษย์มคี วามรู้อย่างบริสุทธิใ์ จ มีการแสดงออกทางกาย วาจา น่าเล่ือมใส มีกริ ยิ าเรยี บร้อย มมี ารยาทดี มีคุณสมบตั ิประจำตวั ดี ตลอดทั้งมคี วามเปน็ ระเบยี บวินัย ๒. หากครมู คี วามร้ดู ี แตม่ ีความประพฤติเสียหาย ซง่ึ เรียกว่า “ อาจารวบิ ตั ิ ” ขาด ระเบียบวนิ ยั ไมม่ ีมารยาทแล้ว ใครเขาจะเคารพเช่ือฟงั และทำตาม ๗.๘.๔ มคี วามเมตตา กรณุ า คือ มคี วามสามัคคี มีนำ้ ใจงาม เชน่ …. ๑. ครูตอ้ งใหศ้ ิษย์มวี ิชาความรู้ หลดุ พน้ จากความโง่เขลา ชีแ้ จงใหท้ ราบในสิ่งทเี่ ขา ตอ้ งการ ถา่ ยทอดวิชาความรู้ท่มี อี ยู่ให้จนหมด ไม่ปิดบงั อำพราง ด้วยความขยันหมน่ั เพยี ร ดว้ ยความเหน็ อกเหน็ ใจ ด้วยความเอาใจใส่ ปฏิบัติหน้าท่เี ตม็ ความสามารถ และถา่ ยทอดความรู้ได้อย่างถูกต้อง, ชดั เจน, เชือ่ ถอื ได้ ๒. หากครูขาดคุณสมบตั ขิ ้อน้ีเสยี แล้ว การถา่ ยทอดความรู้จะไม่คอ่ ยไดผ้ ล เพราะจะทำ ไปแบบไมเ่ ตม็ ใจ หรอื ทีเ่ รยี กวา่ “ ทำกท็ ราบ ไม่ทำกท็ ราบ ”
๘๔ ๗.๘.๕ มคี วามรรู้ อบตัว ตอ้ งดี เยี่ยมยอด ดเี ลศิ ประกอบมปี ระสบการณ์ท่ดี ีด้วยเพราะความรู้ เหลา่ นัน้ ครูต้องร้รู อบหรอื รอบรู้ คอื ตอ้ งรอู้ ยา่ งรอบดา้ นรู้อยา่ งละเอียด รูเ้ หตุ รผู้ ล รวู้ า่ เปน็ คุณประโยชน์ เปน็ โทษ หรือมใิ ชโ่ ทษ อยา่ งไร การที่จะรูไ้ ดด้ นี ้ัน ต้องรู้อย่างน้ี คือ … ๑. รูจ้ ำ คอื ตอ้ งจำให้ดี จำได้แม่นยำไม่มีพลาด ๒. รูแ้ จง้ คอื รู้อย่างละเอยี ดถถี่ ว้ น สามารถให้คำอธิบายไดเ้ มือ่ ถกู ถาม ๓. รู้จรงิ คอื มีความสามารถถา่ ยทอดได้ และทำอย่างท่ีพูดได้ ๔. รเู้ หตุผล คือ สามารถแยกแยะประเด็นกระบวนการ หรือ หวั ข้อที่ดีได้ ๗.๘.๖ มีหลกั การถา่ ยทอดความรู้ หรือ เทคนิค ในลกั ษณะท่เี ปน็ ลีลาการสอน คือ ๑. สันทัสสนา สอนให้เห็นจริง มคี วามรู้จริง ให้ร้วู ชิ าการทถ่ี กู ต้อง ๒. สมาทปนา สอนใหเ้ ห็นคณุ ประโยชน์ทีด่ แี ละไมด่ ี ชักชวนให้ ประพฤตดิ ีงาม ๓. สมตุ เตชนา สอนให้เกดิ ความกล้า ปลกุ ใจ กระตุ้นใจให้ตน่ื ตวั อยู่เสมอ ๔. สมั ปหังสนา สอนใหเ้ กิดความสนุกสนาน ใหน้ า่ เรียน ไมเ่ บ่ือหน่าย (โดยสรปุ กค็ ือ แจ่มแจ้ง ,จูงใจ, กลา้ หาญ,ร่าเรงิ ) ๗.๘.๗ ข้อที่ควรปฏิบตั ใิ นขณะเวลาท่ีเป็นครู จำเปน็ อย่างย่งิ ทีต่ ้องใชว้ ิจารณญาณอย่างรอบคอบ คือ … ๑. ตรวจตราคือตรวจศษิ ยด์ ้วยตนเอง ตรวจทง้ั ความรู้ความประพฤติมีการบันทึก ทำหมาย เหตุ หรือทำตำหนิ , กา ไว้ ๒. พจิ ารณา คือเมื่อตรวจตราแลว้ ใชป้ ัญญาไตรต่ รองข้อมูลดี , ชั่วอยา่ งไรวางใจ พิจารณา เป็นกลาง ๆ ๓. สอบสวน คอื คอยสอบสวนแลว้ เอาความไม่ดีไม่งามออก สอดส่องดแู ละใหเ้ ห็นด้วย ตนเอง ดกี ็ชมเชย เสยี กต็ ักเตือน ๔. ทดสอบ คือ เพื่อใหม้ ีความมั่นใจอย่างถูกตอ้ ง ก็ควรมีการทดสอบเพื่อใช้ประกอบเป็น ข้อมูลในการตดั สนิ ปัญหาข้อพิพาทตา่ ง ๆ ๗.๘.๘ คุณลกั ษณะ/ คณุ สมบัติ ของครทู ่ีดี ๗ ประการ คณุ ลักษณะท่ีดีของครตู ามแนวความคิดทางพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าทรงกำหนด ลกั ษณะทีด่ ีของครไู ว้ ๗ ประการ เรยี กว่า กลั ยาณมติ รธรรม หมายถึง มติ รทดี่ ีงามหรอื มติ รแท้ เป็น คุณสมบัติของมิตรดีที่คนเปน็ ครูท่ีควรคบ หรอื เข้าหาแลว้ จะเปน็ เหตใุ ห้เกิดความดีงามและความเจริญ ดงั นี้คือ …. ๑. ปิโย ทำตนใหเ้ ป็นทีน่ า่ รกั ใคร่ ๒. ครุ ทำตนให้เป็นทน่ี า่ เคารพ , นบั ถอื ๓. ภาวนโี ย ทำตนให้เปน็ ทีน่ า่ เจรญิ ใจ , งอกงาม ๔. วัตตา เป็นผ้รู ูจ้ กั พูด รู้จักกาละเทศะอันควรไม่ควร ๕. วะจะนักขะโม รูจ้ กั อดทนตอ่ ถ้อยคำอันน่าสะเทอื นใจตา่ ง ๆ ได้ ๖. คมั ภรี ัญจะ กะถัง กตั ตา อธบิ ายส่ิงท่ลี ้ำลกึ คัมภรี ์ภาพได้อย่างละเอยี ด ๗.โน จฎั ฐาเน นโิ ยชะเย ไมแ่ นะนำ ชักชวน ช้แี นะ และนำทางศิษยไ์ ปในทางทผ่ี ดิ ( มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั : อนสุ รณ์ พอ.มหาจุฬา , ๒๕๓๒ )
๘๕ สรปุ งา่ ย ๆ คือ - ครูทท่ี ำตวั ใหศ้ ิษย์รกั - ครูหนักแนน่ ในจรรยา - ครูพัฒนาความรู้ - ครสู ู้อตุ สา่ ห์สอนศิษย์ตน - ครอู ดทนต่อคำหยาบคาย - ครูขยายคำลึกซ้ึง - ครูไมด่ งึ ศษิ ย์ไปในทางเสยี หาย ( พระครูววิ ธิ ธรรมโกศล ( ชยั วัฒน์ ธมฺมวฑฒฺ โน : มทุ ติ านุสรณ์ , ๒๕๓๔ ) ๗.๘.๙ คุณลกั ษณะของครูท่ีพงึ ปรารถนา ศ.อำไพ สจุ ริตกลุ ได้กล่าวถึงลกั ษณะของครูที่พึงปรารถนาว่าควรจะถงึ พร้อมด้วย คุณสมบัตทิ ีส่ ำคญั ๓ ประการ คือ ๑. มคี วามรู้ ได้แกค่ วามร้ใู นวชิ าการท่ัวไป ความรใู้ นเน้ือหาวชิ าทส่ี อน ความรูใ้ นวชิ าครู และความร้ใู นหน้าทีแ่ ละงานของครทู ุกประการ ๒. มีทักษะในการสอนและการปฏิบตั ิงานครู ได้แก่ จำแนกออกเปน็ ทกั ษะท่ีสำคญั และ จำเปน็ หลายประการ เช่น อธิบายเก่ง สอนเก่ง สอนสนุก ใช้สือ่ หรอื อปุ กรณ์เสมอ จัดกจิ กรรมสร้าง บรรยากาศใหน้ า่ เรยี น เร้าพฤติกรรมและชีแ้ นะแนวทางในการศึกษาจนนำไปสู่การดำเนนิ ที่ถกู ต้อง โดยใช้ นวตั กรรมหรอื เทคโนโลยีที่ทนั สมัย เปน็ ตน้ ๓. มีคณุ ธรรมนยิ ม ได้แก่ คุณธรรมของครู จริยธรรม และคตินิยมในความเปน็ ครู เช่น ภาคภูมิใจทีไ่ ดเ้ ป็นครู มีทัศนคตทิ ีด่ ตี ่ออาชีพครู รกั การสอน พอใจท่ีจะได้ทำประโยชน์ แก่การดำเนนิ ชวี ิต ของศิษย์ ช่วยพฒั นาคนและสังคมตลอดจนมีวิญญาณแห่งความเปน็ ครู เป็นต้น (ศ.ท่านผู้หญงิ พนู ทรัพย์ นพ วงศ์ ณ อยุธยา : คณุ ธรรมครไู ทย ,๒๕๓๑ ) ๗.๘.๑๐ นอกจากน้ี ครูตอ้ งเปน็ ผู้มคี ุณสมบตั ิ ๓ อย่าง คือ ก. เปน็ ครู หมายความวา่ จะต้องประพฤติตวั เป็นครูของศิษยอ์ ย่างเต็มตัว ทง้ั ใน และนอกเวลาเรียน มคี วามปลงใจในหนา้ ที่ อยากใหน้ ักเรียนได้รบั ความรู้ความเขา้ ใจจริง ๆ ไมใ่ ชส่ กั แตว่ า่ สอนพอใหเ้ สร็จไปคราวหนงึ่ ๆ เทา่ น้ัน ท่ีจะทำได้ดงั น้ีครูจะตอ้ งพยายามเตรียมการต่าง ๆ คอื ๑. ตอ้ งศึกษาหาความรู้เพมิ่ อยู่เสมอ ๒.ตอ้ งตคี วามหรืออธิบายความให้แตกและชำ่ ชองตลอดตน้ ตลอดปลายในหลักสูตรทจี่ ะ สอน ๓. เตรียมการสอนใหร้ ัดกุมและเหมาะสมกับเวลา ๔. เขา้ หอ้ งเรียนตรงเวลา ด้วยใบหน้าย้ิมแยม้ แจม่ ใส และเลิกตามเวลา ๕. ตอบคำถามของนกั เรียนอย่างหมดสงสัย ๖. เมือ่ นักเรยี นคนใดสนใจแสดงความคดิ เห็น ต้องเขา้ ใจว่านนั่ คือ ภาวะสร้างสรรค์ ในตัว ของเขา ครูต้องให้ความสนใจ ข. เปน็ หมอ หมายความวา่ ครูจะต้องมองนักเรียนทกุ คนดว้ ยความเมตตา สงสารและคอยแก้ไขให้เขาสามารถเรียนศีลธรรม คุณธรรม และจรยิ ธรรมตลอดท้ังวิชาการต่าง ๆ ได้ ครู จะตอ้ งสนใจเกย่ี วกบั พืน้ ฐานของนักเรยี นแต่ละคน คือ ๑. สุขภาพทางกาย เช่น ๑. สมอง ประสาท ใชก้ ารได้ดีหรอื ไม่
๘๖ ๒. การฟงั เขา้ ใจภาษาและเก็บความไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด ๓. การดู สายตาใชก้ ารไดด้ ีไหม ดไู ดน้ านเท่าไร ๔. โรคทีเ่ ปน็ อุปสรรคต่อการเรียนมไี หม ๒. สุขภาพทางจติ เช่น ๑. เวทนา จติ สามารถปะทะอารมณ์ไดเ้ พยี งใด ใจน้อย ข้ีอายไหม ๒. สัญญา จติ สามารถจำส่ิงท่ีไดย้ นิ ได้ฟงั เพยี งไร ๓. สังขาร จติ สามารถใช้ความคิดได้คล่องแคลว่ เพยี งไร ๔. วญิ ญาณ จติ สามารถรูเ้ ร่ืองราวต่าง ๆ ไดแ้ จ่มชัดและกระจ่างหรือไม่ นอกจากน้ี คนเรายงั มีปญั หาชีวิตไม่เหมอื นกัน เปน็ เรอื่ งท่ีผ้นู ัน้ ไมอ่ าจระบายให้ใคร ๆ ฟังได้ ก็ ตอ้ งเก็บสมุ ไว้ในใจของตน ปัญหาดงั กลา่ วนี้ เช่น ความรัก ความโกรธ ความพยาบาท ความหวาดกลวั ความเสยี ใจ เปน็ ตน้ บางคนมปี มด้อยในตวั ทำใหร้ ูส้ กึ ละอายและน้อยใจ เช่น บงั เอิญนักเรยี นในช้นั เดียวกนั ล้วนแตเ่ ปน็ คน มปี ัญญาดี บางทีมฐี านะบางบา้ นดีกว่าตนมาก บางคนมปี มเขอ่ื ง คิดอวดรู้ อวดฉลาด ดู หมิ่นครู เร่ืองเหลา่ น้ีครตู ้องพยายามศึกษาโดยวิธีการสังเกตไมใ่ หเ้ จ้าตัวรู้ เมื่อสงั เกตได้แล้วกแ็ กไ้ ขดว้ ยไหว พรบิ เชน่ ถ้าจะถามปัญหานักเรียนทม่ี ปี ญั ญาทึบ ก็ถามข้อท่งี า่ ย ๆ ใหส้ ามารถตอบได้จะได้ไม่ขายหน้า นกั เรยี นคนอืน่ ๆ ค. เป็นมติ ร หมายความว่า ครูวางตัวเปน็ กนั เองกบั นักเรยี นพอสมควร อยา่ ยก ตัวใหล้ อยจนนกั เรยี นเขา้ ไมต่ ิด ทัง้ นี้ ไม่ได้หมายความวา่ ให้เป็นเพอื่ นเลน่ แตใ่ ห้เปน็ กัลยาณมิตรเชน่ .- ๑. มกี ารเยี่ยมเยยี นพบปะนกั เรียนนอกเวลาเรียนตามสมควร ๒. แนะนำวธิ ีแก้ไขข้อขดั ข้องใหเ้ ป็นการเฉพาะตัว ๓. ให้นกั เรยี นได้มสี ว่ นร่วม ชว่ ยกิจกรรมประกอบหลกั สตู ร ๔. เรยี กนกั เรยี นดว้ ยนามจรงิ และพดู ทีเล่นทีจรงิ กับนักเรียนบ้าง ๕. การเริ่มสอนประจำชวั่ โมง ควรสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับเหตกุ ารณป์ ระจำวนั บา้ ง ๗.๘.๑๑ ครูต้องมีหัวใจนกั ปราชญ์ หวั ใจนักปราชญ์ คำนี้ บัณฑิต คือผูท้ ่ีมีความร้ยู กย่องว่า การทีจ่ ะเป็นครูได้อยา่ งดีนั้นต้อง พร้อมดว้ ย … สดบั วากย์ไว้ เสาวนติ ตรติ รองนึกคดิ ทอี่ ้าง ถามทีเ่ ป็นปริศ - นานน้ั เถิดเอย ขดี ไวอ้ ยา่ ร้าง เพอื่ แกก้ ันลืม ๑. สุ. สตุ ะ การฟัง ตรงกบั สดับวากย์ไว้ เสาวนิต ๒. จ.ิ จินตะ การคดิ ตรงกับ ตรติ รองนกึ คดิ ทีอ่ ้าง ๓. ป.ุ ปจุ ฉา การถาม ตรงกบั ถามทีเ่ ปน็ ปริศ - นานั้น เถดิ เอย ๔. ลิ. ลขิ ติ การเขยี น ตรงกับ ขีดไวอ้ ย่าร้าง เพ่ือแก้กันลืม
๘๗ ๗.๘.๑๒ สญั ลกั ษณ์ของความเปน็ ครู สญั ลกั ษณข์ องความเป็นครนู ั้นมมี ากแตถ่ ้ากลา่ วถึงพชื มอี ยู่ด้วยกัน ๓ ชนดิ คอื … ๑.หญ้าแพรก เปน็ สญั ลักษณข์ องความอดทน เพราะหญา้ แพรกทเ่ี ราเหน็ ตาม สนาม ทางเดินคันนา ถึงจะยำ่ เหยยี บ หรืออากาศแห้งแล้ง มันกไ็ มต่ าย ๒.ข้าวตอก เปน็ สญั ลักษณ์ของความมีระเบยี บ คณุ สมบัตขิ องขา้ วตอก เม่ือเราคัว่ แล้วจะแตกเปน็ สีขาวบริสทุ ธ์ิ สะอาด หมดจด วางจัดไว้อย่างเป็นระเบียบเรยี บร้อยมีวินัย ในตนเอง ๓.ดอกมะเขือ เปน็ สัญลกั ษณ์ของความเคารพ ความออ่ นน้อมถ่อมตน โดย ธรรมชาติของดอกมะเขือ เมื่อมีดอก ดอกนนั้ กจ็ ะต้องโค้งลง ทง้ั ๓ ขอ้ นี้ ตามประเพณีวฒั นธรรมทัว่ ไปย่อมรู้กนั ว่าใชเ้ ป็นสญั ลักษณข์ องการไหว้ครู เพราะครู นน้ั ต้องรบั ภาระหนัก รบั ผดิ ชอบทุกอยา่ ง ศิษย์ ท้ังหลายย่อมกล่าวสรรเสรญิ ในคราวท่ีต้องไหว้ครู ว่า “ ปาเจราจรยิ า โหนตฺ ิ คณุ ตุ ฺตรานสุ าสกา ” สรุปทา้ ยบท คณุ ลกั ษณะของครู จงึ หมายถึง เครอ่ื งหมายหรือสิ่งท่ีช้ใี หเ้ ห็นความดหี รือลักษณะประจำของบคุ คล ทเ่ี ป็นครูหรือผูท้ ี่จะมาประกอบวิชาชีพครู สง่ิ ทค่ี รู ต้องตระหนกั อยเู่ สมอ คือการกระทำหนา้ ที่ ของตนให้ เสรจ็ สมบูรณ์เท่าที่ตนจะกระทำได้ ผทู้ ีเ่ ป็นครคู นใดมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ของตนอยา่ งสงู ยอ่ มได้ช่ือ ว่าเปน็ ผู้ท่ีมคี ุณลักษณะของครดู ี หรอื คณุ ลกั ษณะของครูไทยทีพ่ งึ ประสงค์ ซ่งึ มสี ่ิงท่คี วรศึกษาหลายมุมมอง ดงั ท่กี ล่าวมาแลว้ ความถึงพร้อมดว้ ยคณุ งามความดีของครูท่ีกระทำไปดว้ ยความสำนึกในจติ ใจ โดยมี เปา้ หมายวา่ เป็นการกระทำหรือพฤตกิ รรมทด่ี ี คุณสมบัติของครูจึงเปน็ คุณสมบัตทิ ่ีดงี าม ความถกู ตอ้ งท่ถี ือ ปฏบิ ัติเป็นประจำ ทำหน้าท่ีอบรมส่งั สอนให้การศกึ ษาแก่ศิษย์ “… ครู นอกจากมีหน้าท่ีใหว้ ิชาความรู้ ใหส้ ติปัญญาแก่ศิษย์ ยงั ต้องอบรมส่งั สอนศิษย์ในดา้ น ศีลธรรมจรรยา บม่ นสิ ัยขัดเกาจติ ใจให้ศษิ ย์เป็นเปน็ คนดีมคี ุณธรรมควบคูไ่ ปด้วย ความ รู้นน้ั จะชว่ ยใหศ้ ิษย์ มงี านมกี ารเป็นหลักฐานทำประโยชน์ แกส่ ังคมและชาตบิ า้ นเมืองได้เมื่อวัยอันควร ส่วนคุณธรรมช่วยสร้าง เสริมให้ศิษย์เปน็ โดยสมบูรณ์และดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสขุ ครจู ึงมีความสำคัญ เปน็ ผมู้ ีพระคุณอัน ยงิ่ ใหญท่ ี่บรรดาศษิ ย์ทั้งหลายพึงจดจำรำลกึ ไว้อยเู่ สมอ...” ( พระราชดำรสั ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสเสดจ็ พระราช ดำเนินเปน็ องคป์ ระธาน เปดิ งานวันครู คร้ังท่ี ๔๕ วนั ท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๔๔ ณ หอประชุมครุ สุ ภา )
ห น้ า | ๘๘ บทท่ี ๘ จรยิ ธรรมความเป็นครู วตั ถุประสงคป์ ระจำบท เมือ่ ศึกษาเน้อื หาในบท ๘ แลว้ นสิ ิตสามารถ ๑.อธิบายความหมายและจรยิ ธรรมความเป็นครูได้ ๒.อธิบายจรรยาบรรณต่อผเู้ รียนและต่ออาชีพได้ ๓.อธบิ ายหลักพทุ ธธรรมท่ใี ช้ในกระบวนการเรียนการสอนได้ ๔.อธิบายความมุ่งหมายของการศกึ ษาตามวถิ พี ุทธได้ ๕.อธิบายวิถีพทุ ธกับการศึกษาและกัลยาณมติ รในการพัฒนาได้ เนอื้ หาประจำบท ๑.ความหมายและจริยธรรมความเป็นครู ๒.จรรยาบรรณตอ่ ผู้เรียนและต่ออาชพี ๓.หลักพุทธธรรมท่ีใช้ในกระบวนการเรียนการสอน ๔.ความมุ่งหมายของการศึกษาตามวิถพี ุทธ ๕.วถิ ีพทุ ธกบั การศึกษาและกัลยาณมติ รในการพัฒนา
๘๙ ๘.๑ ความนำ การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทำให้มนุษ์สามารถพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของตนเอง ให้สามารถอยู่ใน สังคมได้อยา่ งมคี วามสุข มีการเก้อื หนุนการพัฒนาประเทศได้อยา่ งเหมาะสม สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ในทุกๆ ด้าน และบคุ คลทีม่ ีความสำคญั อย่างย่ิงต่อการจัดการศึกษาดงั กลา่ วก็คือครนู ั่นเอง เพราะครเู ป็นผู้ท่ี มหี น้าทีส่ รา้ งประสบการณ์การเรยี นรู้ และการพัฒนาโดยรอบให้เกดิ ในตัวผู้เรยี น เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในเชงิ วิชาการ นำไปสูก่ ารมีสภาพชีวติ ความเปน็ อยู่ทด่ี ีขึ้น รวมทง้ั การดำรง ตนเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคมดังน้ันการจะพฒั นาการศึกษาให้มีคณุ ภาพจึงย่อมต้องพง่ึ พาอาศัยครูที่มีคุณภาพ ครทู มี่ คี วามเปน็ ครู คำวา่ ครู หรอื ครุ ุ ในภาษาไทย มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต \"คุร\"ุ และภาษาบาลี \"ครุ, คุรุ\" ซ่งึ แปล ความได้ วา่ เป็นผทู้ ห่ี นักในวิชาความรู้ ในคณุ ธรรม และในภารกจิ การงาน รวมทัง้ การทำหนา้ ท่ยี กย่องเชดิ ชู ศิษย์ของตนเอง จากผู้ที่ไมร่ ู้ใหก้ ลายเปน็ ผรู้ ู้ ผ้ทู ่ไี มม่ ีความสามารถให้มีความสามารถ ผทู้ ไ่ี ม่มคี วามคิดให้มี ความคิด ผ้ทู ่ีมคี วามประพฤติไม่เหมาะสมใหม้ ีความเหมาะสม และจากผู้ทไ่ี ม่พงึ ปรารถนาใหเ้ ป็นผู้ท่ีพึง ปรารถนา ซงึ่ ตามนัยของความเปน็ ครูในภาษาไทยจึงเป็นผู้ทีต่ อ้ งทำงานหนักจริงๆ ๘.๒ ความหมาย ปัจจุบนั คำวา่ “คร”ู กับ “อาจารย์” มกั จะใช้ปะปนหรอื ควบคกู่ นั เสมอ จนบางคร้ังดู เหมือนวา่ จะมี ความหมายเป็นคำคำเดยี วกัน แต่ในความเป็นจริงแลว้ รากศพั ท์เดิมของ คำว่า “อาจารย์” ไมเ่ หมือนกบั คำ ว่า “คร”ู และเม่ือพจิ ารณาถึงความหมายดัง้ เดิมแลว้ ยงิ่ ไม่ เหมือนกัน ท่านพุทธทาสภิกขุ (๒๕๒๙: ๙๓) ไดจ้ ำแนกความหมายของ “อาจารย์” เปน็ ๒ แบบ คือ ๑.ความหมายดัง้ เดมิ หมายถึง ผฝู้ กึ มารยาท หรือเปน็ ผ้คู วบคมุ ให้อยู่ในระเบียบ วนิ ยั เปน็ ผูร้ ักษา ระเบียบกฎเกณฑต์ ่าง ๆ ๒.ความหมายปจั จบุ นั หมายถงึ ฐานะช้นั สงู หรอื ช้ันหนงึ่ ของผูท้ ่ีเปน็ ครู ในหนังสือพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมของพระราชวรมุนี (ประยุกต์ ปยุตโฺ ต) (๒๕๒๘: ๑๘๕) อธบิ ายความหมายของอาจารย์ไว้ดังนี้ ๑. ผปู้ ระพฤตกิ ารอันเก้ือกลู แกศ่ ิษย์ ๒. ผูท้ ่ีศิษย์พึงประพฤติดว้ ยความเออื้ เฟ้อื ๓. ผสู้ ่งั สอนวิชาและอบรมดูแลความประพฤติ แต่ความหมายของคำวา่ “อาจารย์” ตามทัศนะของชาวตะวันตก จะหมายถึง ผสู้ อนในวทิ ยาลัยและ มหาวทิ ยาลยั ทมี่ ีตำแหนง่ ต่ำกวา่ ระดับศาสตราจารย์ และเป็นผูส้ อน ทตี่ ้องรับผดิ ชอบต่อการสอนนกั ศึกษา ให้เกิดความก้าวหนา้ ตามประสงค์เฉพาะของ การศึกษาท่ีกำหนดไว้ เม่ือพิจารณาความหมายของคำว่า “อาจารย์” ตามทศั นะของคนไทยกับทัศนะ ของชาวตะวันตก แล้วจะเห็นไดว้ ่า อาจารย์ของชาวตะวันตกจะเน้นความสำคญั ไปทก่ี าร สอน คอื เป็นผู้มคี วามเชี่ยวชาญใน การสอนเฉพาะดา้ น และเปน็ ผ้ทู ่ที ำการสอนใน สถาบันการศกึ ษาชั้นสงู แต่ความหมายของคำวา่ “อาจารย์” ตามทศั นะของคนไทย จะมี ความหมายกวา้ งกว่า คือเปน็ ทง้ั ผู้สอนวิชาความรู้ อบรมดแู ลความประพฤติ และเปน็ ผู้ท่มี ี ฐานะสูงกวา่ ผู้เป็นครู ดงั นัน้ จงึ พอสรุปความหมายของคำว่า “อาจารย์” ได้ว่า “เปน็ ผ้สู อน
๙๐ วิชาความรู้และอบรมความประพฤติของลกู ศิษย์ เป็นผมู้ สี ถานะภาพสูงกวา่ “คร”ู และมกั เปน็ ผูท้ ที่ ำการ สอนในระดบั วทิ ยาลยั และมหาวิทยาลัย” ในปัจจุบันนี้ ผทู้ ีท่ ำหน้าที่การสอนไมว่ า่ จะมคี ุณวุฒริ ะดับใด ทำการสอนในระดบั ไหน จะนิยม เรยี กวา่ “อาจารย์” เหมอื นกันหมด ซง่ึ มิใชเ่ รื่องเสียหายอะไร ในทางตรงกัน ข้าม กลบั จะเปน็ การยกยอ่ ง และใหค้ วามเท่าเทยี มกนั กับคนท่ีประกอบวชิ าชีพเดียวกนั ดังนั้น ส่ิงสำคญั ท่ีสดุ มิใช่เป็นคำวา่ “คร”ู หรือ “อาจารย์” แต่อยู่ท่ีการทำหน้าท่ีของตนให้ สมบูรณ์ท่ีสดุ ความหมายของคำท่เี กี่ยวกับ ครู-อาจารย์ คำท่มี ีความหมายคล้ายกบั ครู มีหลายคำ เช่น ๑. อปุ ัชฌาย์ - ทา่ นพุทธทาสภกิ ขุ อธิบายความหมายของ “อปุ ัชฌาย์” ว่า หมายถึง ผู้สอนวิชาชพี แตใ่ นปัจจุบนั น้ี หมายถงึ พระเถระ ผู้ใหญ่ ที่ทำหนา้ ท่เี ปน็ ผูบ้ วชกุลบตุ รในพระพทุ ธศาสนา ๒. ทศิ าปาโมกข์ - หมายถึง อาจารยท์ ม่ี คี วามรู้และชือ่ เสียงโดง่ ดงั ในสมยั โบราณ ผูม้ ีอัน จะกินจะต้องสง่ บุตรหลานของตนไปสู่สำนกั ทิศา ปาโมกข์ เพ่อื ให้เรยี นวิชาท่ีเป็นอาชีพ หรือ วชิ าช้ันสงู ใน สาขาวชิ าต่าง ๆ เพื่อกลับไปรับหนา้ ท่ที ำการงานที่สำคญั ๆ ๓. บรุ พาจารย์ หรอื บูรพาจารย์ คือ อาจารย์เบ้ืองตน้ หมายถงึ บิดา มารดา ซ่งึ ถือว่าเป็น ครคู นแรกของบตุ ร ธิดา ๔. ปรมาจารย์ คอื อาจารยผ์ เู้ ปน็ เอกหรือยอดเยย่ี มในทางวชิ าใดวชิ าหนง่ึ ๕. ปาจารย์ คอื อาจารย์ของอาจารย์ สว่ นคำศัพท์ในภาษาองั กฤษที่มคี วามหมายคล้ายกับคำว่า ครู หรือ Teacher มีหลายคำ คือ ๑. Teacher หมายถึง ผ้ทู ีท่ ำหน้าท่ปี ระจำในโรงเรียน หรอื สถาบนั การศึกษา ต่าง ๆ ตรงกับ คำว่า ครู หรอื ผสู้ อน ๒. Instructor หมายถึง ผทู้ ท่ี ำหน้าที่เป็นผูส้ อนโดยเฉพาะในวิทยาลยั หรือ มหาวิทยาลยั ตรง กับคำว่า อาจารย์ ๓. Professor (ในประเทศองั กฤษ) หมายถึง ตำแหน่งผู้สอนท่ีถือวา่ เป็น ตำแหนง่ สูงสุดในแต่ ละสาขาวชิ าในมหาวิทยาลยั ต่าง ๆ แต่ใน อเมริกาและแคนาดาใชเ้ ป็นคำนำหน้านามสำหรบั ผสู้ อนใน วทิ ยาลยั หรอื มหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ เช่น ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ใชค้ ำวา่ Assistant Professor รองศาสตราจารย์ ใช้คำวา่ Associate Professor ศาสตราจารย์ ใชค้ ำวา่ Professor ๔. Lecturer หมายถึง บุคคลผสู้ อนในมหาวิทยาลยั หรือวทิ ยาลัย ตรงกับคำวา่ ผูบ้ รรยาย ๕. Tutor หมายถึง ผทู้ ่ีทำหน้าทสี่ อนนักศึกษาเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือ รายบุคคล โดยทำงานเป็น สว่ นหนงึ่ ของผูบ้ รรยาย คลา้ ย ๆ กับ ผสู้ อนเสรมิ หรอื สอนกวดวิชา ๖. Sophist เป็นภาษากรีกโบราณ หมายถึง ปราชญผ์ สู้ อนวชิ าต่าง ๆ คล้ายกบั คำว่า “ทิศา ปาโมกข”์ ๑ ๘.๒.๑ ประเภทของครู ๑.ครูในระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา ๑ ภาษติ สุขวรรณดี. ความสำคัญของวชิ าชีพครู. web.aru.ac.th/thani/images/Impro.doc.
๙๑ ๑.๑ ครปู ระจำชน้ั หมายถึง ครผู ู้ดแู ลนักเรยี นในห้องเรียนหรอื ชน้ั เรียนหน่งึ ๆ เป็นเวลาหนง่ึ ภาคเรยี นหรือหนึ่งปกี ารศึกษา พรอ้ มท้งั ทำหนา้ ที่ธรุ การประจำห้องเรยี น ๒.ครูในระดบั อุดมศึกษา ๒.๑ ผ้สู อนในวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยหรือระดับอุดมศึกษา จะมีตำแหน่ง อาจารย์ โดยอาจารยท์ ี่ไดร้ ับตำแหน่งทางวชิ าการ ได้แก่ อาจารย์, ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ ตามลำดับ การไดร้ ับตำแหน่งทางวชิ าการเปน็ ไปตามระเบียบข้อบงั คับ ของสำนักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา ๓.ครผู ู้ดแู ลระบบจัดการโรงเรียน ๓.๑ ครูทท่ี ำหนา้ ท่ีดูแลระบบทงั้ โรงเรยี น จะเรยี กว่า ครูใหญ่ ซ่ึงคล้ายคลงึ กับ คณบดี หรืออธิการบดี ในระดบั อดุ มศึกษา โดยหน้าที่ของครใู หญม่ ักจะทำหน้าที่ดแู ลระบบการจัดการของ โรงเรียนมากกว่าการสอนในห้องเรยี น ตอ่ มาเปน็ ตำแหน่งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ทำหนา้ ทบ่ี รหิ าร สถานศกึ ษา๒ ตำแหน่งครู คือบุคคลที่ทำหนา้ ท่ชี ่วยสอน สอนทบทวน สอนภาคปฏบิ ัติ แตกต่างจากอาจารย์ที่ สอนภาคบรรยายเรอื่ งต่าง ๆในอดีตความสัมพันธข์ องครูประจำช้ันจะเปรียบเสมือนผปู้ กครองคนที่สอง ต้อง คอยดูแลเอาใจใส่ อบรมสั่งสอน ช่วยแก้ปัญหา และเชอื่ มโยงความสัมพันธ์ระหวา่ งโรงเรยี นกับบ้าน อนั เป็น ผลทำใหค้ รูและโรงเรียนได้รับความศรัทธาพร้อมท้ังมบี ุญคุณต่อนักเรยี น และครอบครัว ระบบการศกึ ษา สว่ นใหญ่ในโรงเรียนทั่วโลกมกี ารนักเรียนออกเปน็ ช้นั ๆ เปน็ ห้อง ๆ เพื่อความสะดวกตอ่ การเรียนการสอน และการดูแลปกครอง รวมทัง้ ทำกิจกรรมอ่ืน ๆ โดยเรยี กเรียกวา่ \"ห้องเรียน\" หรอื \"ชัน้ เรียน\" (Classroom) และเรยี กเพอ่ื นรว่ มช้ันเรยี นเดียวกันวา่ \"เพ่ือนร่วมชัน้ \" (Classmates) ๘.๓ จรยิ ธรรมความเป็นครู วิชาชีพครูได้รบั การยกย่องและจดั เปน็ วชิ าชพี ชน้ั สูงท่ีมีความจำเปน็ ตอ่ สงั คม เปน็ อาชีพทีช่ ว่ ย สรา้ งสรรค์จรรโลงให้สังคมเป็นไปในทางทีป่ รารถนา ฉะนน้ั กลุ่มผู้ประกอบวิชาชพี จึงต้องมคี วามรบั ผิดชอบ ต่อสงั คมในระดับท่ีสูงเช่นกัน ยิง่ สงั คมยกย่องเคารพและไวว้ างใจผปู้ ระกอบวิชาชพี ครูมากเทา่ ใดผู้ประกอย วชิ าชพี ครูก็ต้องประพฤตปิ ฏิบัตติ นให้เหมาะสมกับความเคารพเชอื่ ถือไวว้ างใจเพียงนั้น การกำหนดจรรยา บรรณครูหรือจรรยาบรรณวิชาชพี ครู จงึ เป็นมาตรการหนึ่งทใ่ี ชค้ วบคุมความประพฤตปิ ฏิบัติตนของผู้ ประกอบวิชาชพี ครู อาจกลา่ วได้ว่าเป็นการประกนั คณุ ภาพของครูให้กับสงั คมประการหนึ่งดว้ ยเปน็ การ ยืนยนั กับสงั คมวา่ ในวงการครูนั้น ครจู ะควบคุมสอดส่องดแู ลความประพฤติของกลมุ่ ครดู ้วยกันตลอดเวลา มี การลงโทษท้งั ทางกฎหมายและทางสงั คม การควบคุมความประพฤติหรือการปฏิบตั ิตนของครนู น้ั วิธีการทด่ี ที ่ีสดุ คือการสรา้ งจิตสำนกึ หรอื การควบคุมทางจติ ใจ ครูทม่ี ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมสูงด้วยยอ่ มเป็นครูที่มีจรรยาบรรณเปน็ มาตรวัดมาตรฐาน ความเป็นครูของผปู้ ระกอบวิชาชีพครทู สี่ ำคัญยง่ิ ครทู ี่มคี ณุ ธรรมย่อมเปน็ ครูทม่ี ีจรรยาบรรณทีด่ นี ่นั เอง๓ ๒http://th.wikipedia.org/wiki/ครู ๓ คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี ครูwww.oo-cha.com/courses/TC1/10.pdf
๙๒ ๘.๓.๑ ความหมาย จรรยาบรรณ ตามรปู ศพั ทแ์ ล้วก็คือ จรรยา กบั บรรณ คำว่าจรรยา มคี วามหมาย เช่นเดียวกับคำวา่ จริย ซ่ึงหมายถงึ กริยาซึง่ ควรปฏบิ ัติ สิ่งท่ีพึงปฏิบตั ิ ในวงการวชิ าชพี ต่าง ๆ นน้ั นยิ มใชค้ ำ วา่ จรรยา ซงึ่ แปลวา่ กริ ิยาทคี่ วรปฏบิ ัติในหมคู่ ณะ ส่วนคำว่า บรรณ แปลวา่ หนังสอื เมอื่ รวมคำขน้ึ ใหมว่ ่า จรรยาบรรณ ซ่งึ หมายถงึ ความประพฤติท่ีผ้ปู ระกอบวิชาชีพตา่ ง ๆ กำหนดขึน้ เพ่ือรกั ษาช่ือเสียงเกยี รติคุณ ของวิชาชพี นัน้ ๆ โดยบัญญตั ิไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร จรรยาบรรณจึงเปน็ กฎเกณฑ์ที่พึงปฏบิ ตั ิโดยกำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรทชี่ ัดเจน สำหรับเปน็ กติกาของ หมคู่ ณะในวงการเดียวกัน เปน็ กฎทท่ี ุกคนต้องปฏบิ ัตติ าม หากฝา่ ฝืนก็จะถกู รังเกยี จหรือตอ่ ตา้ น อนั เป็นการ ลงโทษทางสงั คมสำหรบั วิชาชพี คนใดผิดจรรยาบรรณจงึ ต้องถูกลงโทษตามกฎหมายดว้ ย หมายถงึ ประมวลมาตรฐานความประพฤติท่ผี ปู้ ระกอบวิชาชีพจะต้องประพฤตปิ ฏิบัติเป็น แนวทางให้ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ปฏบิ ตั อิ ย่างถูกต้องเพ่ือผดงุ เกียรติและสถานะของวชิ าชพี นั้นกไ็ ดผ้ ูก้ ระทำผดิ จรรยาบรรณ จะตอ้ งไดร้ บั โทษโดยวา่ กล่าว ตักเตือน ถูกพักงาน หรอื ถูกยกเลิกใบประกอบวชิ าชีพได้ หมายถึง ข้อกำหนดเกีย่ วกบั ความประพฤติหรอื การปฏบิ ตั ติ นของการประกอบวชิ าชพี ครู เพ่ือรักษาหรือสง่ เสรมิ เกียรติคณุ ชื่อเสยี งและฐานะของความเปน็ ครู จรรยาบรรณของครูอย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษรกำหนดขน้ึ คร้งั แรกเมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๖ โดย หม่อมหลวงป่ิน มาลากลุ ซึง่ เป็นรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ และเปน็ ประธานกรรมการอำนวยการ ครุ ุสภาในขณะน้ัน ได้ออกระเบยี บจรรยาบรรณสำหรับครูไทยขน้ึ พร้อม ๆ กัน ๒ ฉบบั คือ ฉบบั ที่ ๑ เรียกว่า “ระเบยี บคุรสุ ภาวา่ ด้วยวนิ ยั ตามระเบียบประเพณคี รู พ.ศ. ๒๕๐๖” ฉบบั ที่ ๒ เรยี กวา่ “ระเบียบคุรสุ ภาวา่ ดว้ ยจรรยามรรยาทตามระเบียบประเพณคี รู พ.ศ. ๒๕๐๖” ฉบับท่ี ๓ เรยี กว่า “ระเบยี บคุรุสภาว่าด้วยจรรยามรรยาทและวนิ ยั ตามระเบยี บประเพณีของครู พ.ศ. ๒๕๒๖” ฉบบั ที่ ๔ เรยี กว่า “ระเบยี บคุรุสภาวา่ ด้วยจรรยาบรรณครู พ.ศ. ๒๕๓๙” ฉบบั ท่ี ๕ เรยี กวา่ “ข้อบังคบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘” สำหรบั จรรยาบรรณวิชาชพี ครฉู บับที่ ๕ นี้ ออกตามความในมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๑๑) (จ) (ฌ) มาตรา ๔๙ และมาตร ๕๐ แหง่ พระราชบัญญัตสิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกาศใช้ เมอ่ื วันท่ี ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ลงประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเมื่อวันที่ ๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และมีผลบงั คับใชว้ นั ที่ลงประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ๘.๓.๔ ความสำคญั จรรยาบรรณในวิชาจะเป็นส่ิงสำคญั ในการที่จะจำแนกอาชีพวา่ เป็นวิชาชพี หรอื ไม่ อาชีพท่ี เป็น“วชิ าชีพ”นน้ั กำหนดใหม้ ีองค์กรรองรับและมีการกำหนดมาตรฐานของความประพฤติของผู้อยู่ในวงการ วิชาชีพซง่ึ เรยี กวา่ “จรรยาบรรณ“ สว่ นลกั ษณะ “วชิ าชีพ ” ทส่ี ำคญั คือ เป็นอาชพี ท่ีมศี าสตร์ชั้นสูง รองรบั มีการศึกษาคน้ ควา้ วิจัยและพัฒนาวชิ าชีพมีการจดั การสอนศาสตรด์ งั กลา่ ว ในระดับอุดมศกึ ษาทง้ั การสอน ดว้ ยทฤษฏแี ละการปฏิบัติจนผู้เรียนเกดิ ความชำนาญ และมปี ระสบการณ์ในศาสตร์น้นั นอกจากนจ้ี ะต้องมี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122