Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา

Description: รายวิชา ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียน การวิเคราะห์ปัญหา ที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้

Keywords: นวัตกรรม,เทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

โ ด ย ทิ พ ย์ ขั น แ ก้ ว นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศการศึกษา EDUCATIONAL INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย Mahachulalongkornrajavidyalaya University หลักสูตรครุศาสตรบัณฑติ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา หมวดวิชาเอกบังคับ รหัสวชิ า ๒๐๐ ๒๐๖ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา (Educational Innovation and Information Technology) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์ ขันแกว้ วิทยาลยั สงฆบ์ ุรรี มั ย์ วดั พระพทุ ธบาทเขากระโดง ตาบลเสม็ด อาเภอเมอื ง จังหวัดบรุ รี ัมย์

คำนำ เอกสารประกอบการสอน รายวิชา “นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา” (Educational Innovation and Information Technology) ในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาไทย การสอนสงั คมศกึ ษา การสอนภาษาองั กฤษ ผสู้ อนไดร้ วบรวมข้ึน เพ่ือให้นิสิต และผู้ท่ีสนใจ ได้ศึกษาประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาที่เรียนโดยได้นำแนวสังเขปรายวิชา ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียน การวิเคราะห์ปัญหา ทเ่ี กิดจากการ ใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ แหลง่ การเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ การออกแบบ การสร้าง การ นำไปใช้ การประเมนิ และการปรบั ปรงุ นวัตกรรม กราบขอบพระเดชพระคุณพระศรีปริยัติธาดา,ผศ. ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ที่ให้ โอกาสในการจัดทำเอกสารประกอบการเรียนรายวิชานี้ เพื่อเป็นประโยชน์แก่นิสิตและผู้ท่ีสนใจ ได้ศึกษา ค้นคว้าใชเ้ ป็นเอกสารประกอบการเรียน มิไดม้ ุง่ หวังผลกำไรทางการคา้ แตอ่ ย่างใด เอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มนี้ ผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ทเ่ี ผยแพรท่ างอนิ เตอรเ์ นต็ โดยไมไ่ ด้ขออนญุ าตจากเจา้ ของบทความ ต้องขออภัยไว้ ณ ทน่ี ี้ หวังเป็นอย่างย่ิง เอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มนี้ จะอำนวยประโยชน์แก่นิสิต ผู้ที่สนใจ และคณาจารย์ หากท่านผู้อ่านพบข้อบกพร่องหรือมีคำช้ีแนะ เพ่ือการปรับปรุงให้สมบูรณ์มากขึ้น ผู้จัดทำยินดีรับฟังความคิดเห็น และจะนำไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนาให้เอกสารท่ีสมบูรณ์และมีคุณค่า ทางการศึกษาตอ่ ไป ผศ.ดร.ทพิ ย์ ขนั แกว้ อาจารย์ประจำรายวิชา ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔

บท สารบัญ หนา้ คำนำ ก สารบญั ข รายละเอยี ดประจำวชิ า ฆ บทที่ ๑ ความรูท้ วั่ ไปเกี่ยวกับแนวคดิ ทฤษฎแี ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑ ๑.๑ ความนำ ๒ ๑.๒ หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกบั เทคโนโลยีการศึกษา ๒ ๑.๓ ความหมาย ๔ ๑.๔ นวตั กรรมการศกึ ษา ๗ ๑.๕ นวัตกรรมทางดา้ นหลักสูตร ๑๒ ๑.๖ การใชน้ วัตกรรมการศึกษาดา้ นต่างๆ ในประเทศไทย ๑๔ ๑.๗ นวัตกรรมทางการศึกษาท่ีสำคัญของไทยในปัจจบุ นั ๑๙ สรปุ ท้ายบท ๒๑ บทท่ี ๒ ทฤษฎีและแนวโนม้ เกีย่ วกบั การบรหิ ารการศึกษา ๒๒ ๒.๑ ความนำ ๒๓ ๒.๒ ความรเู้ บื้องตน้ เกีย่ วกบั การบรหิ ารการศกึ ษา ๒๔ ๒.๓-ทฤษฎีการบริหารการศึกษา ๒๕ ๒.๔ มติ ิของเทคโนโลยกี ารศกึ ษากับการสอนทางไกล ๒๘ สรปุ ท้ายบท ๓๑ บทท่ี ๓ การวิเคราะหป์ ญั หาท่เี กดิ จากใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓๒ ๓.๑ ความนำ ๓๓ ๓.๒ ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓๓ ๓.๓ บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศทม่ี ีตอ่ การบริหารจดั ๓๕ การศึกษา ๓.๔ การวิเคราะห์สภาพและปัญหาของการใชน้ วัตกรรมเทคโนโลยแี ละ ๓๗ สารสนเทศ ๓.๕ ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ระบบ ( System Analysis ) ๔๑ ๓.๖ ระบบการเรยี นการสอน ๔๑ ๓.๗ ทฤษฎกี ารรบั รู้ ๔๒ สรุปท้ายบท ๔๔ บทท่ี ๔ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ ๔๕ ๔.๑-ความนำ ๔๖ ๔.๒ ความหมาย ๔๖ ๔.๓-แนวความคดิ ๔๗

บท ส สารบัญ หนา้ ๔.๔-หลักสำคัญของเครือขา่ ยการเรียนรู้ ๔๘ ๔.๕ แหลง่ สารสนเทศกับการศกึ ษาตลอดชีวติ ๔๙ ๔.๖-การเรียนการสอนออนไลน์ ๕๔ ๔.๗-การศึกษาทางไกล ๕๘ ๔.๘-การศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบกบั การศกึ ษาทางไกล ๕๙ ๔.๙-E-learning ๖๑ สรปุ ท้ายบท ๖๔ บทที่ ๕ ความรพู้ ้ืนฐานในการผลติ และใช้สื่อการเรยี นการสอน ๖๕ ๕.๑ ความนำ ๖๖ ๕.๒ ความหมาย ๖๖ ๕.๓ ความสำคัญ ๖๗ ๕.๔ ประเภทของสื่อการสอน ๖๙ ๕.๕-ระบบการผลิตสอ่ื การสอน ๗๑ ๕.๖-การเลอื กสอ่ื การสอน ๗๒ ๕.๗-การใช้สอ่ื การสอน ๗๓ ๕.๘-การกำหนดจุดประสงค์ ๗๔ ๕.๙-การเลอื กดัดแปลงหรือออกแบบสื่อ ๗๕ สรุปทา้ ยบท ๗๖ บทท่ี ๖ การออกแบบ การสรา้ ง การนำไปใช้ ๗๘ ๖.๑ ความนำ ๗๙ ๖.๒ ความหมาย ๗๙ ๖.๓ ความสำคัญ ๘๐ ๖.๔-การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศไทย ๘๑ ๖.๕/หลกั การพิจารณานำนวัตกรรมมาใช้พัฒนาการเรยี นรู้ ๘๖ สรปุ ท้ายบท ๘๘ บทที่ ๗ ความเป็นมาและพัฒนาการของส่ือการสอน ๙๐ ๗.๑ ความนำ ๙๑ ๗.๒-ววิ ฒั นาการสือ่ การเรียนการสอนจากกระดานชนวนสู่ยคุ E-Book ๙๖ ๗.๓-บทบาทของครกู ับสื่อการเรยี นการสอน ๙๙ ๗.๔-ปัญหาในการใชส้ ่ือการสอนของครูผู้สอน ๑๐๑ สรปุ ท้ายบท ๑๐๒ บทที่ ๘ การประเมินและการปรับปรุงนวตั กรรม ๑๐๓

บท สารบญั หนา้ บรรณานกุ รม ๘.๑ ความนำ ๑๐๔ ๘.๒ ความหมาย ๑๐๔ ๘.๓ ความสำคญั ๑๐๖ ๘.๔-การประเมนิ นวัตกรรมด้านการเรียนการสอน ๑๐๖ ๘.๕ กระบวนการตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั นวตั กรรม ๑๐๙ ๘.๖ การประเมินนวัตกรรมของ e-learning เทยี บกับเกณฑต์ า่ งๆ ๑๑๑ สรุปทา้ ยบท ๑๑๒ ๑๑๓

บทท่ี ๑ ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั แนวคดิ ทฤษฎแี ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ วัตถุประสงค์การเรียนประจาบท เมอื่ ศกึ ษาบทท่ี ๑ จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ 1.อธบิ ายหลักการและทฤษฎเี ก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศได้ 2.อธิบายทฤษฎีการเรยี นรตู้ ามแนวคิดพฤตกิ รรมศาสตร์ได้ 3.อธิบายนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษาได้ 4.อธิบายแนวคดิ พ้ืนฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษาได้ 5.อธิบายนวัตกรรมทางการศกึ ษาที่สาคัญของไทยในปจั จุบนั ได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา  หลกั การและทฤษฎีเกย่ี วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ  ทฤษฎีการเรยี นรู้ตามแนวคิดพฤติกรรมศาสตร์  นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา  แนวคดิ พน้ื ฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา  นวัตกรรมทางการศึกษาท่ีสาคญั ของไทยในปัจจบุ นั

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 2 ๑.๑ ความนา ในการศึกษาความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ ควรทาความเข้าใจแนวคิด เก่ียวกับการบริหารเป็นเบ้ืองต้นก่อน กล่าวคือ สืบเนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์สังคม ซึ่งหมายถึง มนุษย์ โดยธรรมชาตยิ อ่ มอยรู่ วมกันเป็นกลมุ่ ไมอ่ ยู่อยา่ งโดยเด่ียว แต่อาจมีข้อยกเว้นน้อยมากท่ีมนุษย์อยู่โดด เด่ยี วตามลาพัง เช่น ฤษี การอยูร่ วมกนั เป็นกลมุ่ ของมนษุ ย์อาจมีได้หลายลักษณะและเรยี กต่างกัน เป็น ต้นว่า ครอบครัว (family) เผ่าพันธุ์ (tribe) ชุมชน (community) สังคม (society) และประเทศ (country) เมื่อมนุษย์อยู่รวมกันเป็นกลุ่มย่อมเป็นธรรมชาติอีกที่ในแต่ละกลุ่มจะต้องมี “ผู้นากลุ่ม” รวมทั้งมี “แนวทางหรือวิธีการควบคุมดูแลกันภายในกลุ่ม” เพ่ือให้เกิดความสุขและความสงบ เรียบร้อย สภาพเช่นน้ีได้มีวิวัฒนาการตลอดมา โดยผู้นากลุ่มขนาดใหญ่ เช่น ในระดับประเทศของ ภาครัฐ ในปัจจุบันอาจเรียกว่า “ผู้บริหาร” ขณะที่การควบคุมดูแลกันภายในกลุ่มนั้น เรียกว่า การ บริหาร (administration) หรือการบริหารราชการ (public administration) ด้วยเหตุผลเช่นน้ี มนษุ ย์จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงจากการบริหารหรือการบริหารราชการได้ง่าย และทาให้กล่าวได้อย่างม่ันใจ วา่ \"ทใ่ี ดมีประเทศ ท่ีนน่ั ยอ่ มมีการบริหาร\"1 หลักการ (Principle) ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ หมายถึง สาระสาคัญท่ียดึ ถอื เปน็ แนวปฏบิ ตั ิ แนวคิด (Concept) ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถงึ ความคิดท่มี ีแนวทางปฏิบตั ิ ทฤษฎี (Theory) หมายถงึ สมมติฐานทไ่ี ดร้ ับการตรวจสอบและทดลองหลายคร้ังหลายหนจน สามารถอธิบายข้อเท็จจริง สามารถคาดคะเนทานายเหตุการณ์ทั่วๆ ไป ที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ นัน้ อย่างถกู ต้องและมเี หตผุ ลเป็นทีย่ อมรบั ของคนทัว่ ไป จงึ เปน็ ผลใหส้ มมตฐิ านกลายเปน็ ทฤษฎี2 ๑.๒ หลักการและทฤษฎีเก่ียวกบั เทคโนโลยกี ารศึกษา ปรชั ญาการศกึ ษา คือ จุดมุ่งหมาย ระบบความเชื่อหรือแนวความคิดท่ีแสดงออกมา ในรูป ของอุดมการณ์หรืออุดมคติทานองเดียวกันกับที่ใช้ในความหมายของปรัชญาชีวิตซ่ึงหมายถึง อุดมการณ์ของชีวิต อุดมคติของชีวิต แนวทางดาเนินชีวิต กล่าวโดยสรุปปรัชญาการศึกษาคือ จุดมงุ่ หมายของการศกึ ษา3 1 แนวคดิ และความหมายของการบรหิ ารและจดั การ. http://www.wiruch.com/articles%๒๐for%๒๐ article/article%๒๐concept%๒๐and%๒๐meaning%๒๐of%๒๐admin%๒๐and%๒๐mgt%๒๐ admin.htm 2 ความหมายของหลกั การ แนวคดิ ทฤษฎ.ี http://pirun.ku.ac.th/~g๕๑๖๖๐๕๖/.../definition.doc 3 วจิ ติ ร-ศรสี อ้าน.ปรชั ญาการศกึ ษา.ในพ้ืนฐานการศึกษา.มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช,-๒๕๒๕, หนา้ - ๑๐๙.

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา 3 ปรัชญาการศึกษา คือ เทคนิคการคิดที่จะแสวงหาคาตอบและกาหนดแนวทางในการ ดาเนนิ งานทางการศึกษา ไม่ว่าการศึกษาในระบบโรงเรียน หรือการศึกษานอกโรงเรียน เริ่มตั้งแต่การ กาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษา ยุทธศาสตร์ทางการศึกษาและการบริหารทางการศึกษาเพ่ือให้เกิด ประสทิ ธภิ าพในการพัฒนามนษุ ยแ์ ละสังคมอย่างแทจ้ รงิ 4 ปรัชญาการศึกษา คือ แนวคิด อุดมคติ หรืออุดมการณ์ทางการศึกษาซ่ึงได้กลั่นกรองมาแล้ว และจะเปน็ แนวทางในการจัดการศกึ ษา5 ปรัชญาการศึกษา คือ เป็นวิชาท่ีว่าด้วยความรู้อันเกี่ยวกับการศึกษาความรู้อันเกี่ยวกับ การศกึ ษานน้ั หมายถงึ วัตถุประสงค์ของการศึกษาเนอื้ หา วิชาทใ่ี ห้ศึกษาและวธิ ีการให้ศกึ ษา6 ทฤษฎีการเรยี นรู้ตามแนวคิดพฤติกรรมศาสตร์ (Behaviorists) สกินเนอร์ (B. F. Skinner) เป็นผู้นาซึ่งได้ทาการศึกษาทดลองกับสัตว์ในเรื่องของ พฤติกรรม ท่ีตอบสนองต่อส่ิงเร้า (Stimulus-Response : S-R Theory) โดยถือว่า การเรียนรู้คือการ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรม เมอ่ื ใดที่มีการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมทส่ี ังเกตเหน็ ได้ถือวา่ เกิดการเรยี นรู้ขน้ึ ทฤษฎีนีจ้ งึ มกี ารกาหนดจุดประสงคก์ ารเรยี นการสอนเปน็ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ สงั เกตเห็นไดแ้ ละถือวา่ พนื้ ฐานของการเรียนรู้-จะม-ี ๓-ลักษณะ-คือ ๑.-การเรยี นรู้ในเรอื่ งทีซ่ ับซอ้ นสามารถจาแนกออกมาเรยี นรเู้ ป็นส่วนย่อยได้ ๒.-ผู้เรยี นเรยี นรูจ้ ากการรบั รแู้ ละประสบการณ์ ๓.-ความรูค้ อื การสะสมข้อเท็จจริงและทักษะตา่ งๆ การเรยี นรตู้ ามแนวคดิ นจ้ี ึงถอื วา่ การเรยี นร้เู ป็นการรู้สาระเนื้อหา ข้อเท็จจริง หลักการและ ทฤษฎี การเรียนการสอน จึงเน้นเรื่องการใช้ตาราเรียนและมุ่งให้ผู้เรียนจาเน้ือหาและข้อเท็จจริงที่ไม่ จาเปน็ ต้องมคี วามตอ่ เนือ่ งสมั พนั ธก์ ันตามแนวคิดนกี้ ารเรียนรจู้ ะมีลักษณะสาคัญ-๔-ประการ-คอื ๑.ผ้เู รยี นตอ้ งมีสว่ นรว่ มในการเรียน ๒.ผลป้อนกลับ (Feedback) ต้องเกิดข้นึ ทนั ที เช่น ครตู อ้ งบอกวา่ ตอบถูกหรือผดิ ๓.แต่ละขน้ั ตอนของการเรียนรตู้ ้องสน้ั ตอ่ เนือ่ งไมย่ ืดยาว ๔.การเรียนรู้-(การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม)ต้องมีการให้รางวัลและเสริมแรง ทฤษฎี การเรยี นรตู้ ามแนวคิดปัญญานยิ ม (Cognitivists) ตามทฤษฎนี ้ีเชอ่ื วา่ ความจริง (Truth) หรือความรู้มีอยู่จริงในโลกหรือในจักรวาล ถ้าเราพบ สิ่งใดส่งิ หนึ่งหน่ึงเราก็จะพบไปเร่ือยๆ ทฤษฎีน้ีจึงถือว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการของจิตที่ต้องมีการรับรู้ จากการกระทามีการ แปลความ ตีความ การให้เหตุผลจนเกิดรู้สานกึ และสะสมเป็นความรใู้ นท่ีสดุ หลักการตามแนวคิดนี้คือที่มาของการเรียนการสอนแบบสืบหาความรู้ (Enquiry) ที่ถือว่า ผู้เรียนไม่มีความรู้มาก่อน ผู้เรียนจะเกิดความรู้ได้ต้องดาเนินการสืบหา (Enquire) จนได้ความรู้นั้น 4 ทองปลวิ ชมช่ืน.ปรชั ญาการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น.นครปฐม,มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๒๙, หนา้ ๑๒๐. 5 กองส่งเสรมิ วทิ ยฐานะครู กรมการฝกึ หดั ครู,หลกั การสอน / กองสง่ เสรมิ วทิ ยฐานะครู กรมการฝกึ หดั ครู, กรุงเทพมหานคร,๒๕๓๐, หนา้ -๒๐. 6 ภิญโญ สาธร.ปรชั ญาการศกึ ษาของไทย. วารสารสภาการศกึ ษาแหง่ ชาติ. ๒๕๒๑ หนา้ ๘๘๑

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 4 จุดเน้นของการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดของกลุ่มปัญญานิยมนี้ จึงต้องการ “ให้รู้ว่าจะได้รู้ อยา่ งไร” มากกว่าการสอน “ใหร้ อู้ ะไร” ในด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ การเรียนรู้ตามแนวคิดนี้จะให้ผู้เรียนดาเนินการเรียนรู้ด้วย ตนเอง และมีบทบาทโดยตรงในการเรียนรู้ (Active Learning) โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตามขั้นตอนดงั น้ี ๑.เกดิ ขอ้ สงสยั -คาถาม-หรือเกิดปัญหาท่ีอยากรคู้ าตอบ ๒.ออกแบบวางแผนทจ่ี ะสารวจตรวจสอบ ๓.ดาเนนิ การเกบ็ ขอ้ มูล ทดลอง สารวจ หาหลกั ฐานประจักษ์พยาน ๔.วิเคราะห์ข้อมลู สร้างคาอธิบายที่สอดคล้องกบั ข้อมลู หรือหลกั ฐาน ๕.สรุปเปน็ ความรู้ ขยายและเผยแพรค่ วามรู้ไปใช้ในสถานการณอ์ ื่นได้ แม้กระบวนการวิทยาศาสตร์ดังกล่าวจะได้รับการยอบรับมาก แต่ในทางปฏิบัติ กระบวน การบางสว่ นยังขาดหายไป เปน็ ต้นวา่ ขน้ั ตอนแรกสว่ นใหญ่ผูเ้ รียนไม่ได้เปน็ ผู้ตัง้ ปญั หาเอง ส่วนมากจะมีปัญหาไว้ให้เสร็จเรียบร้อย และในข้ันตอนที่ ๔ และ ๕ ส่วนมากครู ผู้สอนหรือ หนงั สอื เรียนจะอธบิ ายและสรปุ ไว้ให้ ผู้เรยี นจงึ มโี อกาสนอ้ ยทจี่ ะไดฝ้ ึกปฏิบัติสว่ นน้ี7 ๑.๓ ความหมาย นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การนาเอาเทคโนโลยีทางการศึกษาไปใช้ ในกระบวนการเรียนการสอนน้ัน เรามักจะพบ ว่าเมื่อสถานการณ์ของการใช้เปล่ียนแปลงไป เช่น ช้ัน เรยี นท่ผี ้เู รียนเปลย่ี นไป หรอื เวลาที่ตา่ งกัน สิ่งเหล่านี้ มีผลต่อประสิทธิภาพของวิธีการที่ผู้สอนนาไปใช้ ในการเรียนการสอนทั้งสิ้น ในกรณีที่ใช้วิธีการนั้นต่อไป ซึ่งนับว่าเป็นการใช้เทคโนโลยี แต่ในกรณีท่ี ประสทิ ธิภาพลดลง กม็ คี วามจาเป็นที่จะตอ้ งปรบั ปรงุ วธิ ีการน้นั ๆ หรืออาจต้องหาวธิ ีการใหม่ ๆ มาใช้ ส่ิงใหม่ที่นามาใช้หรือวิธีการที่ได้รับนาเอาการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพน้ีเรียกว่า นวัตกรรม (Innovation) นวัตกรรม = นะวะ (ใหม่) + อัตตา (ตนเอง) + กรรม (การกระทา) ในการดาเนินกิจกรรมด้านต่าง ๆ มักจะเผชิญปัญหาต่าง ๆ มากมายมนุษย์จึงพยายามสร้าง นวัตกรรมข้ึนมาเพื่อแก้ปัญหา เพ่ือเปลี่ยนจากสภาพท่ีเคยเป็นอยู่ไปสู่สภาพที่อยากเป็น นวัตกรรมจึง เข้าไปเก่ียวข้องกับวงการต่าง ๆ เช่น นวัตกรรมทางการแพทย์ นวัตกรรมทางการเกษตร นวัตกรรม ทางอุตสาหกรรม นวัตกรรมทางการบริหาร นวัตกรรมทางการประมง นวัตกรรมทางการส่ือสาร นวัตกรรมทางการศึกษาฯลฯเปน็ ต้น ลักษณะของนวัตกรรมส่ิงที่ต้องจัดว่าเป็นนวัตกรรมควรประกอบด้วยลักษณะดังนี้ ๑. จะต้องเป็นการสร้างสรรค์ข้ึนใหม่ (creative) และเป็นความคิดที่สามารถปฏิบัติได้- (Feasible-ideas) 7 หลกั การและทฤษฎเี กยี่ วกบั เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=๓๑๘๒.๐;wap๒

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา 5 ๒.-จะต้องสามารถนาไปใชไ้ ด้ผลจรงิ จัง-(practical-application) ๓.-มีการแพรอ่ อกไปสชู่ ุมชน-(diffusion-through)8 “นวตั กรรม” หมายถึงความคิด การปฏบิ ตั ิ หรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมใี ช้มาก่อน หรือ เป็นการพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน เมื่อนานวัตกรรมมา ใช้จะชว่ ยใหก้ ารทางานนน้ั ได้ผลดีมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัด เวลา และแรงงานได้ดว้ ย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาส่ิงใหม่ ขน้ึ มา ความหมายของนวัตกรรมในเชงิ เศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์ จากส่ิงที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในส่ิงที่ แตกต่างจากคนอ่ืน โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็น โอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้นศตวรรษท่ี ๒๐ โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐ อุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,๑๙๓๔ โดยจะเน้นไปท่ีการสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี อันจะนาไปสู่การได้มาซ่ึง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพ่ือ ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เปน็ หลัก นวตั กรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรียนรู้และนาไปปฏิบัติให้ เกดิ ผลไดจ้ รงิ อกี ด้วย (พนั ธอ์ุ าจ ชัยรัตน์ , Xaap.com) คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คาน้ี เป็นศัพท์บัญญัติ ของคณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคากริยาว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทย เดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมาพบว่าคาน้ีมีความหมายคลาดเคล่ือน จึงเปลี่ยนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนาสิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงเพ่ิมเติมจากวิธีการที่ทาอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งข้ึน ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือกิจการใด ๆ ก็ตาม เม่ือมีการนาเอาความเปลี่ยนแปลง ใหม่ๆ เข้ามาใช้เพ่ือปรับปรุงงานให้ดีข้ึนกว่าเดิมก็เรียกได้ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการน้ัน ๆ เช่นในวง การศึกษานาเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สาหรับผู้ท่ี กระทาหรือนาความเปลย่ี นแปลงใหม่-ๆ-มาใช้น้ี-เรียกว่าเป็น-“นวัตกร” (Innovator) “นวัตกรรม” ว่าเป็นการนาวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการ พัฒนามาเป็นข้ัน ๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะ เป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนาไปปฏิบัติจริง-ซึ่งมีความ แตกต่างไปจากการปฏบิ ัติเดมิ ทเ่ี คยปฏบิ ตั ิมา(ทอมัส ฮิวช์) “นวัตกรรม” เป็นการทาให้ใหม่ข้ึนอีกคร้ัง (Renewal) ซ่ึงหมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและ พัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การน้ัน ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้ม ลา้ งสงิ่ เกา่ ให้หมดไป-แตเ่ ปน็ การปรบั ปรุงเสรมิ แตง่ และพัฒนา(มอรต์ ัน) 8 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา. http://๖wipapan๓๖. multiply.com/journal/item/๗๗

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา 6 “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการ คดิ คน้ พบวิธีการใหม่ๆ ข้ึนมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมและสิ่งทั้ง หลายเหล่าน้ีได้รับการ ทดลอง พัฒนาจนเป็นท่ีเชื่อถือได้แล้วว่าได้ ผลดีในทางปฏิบัติ ทาให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทาง ได้อย่างมีประสิทธภิ าพข้นึ -(ไชยยศ เรืองสุวรรณ) “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษเอง ความหมายก็ต่างกันเป็น ๒ ระดับโดยท่ัวไป นวตั กรรม หมายถึง ความพยายามใดๆจะเปน็ ผลสาเรจ็ หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพ่ือจะ นาสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงวิธีการท่ีทาอยู่เดิมแล้ว กับอีกระดับหน่ึงซึ่งวงการวิทยาศาสตร์แห่ง พฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยู่ต่อกลุ่มคนที่เก่ียวข้อง คา ว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง ส่ิงท่ีได้นาความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสาเร็จและแผ่กว้าง ออกไป จนกลายเป็นการปฏบิ ตั อิ ย่างธรรมดาสามัญ (บุญเกื้อ ควรหาเวช , ๒๕๔๓) ๑.๔ นวตั กรรมการศกึ ษา นวัตกรรมการศกึ ษา (Educational Innovation ) หมายถงึ นวัตกรรมทจี่ ะช่วยให้การศกึ ษา และการเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพดยี ิ่งขนึ้ ผเู้ รยี นสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิ ผล สูงกว่าเดมิ เกิดแรงจงู ใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซ่ึงมีทั้งนวัตกรรมท่ีใช้กันอย่างแพร่หลาย แล้ว และประเภทท่กี าลังเผยแพร่ เชน่ การเรยี นการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ-(Interactive--Video) -สื่อหลายมิติ (Hypermedia ) และอนิ เทอรเ์ น็ต นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาส่ิงใหม่ซ่ึงอาจจะ อยู่ในรูปของความคดิ หรอื การกระทา รวมทง้ั สง่ิ ประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวัง ทีจ่ ะเปลยี่ นแปลงสงิ่ ท่มี อี ยเู่ ดมิ ให้ระบบการจัดการศกึ ษามปี ระสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน ทาให้ผู้เรียนสามารถเกิด การเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การ สอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอร์เน็ต เหล่าน้เี ปน็ ต้น ๑.๔.๑ ความสาคัญของนวตั กรรมการศกึ ษา นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการศึกษาหลายประการ ท้ังน้ีเนื่องจากในโลกยุคโลกาภิ วัตน์ Globalization มีการเปล่ียนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิง ความก้าวหน้าทั้ง ด้านเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ การศึกษาจงึ จาเป็นตอ้ งมีการพฒั นาเปล่ียนแปลงจากระบบการศึกษาที่ มีอยู่เดิม เพ่ือให้ทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพสังคมที่เปล่ียนแปลงไป อีกทั้ง เพ่ือแก้ไขปัญหาทางดา้ นการศึกษาบางอยา่ งทเี่ กดิ ข้ึนอย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกนั การเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษาจึงจาเป็นต้องมีการศึกษา เก่ียวกับนวัตกรรมการศึกษาท่ี จะนามาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาท่ีเกี่ยวเน่ืองกับจานวนผู้เรียนที่ มากข้ึนการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา 7 ของมนุษย์ให้เพิ่มมากข้ึนด้วยระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหาร จัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เกิด การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง9 ๑.๔.๒-แนวคดิ พืน้ ฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา ปัจจัยสาคัญท่ีมีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพื้นฐานทาง การศกึ ษาทเี่ ปลย่ี นแปลงไป อนั มีผลทาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาคัญๆ พอจะสรุปได้-๔-ประการ- คือ ๑.ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ ใหค้ วาม สาคญั ในเร่อื งความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซ่ึงจะเห็นได้จากแผนการศึกษา ของชาติ ให้มุ่งจัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความ สามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนได้แก่การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้างใช้ความสามารถเป็น เกณฑ์บ้างนวตั กรรม ท่ีเกิดข้นึ เพอื่ สนองแนว ความคิดพนื้ ฐานน้ี เช่น ๑.๑ การเรียนแบบไม่แบง่ ชัน้ (Non-Graded School) ๑.๒ แบบเรยี นสาเรจ็ รปู (Programmed Text Book) ๑.๓ เครือ่ งสอน (Teaching Machine) ๑.๔ การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching) ๑.๕ การจัดโรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School) ๑.๖ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) ๒.ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเช่ือกันว่าเด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความ พร้อมซึ่งเป็น พัฒนาการตามธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ช้ีให้เห็นว่า ความพร้อมในการเรียนเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียนให้พอเหมาะกับระดับ ความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเช่ือกันว่ายากและไม่เหมาะ สมสาหรับเด็กเล็กก็สามารถ นามาให้ศกึ ษาได้ นวตั กรรมท่ตี อบสนองแนวความคิดพื้นฐานน้ไี ด้แก่ ศูนย์การเรียน การจัดโรงเรียนใน โรงเรียน นวัตกรรมทส่ี นองแนวความคิดพืน้ ฐานดา้ นนี้-เช่น ๒.๑-ศูนยก์ ารเรยี น(LearningCenter) ๒.๒-การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น(SchoolwithinSchool) ๒.๓-การปรับปรุงการสอนสามช้ัน (Instructional Development in ๓ Phases) ๓.การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอน มักจะจัดโดยอาศัยความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นช่ัวโมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวัน นอกจากนน้ั กย็ งั จัดเวลาเรียนเอาไว้แน่นอนเปน็ ภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเป็น หน่วยเวลาสอนใหส้ มั พนั ธก์ ับลกั ษณะของแตล่ ะวชิ าซ่ึงจะใชเ้ วลาไม่เท่ากนั บางวิชาอาจใช้ช่วงส้ันๆ แต่ สอนบ่อยคร้ัง การเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะในโรงเรียนเท่านั้นนวัตกรรมท่ีสนองแนวความคิด พืน้ ฐานดา้ นนี้ เชน่ 9 ความหมายของ นวตั กรรมการศกึ ษาและเทคโนโลยที างการศกึ ษา. http://ceit.sut.ac.th/km/wordpress/?p=๑๓๘

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 8 ๓.๑-การจดั ตารางสอนแบบยืดหย่นุ (Flexible Scheduling) ๓.๒-มหาวทิ ยาลยั เปดิ (Open University) ๓.๓-แบบเรียนสาเรจ็ รปู (Programmed Text Book) ๓.๔-การเรียนทางไปรษณยี ์ ๔.ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวชิ าการและการเปล่ยี นแปลงของสังคม ทาให้มีส่ิงต่าง ๆ ท่ีคนจะต้องเรียนรู้เพ่ิมข้ึนมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอจึงจาเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ ท่ีมีประสิทธิภาพสูง ขึ้น ทั้งในด้านปัจจัย เก่ียวกบั ตัวผเู้ รยี น และปัจจยั ภายนอก นวตั กรรมในด้านนที้ ่เี กิดข้ึน เช่น ๔.๑- มหาวิทยาลัยเปดิ ๔.๒- การเรยี นทางวิทยุ การเรยี นทางโทรทัศน์ ๔.๓- การเรยี นทางไปรษณีย์ แบบเรียนสาเร็จรูป ๔.๔- ชดุ การเรียน ๑.๔.๓ เกณฑใ์ นการพิจารณานวตั กรรม เพ่ือที่จะสามารถแยกแยะได้ว่าวิธีการที่นามาใช้ในกระบวนการใด ๆ น้ัน จะเรียกว่า เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประกอบดว้ ยลกั ษณะ ๔ ประการคอื ๑.เปน็ วธิ กี ารใหม่ทงั้ หมดหรอื เกดิ จากการปรับปรุงเปล่ียนแปลงวธิ กี ารเดมิ ๒.มีการนาเอาระบบ (System) พิจารณาองค์ประกอบของกระบวนการดาเนินการ นั้น ๆ ๓.มีการวิจัย หรืออยู่ระหว่างการวิจัยว่า ทาให้กระบวนการดาเนินงานนั้น ๆ มีประสิทธิภาพสงู ข้ึนกว่าเดิม ๔.ยงั ไมเ่ ป็นส่วนหนง่ึ ของระบบในปจั จบุ ัน กลา่ วคอื หากวิธีการนั้น ๆ ได้รับการนาเอา ไปใช้อย่างกว้างขวางโดยทั่วไปแล้ว และวิธีการนั้นมีประสิทธิภาพก็จะถือว่าวิธี การน้ัน ๆ นับเป็น เทคโนโลยี (ศาสตราจารย์ ดร.ชยั ยงค์ พรหมวงศ์) ๑.๔.๔ การปฏเิ สธนวัตกรรม เมื่อมีผู้ค้นคิดหานวัตกรรมมาใช้ไม่ว่าในวงการใดก็ตาม มักจะได้รับการต่อ ต้านหรือ การปฏิเสธ ตัวอย่างเช่นการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ลัทธิการปกครอง หรือวิธีการสอนใหม่ ๆ เนอ่ื งมาจากสาเหตุหลายประการดว้ ยกันดังนี้ ๑.ความเคยชินกับวิธีการเดิม ๆ เน่ืองจากบุคคลมีความเคยชินกับวิธีการเดิม ๆ ท่ี ตนเองเคยใช้และพงึ พอใจในประสทิ ธิภาพของวธิ ีการน้ัน ๆ บุคคลผู้นั้นก็มักท่ีจะยืนยันในการใช้วิธีการ นน้ั ๆ ตอ่ ไปโดยยากทจ่ี ะเปลยี่ นแปลง ๒.ความไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของนวัตกรรม แม้บุคคลผู้น้ันจะทราบข่าวสารของ นวัตกรรมนนั้ ๆ ในแง่ของประสิทธิภาพว่าสามารถนาไปใชแ้ ก้ปญั หาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่าง ดีก็ตาม การท่ีตนเองมิได้เป็นผู้ทดลองใช้นวัตกรรมน้ัน ๆ ก็ย่อมทาให้ไม่แน่ใจว่านวัตกรรมน้ัน ๆ มี ประสทิ ธภิ าพจริงหรือไม่

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา 9 ๓.ความรู้ของบุคคลต่อนวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเป็นสิ่งที่โดยมากแล้วบุคคล ส่วนมากมีความรู้ไม่เพยี งพอแกก่ ารท่ีจะเข้าใจในนวัตกรรมนัน้ ๆ ทาให้มีความรู้สึกท้อถอยท่ีจะเข้าใจใน นวัตกรรมน้ัน ๆ ทาให้มีความรู้สึกท้อถอยที่จะแสวงหานวัตกรรมมาใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็น ตัวอย่างหน่ึงของนวัตกรรม ที่นาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ผู้ที่มี ความรู้พ้นื ฐานทางคอมพวิ เตอร์ไม่พอเพียงก็จะรู้สึกท้อถอยและปฏิเสธในการท่ีจะนานวัตกรรมนี้มาใช้ ในการเรยี นการสอนในช้ันของตน ๔.ขอ้ จากดั ทางด้านงบประมาณโดยทั่วไปแล้ว นวัตกรรมมักจะต้องนาเอาเทคโนโลยี สมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนานวัตกรรม ดังน้ันค่าใช้จ่ายของนวัตกรรมจึงดูว่ามีราคาแพง ในสภาพ เศรษฐกจิ โดยท่ัวไป จงึ ไมส่ ามารถท่จี ะรองรบั ต่อค่าใช้จา่ ยของนวัตกรรมน้ัน-ๆ-แม้จะมองเห็นว่าจะช่วย ให้การดาเนินการ โดยเฉพาะการเรียนการสอนมีประสิทธิ ภาพสูงขึ้นจริง ดังนั้น จะเป็นได้ว่าปัญหา ดา้ นงบประมาณเป็นสว่ นหนงึ่ ที่ทาให้เกดิ การปฏิเสธนวตั กรรม ๑.๔.๕ การยอมรับนวัตกรรม ดังกล่าวมาแล้วว่าบุคคลจะปฏิเสธนวัตกรรมเนื่องด้วยสาเหตุหลัก คือ ความเคยชิน กับวิธีการเดิม ๆ ความไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของนวัตกรรมความรู้ของบุคคลว่านวัตกรรมและ ข้อจากัดทาง ด้านงบประมาณ ดังน้ันในการที่จะกระตุ้นให้บุคคลยอมรับนวัตกรรมน้ัน ๆ ต้องแก้ไข ปญั หาหลักทัง้ ๔ ประการดงั ที่ได้กล่าวมาแล้ว เอเวอร์เรต เอ็มโรเจอร์(Everretle M.Rogersอ้างในณรงค์ สมพงษ์, ๒๕๓๐:๖) กล่าวถึง กระบวน การยอมรับนวัตกรรมว่าแบง่ ออกเป็น ๕ ขนั้ ตอนคือ ๑.ขั้นตื่นตัว (Awareness) ในข้ันนี้เป็นขั้นของการท่ีผู้รับได้รับรู้ข่าวสารเก่ียวกับ นวัตกรรมนนั้ ๆ ๒.ขั้นสนใจ (Interest) เป็นข้ันที่ผู้รับนวัตกรรมเกิดความสนใจว่าจะสามารถแก้ไข ปัญหาทก่ี าลงั ประสบอยไู่ ด้หรือไม่ ก็จะเร่มิ หาข้อมูล ๓.ข้ันไตร่ตรอง (Evaluation) ผู้รับจะนาขอ้ มูลทไี่ ด้มาพิจารณาวา่ จะสามารถนามาใช้ แก้ปัญหาของตนได้จริงหรอื ไม่ ๔.ขั้นทดลอง (Trial)เม่ือพิจารณาไตร่ตรองแล้วมองเห็นว่ามีความเป็นไปได้ท่ีจะช่วย แกไ้ ขปญั หาของตนได้ ผ้รู ับกจ็ ะนาเอานวตั กรรมดงั กลา่ วมาทดลองใช้ ๕.ข้ันยอมรับ (Adoption) เมื่อทดลองใช้นวัตกรรมดังกล่าว แล้วหากได้ผลเป็นท่ี พอใจ นวัตกรรมดังกล่าวก็จะเป็นท่ียอมรับนามาใช้เป็นการถาวรหรือจนกว่าจะเห็นว่าด้อย ประสิทธิภาพ หากไม่เกิดประสิทธิภาพนวัตกรรมดังกล่าวก็จะไม่ได้รับการยอมรับจากบุคคลนั้นอีก ต่อไป เมื่อพิจารณากระบวนการยอมรับนวัตกรรมของโรเจอร์แล้ว เปรียบ เทียบกับสาเหตุหลัก ๔ ประการของการปฏิเสธนวัตกรรมจะเห็นได้ว่าสาเหตุหลัก ๓ ประการแรก คือ ความเคยชินกับวิธีการ เดมิ ๆ ความไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของนวัตกรรม และความรู้ของบุคคลต่อนวัตกรรม จะสอดคล้อง กบั กระบวนการยอมรบั นวัตกรรม คอื จะทาอย่างไรจึงจะให้บุคคลนั้น ๆ มีความรู้ในนวัตกรรม ซ่ึงเป็น ขั้นต่ืนตัว (Awareness) เกิดความสนใจ (Interest) ศึกษาหาข้อมูล นาเอาข้อมูลมาไตร่ตรอง (Evaluation) แล้วจึงนาเอาไปทดลอง (Trail) ก่อนที่จะถึงข้ึนสุดท้ายก็คือข้ันของการยอมรับ (Adoption) ในสว่ นของปญั หาหลักข้อสุดทา้ ยกค็ ือข้อจากดั ทางดา้ นงบประมาณนั้น เป็นการสอนแบบ

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 10 ร่วมมือประสานใจ ท่ีอาศัยกระบวน การเป็นองค์ประกอบหลัก เน้นการสอนแบบร่วมมือประสานใจ (Cooperative Learning) การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา หรือการเรียนรู้แบบค้นพบ ก็คงจะ แก้ไขปัญหาหลกั ขอ้ สดุ ทา้ ยได้ นวัตกรรมท่ีนามาใช้ท้ังท่ีผ่านมาแล้วและท่ีจะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการ ประยกุ ต์ ใชน้ วตั กรรมในดา้ นต่างๆ ในท่ีนี้จะขอกลา่ วคอื นวตั กรรม ๕ ประเภท คือ ๑. นวัตกรรมทางดา้ นหลกั สูตร ๒. นวัตกรรมการเรยี นการสอน ๓. นวตั กรรมสือ่ การสอน ๔. นวัตกรรมการประเมนิ ผล ๕. นวัตกรรมการบรหิ ารจัดการ ๑.๕ นวัตกรรมทางดา้ นหลกั สูตร นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถิ่น และตอบสนองความตอ้ งการสอนบุคคลให้มากขึ้น เน่ืองจากหลักสูตรจะต้อง มกี ารเปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศและของโลก นอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจาเป็นท่ีจะต้องอยู่บนฐานของ แนวคดิ ทฤษฎแี ละปรัชญาทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการ ดัง กล่าวต้องอาศัยแนวคิดและวิธีการใหม่ๆ ท่ีเป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้ เป็นไปในทิศทางทีต่ อ้ งการ ๑.หลกั สูตรบรู ณาการ เป็นการบูรณาการสว่ นประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยา การในสาขาตา่ งๆการศกึ ษาทางดา้ นจริยธรรมและสงั คมโดยมุ่งใหผ้ ูเ้ รยี นเป็นคนดสี ามารถใช้ประ โยชน์ จากองค์ความรู้ในสาขาตา่ งๆ ให้สอดคล้องกบั สภาพสงั คมอย่างมจี รยิ ธรรม ๒.หลักสูตรรายบุคคลเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพ่ือการศึกษาตามอัตภาพเพ่ือตอบ สนองแนวความคดิ ในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึง่ จะต้องออกแบบระบบเพ่ือรองรับความ ก้าว หน้า ของเทคโนโลยดี ้านต่างๆ ๓.หลกั สตู รกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลกั สตู รที่มงุ่ เนน้ กระบวนการในการจัดกิจ กรรม และประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน บทเรียน ประสบการณก์ ารเรยี นรู้จากการสืบคน้ ดว้ ยตนเอง เปน็ ตน้ ๔.หลักสูตรท้องถ่ินเป็นการพัฒนาหลักสูตร ที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ ท้องถิ่น เพอื่ ให้สอดคล้องกบั ศลิ ปวัฒนธรรมสงิ่ แวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละ ท้องถ่นิ แทนทห่ี ลักสตู รในแบบเดิมท่ีใชว้ ธิ ีการรวมศูนย์การพัฒนาอยูใ่ นสว่ นกลาง ๑.๕.๑ นวตั กรรมการเรยี นการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ีสามารถ ตอบ สนองการเรียนรายบุคคลการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนแบบมีส่วนร่วมการเรียนรู้

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา 11 แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เข้ามาจัดการและ สนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอนการสอนแบบศูนย์การเรียนการใช้กระบวนการ กลมุ่ สมั พันธ์ การสอนแบบเรียนรรู้ ่วมกนั และการเรียนผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การ วจิ ัยในชัน้ เรยี น ฯลฯ ๑.๕.๒ นวตั กรรมสอ่ื การสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เครือข่าย และ เทคโนโลยีโทรคมนาคม ทาให้นกั การศกึ ษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิต ส่ือการเรียนการสอนใหม่ ๆ จานวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียน แบบมวล ชน ตลอดจนสอื่ ท่ใี ช้เพอื่ สนบั สนนุ การฝกึ อบรม ผา่ นเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ ๑.คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) ๒.มลั ตมิ เี ดีย (Multimedia) ๓.การประชมุ ทางไกล (Teleconference) ๔.ชุดการสอน (Instructional Module) ๕.วีดทิ ศั น์แบบมปี ฏสิ ัมพันธ์ (Interactive Video) ๑.๕.๓ นวัตกรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพ่ือการวัดผล และประเมินผลได้อย่างมี ประสิทธิภาพและทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยก าร ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ไดแ้ ก่ ๑.การพฒั นาคลังขอ้ สอบ ๒.การลงทะเบยี นผา่ นทางเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และอินเตอร์เนต็ ๓.การใช้บตั รสมาร์ทการด์ เพอ่ื การใชบ้ ริการของสถาบันศึกษา ๔.การใช้คอมพวิ เตอร์ในการตัดเกรด ฯลฯ นวัตกรรมทางด้านการประเมินผลนับเป็นเรื่องท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่ก็มีเหมือนบาง สถาบันการศึกษาเท่าน้ันที่สามารถให้บริการได้ เน่ืองจากบางสถาบันยังไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และขาดบุคลากร ท่ีมีความชานาญด้านการออกแบบระบบและการพัฒนา เครอื ขา่ ยซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาอีกชว่ งหนงึ่ ทจี่ ะพัฒนาระบบใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งานในสถาบนั ๑.๕.๔ นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปล่ียนแปลงของ โลกนวัตกรรม การศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน หน่วยงานสถาน ศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ใน สถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มี ความปลอดภัยของข้อมูลสูง นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบญั ญัติ ทเ่ี กี่ยวกบั การจัดการศึกษา ซ่ึงจะต้องมีการอบรม เก็บรักษา

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา 12 และออกแบบระบบการสบื ค้นท่ดี ีพอซ่ึงผ้บู ริหารสามารถสืบคน้ ข้อมลู มาใชง้ านไดท้ ันทีตลอด เวลา การ ใช้นวตั กรรมแต่ละด้านอาจมกี ารผสมผสานทซ่ี อ้ นทบั กันในบางเรื่อง ซ่ึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกัน ไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทาเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนามาใช้ร่วมกันได้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๑.๖ การใชน้ วัตกรรมการศกึ ษาดา้ นต่างๆ ในประเทศไทย วิธีระบบ (system approach) สามารถนามาใช้กับการพัฒนาการเรียนการสอน ซ่ึงถือได้ว่า เป็นการวางแผนการศึกษาอย่างมีระบบ ควรนาวิธีระบบมาใช้เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองให้มาก โดย จะต้องมีการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน มีการเรียนแบบระบบเปิดคือเรียนด้วยตนเอง (self- learning) การเรียนแบบอิสระ (independent learning) โดยทางโรงเรียนมีศูนย์การเรียนท่ีมีสื่อเพียบ พร้อมในการเรยี น ซึง่ ณ ทีน่ ัน่ มีส่ือการเรียนหลาย ๆ อย่างพร้อมมูล ให้นักเรียนมาหาความรู้จากศูนย์ นไี้ ดด้ เี ทา่ ๆ กับไปทโ่ี รงเรยี นอาจมกี ารจัดศูนย์ส่ือในหอพักนักเรียน มุมใดมุมหน่ึงของห้องสมุดหรือมุม ของห้องเรยี นมมุ หนงึ่ ๑.๖.๑ ศนู ยก์ ารเรยี น (Learning Center) ศูนย์การเรียน Learning Center เป็นระบบของการจัดการด้านสถานที่ เคร่ืองมือ และสอื่ ตา่ งๆ ท่ีไดร้ ับการตดิ ตงั้ อยา่ งเป็นระบบเพื่อการเรียนรู้ ในศูนย์การเรียนควรมีเคร่ืองมือช่วยการ เรียนรู้ทง้ั หลายของผเู้ รยี น สามารถยืมสื่อการศึกษาไปเรียนท่ีบ้านเช่น เดียวกับการยืมหนังสือ สาหรับ พ่อแม่ท่ีมีความพร้อมในการจัดหาฮาร์ดแวร์ไว้ใช้ที่บ้านได้ก็ยืมซอฟท์แวร์จากโรงเรียนมาศึกษาเองท่ี บ้าน คนในบ้านกม็ าเรยี นรรู้ ว่ มกนั ได้ ภายในศูนย์การเรียนอาจมเี ครอ่ื งบางอย่างใหผ้ ู้เรียนศึกษาได้ เช่น เครื่องอ่านวัสดุย่อส่วนแบบกระเป๋าหิ้ว (Portable Microform Reader) คอมพิวเตอร์ ท่ีสามารถ สืบค้นข้อมูลได้ มีบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) ไว้สาหรับให้ใช้ศึกษาด้วยตนเอง พร้อมท้ัง เครื่องมือโสตทัศนูกรณ์พวกเคร่ืองเสียง เคร่ืองฉายสไลด์แบบมีจอในตัว ซ่ึงสามารถใช้ศึกษาสไลด์ ประกอบเสียง ฯลฯ ปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ คือ คอมพิวเตอร์ที่ช่วยการเรียนขนาดเล็กท่ีเรียกว่า พ๊อกเก็ตพีซี (Pocket PC) มีโปรแกรมการเรียนที่ผลิตเป็นแผ่นบันทึกข้อมูลซึ่งทาด้วยแม่เหล็ก (Magnetic cards) แผ่นเล็ก ๆใสเ่ ข้าไปในชอ่ งไดง้ า่ ย ๆ เด็กก็สามารถเลน่ เองได้ และยังสามารถต่อเข้า เครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ได้ การพัฒนาเครือขา่ ยเพอ่ื ใชใ้ นศูนยก์ ารเรียน จะมีการใช้โปรแกรมช่วยบริหาร จัดการศูนย์ ท่ีเป็น ทรัพยากรการเรียน Learning Resources Center ซึ่งประกอบไปด้วยห้องสมุด เสมือน Virtual Library ที่สามารถเก็บข้อมูลที่เป็นสื่อดิจิตอลมัลติมีเดียทุกประเภท เช่น ไฟล์วิดิโอ ไฟล์เสยี ง ไฟล์เอกสาร หรือ กราฟิกประเภทต่างๆ ไว้ในเคร่ืองแม่ข่าย (File Server) ซึ่งผู้เรียนที่อยู่ใน หรือนอกศูนย์การเรยี นสามารถเขา้ มาใช้ Resources ท่ีมอี ย่ใู นเคร่ืองแมข่ ่ายได้ ซึ่งจะช่วยอานวยความ สะดวกกับผ้เู รยี นไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปคน้ หาสือ่ ในที่ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง ๑.๖.๒ การเปล่ยี นบทบาทของครู ปัจจุบันครูควรลดบทบาทให้เหลือน้อยที่สุด จากการสอนแบบบอกให้จด หรือ บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เรียนเป็นผู้อานวยการเรียน (facilitator) เป็นการให้นักเรียนเป็นผู้มีบทบาทใน

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 13 การเรียนให้มากที่สุด โดยครูเป็นผู้วางแผนการสอนออกมาเป็นกิจกรรมการเรียน ให้นักเรียนเรียนเป็น กลุม่ หรอื เรยี นดว้ ยตนเอง การพฒั นาการเรียนการสอนควรยึดหลักตอ่ ไปนี้ คอื ๑.ใชส้ ่ือการสอนอย่างเปน็ ระบบ ๒. ทาการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเป็นคร้ังคราวแก่อาจารย์เพื่อให้มีการ พัฒนาตนเอง ๓. การเรยี นโดยใชส้ ื่อกับกลุ่มใหญ่ กลุ่มเล็ก หรือเรียนแบบตัวต่อตัว โดยใช้ ทีวี วทิ ยเุ ทป คาสเซท็ ท์ หรืออาจใชว้ ธิ กี ารอื่นๆ ๔. มีชุดสื่อช่วยสอนเสริม เป็นบทเรียนด้วยตนเอง เช่นการใช้บทเรียน คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ๕. การเชิญผู้ชานาญการประจาท้องถิ่นสาขาต่างๆ มาเป็นวิทยากร หรือให้ วิทยากรรว่ มเป็นสมาชิกของคณะครผู สู้ อนเรยี กว่า การสอนเปน็ คณะ ๖. เม่ือครูเปล่ียนบทบาท ครูต้องรู้จักใช้สื่อท่ีเหมาะสมในการเรียนการสอน ด้วย ๗.จัดกิจกรรมการเรียนให้เข้ากับหลักสูตร มีห้องเรียนอเนกประสงค์คือ หอ้ งเรียนทใ่ี ช้ได้ทง้ั นกั เรียนกล่มุ ใหญแ่ ละกลุ่มเล็กหรือใช้เป็นที่เรียนแบบอิสระ ท่ีโรงเรียนของรัฐในมล รัฐแคลิ ฟอร์เนีย เมืองซานดเิ อโกหอ้ งเรียนแบบน้ี ซง่ึ ใช้ประโยชนต์ ่อการศึกษาเป็นอย่างมาก ๑.๖.๓ ส่อื ชว่ ยสอนท่ที ันสมัย ๑.การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน และ การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวอย่างท่ีใช้การเรียนการสอนแบบนี้คือ โครงการการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมไทยคม โรงเรยี นไกลกงั วล (Distance Education Through Satellite) ๒.เคเบิลทีวีใชส้ อนสาหรบั การศกึ ษา ท้ังในและนอกระบบโรงเรียน ซึ่งให้ความรู้เรื่อง ต่างๆ เช่น การสังคมสงเคราะห์ เรื่องข่าวสารการเมืองปัจจุบัน เร่ืองความปลอดภัยในครัวเรือน หรือ ในที่สาธารณะ สอนเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพ กฎหมาย การกินดีอยู่ดี ปัญหาของผู้บริโภค การจัด โปรแกรมใหเ้ ด็กฉลาดและเดก็ ท่ีเรียนไม่ทนั ช้นั เรยี น ได้เรยี นเสริมดว้ ยตนเองทบี่ ้าน ๓.วิดีโอดิสก์ Video Disc (Video Disc) เป็นส่ือท่ีนิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจากมี ขนาดเล็ก เก็บรักษาง่ายและให้คุณภาพดี ปัจจุบันมีการผลิต วิดีโอคอมแพคดิสก์- Video Compact Disc (VCD) ความรู้ตา่ งๆ ออกมาจาหน่ายอย่างมาก เช่นเร่ืองเก่ียวกับนิทาน ความรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สงั คมวทิ ยา ฯลฯ วิดีโอดสิ กน์ ี้มนี ้าหนักเบา ขนยา้ ยงา่ ย นยิ มใช้กันมาก ในอนาคต วิดีโอ คอมแพคดิสก์ จะเปล่ียนรูปแบบเป็นแผ่น ดีวีดี Digital Video Disk (DVD) ซ่ึงเป็นแผ่นขนาดเท่า วิดีโอคอมแพคดสิ ก์ แตส่ ามารถบรรจขุ ้อมลู ได้เพิ่มข้นึ เป็นสบิ เทา่ ของแผน่ ซดี ีวิดโี อในปจั จบุ นั ๑.๖.๔ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เป็นเครื่องมือช่วยครูในการเรียนการสอน โดยบรรจุเน้ือหาท่ี จะสอนไว้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถเรยี นไดด้ ้วยตนเอง และมีเทคนิคการสอนที่ อยูบ่ นพน้ื ฐานของการมปี ฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผ้เู รยี นและเครอื่ งคอมพิวเตอร์ ๑.ประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนพอสรปุ ไดด้ ังนี้

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 14 ๑.1 ผู้เรียนเรียนได้ตามความช้าเร็วของตนเอง ทาให้สามารถควบคุมอัตรา เรง่ ของการเรยี นไดด้ ว้ ยตนเอง 1.๒ การตอบสนองที่รวดเร็วของคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้เรียนได้รับการ เสริมแรงทรี่ วดเรว็ ดว้ ย 1.๓ อาจจัดทาโปรแกรมให้มบี รรยากาศที่น่าช่ืนชม ซ่ึงเหมาะสาหรับผู้เรียน ท่เี รยี นชา้ ได้ 1.4 สามารถเอาเสียงดนตรี สสี นั ภาพเคลอื่ นไหว ซง่ึ ทาให้ดูเหมือนของจริง และยังเรา้ ใจขณะฝึกปฏบิ ัติ (drill) หรอื สถานการณจ์ าลองได้เปน็ อยา่ งดี 1.๕ ผู้สอนสามารถควบคุมการเรียนของผู้เรียนได้เพราะคอมพิวเตอร์จะ บันทกึ การเรยี นของผู้เรียนแตล่ ะบุคคลไว้ 1.๖ ผู้สอนสามารถควบคุมการเรียนของผู้เรียนได้ เพราะคอมพิวเตอร์จะ บันทึกการเรยี นของผ้เู รียน แต่ละบคุ คลได้ 1.๗ ความใหม่แปลกของคอมพิวเตอร์ จะเพิ่มความสนใจ ความต้ังใจของ ผู้เรยี นมากข้ึน 1.๘ คอมพิวเตอร์ใหก้ ารสอนทีเ่ ชื่อถอื ไดแ้ ก่ผเู้ รยี น 1.๙ จะช่วยลดเวลาของครู และลดค่าใช้จ่ายลง และสามารถทาให้ผู้เรียน บรรลวุ ัตถุประสงคไ์ ด้โดยงา่ ย10 2.ความหมายของเทคโนโลยี ความเจริญในด้านต่าง ๆ ท่ีปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจาก การศึกษาค้นคว้าทดลองประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ โดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาค้นพบ และทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นาออกเผยแพร่ใช้ในกิจการด้านต่างๆ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนา คุณภาพและประสิทธิ ภาพในกิจการต่างๆ เหล่านั้น และวิชาการที่ว่าด้วยการนาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ มาใชใ้ นกิจการด้านตา่ ง ๆ จงึ เรียกกันวา่ “วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์”หรือนิยมเรียกกันทั่วไป ว่า“เทคโนโลยี” (boonpan edt๐๑.htm) เทคโนโลยี หมายถึง การใช้เคร่ืองมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นาเอา เทคโนโลยีมาใช้ เรียกวา่ นักเทคโนโลยี (Technologist)(boonpan edt๐๑.htm) เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี (วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนาวิธีการมาปรับปรุง ประสิทธิภาพของการศกึ ษาให้สูงข้ึนเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ-๓-ประการ-คือ- วสั ดุ-อุปกรณ-์ และวธิ กี าร สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คาจากัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่า เป็นการพัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนามาใช้ในสถานการณ์ได้อย่าง เหมาะสมเพ่อื สร้างเสริมกระบวนการเรียนรขู้ องคนใหด้ ยี ่งิ ขึน้ 10 วารินทร์ รัศมีพรหม,การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน, กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาเทคโนโลยี การศึกษา มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ, 2542, หน้า 214

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 15 เป็นการขยายขอบข่ายของการใชส้ ่อื การสอน ให้กว้างขวางข้ึนทั้งในด้านบุคคล วัสดุเคร่ืองมือ สถานที่ และกจิ กรรมต่างๆในกระบวนการเรียนการสอน (ดร.เปร่อื ง-กุมุท) เทคโนโลยีทางการศึกษา ไมใ่ ชเ่ ครือ่ งมอื แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทางานอย่างเป็นระบบให้ บรรลผุ ลตามแผนการ-(Edgar-Dale-) นอกจากน้ีเทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเก่ียวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้าง ขวางยิง่ ขึ้น ท้ังน้ี เนอื่ งจากโสตทศั นศึกษาหมายถึง การศกึ ษาเก่ียวกบั การใช้ตาดูหูฟัง ดังน้ันอุปกรณ์ใน สมัย ก่อนมักเน้นการใช้ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คาว่าโสตทัศน์อุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา มีความหมายที่กว้างกว่า ซึ่งอาจจะพิจารณาจากความคิดรวบยอดของ เทคโนโลยไี ดเ้ ป็น-๒-ประการ-คือ ๑.ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคิดรวบยอดน้ี เทคโนโลยี ทางการศึกษาหมายถึง การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของสิ่งประดิษฐ์ เช่น เคร่ืองฉาย ภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้สาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เคร่ืองมือเหล่านี้ มักคานึงถึงเฉพาะการควบคุมให้เครื่องทางาน มักไม่คานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเร่ืองความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและการเลอื กสอื่ ใหต้ รงกับเนื้อหาวชิ า ความหมายของเทคโนโลยที างการศึกษา ตามความคิดรวบยอดน้ี ทาใหบ้ ทบาทของเทคโนโลยี ทางการศึกษาแคบลงไป คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่าน้ัน ไม่รวมวิธีการ หรือปฏิกิริยาสัมพันธ์อื่นๆ เข้าไปด้วยซงึ่ ตามความหมายน้ีก็คอื “โสตทัศนศึกษา”น่นั เอง ๒.ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็นการนาวิธีการทางจิตวิทยา มนุษยวิทยา กระบวนการกลุ่ม ภาษา การสื่อความหมาย การบริหาร เครื่องยนต์กลไก การรับรู้มาใช้ ควบคู่กับผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม เพ่ือให้ผู้เรียนเปลี่ยนพฤติ กรรมการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิ ภาพย่ิงขึ้นมิใช่เพียงการใช้เครื่องมืออุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าไป ดว้ ย มิใชว่ ัสดุ หรืออุปกรณ์ แตเ่ พียงอยา่ งเดียว ๓.-เปา้ หมายของเทคโนโลยีการศึกษา การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรยี นรู้ กล่าวคอื แหล่งทรพั ยากรการเรียนรู้ มิได้หมายถึงแต่เพียงตารา ครู และอุปกรณก์ ารสอน ท่โี รงเรียนมีอยู่เท่าน้ัน แนวคิดทางเทคโนโลยี ทางการศึกษา ต้องการใหผ้ ูเ้ รยี นมีโอกาสเรยี นจากแหล่งความรทู้ ี่กว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากร การเรียนรคู้ รอบคลมุ ถึงเรื่องต่างๆ เชน่ ๑. คน คนเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่สาคัญซ่ึงได้แก่ ครูและวิทยากร อนื่ ซง่ึ อยู่นอกโรงเรียน เช่น เกษตรกร ตารวจ บรุ ษุ ไปรษณยี ์ เป็นต้น ๒. วัสดุและเครื่องมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วทิ ยุ โทรทัศน์ เครอ่ื งวดิ ีโอเทป ของจริงของจาลองสงิ่ พิมพ์ รวมไปถงึ การใช้สอ่ื มวลชนต่างๆ ๓.เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมนั้นการเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคน บอกเน้ือหา แก่ผู้เรียนปัจจุบันน้ัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากท่ีสุด-ครูเป็น เพยี งผู้วางแผนแนะแนวทางเท่านน้ั ๔. สถานท่ี อันได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบัติการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ม ที่ทาการรฐั บาล ภูเขา แมน่ ้า ทะเล หรือสถานที่ใด ๆ ท่ชี ว่ ยเพ่มิ ประสบการณท์ ี่ดแี กผ่ ู้เรยี นได้

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 16 5. การเนน้ การเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นักเรียนจะล้นช้ัน และกระจัด กระจาย ยากแก่การจัดการศึกษาตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้ พยายามคิด หาวิธีนาเอาระบบการเรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนท่ีจะใช้ครูสอนนักเรียนทีละคน ก็ คิด‘แบบเรียนโปรแกรม’ ซึ่งทาหน้าที่สอน ซึ่งเหมือนกับครูมาสอน นักเรียนจะเรียนด้วยตนเอง จาก แบบเรียนด้วยตนเองในรูปแบบเรียนเป็นเล่ม หรือเคร่ืองสอนหรือสื่อประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้า หรือเร็วกท็ าได้ตามความสามารถของผเู้ รียนแต่ละคน 6.-การใช้วิธีวเิ คราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือ แก้ปัญหา เป็นวิธีการท่ีเป็นวิทยาศาสตร์ ที่เชื่อถือได้ว่าจะสามารถแก้ปัญหา หรือช่วยให้งานบรรลุ เป้าหมายได้ เนื่องจากกระบวนการของวิธีระบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรือของ ระบบ อยา่ งมีเหตผุ ล หาทางให้ส่วนต่าง ๆ ของระบบทางาน ประสานสมั พันธ์กนั อย่างมีประสิทธภิ าพ 7.พัฒนาเครอื่ งมอื -วัสดอุ ุปกรณ์ทางการศกึ ษา วัสดุและเคร่ืองมือต่างๆ ที่ใช้ ในการศึกษา หรือ การเรียนการสอนปัจจุบันจะต้องมีการพัฒนา ให้มีศักยภาพ หรือขีดความสามารถ ในการทางานให้สูงย่ิงข้ึนไปอีก ๑.๗ นวัตกรรมทางการศกึ ษาทสี่ าคัญของไทยในปจั จุบัน นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการ จะมีการคิดและทาส่ิงใหม่อยู่เสมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้เร่ือยๆ สิ่งใดที่คิดและทา มานานแลว้ กถ็ ือวา่ หมดความเปน็ นวตั กรรมไป โดยจะมีสงิ่ ใหมม่ าแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีส่ิงท่ีเรียกว่านวัตกรรมทางการศึกษา หรือนวัตกรรมการเรียนการ สอน อยเู่ ปน็ จานวนมาก บางอยา่ งเกดิ ขึ้นใหม่ บางอยา่ งมกี ารใช้มาหลายสบิ ปแี ลว้ แต่กย็ งั คงถือว่าเป็น นวตั กรรม เนื่องจากนวตั กรรมเหลา่ น้ันยงั ไม่แพร่หลายเปน็ ทีร่ ้จู กั ทั่วไป ในวงการศึกษา ๑.๗.๑-นวตั กรรมทางการศกึ ษาต่างๆท่กี ลา่ วถงึ กันมากในปจั จบุ นั E-learning เป็นคาท่ีใช้เรียกเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อภาษาไทยท่ี แน่ชัดและมผี นู้ ิยามความหมายไว้หลายประการ E-Learning หรือ Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางส่ือ อิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นาเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของสื่อมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ อิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ (ผศ.ดร.ถนอมพร-เลาห จรัสแสง) E-Learning มีปรากฏอยู่ในส่วนคาถามที่ถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ) ในเวป www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ Technology-based Learning น้ันคือการศึกษาท่ีอาศัยเทคโนโลยีมาเป็นส่วนประกอบท่ี สาคัญ ความหมายของ e-Learning ครอบคลุมกว้างรวมไปถึงระบบโปรแกรม และขบวนการที่ ดาเนนิ การ ตลอดจนถงึ การศึกษาท่ีใช้ ค้ อมพิวเตอร์เป็นหลักการศึกษาท่ีอาศัยWebเป็นเครื่องมือหลัก การศึกษาจากห้องเรียนเสมือนจริง และการศึกษาที่ใช้ การทางานร่วมกันของอุปกรณ์อิเลคทรอนิค ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่านี้มาจากลักษณะของการส่งเนื้อหาของบทเรียนผ่านทาง อุปกรณ์

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา 17 อิเลคทรอนิค ซ่ึงรวมท้ังจากในระบบอินเตอร์เนต ระบบเครือข่ายภายใน (Intranets) การ ถ่ายทอด ผ่านสัญญาณทีวี และการใชซ้ ีดีรอม อยา่ งไรกต็ าม e-Learning จะมีความหมายในขอบเขต ท่ีแคบกว่า การศกึ ษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซง่ึ จะรวมการเรียนโดยอาศัยการส่ง ข้อความหรือ เอกสารระหวา่ งกนั และช้ันเรยี นจะเกิดขน้ึ ในขณะท่ีมีการเขียนข้อความส่งถึงกัน การนิยามความหมาย แก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี ความแตกต่างกัน ตามแต่องคก์ ร บุคคลและกลุ่มบุคคลแต่ละแห่งจะให้ความหมาย และคาดกันว่าคา ว่า e-Learning ที่ มีการใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๙๘ ในที่สุดก็จะเปลี่ยนไปเป็น e-Learning เหมือนอย่าง กับที่มี เปลยี่ นแปลงคาเรยี กของ e-Business เมื่อกล่าวถึงการเรียนแบบ Online Learning หรือ Web-based Learning ซึ่งเป็นส่วนหน่ึง ของ Technology-based Learning nมี่ ีการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เนต อินทราเนต และ เอ็ซทราเนต (Extranet) พบว่าจะมีระดับ การจัดการท่ีแตกต่างกันออกไป Online Learning ปกติจะ ประกอบด้วยบทเรียนที่มีข้อความและรูปภาพ แบบฝึกหัดแบบทดสอบ และบันทึกการเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ(test score) และบันทึกความก้าวหน้าของการเรียน(bookmarks) แต่ถ้าเป็น Online Learning ทีส่ งู ขนึ้ อกี ระดบั หน่ึง โปรแกรมของการเรียนจะประกอบด้วยภาพเคลื่อนไหว แบบ จาลอง สื่อท่ีเป็นเสียง ภาพจากวิดีโอ กลุ่มสนทนาท้ังในระดับเดียวกันหรือในระดับผู้รู้ ผู้มี ประสบการณ์ ทปี่ รกึ ษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จุดเชอ่ื มโยงไปยงั เอกสารอ้างอิงที่มีอยู่ ใน บรกิ ารของเว็ปไซต์ และการสื่อสารกับระบบที่บันทึกผลการเรียน เปน็ ต้น การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ e-learning การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม ความสามารถและความสนใจของตน โดยเน้ือหาของบทเรียนซ่ึงประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอ่ืนๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และ เพื่อนร่วม ช้นั เรียนทกุ คน สามารถติดตอ่ ปรกึ ษา แลกเปล่ยี นความคิดเห็นระหวา่ งกนั ไดเ้ ช่นเดยี วกับ การเรียนใน ช้ันเรียนปกติ โดยอาศยั เคร่ืองมอื การตดิ ต่อ สื่อสารท่ีทันสมัย(e-mail, web-board, chat) จึงเป็นการ เรียนสาหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere andanytime) สรปุ ท้ายบท นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซ่ึงนักวิชาการหรือผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการ จะมีการคิดและทาส่ิงใหม่อยู่เสมอ ดังน้ันนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้เรื่อยๆ สิ่งใดที่คิดและทา มานานแล้ว ก็ถือว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีสิ่งใหม่มาแทน ในปัจจุบัน มีสิ่งที่เรียกว่า นวัตกรรมทางการศึกษา หรือนวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวนมาก บางอย่างเกิดขึ้นใหม่ บางอย่างมกี ารใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็น นวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเหล่าน้ันยังไม่ แพรห่ ลายเป็นท่รี ูจ้ ักทั่วไป ในวงการศกึ ษา

บทที่ ๒ ทฤษฎแี ละแนวโนม้ เกยี่ วกบั การบรหิ ารการศกึ ษา วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนประจาบท เมื่อศกึ ษาบทที่ ๒ จบแลว้ นิสิตสามารถ ๑. อธิบายความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การบรหิ ารการศกึ ษาได้ ๒. อธบิ ายการประยกุ ตใ์ ช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ ในมิติ E-Learning ได้ ๓. อธบิ ายองคป์ ระกอบของ E-Learning ได้ ๔. อธิบายการเรียนการสอนระบบ E-Learning ในประเทศไทยได้ ขอบข่ายเน้ือหา  ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั การบรหิ ารการศึกษา  การประยุกตใ์ ช้ ICT เพ่อื การเรยี นรู้ ในมิติ E-Learning  องค์ประกอบของ E-Learning  การเรียนการสอนระบบ E-Learning ในประเทศไทย

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๑๙ ๒.๑ ความนา มาสโลวเ์ ปน็ ผ้วู างรากฐานจติ วิทยามนุษยนิยม ไดพ้ ฒั นาทฤษฎีแรงจูงใจ ซึ่งมีอิทธิพลต่อระบบ การศึกษาของอเมริกันเป็นอันมาก ทฤษฎีของเขามีพ้ืนฐานอยู่บนความคิดท่ีว่า การตอบสนองแรงขับ เป็นหลักการเพียงอันเดียวท่ีมีความสาคัญที่สุดซึ่งอยู่เบื้องหลังพฤติกรรมของมนุษย์ มีความเช่ือว่า มนุษย์มีแนวโน้มที่จะมีความต้องการอันใหม่ที่สูงข้ึน แรงจูงใจของคนเรามาจากความต้องการ พฤติกรรมของคนเรามุ่งไปสู่การตอบสนองความพอใจ มาสโลว์ แบ่งความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์ ออกเปน็ ๕ ระดับด้วยกนั ไดแ้ ก่ ๑.ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs) หมายถึงความต้องการพื้นฐานของ รา่ งกายซ่งึ จาเป็นในการดารงชีวติ ได้แก่ความต้องการอาหาร น้า อากาศ เส้ือผ้า ๒.ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) หมายถึง ความต้องการม่ันคงปลอดภัยทั้ง ทางดา้ นร่างกายและจิตใจ ๓.ความต้องการทางสังคม (Social Needs) หมายถึง ความต้องการที่จะเป็นที่รักของผู้อ่ืน และตอ้ งการมีสมั พนั ธภาพที่ดกี บั บคุ คลอนื่ ๔.ความต้องการยกย่องช่ือเสียง (Esteem Needs) หมายถึง ความปรารถนาท่ีจะมองตนเอง ว่ามีคุณค่าสูง เป็นที่น่าเคารพยกย่องจากท้ังตนเองและผู้อ่ืน ต้องการท่ีจะให้ผู้อ่ืนเห็น ตนมี ความสามารถ มีคุณค่า มีเกียรติ มีตาแหน่งฐานะ บุคคลที่มีความต้องการประเภทน้ีจะเป็นผู้ท่ีมีความ มน่ั ใจในตนเอง ๕.ความต้องการที่จะรู้จักตนเองตามสภาพท่ีแท้จริงและความสาเร็จของชีวิต (Self– ActualizationNeeds) หมายถึง ความต้องการท่ีจะรู้จักและเข้าใจตนเองตามสภาพท่ีแท้จริงเพ่ือ พัฒนาชีวิตของตนเองให้สมบูรณ์(Self-fulfillment) รู้จักค่านิยม มาสโลว์ต้ังสมมุติฐานเกี่ยวกับความ ตอ้ งการมนษุ ยไ์ วด้ งั น้ี ๑. มนุษยม์ คี วามต้องการอย่เู สมอ ๒.ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่เป็นสิ่งจูงใจของพฤติกรรมน้ัน ๆ อีก ตอ่ ไป ๓. ความตอ้ งการของมนุษย์จะเรยี งกันเป็นลาดับขนั้ ตามความสาคัญ1 ๒.๒ ความร้เู บอ้ื งต้นเกยี่ วกบั การบรหิ ารการศกึ ษา ความหมายของ “การบริหารการศึกษา ( Educational Administration )” โดยดูจากคาว่า “การบริหารการศึกษา” ซึ่งประกอบด้วยคาสาคัญ ๒ คา คือคาว่า “การบริหาร ( Administration )” และ “การศึกษา ( Education )” ดงั นั้นจะขอแยกความหมายของคาทัง้ สองนกี้ ่อน ความหมายของคาว่า “การบรหิ าร” มผี ้ใู ห้ความหมายไวห้ ลากหลาย ทงั้ คลา้ ยๆกันและแตกต่างกัน ขอ ยกตัวอยา่ งสัก ๖ ความหมาย ดังนี้ 1 ทฤษฎีการบรหิ ารการศึกษา. http://blog.eduzones.com/arif/๙๓๒๙

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๒๐ ๑.ศลิ ปะของการทางานใหส้ าเร็จโดยใชบ้ คุ คลอน่ื ๒.การทางานของคณะบุคคล ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ท่ีร่วมกันปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมาย รว่ มกนั ๓ . ก า ร ที่ บุ ค ค ล ตั้ ง แ ต่ ส อ ง ค น ข้ึ น ไ ป ร่ ว ม กั น ท า ง า น เ พื่ อ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ อ ย่ า ง เ ดี ย ว กั น ๔.กิจกรรมท่ีบุคคลตั้งแต่-๒-คนข้ึนไปร่วมกันดาเนินการให้บรรลุจุดประสงค์ร่วมกัน ๕.การใช้ศาสตร์และศิลปะนาทรัพยากรการบริหาร (Administrative resource) มา ประกอบการตามกระบวนการบริหาร ( Process of administration ) ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ กาหนดไว้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๖.ศลิ ปะในการทาให้ส่ิงต่างๆได้รับการกระทาจนเป็นผลสาเร็จ หมายความว่าผู้บริหารไม่ใช่ผู้ ปฏิบัติ แต่ใช้ศิลปะทาให้ผู้ปฏิบัติงานทางานจนเป็นผลสาเร็จตรงตามจุด หมายขององค์การหรือตรง ตามจุดหมายทผี่ ูบ้ รหิ ารตดั สนิ ใจเลอื กแล้ว จากความหมายของ”การบริหาร”ทั้ง-๖-ความหมายนี้-พอสรุปได้ว่า-การดาเนินงานของกลุ่ม บุคคลเพอ่ื ให้บรรลุจดุ ประสงค์ทว่ี างไว้ สว่ นความหมายของ-“การศกึ ษา”กม็ ผี ใู้ หค้ วามหมายไว้คลา้ ยๆกัน-ดงั น้ี ๑.คือ-การงอกงาม หรอื การจัดประสบการณใ์ หเ้ หมาะสมแก่ผู้เรียน เพื่อผู้เรียนจะได้ งอกงามข้ึนตามจุดประสงค์ ๒.คือ-ความเจริญงอกงาม ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ๓.คือ-การสร้างเสรมิ ประสบการณใ์ ห้ชวี ติ ๔ . คื อ -เ ค ร่ื อ ง มื อ ท่ี ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ จ ริ ญ ง อ ก ง า ม ทุ ก ท า ง ใ น ตั ว บุ ค ค ล จากความหมายของ “การศึกษา” ข้างบนนี้พอสรุปได้ว่าการพัฒนาคนให้มีคุณภาพท้ังความรู้ ความคดิ ความสามารถ และความเปน็ คนดี เมื่อนาความหมายของ “การบริหาร” มารวมกับความหมายของ “การศึกษา” ก็จะได้ ความหมายของ “การบริหารการศึกษา” ว่า “การดาเนินงานของกลุ่มบุคคล เพ่ือพัฒนาคนให้มี คุณภาพ ทัง้ ความรู้ ความคิด ความสามารถ และความเปน็ คนดี” น่ันเอง ซ่ึงมสี ว่ นคลา้ ยกบั ความหมาย ของ-”การบรหิ ารการศกึ ษา”ท่มี ผี ู้ใหไ้ ว้ ๑.กิจกรรมต่างๆท่ีบุคคลหลายคนร่วมมือกันดาเนินการ เพื่อพัฒนาเด็ก เยาวชน ประชาชน หรือสมาชิกของสังคมในทุกๆด้าน เช่น ความสามารถ ทัศนคติ พฤติกรรม ค่านิยม หรือ คุณธรรม ทั้งในด้านการสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวเป็นสมาชิกที่ดีและมี ประสิทธิภาพของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ท้ังท่ีเป็นระเบียบแบบแผนและไม่เป็นระเบียบแบบ แผน ๒.กิจกรรมต่างๆทบี่ ุคคลหลายคนร่วมมือกันดาเนินการ เพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคม ในทุกๆด้าน นับต้ังแต่บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมและคุณธรรม เพ่ือให้มีค่านิยม ตรงกันกับความต้องการของสงั คม โดยกระบวนการตา่ งๆทีอ่ าศยั การควบคุมสง่ิ แวดล้อมให้มีต่อบุคคล เพ่ือใหบ้ คุ คลพฒั นาตรงตามเป้าหมายของสังคมท่ีตนดารงชีวิตอยู่ ดังนั้นจึงสรุปความหมายของ “การ บริหารการศึกษา” ได้ว่า “การดาเนินงานของกลุ่มบุคคลเพ่ือพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ทั้งความรู้ ความคิด ความสามารถ และความเปน็ คนดี”

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๒๑ ๒.๓-ทฤษฎกี ารบริหารการศึกษา ในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารควรมีหลักและกระบวนการบริหาร การบริหาร การศึกษา หลักการแนวคิดในการบริหาร ภาพรวมของการบริหารท้ังน้ีเพื่อให้การจัดการบริหาร สถานศึกษามีความเหมาะสมผู้เขียนจะได้กล่าวถึงประเด็นดังกล่าวเพ่ือให้เกิดความเข้าใจแ ละมุมมอง ในการบริหารสถานศกึ ษาย่งิ ขึ้นต่อไป2 ๒.๓.๑ การประยกุ ต์ใช้ ICT เพ่อื การเรยี นรู้ ในมิติ e-Learning ปจั จบุ นั สังคมโลกมีวิวัฒนาการ และเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก โดย เฉพาะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information Communication Technology : ICT) การ เปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีผลต่อภาคการศึกษา โดยเฉพาะด้านการเรียนการสอน ผู้เรียน สามารถติดต่อกับคนท้ังโลก สามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลได้เพียงปลายนิ้วสัมผัสบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซงึ่ เปน็ ขุมความรู้อันมหาศาล สามารถใช้ความรู้อันหลากหลายวิทยาการน้ีมาประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาองค์ความรู้ของตนเอง หรือหน่วยงานให้ทันยุค และยั่งยืนดังนั้นการปรับรูปแบบการ เรียนการสอนในรปู แบบe-Learningจงึ เกดิ ขน้ึ อย่างมากและรวดเร็วในยุคนี้ ๒.๓.๑.๑-e-Learning คืออะไร เน่อื งจากเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และอนิ เทอร์เน็ตได้พัฒนาเติบโตอย่างรวดเร็ว และ ไดก้ ้าวมาเปน็ เครอ่ื งมือชิ้นสาคัญท่ีเปล่ียนแปลงรูปแบบการเรียนการสอน การฝึกอบรม รวมท้ังการ ถ่าย ทอดความรู้โดยเฉพาะ การเรียนรู้ระบบ e-Learning ซึ่งหมายถึง การเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี สาร สนเทศ ซึ่งครอบคลุมวิธีการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้บนคอมพิวเตอร์ (Computer assisted instruction) การเรียนรู้บนเว็บ (Web-based instruction) ห้องเรียน เสมือนจริง (virtual classroom) เป็นต้น ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภท เช่น อินเทอร์เน็ต(Internet) อินทราเน็ต (Intranet)การถ่ายทอดผ่านดาวเทียม (satellite broadcast) แถบบันทึกเสียงวีดิทัศน์ (audio/Video tape) แบะซีดีรอม (CD-ROM) แต่ท่ีใช้กันอย่าง หลายมากในขณะน้ีคือการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะการเรียนการสอนผ่าน เว็บ (Web Based Instruction : WBI) เพราะข้อมูลในรูป WBI สามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และ กว้าไกล และเนื่องจากมีผู้พัฒนาปรับปรุงแบบของส่ือการเรียนการสอนนี้อย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา ส่งผลให้ส่ือ WBI น้ีสร้างได้ง่ายใช้ได้คล่อง ซึ่งเป็นรูปแบบหน่ึงของ-e-Learning-ท่ีกาลังได้รับความ นิยมอยา่ งสงู ในปจั จุบัน ดังนน้ั e-Learning ในรูปแบบ WBI คือ การนาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะบริการด้าน เว็บเพจ (ซ่ึงใช้การนาเสนอด้วยตัวอักษรภาพน่ิง ผสมผสานกับการใช้ภาพเคล่ือนไหว วีดิทัศน์และ เสียง)เขา้ มาช่วยในการเรียนการสอนการถ่ายทอดความร้แู ละการอบรม)3 2 http://facstaff.swu.ac.th/.../ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกับการบริหารการศึกษา.doc 3www.kruthai๔๐.com/ictเพ่ือการเรยี นรkู้ ruthai๔๐/การประยกุ ตใ์ ช้-ICT-เพอื่ การเรยี นร-ู้ ในมติ -ิ e- Learning.html

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๒๒ ๒.๓.๑.๒-ขอ้ ดีของการสอนผา่ นเว็บ ๑.ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถงึ ทกุ แหลง่ เรียนรู้ทีม่ ีอินเทอรเ์ น็ตติดต้ังอยู่ ๒.ผูเ้ รยี นไมต่ อ้ งท้ิงงานประจาเพือ่ มาเขา้ ช้นั เรยี น ๓.ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายท่ีนอกเหนือจากค่าเรียนค่าสอน เช่น ค่าท่ีพักค่า เดนิ ทาง ๔.สามารถเรียนไดต้ ลอด ๒๔ ชั่วโมง ตลอดสปั ดาห์ (๒๔x๗) ๕.การจัดการเรียนการสอนมีลักษณะเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เกดิ กบั ผเู้ ขา้ เรยี นโดยตรง ๖.การเรียนรู้เปน็ ไปตามความก้าวหนา้ ของผู้เรียนเอง ๗.ทาให้เกิดชุมนุมชนแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนจะมีการปฏิสัมพันธ์กับข้อมูล ความรูจ้ านวนมาก-ซึ่งจะทาให้เกิดการต่อยอดความรู้ ๘.สามารถทบทวนบทเรียนและเนื้อหาได้ตลอดเวลาเม่ือต้องการเรียน ๙.สามารถซกั ถาม หรือเสนอแนะ หรือแลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยเครื่องมือบน เวบ็ -ไดต้ ลอดเวลา ๑๐.ลดช่องวา่ งระหว่างการศกึ ษาในเมืองและชนบท สร้างความเท่าเทียมกัน และขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนในชนบทได้รู้เท่าทัน และสนับสนุนนโยบายการพัฒนาระบบ เทคโนโลยีการศึกษาและเครือข่ายสารสนเทศให้ดีขึ้น เพื่อความสอดคล้องและสนับสนุน การปฏิรูป การศกึ ษาตาม พ.ร.บ. การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒.๓.๑.๓-องคป์ ระกอบของ-e-Learning องค์ประกอบของ e-Learning ท่ี Thai๒learn (๒๐๐๐) ได้นาเสนอไว้มี ๔ ส่วน ๑.-เน้อื หาของบทเรียน ๒.-ระบบบรหิ ารการเรียน ๓.-การติดต่อสื่อสาร ๔.-การสอบ/วัดผลการเรียน องคป์ ระกอบเหลา่ นี้เปน็ ปัจจยั สาคญั ในการสร้างสรรคใ์ หเ้ กดิ การศึกษาในรูปแบบของ e-learning การเรียนรูปแบบนี้จะมีการนาเสนอเน้ือหาหรือข้อมูลโดยใช้วิธีการนาเสนอให้มีความน่า สนใจ เนื่องจาก e-learning มีเทคโนโลยีมัลติมีเดีย และการจัด การเรียนในลักษณะนี้ ต้องมีการ บริหารจัดการเรียนท่ดี ี ผ้เู รยี นต้องมีความรับผิดชอบในการเรียน จึงจะทาให้การเรียนมีประสิทธิ ภาพ ซ่ึงผู้เรียนสามารถฝึกทาแบบฝึกหัดหรือวัดผลความรู้จากแบบทดสอบที่มีอยู่ในระบบได้หลัง จากที่ ศึกษาเนื้อหาวา่ ในส่วนนน้ั เสรจ็ สิ้นแลว้ ๒.๓.๑.๔-ผลติ ภัณฑ์ของ-e-learning เม่ือมีการเรียนการสอนระบบ e-learning ข้ึน ผลิตภัณฑ์ที่เข้ามาเป็นส่วน เริมในดา้ นการถ่ายทอดเนอ้ื หาการเรยี นการสอนจงึ มดี ังต่อไปน้ี ๑.-e-Book –เป็นหนังสือหรือเอกสารในรูปแบบของส่ิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๒๓ เพอ่ื ใช้ในการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย ซึ่งผู้เรียนสามารถเข้าไปสู่ระบบเครือข่ายเพ่ือศึกษาบทเรียน เหมือนเปิดเอกสารอา่ น ๒.e-Library ห้องสมุดเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้ในเครือข่าย มีลักษณะเหมือนกับ ห้องสมุดท่ัวไปต่าง กันท่ีอยู่ในรูปของข้อมูลดิจิตอลเท่าน้ัน ซึ่งสามารถค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆผ่าน เครอื ขา่ ยได้ ๓.Virtual Lab เป็นห้องปฏิบัติการจาลองที่สามารถเข้ามาทาการทดลอง ตามคาแนะนาทีใ่ ห้ไว้หรอื การทดลองในรปู แบบของsimulation ๔.Video เป็นการสร้างเนื้อหาในรูปแบบของวิดีโอ หรือการบันทึก เสียง เพ่ือให้สามารถสามารถเรียกผ่านได้ทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยกระจายสัญญาณภาพแบบ - streaming ๕.Virtual Classroom การสร้างห้องเรียนจาลองโดยใช้กระดานข่าวบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือแม้แต่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เพ่ือประโยชน์ในการเรียนรู้ผ่านเครือข่าย ๖.Web based Instruction เว็บเพจที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการ เรียนการสอนผ่านเวบ็ ๒.๔ มติ ิของเทคโนโลยีการศึกษากับการสอนทางไกล4 มิติท่ี ๑ เก่ียวข้องกับหน้าที่ (Function) ที่เทคโนโลยีการศึกษามีต่อการศึกษาซ่ึงมีอยู่ ๓ ๑. ดา้ นการบริหาร การศึกษาทางไกลจาเป็นต้องมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึง หลักการบริหารแนวใหม่ต้องใช้ศักยภาพหลาย ๆ ด้าน ท้ังด้าน บุคคล บริหารวิชาการ บริหาร โครงสรา้ งพน้ื ฐาน เปน็ ต้น ๑.๑ ดา้ นวิชาการ ดังที่กล่าวมาแล้ว วิชาการในปัจจุบันเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว กระบวนทศั น์ในการคดิ เชิงวชิ าการต้องเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ๑.๒ ด้านการบริหาร การศึกษาทางไกล ตอ้ งเกีย่ วข้องกับการให้บริการกับผู้เรียนเป็น จานวนมาก ดังนั้นการบริการต้องรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพและนึกถึงผู้รับบริการเป็นสาคัญ มิติที่ ๒ เก่ียวข้องกับระบบและการจัดการ (System and management) ที่เทคโนโลยี การศึกษามีตอ่ การศกึ ษาซง่ึ มีอยู่ ๗ ดา้ น ๒.๑ การจัดระบบ ปัจจุบันการทางานใด ๆต้องยึดถือระบบ เพราะการมีระบบท่ีดี หมายถงึ ประสทิ ธภิ าพและคุณภาพของงาน เทคโนโลยีการศึกษา ในปัจจุบัน หมายถึง ระบบ (System) มิได้หมายถึงเฉพาะเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ เท่านั้น ระบบที่ผู้เขียนได้พัฒนาขึ้นมามีองค์ประกอบคือ ดูด( Input) สับ ซับ ซึม ซัด (Process) สุด (Output) สา่ ย (Feedback) 4 ผศ.ดร.สงั คม ภมู ิพนั ธ.ุ์ มติ ขิ องเทคโนโลยกี ารศกึ ษากบั การสอนทางไกล. http:// ๒๐๒.๒๘.๓๒.๔๒/drsam/index.php?option=com_content&task=view&id=๔๔&Itemid=๑

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๒๔ ๒.๒ พฤติกรรม การศึกษาทางไกล ต้องคานึงถึงพฤติกรรมของผู้เรียนเป็นหลัก รวมถึงรูปแบบการเรียนเพ่ือผลิตและพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับคุณลักษณะ ผเู้ รยี นนั้น ๒.๓ วิธีการ การศึกษาทางไกล ต้องมีวิธีการที่หลากหลายใช้สื่อการสอนท่ีหลาก หลายและนาเทคโนโลยีตา่ ง ๆ มาสนับสนนุ และส่งเสรมิ การเรียนรู้ ๒.๔ การสื่อสาร การสื่อสารเข้ามามีบทบาทในกระบวนการเรียนการสอนทุก ๆ ประเภท ท้ังวิธีการสอนแบบด้ังเดิม และวิธีการสอนแนวใหม่ โดยเฉพาะการศึกษาทางไกลใน ปัจจุบันมีรูปแบบที่ไม่เหมือนเดิม มีผู้ส่ง ผู้รับ ที่แตกต่างไปและใช้ช่องทางหลากหลาย เป็นต้น ๒.๕ สภาพแวดล้อม เทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบันเก่ียวข้องกับบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมทางการเรียน โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมและบรรยากาศ มีส่วนสัมพันธ์กับการเพิ่ม ประสิทธภิ าพและคณุ ภาพของการศกึ ษาทุกระดบั และทุกรูปแบบ ๒.๖ การจัดการ องค์ประกอบสาคัญอย่างหน่ึงของเทคโนโลยีการศึกษาคือการ จัดการโดยเฉพาะ การศึกษาทางไกล ในปัจจุบันต้องใช้เทคนิค การจัดการที่มีประสิทธิภาพ จึงจะ ประสบผลสาเร็จ ซ่ึงมีท้ัง ๔M (Man, Money ,Material, และ Management)รวมถึง Information และ Technology ด้วยซึง่ เรียกไดว้ ่าต้องมี ๔MIT น่นั เอง ๒.๗ การประเมิน การประเมินผลเป็นส่วนประกอบของระบบคือ Input Process Output และ Feedback การทจี่ ะรู้วา่ ระบบดหี รอื ไม่ดี ตอ้ งมีการประเมินอยู่เสมอ ๆ ทั้งภายในและ ภายนอก จึงจะรู้ว่าประสิทธิภาพ และคุณภาพเป็นอย่างไร และมีข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็น เช่นไร ทั้งน้ีการศึกษาทางไกลตอ้ งย่ิงให้ความสาคัญในการประเมิน มิติที่ ๓ เก่ียวข้องกับลักษณะของการศึกษา (Types) ที่เทคโนโลยีการศึกษามีต่อการศึกษา ซ่ึงมี ๔ ดา้ นได้แก่ ๓.๑ การศึกษาในระบบ ซ่ึงปัจจุบันน้ีมีการเรียนการสอนในระบบทุกระดับและ รัฐบาลไดข้ ยายการศกึ ษาในระบบออกไปครอบคลมุ ทกุ พน้ื ที่ และมีการขยายการศึกษาภาคบังคับท่ีมี จานวนปีมากขนึ้ เทคโนโลยกี ารศึกษาไดเ้ ขา้ มามีบทบาทต่อการศกึ ษาในระบบมาเป็นเวลาอันยาวนาน ๓.๒๓การศึกษานอกระบบ ปัจจุบันนี้รูปแบบการศึกษาเปลี่ยนไป การศึกษานอก ระบบไดเ้ ข้ามามบี ทบาทมาก โดยเฉพาะการศึกษาผ้ใู หญ่ที่มีการทางานไปดว้ ยและศึกษาไปด้วยโดยไม่ ตอ้ งเสยี เวลาแตส่ ามารถพัฒนาตนเองไหก้ ้าวหนา้ ไปได้ ๓.๓-การศึกษาทางไกล การศึกษาทางไกลจะสัมพันธ์อย่างย่ิงกับประเด็นต่าง ๆ คือ การออกแบบและพัฒนา รูปแบบการศึกษาทางไกลในปัจจุบัน มีปรัชญา ว่า ใครก็ได้ อยู่ที่ไหน กไ็ ดส้ ามารถเรยี นรไู้ ด้ทุกเวลา ทกุ หนทกุ แห่ง ไม่ได้ติดอยกู่ ับสถานท่ีหรือเวลา ดงั น้ันการออกแบบวิชา ต่าง ๆ ต้องคานงึ ถงึ สง่ิ ต่าง ๆ ดังกลา่ ว และเม่ือออกแบบและพัฒนาแล้วตอ้ งมกี ารจัดการที่ดี ท้ังระบบ การให้บริการ การตรวจสอบ ติดตาม นอกจากน้ัน การสนับสนุนส่งเสริมเผยแพร่ ก็เป็นส่ิง สาคัญ การศกึ ษาทางไกลปัจจุบันได้นาเทคโนโลยีเครือข่ายมาช่วยสนับสนุนมาก โดยเฉพาะท่ีเรียกว่า ดิจิตอลอินเทอร์เน็ตเวบไซต์รวมถึง e-Leaning ท่ีจะมีบทบาทต่อการศึกษารูปแบบน้ีอย่างมากมาย ๓.๔๓การเผยแพร่และฝึกอบรม นอกจากทาวิจัยทั้งติดตามผล และพัฒนาเพ่ือให้ เกิดความก้าวหน้ามีองค์ความรู้ใหม่ ๆ แล้วการนาเทคโนโลยีมา ใช้ต้องมีการเผยแพร่ให้ทราบ ข้อดี

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๒๕ ข้อด้อย และให้นาไปใช้มากข้ึน จาเป็นต้องมีการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้พัฒนา ความรู้อยู่เสมอ ๆ การเผยแพร่และฝึกอบรมเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญของเทคโนโลยีการศึกษา สรปุ ทา้ ยบท การศึกษาทุกลกั ษณะมีความสัมพนั ธอ์ ย่างยิ่งกบั การออกแบบและพฒั นาอาทกิ ารออกแบบ และพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ผ่านเครือข่ายหรือ e-Learning การจดั ระบบการเรยี นการ สอนท่สี อดคลอ้ ง เพ่อื ให้ตรงกับจุดมุง่ หมายของการศึกษาซ่ึงปัจจบุ ันเทคโนโลยีการศกึ ษาสนบั สนุน สง่ เสรมิ ใหก้ ารศึกษาสามารถทาใหง้ า่ ยสะดวก โดยเฉพาะการศกึ ษาทางไกลท่เี น้นวา่ ผ้เู รยี น

บทท่ี ๓ การวเิ คราะห์ปญั หาทเ่ี กดิ จากใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นประจาบท เมอื่ ศกึ ษาบทท่ี ๓ จบแล้ว นสิ ติ สามารถ ๑.อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศได้ ๒.อธบิ ายความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ๓.อธบิ ายบทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศได้ ๔.อธิบายปัจจยั ท่ที าให้เกิดความล้มเหลว ในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ๕.อธิบายการวเิ คราะหป์ ญั หานวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเชิงระบบได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา  ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ  ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ  บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ  ปจั จัยที่ทาให้เกดิ ความลม้ เหลว ในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ  การวเิ คราะห์ปญั หานวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเชงิ ระบบ

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๒๗ ๓.๑ ความนา ทันทีที่ได้ยินคาว่า \"นวัตกรรม\" จะนึกถึงการสร้างเทคโนโลยีใหม่ ๆ การสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์หรือ การบริการรูปแบบใหม่ จะมีใครกี่คนที่จะรู้ว่า ในทางการจัดการก็มีการสร้าง นวัตกรรมเช่นเดียวกัน เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานในองค์กรธุรกิจ มาอ่านและทาความ เข้าใจพร้อม ๆ กันดีกว่า ว่า \"นวัตกรรม\" มันคืออะไร Peter Drucker: ให้ความหมายคาว่า \"นวัตกรรม\" ไว้ว่า \"Innovation is The act of introducing something new\" เป็นการสร้างสิ่งใหม่ หรือการทาให้แตกต่างจากคนอื่น โดย อาศัยการเปลี่ยนแปลงมาสร้างให้เป็นโอกาส และต้องมีความชัดเจน และมุ่งเน้นถึงการพัฒนา และที่สาคัญคือต้องมีการลงมือกระทา นวัตกรรมจึงจะเกิดข้ึน ทาไมต้องมีนวัตกรรม Michael Porter กล่าวว่า \"Innovation is one step remove from today's prosperity. Innovation drives the rate of long run productivity growth an hence future competitiveness.\" นวัตกรรมเป็นการก้าวไปจากความมั่งคั่งในปัจจุบันก้าว หนึ่ง และนวัตกรรมจะเป็นสิ่งผลักดันให้มีการเติบโตของผลิตภัณฑ์ในระยะยาวและสร้าง ความสามารถในการแข่งขันในอนาคต ซึ่งแสดงให้เห็นว่า สาเหตุของการเกิดนวัตกรรมนอกจาก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในระดับมหภาคและระดับจุลภาคแล้ว การแข่งขันในเชิงธุรกิจก็เป็น ปัจจัยในการสร้างหรือเกิดนวัตกรรมเพราะการส ร้างนวัตกรรมถือได้ว่าเป็นจุดแข็ง และเป็น โอกาสขององค์กรธุรกิจท่ีจะสร้างความได้เปรียบเมื่อเปรียบเทียบกับคู่ แข่งขันในอุตสาหกรรมหรือ กลุ่มธุรกิจเดียวกัน1 ๓.๒ ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ2 เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง อุปกรณ์ หรือเครื่องมือท่ีเกี่ยวข้องกับการ รวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูล และสารสนเทศ โดยรวมทั้ง ฮาร์ดแวร์ ฐานข้อมูล และการส่ือสาร โทรคมนาคม เป็นต้น ๓.๒.๑ องคป์ ระกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีหลักสองสาขาด้วยกัน คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม ๑.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหน่ึงนั้น คอมพิวเตอร์ จะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ต่อเช่ือมกัน เรียกว่า ฮาร์ดแวร์ และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์จะต้อง ทางานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเรียกว่า ซอฟต์แวร์ 1 บทความวิชาการ.http://www.hu.ac.th/academic/article/Mg/manage.html 2ความหมายและขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา. http://images.dearao.multiply.multiplycontent.com/.../๓hathaikan_๑๔๑๓๓๖.doc

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๒๘ ๒. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารรับ/ส่ง ข้อมูลจากที่ไกลๆ เป็น การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ หรือเคร่ืองมือท่ีอยู่ห่างไกลกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ๓.๒.๒ ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑. ทาให้สังคมเปล่ียนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ ๒. ทาให้ระบบเศรษฐกิจเปล่ียนจากระบบแห่งชาติเป็นเศรษฐกิจโลก ๓. ทาให้องค์กรท่ีมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากข้ึน ๔. เป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตองสนองตามความต้องการ การใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง ๕. ทาให้เกิดสภาพทางการทางานแบบทุกสถานที่ ๖. ก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น ๓.๓ บทบาทและความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศทมี่ ตี อ่ การบรหิ ารจดั การศกึ ษา3 “ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ” (Information Technology) หรอื เรยี กกันยอ่ ๆ ว่า“ IT ” หมายถึงเทคโนโลยีทีน่ ามาใชในการจัดเก็บขอมลู (Data) และประมวลผลขอมูล ใหเ้ กิดผลลพั ธ์ เปนสา รสนเทศ (Information) เพ่อื นาไปใชประโยชน ขอ้ มลู (Data) หมายถงึ ข้อมลู ดบิ ทเ่ี ก็บรวบรวมมาจากทีต่ ่าง ๆ ซึ่งยังนาไปใชงานไมได เชน่ การสารวจความคดิ เหน็ ความคิดเหน็ ที่ไดยังถอื วาเป็นขอมูลดบิ สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ผลลพั ธจากการประมวลผลขอมลู ดิบซง่ึ สามารถนาไป ใชประโยชน เพอื่ ประกอบการทางาน หรือเพิ่มประกอบการตัดสนิ ใจของผูบรหิ าร เชน่ นาขอ้ มลู ความ คิดเห็นแตละขอมาหาความถ่ี เป็นค่ารอ้ ยละเพ่ือเปรยี บเทยี บดวู ่า ขอ้ คดิ เหน็ ข้อใดมีผ้เู ลือกมาก นอ้ ย เปน็ ร้อยละเท่าไร คา่ รอยละดังกล่าว ก็จดั เป็นสารสนเทศ เปน็ ตน้ การจดั เกบ็ ข้อมูลและการจัดการข้อมลู ต้องการความถกู ต้องและรวดเร็วสูง จึงจาเปนตอง นาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรเขามาช่วย และ เม่ือตองการใหผู้ทอี่ ยูหา่ งไกลกันสามารถใชประโยชนจาก สารสนเทศดังกลา่ ว กจ็ าเปน็ ตอ้ งนาเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเขามาชวยอีกทางหนึง่ ในวงการบรหิ ารงานตางๆ โดยเฉพาะในวงการบริหารงานธรุ กจิ ซง่ึ มีการแขง่ ขนั กนั สงู ได นาเอานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการบริหารกันเป็นอันมากเพื่อใหการบริหารมี ประสทิ ธิภาพสงู ประหยดั สดุ และไดประสิทธิผลสูงสุด ผบู้ รหิ ารยุคใหมทกุ ระดบั จงึ นานวตั กรรมเทคโนโลยมี าใชกนั อย่างแพรหลาย เชน ผูบ้ ริหาร ระดบั สูงในองค์การ จะนาสารสนเทศที่แสดงภาพรวมของการดาเนนิ งานความสัมพนั ธระหวา่ งองค การและสง่ิ แวดลอม สรปุ ปญหาและแนวทางแก้ไข มาใชเพ่ือประกอบการแก้ปญหา และการตัดสนิ 3 บทบาทและความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศท่มี ตี อ่ การบรหิ ารจดั การศึกษา. http://www.sahavicha.com/?name=faq&file=readfaq&id=๒๙๐

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๒๙ ใจกาหนดกลยทุ ธขององคก์ าร สวนผบู รหิ ารระดบั กลางจะนาสารสนเทศ ที่ ประมวลงานประจาป มาใชจดั แผนงบประมาณ และกาหนดแผนการดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน สาหรบั ผูบ้ ริหารงานระดบั ต้นจะใชเทคโนโลยีสารสนเทศชว่ ยในการควบคุมการปฏบิ ัติงาน เปน็ ตน้ ๓.๓.๑ ปจั จยั ท่ที าใหเ้ กิดความ ลม้ เหลวในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ ๑. การขาดการวางแผนที่ดีพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนการจัดการความ เสี่ยงไม่ดีพอ ย่ิงองค์การมีขนาดใหญ่มากขึ้นเท่าใด การจัดการความเสี่ยงย่อมจะมีความสาคัญมาก ขึ้นเป็นเงาตามตัว ทาให้ค่าใช้จ่ายด้านนี้เพิ่มสูงข้ึน ๒. การนาเทคโนโลยีท่ีไม่เหมาะสมมาใช้งาน จะต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับ ลักษณะของธุรกิจหรืองานที่องค์กรดาเนินอยู่ ๓. การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง การได้รับความมั่นใจ จากผู้บริหารระดับสูงทาให้การนาเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กรประสบความสาเร็จ ๓.๓.๒ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสบื คน้ ขอ้ มลู ผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ๓.๓.๒.๑ แหลง่ สารสนเทศเพอื่ การศกึ ษา เป็นแหล่งที่ผู้ใช้สารสนเทศสามารถแสวงหาสารสนเทศที่ต้องการได้ แหล่งสารสนเทศไม่ได้มีเพียงห้องสมุดเท่านั้น ยังมีแหล่งสารสนเทศอ่ืนๆ อีกมากมาย ที่ผู้ใช้ สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการ แหล่งสารสนเทศแบ่งได้เป็น ๔ กลุ่ม คือ ๑. แหล่งสารสนเทศบุคคล ๒. แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสถาบัน หรือ สถาบันบริการ สารสนเทศ ๓. แหล่งสารสนเทศส่ือมวลชน ๔. แหล่งสารสนเทศอินเตอร์เน็ต แหล่งความรู้บนอินเตอร์เน็ต ๓.๓.๒.๒ การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แหล่งข้อมูลสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตเป็นข้อมูลทางอิเลคทรอนิคส์ ที่สาคัญและ ใหญ่ท่ีสุด มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาแทบทุกวินาที ดังนั้นในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบน อินเตอร์เน็ตควรดาเนินการดังนี้ ๑. กาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น ผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ ควร ต้ังวัตถุประสงค์การสืบค้นที่ชัดเจน ทาให้สามารถกาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่ สืบค้นให้แคบลง ๒. ประเภทของข้อมูลสารสนเทศที่สามารถสืบค้นได้ ข้อมูลสารสนเทศท่ีอยู่บน อินเตอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็นมัลติมีเดีย คือมีทั้งที่เป็นข้อความ ภาพวาด ภาพเขียน ไดอะแกรม เสียง เป็นต้น ๓.การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้ก่อนที่ผู้สืบค้นจะสามารถสืบค้นข้อมูล สารสนเทศทางอินเตอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ต่อเข้าอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์ การส่ือสารและยังต้องมีความรู้ และทักษะพ้ืนฐานในการใช้งาน คอมพิวเตอร์ ความรู้ภาษาอังกฤษ และยังต้องมีการจัดสรรเวลาให้เหมาะสมอีกด้วย

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๓๐ ๔. บริการบนอินเตอร์เน็ต บริการบนอินเตอร์เน็ตท่ีสามารถใช้ช่วยในการสืบค้นข้อมูล สารสนเทศมีมากมายหลายบริการ เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web (WWW) บริการสืบค้นข้อมูล Gopher เป็นต้น ๕. เครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรับสืบค้น เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้น มีอยู่ มากมายและมีให้บริการตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดยเฉพาะ ๓.๓.๒.๓ การติดต่อส่ือสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังนี้ ๑. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร ๒. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร ๓. ช่องสัญญาณ ๔. การเข้ารหัส ๕. การถอดรหัส ๖. สัญญาณรบกวน ๓.๓.๒.๔ วัตถุประสงค์หลักของการนาการส่ือสารข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์กร ๑. เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาเนิดข้อมูล ๒. เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ๓. เพ่ือลดเวลาการทางาน ๔. เพ่ือการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร ๕. เพื่อช่วยขยายการดาเนินการองค์การ ๖. เพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ ๓.๔ การวเิ คราะหส์ ภาพและปญั หาของการใชน้ วตั กรรมเทคโนโลยแี ละ สารสนเทศ ๓.๔.๑ ผลกระทบของนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศต่อระบบการศึกษาไทย ๑. มีความสาคัญและมีอิทธิพล ต่อการดาเนินการทางการศึกษา ๒. จะทาให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกวิถีทางการเรียนด้วยตนเอง ๓. รูปแบบของส่ือการเรียน ของผู้เรียนในอนาคต จะเป็นลักษณะของสื่อประสม และสื่อสาเร็จรูป ท่ีสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ๔. ควรมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ในการใช้สื่อการเรียนการสอนอย่างชัดเจน สามารถเลือกใช้ส่ือการเรียนการสอนได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความกระตือรือร้นในการ แสวงหาความรู้ ๕. ควรคานึงถึงความพร้อมในสถานที่ ทรัพยากร และบุคลากร ความเหมาะสม ของสื่อการเรียนการสอน ที่สามารถปรับใช้ได้หลาย

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๓๑ ๓.๔.๒ การวเิ คราะหป์ ัญหานวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเชงิ ระบบ ๑. การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี ๒. ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ ๓. ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานโดยการจัดซื้อโปรแกรมสาเร็จรูป ๔. เคร่ืองมือในการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา ๓.๔.๓ จรยิ ธรรม และคณุ ธรรม ในการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกาหนดข้ึนเพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบ คุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทาสิ่ง ใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ท้ังนี้ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละ ประเทศด้วย ๑. ความเป็นส่วนตัว ๒. ความถูกต้อง ๓. ความเป็นเจ้าของ ๔. การเข้าถึงข้อมูล ปัจจบุ นั ผูบริหารในการศึกษาไดนานวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชและมี บทบาทความสาคญั ในการบริหารจัดการศึกษากันมากขึ้น ๑.การนานวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศมาชว่ ยในการตัดสนิ ใจ การตดั สนิ ใจท่ีดจี ะต้องรวดเร็วและไมผดิ พลาด และการตัดสนิ ใจทีร่ วดเรว็ และไม ผิดพลาดนั้นจาเป็นต้องมี ข้อมูลสารสนเทศท่ี เปน็ ปจั จบุ นั ไมลา้ สมัย มีจานวนมากเพียงพอ และ สามารถนามาใช้ไดงา่ ยและรวดเรว็ ซง่ึ เทคโนโลยสี ารสนเทศจะช่วยเรื่องนีเ้ ป็นอย่างดรี ะบบสารสนเทศ ท่ีผู้บริหารนามาใชใ้ นการตัดสินใจมดี ังน้ี ๑.๑ ระบบสารสนเทศสาหรบั ผบู้ รหิ าร (Executive Systems)หรอื “EIS” ใน บางคร้ัง อาจเรยี กว่า “ระบบสนับสนนุ ผูบ้ ริหาร” (Executive Support Systems) หรือ “ESS” ระบบ EIS เปน็ ระบบทอ่ี อกแบบและพัฒนาขน้ึ มาเพ่ือจดั เตรยี มสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการตดั สนิ ใจ ของผูบรหิ ารระดบั สูงช่วยให้ ผู้บริหารสามารถทาความเข้าใจ ปัญหาอยา่ งชดั เจน และสามารถ ตดั สนิ ใจเลือกแนวทางแกปัญหาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๑.๒ ระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ (Decision Support) หรอื DSS ระบบ DSS เปน็ ระบบที่ ออกแบบและพัฒนาข้ึนมาเพื่อใชสนับสนุนการตดั สนิ ใจของผูบ้ รหิ ารระดับกลาง ระบบ DSS จะช่วยเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการตดั สนิ ใจของผูบริหารแตจะไมทาการตดั สนิ ใจแทนผู้บริหาร โดย ประมวลผลและนาเสนอข้อมูล ท่สี าคัญต่อการตัดสินใจ ตลอดจนประเมินทางเลือกทเ่ี หมาะสมภายใต ขอ้ จากัดของแต่ละสถานการณเพ่ือใหผบู้ รหิ ารใชสติปญญาเหตผุ ลประสบการณและความคิด สร้างสรรคของตนวเิ คราะหและเปรยี บเทยี บทางเลอื กใหสอดคล้องกับปัญหาหรอื สถานการณนั้นๆ ๒.การนานวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชในการบรหิ ารงานทางไกล มีการนาสอื่ หลายๆอยา่ ง เชน่ โทรศพั ทมอื ถอื โทรสาร วิทยุ โทรทศั น คอมพวิ เตอร และเคร่ืองมือสอ่ื สารโทรคมนาคมมาใชในการตดิ ต่อการส่ือสารและการบรหิ าร งานทางไกลไดสะดวก รวดเรว็ ประหยัด เวลาและค่าใชจ้ ่ายเปน็ อนั มาก ถึงแมจะอยูไกลกนั ก็สามารถทางานรว่ มกันประชุม

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๓๒ ร่วมกันไดโดยใชTeleconferenceเป็นตน้ ๓.การนานวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชในการบรหิ ารสถานศกึ ษา ปจั จบุ ันสถานศึกษาหลายแหง่ พฒั นาระบบสารสนเทศ เพ่อื ใชในการบริหารงานด้าน ต่างๆ ทง้ั การบริหารงานวิชาการ การบริหารกิจการนักเรียน การบริหารงานบุคลากร การบริหารงาน ธุรการ การเงนิ พัสดุ ครุภณั ฑ การบรหิ ารงานอาคารสถานท่ีและการการบรหิ ารงานชมุ ชน ๔. การสรา้ งเครอื ขา่ ยขอ้ มลู (Network) ดว้ ยระบบสารสนเทศ เครือข่ายน้ีจะช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยเป็นอันมาก ปัจจุบันมี โครงการ เครือข่ายคอมพิวเตอรโรงเรียนมัธยม (Schoolnet) ซ่ึงเป็นโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หนึ่ง ในหลายโครงการท่ีเกิดข้ึนตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โดยศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสคอมพิวเตอรแห่งชาติ ไดนาแนวพระราชดาริมาดาเนินการร่วม กับ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั กรมสามัญศึกษา(เดิม) ๕. การนานวัตกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชในการจดั การศกึ ษา ในปจั จบุ นั ผูบริหาร หนว่ ยงานทางการศกึ ษานานวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสน เทศ มาใชในการจัดการศึกษาเป็นประโยชนตอ่ การเรยี นรูหลายอยา่ งอาทเิ ช่น ๕.๑ อินเตอร์เน็ต (Internet) เพ่ือใชในการศึกษาหาข้อมูล ข่าวสารทางวิชาการและ อ่นื ๆ จากทตี่ ่างๆเป็นการส่งเสรมิ การเรียนรูตลอดชีวิต ๕.๒ จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail หรือ E-mail) เพื่อใชรับส่งข่าวสาร ขอ้ มลู รปู ภาพและสง่ งานใหครอู าจารยตรวจ ๕.๓ การจัดทาWebsite ของสถานศึกษา เพ่ือการเผยแพรขาวสารของ สถานศึกษา เป็นการประชาสมั พนั ธระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ผู้ท่เี ก่ยี วของและบุคคลทั่วไป ๕.๔ การใชโปรแกรม SPSS เพ่ือการวิเคราะหขอ้ มลู ต่าง ๆ ซึ่งเป็นประโยชนต่อการทา วจิ ยั ในช้ันเรียนของครูอาจารยการทาวิจยั สถานบนั ของฝา่ ยบริหารและอื่นๆ ๕.๕ การทาPowerPoint เพ่ือใชในการเรียนการสอนของครูอาจารย และใชเสนอ ผลงานของผ้บู ริหารสถานศึกษา ๕.๖ คอมพิวเตอรช่วยสอน(Computer Assisted Instruction หรือ CAI) เพื่อช่วยให ผ้เู รียนเรียนรูด้วยตนเองจากบทเรยี นสาเรจ็ รปู ในคอมพวิ เตอร ๕.๗ การเรียนรูผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส(Electronic Learning)ที่เรียกกันว่า E- Learning เป็นการเรียนทางไกล ที่ผูเรียนสามารถโตตอบกับผู้สอนได โดยอาศัยเครือข่าย อินเตอร์เน็ต จึงช่วยใหเรียนรู้ไดโดยไม่มีข้อจากัดของเวลา ระยะทาง และสถานท่ี โดยผูเรียนจะ สามารถเรียนรู ได ตลอดเวลาจึงตอบสนองศักยภาพการเรียนรู ของผู้เรียนได เป็นอย่างดี ๕.๘ ห้องเรียนอัจฉริยะ (Electronic Classroom หรือ E-Classroom) เป็นการ จดั ระบบบรหิ ารจัดการห้องเรยี น ที่ใชการเรียนการสอนแบบ on-line และ ปฏิสัมพันธ (interactive) สามารถควบคมุ และและตรวจสอบกจิ กรรมของนกั เรียนไดโดยตรงจากเครื่องคอมพิวเตอรของครูแบบ real time ๕.๙ หนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-book) และ หองสมุดอิเล็กทรอนิกส (E-Library) เพ่ือ เสริม การเรียนการสอนและให บริการค้นคว้าหาความรูแกนักเรียนครูอาจารยและประชาชน

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๓๓ ๕.๑๐ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หรือ “ICT” (Information and Communication Technologies) เพ่ือพัฒนาการศึกษา ปัจจุบันประเทศไทยโดย กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสาคัญที่จะนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใช เพื่อ พฒั นาการส่อื สารในทกุ ด้าน โดยเฉพาะการช่วยพัฒนาครอู าจารย การช่วยให้เดก็ และเยาวชนไดเข้าถึง แหล่งความรูและไดเรียนอย่างทัดเทียมกัน ตลอดจนการพัฒนาระบบบริหารจัดการให้ ฉับไว มี ประสทิ ธิภาพสูงสุด ๓.๕ ขั้นตอนการวิเคราะหร์ ะบบ ( System Analysis ) ขั้นท่ี ๑ ขั้นตั้งปัญหาหรือกาหนดปัญหา ในขั้นนี้ต้องศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อนว่าอะไรคือ ปญั หาท่คี วรแก้ไข ข้ันที่ ๒ ขั้นกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์เพ่ือการแก้ไขปัญหานั้น ๆว่าจะให้ได้ผลในทาง ใดมีปริมาณและคุณภาพเพียงใดซึ่งการกาหนดวัตถุประสงค์นี้ควรคานึงถึงความสามารถในการปฏิบัติ และออกมาในรูปการกระทา ขั้นท่ี ๓ ข้ันสร้างเครื่องมือวัดผล การสร้างเครื่องมือนี้จะสร้างหลังจากกาหนดวัตถุประสงค์ แล้วและต้องสร้างก่อนการทดลองเพื่อจะได้ใชเ้ คร่อื งมือน้ี วัดผลได้ตรงตามเวลาและเป็นไปทกุ ระยะ ขน้ั ท่ี ๔ คน้ หาและเลือกวิธกี ารต่างๆ ท่ีจะใช้ดาเนินการไปสู่เป้าหมายท่ีวางไว้ ควรมองด้วยใจ กว้างขวางและเป็นธรรม หลาย ๆ แง่ หลาย ๆ มมุ พิจารณาข้อดขี อ้ เสียตอลดจนข้อจากัดต่าง ๆ ขั้นที่ ๕ เลือกเอาวธิ ีท่ดี ีท่ีสุดจากขัน้ ท่ี ๔ เพอ่ื นาไปทดลองในขัน้ ต่อไป ขั้นท่ี ๖ ข้ันการทดลอง เม่ือเลือกวิธีการใดแล้วก็ลงมือปฏิบัติตามวิธีการน้ันการทดลองน้ีควร กระทากับกลุ่มเล็กๆ ก่อนถ้าได้ผลดีจึงค่อยขยายการปฏิบัติงานให้กว้างขวางออกไป จะได้ไม่เสีย แรงงาน เวลาและเงนิ ทองมากเกินไป ขนั้ ที่ ๗ ขัน้ การวดั ผลและประเมินผล เมือ่ ทาการทดลองแล้วก็นาเอาเครื่องมือวัดผลท่ีสร้างไว้ ในขน้ั ที่ ๓ มาวัดผลเพ่ือนาผลไปประเมินดูว่า ปฏิบัติงานสาเร็จตามเป้าหมายเพียงใดยังมีส่ิงใดขาดตก บกพรอ่ ง จะไดน้ าไปปรับปรงุ แก้ไข ขน้ั ท่ี ๘ ขน้ั การปรับปรุงและขยายการปฏิบัติงาน จากการวัดผลและประเมินผลใน ขั้นท่ี ๗ ก็จะทาให้เราทราบว่า การดาเนินงานตามวิธีการที่แล้วมานั้นได้ผลตามวัตถุ ประสงค์หรือไม่เพียงใด จะไดน้ ามาแกไ้ ข ปรบั ปรุงจนกว่าจะไดผ้ ลดจี งึ จะขยายการปฏิบตั ิหรอื ยดึ ถือเปน็ แบบอย่างต่อไป ๓.๖ ระบบการเรยี นการสอน ระบบการเรยี นการสอน ก็คอื การจัดองค์ประกอบของการเรยี นการสอนให้มีความสัมพันธก์ นั เพื่อสะดวกต่อการนาไปสจู่ ุดหมายปลายทางของการเรยี นการสอนทไี่ ด้กาหนดไว้ วธิ ีระบบท่นี ามาใช้ ในการสอน ประกอบด้วยขนั้ ตอนดังต่อไปน้ี ๑. การประเมนิ ความจาเป็น ๒. การเลอื กทางแกป้ ญั หา

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๓๔ ๓. การตง้ั จุดมุง่ หมายทางการสอน ๔. การวเิ คราะหง์ านและเนื้อหาทจ่ี าเป็นตอ่ ผลสัมฤทธ์ิตามจุดมุ่งหมาย ๕. การเลอื กยุทธศาสตร์การสอน , การลาดบั ขน้ั ตอนของการสอน ๖. การเลือกสอื่ ๗. การจัดหรือกาหนดแหลง่ ทรพั ยากรท่จี าเป็น ๘. การทดสอบ และ/หรือ ประเมนิ ค่าประสทิ ธภิ าพของแหลง่ ทรัพยากรเหลา่ น้นั ๙. การปรบั ปรุงแกไ้ ขแหล่งทรพั ยากรจนกวา่ จะเกิดประสิทธภิ าพ ๑๐. การเดินตามวัฏจักรของกระบวนการทง้ั หมดซ้าอีก ๓.๗ ทฤษฎกี ารรบั รู้ การรับรู้เป็นผลเนื่องมาจาการที่มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส (Sensory motor) ซึ่งเรียกว่า เครื่องรบั (Sensory) ท้งั ๕ ชนิด คือ ตา หู จมกู ลิ้น และผวิ หนงั จากการวิจัยมีการค้นพบว่า การรับรู้ ของคนเกิดจากการเห็น ๗๕% จากการได้ยิน ๑๓% การสัมผัส ๖% กลิ่น ๓% และรส ๓% การรับรู้ จะเกิดข้ึนมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับสิ่งที่มีอิทธิพล หรือปัจจัยในการรับรู้ ได้แก่ ลักษณะของผู้รับรู้ ลกั ษณะของสิ่งเรา้ เมอ่ื มสี งิ่ เรา้ เป็นตวั กาหนดใหเ้ กดิ การเรยี นร้ไู ดน้ ั้นจะต้องมีการรับรู้เกิดข้ึนก่อน เพราะการรับรู้ เปน็ หนทางที่นาไปสู่การแปลความหมายที่เข้าใจกันได้ ซึ่งหมายถึงการรับรู้เป็นพ้ืนฐานของการเรียนรู้ ถ้าไม่มีการรับรู้เกิดขึ้น การเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ การรับรู้จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีทาให้เกิด ความคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์อันเป็นส่วนสาคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนและการใช้สื่อ การสอนจึงจาเปน็ จะต้องใหเ้ กิดการรบั รู้ท่ถี กู ต้องมากทีส่ ดุ ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ (๒๕๒๘) และ วไลพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม (ม.ป.ป. : ๑๒๕) ทีก่ ล่าวว่า การที่จะเกิดการเรียนรู้ได้น้ันจะต้องอาศัยการรับรู้ท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอัน เปน็ ผลมาจากการได้รบั ประสบการณ์ การรับรู้มีขบวนการท่ีทาให้เกิดการรับรู้ โดยการนาความรู้เข้าสู่ สมองด้วยอวัยวะสัมผัส และเก็บรวบรวมจดจาไว้สาหรับเป็นส่วนประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดมโนภาพ และทศั นคติ ดังนั้นการมีสง่ิ เร้าที่ดีและมีองค์ประกอบของการรับรู้ที่สมบูรณ์ถูกต้อง ก็จะทาให้เกิดการ เรียนรู้ท่ีดีด้วยซึ่งการรับรู้เป็นส่วนสาคัญยิ่งต่อการรับรู้ นอกจากนี้ กระบวนการรับรู้ยังสามารถใช้ ประโยชน์ในการเรียนการสอนด้วย ซ่ึง Fleming (๑๙๘๔: ๓) ให้ข้อเสนอแนะว่ามีเหตุผลหลาย ประการที่นักออกแบบเพ่ือการเรียนการสอนจาต้องรู้และนาหลักการของการรับรู้ไปประยุกต์ใช้ กลา่ วคอื ๑. โดยทวั่ ไปแลว้ สง่ิ ต่าง ๆ เชน่ วัตถุ บคุ คล เหตกุ ารณ์ หรอื ส่งิ ทมี่ ีความสัมพนั ธก์ นั ถูกรบั รู้ ดีกว่า มันก็ย่อมถูกจดจาได้ดกี วา่ เชน่ กัน ๒. ในการเรยี นการสอนจาเป็นต้องหลีกเลย่ี งการรบั รูท้ ่ผี ดิ พลาด เพราะถ้าผู้เรียนรขู้ อ้ ความ หรือ เน้ือหาผิดพลาด เขากจ็ ะเขา้ ใจผดิ หรืออาจเรียนรูบ้ างส่ิงทผ่ี ดิ พลาดหรือไม่ตรงกับความเปน็ จรงิ

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๓๕ ๓. เมื่อมีความต้องการส่ือในการเรียนการสอนเพื่อใช้แทนความเป็นจริงเป็นเรื่องสาคัญที่ จะตอ้ งรู้วา่ ทาอย่างไร จึงจะนาเสนอความเป็นจริงนั้นได้อย่างเพียงพอท่ีจะให้เกิดการรับรู้ตามความมุ่ง หมาย กฤษณา ศักดิ์ศรี (๒๕๓๐: ๔๘๗) กล่าวถึง บทบาทของการรับรู้ท่ีมีต่อการเรียนรู้ว่า บุคคลจะ เกิดการเรียนรู้ได้ดี และมากน้อยเพียงใด ข้ึนอยู่กับการรับรู้และการรับรู้สิ่งเร้าของบุคคล นอกจากจะ ข้ึนอยู่กับตัวสิ่งเร้าและประสาทสัมผัสของผู้รับรู้แล้ว ยังขึ้นอยู่กับประสบการณ์เดิมของผู้รู้และพ้ืน ฐานความรู้เดิมที่มีต่อส่ิงท่ีเรียนด้วย จิตวิทยาการเรียนรู้ เมื่อทราบถึงความสัมพันธ์ของการรับรู้ ท่ีจะ นาไปสู่การเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพแล้ว ผู้บรรยายจึงต้องเป็นผู้กระตุ้น หรือเสนอสิ่งต่าง ๆ ให้ผู้เรียน เพราะการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนในตัว ผู้เรียนซึ่ง จาเนียร ช่วงโชติ (๒๕๑๙) ให้ความหมาย ไว้ว่า \"…การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเกิดจากประสบการณ์ที่มีขอบเขตกว้าง และสลับซบั ซอ้ นมากโดยเฉพาะในแงข่ องการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม…\" วรกวิน (๒๕๒๓: ๕๖-๖๐) การเรยี นรู้ หมายถึง กระบวนการเปล่ียนพฤติกรรม ซ่ึงหมายถึง กิจกรรมท่ีผู้เรียนแสดงออก และสามารถสังเกตและวัดได้ การศึกษากระบวนการเรียนรู้จึงต้องศึกษา เรื่องของพฤติกรรมมนุษย์ที่เปล่ียนไป ในลักษณะท่ีพึงประสงค์ การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ จะต้องมี ระบบระเบียบ วิธีการ และอาศัยความรู้ต่าง ๆ เช่น จิตวิทยา การศึกษา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ กระบวนการสื่อความและสื่อความหมายและส่ือความหมาย การพิจารณา การเรียนรู้ของผู้เรียนจาเป็นต้องสังเกตและวัดพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ นาไปสกู่ ารกาหนดทฤษฎี การเรียนรู้ต่าง ๆ ทฤษฎีกระบวนการกลุ่มพฤติกรรมร่วมกันระหว่างครูและ ผู้เรียนรวมทั้งวิธีการจัดระบบการเรียนการสอนท่ีจะช่วยทาให้ผู้เรียนเปล่ียนพฤติกรรมการเรียนรู้ไป ตามวัตถปุ ระสงค์ การเรียนรู้เป็นพื้นฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์มีการเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนตาย จึงมีคากล่าวเสมอว่า \"No one too old to learn\" หรือ ไม่มีใครแก่เกินท่ีจะเรียน การเรียนรู้จะช่วย ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สรปุ ทา้ ยบท นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็เข้ามามีบทบาทมากข้ึน โนเฉพาะอย่างย่ิงในยุคของ การปฏิรูปการศึกษา ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ต่างก็นานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ก่อให้เกิดประโยชนในการบริหารจัดการศึกษา ก่อให้ประสบผลสาเร็จในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได อย่างมีประสทิ ธภิ าพสงู และตลอดตอ่ เนื่อง

บทท่ี ๔ แหลง่ การเรยี นรแู้ ละเครือขา่ ยการเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงค์การเรยี นประจาบท เมอื่ ศึกษาบทที่ ๔ จบแล้ว นสิ ิตสามารถ ๑. อธบิ ายหลกั สาคญั ของเครือข่ายการเรยี นรู้ได้ ๒. อธิบายแหล่งสารสนเทศกับการศึกษาตลอดชวี ิตได้ ๓. อธิบายการเรยี นการสอนออนไลน์ได้ ๔. อธบิ าย IT กับ E-Learning ได้ ๕. อธบิ ายเทคโนโลยที ส่ี มั พนั ธ์กับ E-Learning ได้ ขอบขา่ ยเน้ือหา  หลักสาคัญของเครือข่ายการเรยี นรู้  แหลง่ สารสนเทศกับการศกึ ษาตลอดชีวิต  การเรยี นการสอนออนไลน์  IT กับ E-Learning  เทคโนโลยที ส่ี ัมพนั ธก์ บั E-Learning

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๓๗ ๔.๑-ความนา เครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Network) การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์ และการเรียนรู้ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ และแหล่งความรู้ที่มีส่วน รว่ มในกระบวนการเรียนรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง จนเป็นระบบท่ีเช่ือมโยงกัน ส่งผลให้เกิดการเผยแพร่และการ ประยุกต์ความรู้ใหม่ๆ เพ่ือวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพหรือทางสังคม เครือข่ายกาเรียนรู้เป็นแนวคิดและ กระบวนการในจดั ระบบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล กลุ่มบคุ คล ชุมชน องค์กรและหน่วยงานต่างๆทั้ง ภาครัฐและเอกชน ให้เก้ือกูลและเชื่อมโยงกันเพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยนและแบ่งบันความรู้และ ประสบการณ์ ๔.๒ ความหมาย เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การประสานแหล่งความรู้และข้อมูลข่าวสาร การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และการปฏิบัติงานอยา่ งสอดคลอ้ งเชือ่ มโยงกันทงั้ ระหว่างหน่วยงานที่ผิดชอบการ จัดการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ และระหว่างหน่วยงานอ่ืนๆทั้งภาครัฐและเอกชนใน ระดับต่างๆ ตลอดจนระบบการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ เพ่ือสร้าง แลกเปลี่ยน ถ่ายทอด และ กระจายความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่องตลอด ชวี ิต ตามความตอ้ งการของบุคคลและชมุ ชน1 เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การท่ีชาวบ้านรวมตัวกันขบคิดปัญหาของเขา รวมพลัง แก้ปัญหาและหาผู้นาข้ึนมาจากหมู่ชาวบ้านด้วยกันเอง แล้วรวมตัวกันเพื่อมีอานาจต่อรอง มีการต่อสู้ ทางความคิด มีการเรียนรู้จากภายนอก มีการไปมาหาสู่กัน เรียนรู้ดูงานด้วยกัน จนกระท่ังเกิดเป็น กระบวนการแกป้ ัญหาได้การทามาหากนิ ดีข้ึน เศรษฐกิจแตล่ ะครอบครัวดีขนึ้ (เอกวิทย์ ณ ถลาง) เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง สภาพการเรียนรู้อย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ และ ระหว่างประเทศหรือทวีป ตลอดจนการรับรู้ข่าวสาร ผ่านส่ือการเรียนรู้ท่ีมีอยู่อย่างหลากหลาย ทั้ง ประเภทส่ือบุคคล และสื่อสารมวลชนประเภทต่าง ๆ เช่น ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือเสียงและภาพ เป็นต้น ท่ีจะ เอื้อใหเ้ กิดการเรียนรู้ทม่ี ีผลต่อการดารงชวี ติ การเปลี่ยนแปลงสังคมและคณุ ภาพชีวิตของคน (อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ รหัน แตงจวง และสุกัญญา นิ มานนั ท)์ เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การจัดระบบและพัฒนาให้แหล่งความรู้ ซ่ึงหมายถึง องค์กร สถานประกอบการ บุคคล ศูนย์ข่าวสารข้อมูล สถานที่ ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สามารถถ่ายโยง เกิด กระบวนการเรยี นรู้ แลกเปลย่ี นความรซู้ งึ่ กนั และกนั หรือให้ผู้สนใจ ได้ทั้งความรู้ ทักษะเก่ียวกับอาชีพ สังคม เศรษฐกจิ เทคโนโลยี ศาสนา และศิลปวัฒนธรรมท่ีเป็นของดีด้ังเดิม และท่ีพัฒนาแล้ว ที่มีอยู่ใน ชุมชน อาเภอ จังหวดั (สวุ ัฒน์ แก้วสังขท์ อง) 1 เครอื ข่ายการเรยี นรู้.เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการดาเนนิ งาน กศน.

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๓๘ เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง ขอบเขตแห่งความสัมพันธ์ของกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีลักษณะ ประสานติดต่อสัมพันธ์เช่ือมโยงอย่างต่อเน่ือง ในกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงหรือหลายกิจกรรม ระหว่าง คนกบั คน คนกับกลมุ่ และกลุ่มกบั กลุม่ (ประทปี อินแสง) ๔.๓-แนวความคิด ระบบการศึกษาในปัจจุบันนับเป็นการเรียนรู้แบบตลอดชีวิต มีเนื้อหาสาระที่ต้องเรียนรู้เป็น จานวนมากตลอดเวลา โดยมกี ารปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ของมนุษย์ ให้เข้าสู่ระบบการสร้างบุคลากร ใหค้ ดิ เป็น ทาเป็นและเรยี นรู้ได้อย่างตอ่ เนื่อง สามารถเขา้ ถงึ แหลง่ ความรู้ และคน้ หาคาตอบที่ต้องการ ได้ดว้ ยตนเองในระยะเวลาอนั สน้ั โดยอาศยั ระบบเครือข่ายการสื่อสาร และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีการ พฒั นาเทคนคิ การรบั และส่งข้อมลู ขา่ วสารไดร้ วดเรว็ 2 การเรียนรู้เป็นกระบวนการท่ีผู้เรียนต้องเป็นผู้จัดกระทาต่อส่ิงเร้า หรือสาระการเรียนรู้ มิใช่ เพียงรับส่ิงเร้าหรือสาระเข้ามาเท่าน้ัน ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างความมายของสิ่งเร้าหรือข้อความความรู้ ท่ีรับเข้ามาด้วยตนเอง กระบวนการสร้างความหมายของส่ิงเร้าที่รับเข้ามาท่ีเป็นประสบการณ์เฉพาะ ตน (Personal experience) ซ่ึงมีความแตกต่างกันและมีกระบวนการคิดท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น การ เรียนรู้ของบุคคลจึงเป็นกระบวนการที่แต่ละบุคคลต้องดาเนินการเอง เพราะกระบวนการสร้าง ความหมายเป็นกระบวนการเฉพาะตน ลกั ษณะหรือรูปแบบของเครือข่ายการเรียนรู้ไม่มีกฎเกณฑ์ หรือหลักเกณฑ์ตายตัว ประชาชน ต้องเรยี นรู้จากกนั และกัน จากความรู้ท่ีได้จากท่ีอ่ืน แล้วขยายความรู้ให้ผู้อื่นทราบด้วยเป็นการช่วยให้ เกดิ การศึกษาทห่ี ลากหลาย สอดคลอ้ งกับ ความตอ้ งการของบคุ คล (อเนก นาคะบตุ ร) หัวใจสาคัญของเครือข่ายการเรียนรู้อย่างหน่ึง คือ การถ่ายทอด แลกเปล่ียน และกระจาย ความรู้ ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยเฉพาะที่เก่ียวกับชุมชน และความรู้ดั้งเดิมที่สืบทอดกันมาภายในชุมชน ในแต่ละชุมชนมักมีความรู้ท่ีมีการสะสมและสืบทอด กันมา ซึ่งมักเป็นความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับวิถีการดาเนินชีวิตของชุมชนน้ัน-ๆ-และเป็นความรู้ท่ีต้ังอยู่บน พ้ืนฐานของสภาพท่ีเปน็ จริงของชมุ ชน (วิชัย ตนั ศริ ิ) ๔.๔-หลกั สาคญั ของเครอื ข่ายการเรียนรู้ การเรยี นรู้ตลอดชีวิตควรเริ่มจากการมีส่วนร่วมของบุคคล องค์กรและชุมชนในการตระหนัก ถึงปัญหาและการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีเอื้อ ต่อการสร้างเสริมประสบ การณ์ การถ่ายทอด ข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน จนทาให้เกิดการเรียนรู้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้ สรุปหลักการสาคญั ของเครือขา่ ยการเรยี นรูไ้ ว้ ดังนี้ 2 เครอื ข่ายการเรยี นรู.้ http://sirote-๑๙๘๔.blogspot.com/๒๐๐๗/๐๙/blog-post_๒๖.html

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๓๙ ๑. การกระตุ้นความคิด ความใฝ่แสวงหาความรู้ จิตสานึกในการพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน และ การมีส่วนรว่ มในการพฒั นา ๒. การถ่ายทอด แลกเปล่ยี น การกระจายความรู้ทั้งในส่วนของวิทยากรสากลและภูมิปัญญา ท้องถิน่ เพื่อสนบั สนุนการสรา้ งองค์ความรใู้ หมๆ่ ๓. การแลกเปลี่ยนข่าวสารกับหน่วยงานต่างๆ ของท้ังในภาครัฐและเอกชน ๔. การระดมและประสานการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพ่ือการพัฒนาและลดความซ้าซ้อน สูญ เปล่าใหม้ ากท่ีสุด การเรียนรูเ้ ปน็ เรือ่ งท่มี ีความสาคัญเชิงยทุ ธศาสตร์มากข้นึ สาหรับบุคคล และความเจริญของ ชาติ ด้วยการเรียนรู้เป็นสื่อเช่ือมโยงกับข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้และทักษะซ่ึงเป็นหัวใจสาคัญของ ระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่ การเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จก็คือ การที่แต่ละบุคคลสามารถประยุกต์ใช้ เคร่ืองมือ ข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ท่ีเหมาะสม เพื่อแก้ปัญหา และแสวงหาโอกาสในการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ส่วนเครือข่ายการเรียนรู้ก็เป็นกระบวนการที่สาคัญในการพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต เครือข่ายเป็นระบบการเช่ือมโยงระหว่างบุคคล หน่วยงาน องค์กร สถาบันเข้าด้วยกัน ทาให้สามารถ แลกเปล่ยี นความรู้ ความคิด ข้อมูลข่าวสาร ทรัพยากร ตลอดจนส่งเสริมการภารกิจให้มีผลสาเร็จและ มีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้นึ ทาไมจึงเน้นท่ี “การศกึ ษาตลอดชวี ิต” ส่ิงหนึ่งที่เราปฏิเสธไม่ได้ คือ การดารงอยู่ของมนุษยชาติน้ัน อยู่ได้ด้วยการศึกษา การเรียน รู้เพื่อการอยู่รอด การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การเรียนรู้เพ่ือการยกระดับคุณภาพ ชีวติ ทกุ อย่างทกุ เร่อื ง เกิดข้ึนอยตู่ ลอดเวลา และตลอดชวี ติ ซ่ึงในความเปน็ จริงแล้ว ทุกคนมีการ ศึกษา ที่เป็นแบบตลอดชีวิตอยู่แล้ว แต่อาจเป็นเพราะว่าการแข่งขันในวงการศึกษาท้ังสถาบัน การ ศึกษา ภายในประเทศ และต่างประเทศ มีสูงข้ึน และยังเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์ กับคุณภาพชีวิตของประ ชาชาติ อีกด้วย การที่รัฐบาลได้ทาให้ทุกคน ทุกองค์กรท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบทางการศึกษาได้ตระ หนักถึงการ ให้เกิดการศึกษาตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพ โดยมีการจัดเตรียม มีการบริหารจัดการเพ่ือการนี้อย่างเป็น รูปธรรม ย่อมจะมองเห็นเป้าหมายท่ีชัดเจนว่าการท่ีให้ประชาชนมี การศึกษาตลอดชีวิต คือยุทธวิธีที่ จะสามารถสร้างคุณภาพแก่ประชาชนทุกหมู่เหล่าของไทย เยาวชน ได้รับการศึกษาที่ดี มีระบบและ ขบวนการเรยี นการสอนเพือ่ ให้เกิดการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสม การศึกษาในระดับสูงสามารถผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพได้สอดคล้องกับการพัฒนาของชาติ และแช่งขันกับนานาชาติได้ ประชาชนท่ัวไปสามารถ แสวงหาความรู้เพื่อยังประโยชน์ในการดารงชีวิตอย่างมีความสุข มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความรู้ ความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นพัฒนาสิ่งแปลกใหม่ ในอันที่จะแสดงถึงศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยอิสระ จนเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของคนท่ัวไป และอาจส่งผลถึงหนึ่งผลิตภัณฑ์ หน่ึงตาบล ท่ีมี คุณภาพ และเหนืออืน่ ใด คอื การศึกษาตลอดชวี ติ น้ี จะเป็นการศึกษาที่ประชาชนได้นาความรู้ที่ได้จาก การแสวงหาด้วยวิธีการต่าง ๆ น้ี ไปพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีข้ึน ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตของ คนๆ น้ัน โดยพ่ึงพิงคนอื่นน้อยท่ีสุด แต่เขาเหล่านั้นสามารถแสวงหาสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง เพอ่ื ให้เกดิ การศกึ ษาในความหมายของ “การศึกษาตลอดชีวติ “ได้อยา่ งมีคุณภาพ

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๔๐ ๔.๕-แหลง่ สารสนเทศกบั การศกึ ษาตลอดชีวติ แหล่งสารสนเทศทุกประเภท อนั ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ ศูนย์เอกสาร หรือแหล่งที่ให้บริการสารสนเทศ ท่ีเรียกชื่อเป็นอย่างอ่ืน ย่อมถือว่ามีส่วนเกี่ยวข้องต่อการให้การศึกษาตลอดชีวิต ด้วยกันท้ังส้ิน เพราะ แหล่งสารสนเทศ คือแหลง่ ท่ีให้บริการสรรพวทิ ยาการ ดังน้นั แหล่งสารสนเทศต่างๆ เหล่านี้จึงมีภารกิจ หลักที่เก่ียวข้องกับการให้การศึกษาโดยตรงและโดย เฉพาะอย่างย่ิงจะต้องสามารถให้บริการเพื่อ สนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิตของประชาชนในชาติ เพื่อขานรับนโยบายของรัฐบาล ตามความหมาย ของการศึกษาตลอดชีวิต ท่ีกล่าวมาข้างต้น เราพอจะมองเห็น ความเป็นไปได้ อย่างมาก และคงจะ หลีกเลียงไม่ได้ ที่จะต้องเป็นแหล่งแสวงหาความรู้ของประชาชน ทั้งการให้บริการเพื่อการศึกษาใน ระบบ นอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเน่ืองตลอด ชีวติ ดังน้ัน เราจึงน่าจะต้องมาพิจารณาว่า ถ้าหาก แหล่งสารสนเทศทุกประเภท จะต้องมี หนา้ ทใ่ี นการใหบ้ ริการที่กว้างข้ึน เพื่อตอบสนอง และสอดคล้องกับ การศึกษา ที่เป็นการบริการสรรพ วิทยาการ เพื่อการศึกษาตลอดชีวิตแล้ว ห้องสมุดจะต้องมีความพร้อมอย่างไรบ้าง และจะทาอะไรได้ บา้ งเพื่อการน้ี ซงึ่ อาจจะตอ้ งพิจารณาสง่ิ ต่อไปนี้ ๑. ความพร้อมของแหล่งสารสนเทศ ว่ามีมากพอท่ีจะให้นักแสวงหาข้อมูลท้ังหลายได้ เลือกใชห้ รือไม่ เชน่ ห้องสมดุ ที่มีคุณภาพท่ีให้บริการในระดับประเทศ หรือในระดับท้องถิ่นมีเพียง พอ หรอื ไมแ่ ละแหลง่ แตล่ ะแหลง่ นนั้ มที รัพยากรท่จี ะใหบ้ ริการไดส้ มบูรณ์เพยี งใด ๒. ความพร้อมท่ีเอื้อต่อการเข้าถึงสารสนเทศ หมายถึง การอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ ในการเข้าถงึ สารสนเทศทีต่ ้องการ อาทิ การนาเอาคอมพิวเตอร์ เข้ามาจัดเก็บข้อมูล เพื่ออานวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้ให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลจากทางไกลได้โดยง่าย มีบริการอินเตอร์เน็ต บริการฐาน ข้อมูล CD-ROM หรือการจัดกระทาใดๆ เพื่อการบริการท่ีสามารถเอื้อต่อการศึกษาตลอดชีวิต ๓. ความพร้อมในด้านอ่ืน ๆ อาทิ การที่แหล่งสารสนเทศมีนโยบายในการให้บริการเพ่ือ สนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิตอย่างชัดเจน โดยอาจจะมีการประกาศ มีการประกันคุณภาพการ ปฏิบัติงานท่ีมุ่งไปสู่การศึกษาตลอดชีวิต หรืออ่ืนใดที่บ่งช้ีว่า เป็นการบริการเพื่อการพัฒนาคุณภาพ ของประชาชนโดยไมม่ ขี อบเขตในเรือ่ งใดๆ ใน ๓ ประเด็นท่ีกล่าวข้างต้นน้ี เป็นส่ิงท่ีจะต้องมีการศึกษาถึงความเป็นไปได้ต่อไป เพราะ แต่ละประเด็นยังอาจจะเป็นคาถาม และการคาดเดาท่ีหาคาตอบให้กับความเป็นไปได้อย่างไม่เต็มท่ี การสอดประสาน การขอความร่วมมือ จึงยังอาจจะมีความจาเป็นที่จะต้องใช้ มากกว่า การท่ีแหล่งทุก แหล่งจะสามารถเอ้ือให้เกิดการศึกษาค้นคว้า อย่างไม่มีขอบเขต แก่ทุกคนได้ แหล่งทุกแหล่งยังมี ข้อจากัดในการให้บริการตามขอบเขต ของประเภท และมุ่งตอบสนองเพื่อผลิตคุณภาพของคนใน องค์กรของตนเทา่ นน้ั ยงั ไมม่ ีพลังทีจ่ ะเอือ้ ใหก้ บั ใครอื่นได้อีก และหากทาได้ก็ยังติดอยู่กับ กฎ ระเบียบ อีกมากมายซึ่งอาจจะถึงเวลาแล้วที่รัฐบาลจะเป็นหน่วยงานกลางท่ีจะเป็นคลังข้อมูล คล้ายกับ โครงการ Uninet ที่จะเช่ือมฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาชั้นสูง หรือ อาจจะ จัดทา บรรณานุกรมแห่งชาติ ผ่านอินเตอร์เน็ต ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงสารสนเทศด้วยความ สะดวกรวดเร็วเพอ่ื เอ้อื ต่อการศึกษาตลอดชีวิตนี้

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๔๑ โลกในยคุ ปัจจุบนั น้ี เปน็ ยคุ ทีเ่ ทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology : IT) หรือไอ ทีมีบทบาทสาคัญและเป็นความจาเป็นที่ต้องมีต้องใช้ในการดาเนินงานของธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงเป็นท่ีมาของคาหลาย ๆ คาที่เกิดข้ึนในยุคน้ีท่ีข้ึนต้นด้วย e- …. เช่น e-Commerce, e-Business, e-Education, e-Library, e-Journal,๓e-Learning๓ตลอดจน๓e-Government๓เป็นต้น คาว่า e ย่อมาจาก electronic ซ่ึงมีจุดมุ่งหมายหลัก คือ ให้มีการจัดเก็บสารสนเทศหรือ เอกสารต่าง ๆ จากเดิมท่ีอยู่ในรูปของกระดาษมาให้อยู่ในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงก็คือแฟ้ม คอมพิวเตอร์นั่นเอง โดยในการดาเนินการน้ีต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer technology) เป็นหลัก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีส่วนที่ ๑ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดเก็บสารสนเทศ ในรูปของส่ืออิเล็กทรอนิกส์มีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ง่ายทาให้ สารสนเทศเป็นปจั จบุ ันอยู่เสมอ มีต้นทนุ การผลติ ตา่ แตม่ คี วามนา่ สนใจมากกวา่ และท่ีสาคัญ สามารถ จะเผยแพร่หรือนาสารสนเทศจากผู้ผลิตไปยังผู้ใช้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว โดยผ่านเครือข่ายการส่ือสาร โทรคมนาคมซ่ึงอาศัยคอมพิวเตอร์เป็นตัวส่งและตัวรับ เรียกกันว่าเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม (telecommunication technology) ซ่ึงเป็นเทคโนโลยีส่วนที่ ๒ ของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังน้ัน คาวา่ Information Technology ในความหมายทีแ่ ท้จริงนั้นไดห้ มายรวมถึงสองส่วนของเทคโนโลยีท่ี เกยี่ วขอ้ งกับสารสนเทศแลว้ คอื เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ซง่ึ เป็นเทคโนโลยีในการผลิตสารสนเทศ และ เทคโนโลยีการส่ือสารโทรคมนาคมซงึ่ สามารถจะส่ือสารสารสนเทศท่อี ยู่ในรูปแบบตา่ ง ๆ ท่หี ลากหลาย เชน่ ข้อความ (text) ภาพนิง่ (picture or graphic) ภาพเคล่ือนไหว (animation) เสียง (voice) และ วีดที ัศน์ (video) เป็นต้น ไปยงั ผใู้ ชไ้ ดใ้ นเวลาอนั รวดเร็ว ในปัจจบุ นั เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่าย World Wide Web เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ทรงอิทธิพลมากสาหรับการดาเนินธุรกรรม จึงเป็นท่ีมาของคาว่า e-Commerce แต่โดยทั่วไปเมื่อ พูดถึงเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที คนส่วนใหญ่มักจะนึกถึงแต่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยไม่ได้ให้ ความสาคัญของเทคโนโลยีการส่ือสารสารสนเทศ จึงเกิดคาที่ใช้กันมากโดยเฉพาะอย่างย่ิงในวง การศึกษา คือคาว่า Information and Communication Technology (ICT) เพ่ือให้นักการศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษาเข้าใจว่าหัวใจของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือสนับสนุนการ เรียนการสอนและการเรียนรู้น้ันการท่ีมีเพียงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อย่างเดียว จะไม่เกิดประโยชน์ เท่าที่ควร ดังนั้น จึงต้องให้ความสาคัญกับการสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะอย่างย่ิง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยน่ันคือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเช่ือมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้ลดข้อจากัดของเวลาและ สถานทใ่ี นการประกอบธรุ กรรม นั่นคือการดาเนินธุรกรรมในรูปแบบเดิมที่ผู้รับบริการหรือผู้ซื้อจะต้อง ไปยังสถานที่ของผู้ให้บริการหรือผู้ขาย ซ่ึงมีสถานประกอบการและมีเวลาปฏิบัติงานที่แน่ นอน ผู้ประกอบการหรือผู้ให้บริการต้องมาทางานในเวลาและสถานท่ีท่ีกาหนด ข้อจากัดเหล่า น้ันได้ลดลง ไป ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการจะซ้ือหรือรับบริการท่ีใดก็ได้จากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีติดต่อกับเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ไปยังที่อยู่ของผู้ขายหรือผู้ให้บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่อยู่บนเคร่ือง Server เครื่องใดเครื่องหน่ึงบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ที่อยู่นั้นเราเรียกว่า URL: Universal Resource Locator ท่ีขึ้นต้นด้วย http://……) จึงเกิดคาศัพท์อีกคาหน่ึงว่า “Virtual” ซ่ึงอาจจะแปลว่าจริงหรือ

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๔๒ เสมือนก็ได้ ซ่ึงหลายคนก็แปลว่า “เสมือนจริง” เช่น Virtual Office, Virtual Library, Virtual Education,VirtualUniversityเปน็ ต้น เครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือเครือข่าย World Wide Web ต่างกันอย่างไร เครือข่าย อินเตอร์เน็ต คือเครือข่ายของเครือข่าย เป็นการเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมากของ โลกเข้าด้วยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่บนเครือข่ายจะมี ๒ ประเภทคือ เครื่องท่ีให้บริการที่เรา เรียกว่า Server และเครื่องที่เช่ือมต่อกับเครือข่ายเพ่ือใช้บริการซึ่งเราเรียกว่า Client (ซึ่งก็คือเคร่ือง ไมโครคอมพวิ เตอร์ท่ีต่อกับเครือข่ายท่ีเราใช้งานอยู่น่ันเอง) การบริการบนเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องกับผู้ใช้ โดยตรงและใชก้ นั มาก ไดแ้ ก่ การสอ่ื สารผา่ นเครอื ขา่ ย การเรียกใช้/การสืบค้นสารสนเทศบนเครือข่าย การเผยแพร่สารสนเทศผา่ นเครือขา่ ยและการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลคอมพวิ เตอรผ์ า่ นเครือข่าย การสื่อสารผ่านเครือข่ายอาจจะเป็นได้ทั้งแบบ asynchronous หรือแบบ synchronous ในการสื่อสารแบบ asynchronous ผู้ส่งและผู้รับไม่ต้องดาเนินการในเวลาเดียวกัน เช่น การสื่อสาร ผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือ e-mail การสื่อสารผ่าน WebBoard เป็นต้น ส่วนการสื่อสารแบบ synchronous นั้น ผู้ส่งและผู้รับต้องอยู่ในเวลาเดียวกันซึ่งเราเรียกว่า conferencing ได้แก่ การ ส่ือสารด้วยการพิมพ์ข้อความผ่านคอมพิวเตอร์ (Chat Room) การสื่อสารด้วยเสียง (voice conferencing) หรือ การส่ือสารแบบ video conferencing ซ่ึงจะได้ยินเสียงและเห็นภาพด้วย เปน็ ต้น สารสนเทศทอ่ี ยูบ่ นเครอื ข่ายน้นั จะอยู่ในรูปแบบเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ที่เรียกว่าเว็บเพจ ซึ่งเขียน ด้วยภาษา HyperText Mark Up Language (HTML) หรือจะเรียกว่าเป็นเอกสาร HTML ก็ได้ และ จัดเก็บอยู่ใน Web Server ท่ีอยู่บนเครือข่าย เอกสาร HTML มีคุณลักษณะเด่นคือสามารถท่ีจะมีการ เชื่อมโยงหรือ link จากเอกสารหน่ึงไปยังอีกเอกสารหน่ึงที่อยู่บน Web Server ใดก็ได้ในเครือข่าย อินเทอร์เน็ตท่ัวโลก จึงเกิดเป็นเครือข่ายของเอกสารเว็บเพจข้ึนท่ีเราเรียกว่าเครือข่าย World Wide Web ดังนั้นเครือข่าย World Wide Web จึงเป็นส่วนหน่ึงของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จากการใช้งาน ง่ายของ Web ทาให้มีการพัฒนาการบริการทุกอย่างของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การสื่อสาร การ ถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล และบริการอ่ืน ๆ ให้สามารถดาเนินการได้สะดวกบน Web ที่เราเรียกว่า Web- based application ซึ่งเปน็ ช่องทางท่ีสาคญั ของการดาเนินธรุ กรรม e-… ท้ังหลายทีม่ ีอยู่แล้วและที่จะ เกิดข้ึนต่อไป คาศัพท์ในยุคไอทีท่ีมักได้ยินกันบ่อย ๆ และใช้กันมากในวงการศึกษาที่ควรพิจารณาและ ทาความเข้าใจ ได้แก่ e-Learning, e-Education, e-Library, e-Journal, e-Book,Virtual3 Education, VirtualUniversity, courseware,และOnlineTeachingandLearning e-Book, e-Journal คือการเปล่ียนหนังสือ/ตารา (book) และวารสารวิชาการ (journal) ให้อยู่ใน รูปแบบของส่ืออิ เล็กทรอนิกส์แล ะมักจะเ รียกดูได้ผ่าน Webรูป แบบท่ีนิ ยมคือจัด ให้อยู่ใน รปู แบบ ของเอกสาร HTML หรอื เอกสาร PDF (Portable Data Format) เอกสาร PDF ก็คือเอกสาร ที่เตรียมด้วย Microsoft Word แต่แปลงให้เป็นไฟล์ PDFเพื่อที่ผู้ใช้สามารถอ่านและพิมพ์ได้เท่านั้น e-Library หรือ Virtual Library มีความหมายเดียวกัน คือความพยายามที่จะใช้

นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๔๓ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือท่ีทาให้การเข้าถึงสารสนเทศท่ีอยู่ในห้องสมุดจะทาที่ใดก็ได้ผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่การสืบค้นสารสนเทศท่ีต้องการ การอ่าน สารสนเทศทีต่ อ้ งการ ตลอดจนการยืม-คืนสารสนเทศที่ต้องการ ในปจั จุบันมหาวิทยาลัย/ห้องสมุดเป็น จานวนมาก มีความพยายามในการแปลงองค์ความรู้ที่สร้างข้ึนให้อยู่ในรูปของ e-Book เช่น วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์ของนิสิต/นักศึกษา งานวิจัยและผลงานทางวิชาการของอาจารย์และ บคุ ลากร รวมทง้ั เอกสารทุกชนดิ ทจ่ี ดั ทาโดยมหาวทิ ยาลยั e-Education หรือ Virtual Education หรือ Online Teaching and Learning คือ รูปแบบการจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือหลักในการ ดาเนินงาน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนที่ใดก็ได้ (any where) เม่ือใดก็ได้ (any time) ซ่ึงเป็นอีก รูปแบบหน่ึงของการเรียนการสอนทางไกล โดยที่ Online Teaching and Learning จะเน้นระบบ และกลไกในการดาเนนิ งานแบบออนไลน์ Courseware คือเอกสารประกอบการเรียนการสอนที่เป็นส่ืออิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการ เรยี นการสอนออนไลน์ ซึ่งในปัจจุบันนิยมทาในรูปของเอกสารเว็บ Courseware ที่ดีจะต้องได้รับการ ออกแบบเพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการแบ่งเน้ือหาออกเป็นบทเรียน แต่ละบทเรียน จะมีการกาหนดแนวคิดและวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน มีการนาเสนอเน้ือหา กิจกรรมการ เรียนการสอน แหล่งวิทยาการที่เกี่ยวข้อง (resources) โดยเน้นท่ีองค์ความรู้จากห้องสมุดเสมือนบน เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ซึ่งสามารถจะเขา้ ถึงได้ทนั ที มีการทดสอบเพอื่ ประเมินวา่ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ใน ระดับใด มีการออกแบบให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเน้ือหาวิชา ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับ ผู้สอน โดยใช้การส่ือสารผ่านเครือข่าย นอกจากนั้นแล้วการออกแบบ Courseware ที่ดีน้ันต้องใช้ ความสามารถของเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในส่ิงที่การนาเสนอในรูปแบบที่เอกสาร สง่ิ พิมพท์ าไมไ่ ด้หรอื ทาได้ยาก e-Learning คือ การเรียนรู้โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก อาจจะเป็นการ เรียนรู้อย่างไม่เป็นโครงสร้าง (unstructured) เช่นการสืบค้นสารสนเทศหรืออ่านสารสนเทศที่อยู่บน เว็บเพ่ือวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หน่ึง ตลอดจนถึงการเรียนรู้ที่เป็นโครงสร้าง (structured) หรือ เป็นระบบ เช่น การเรียนทางไกลแบบออนไลน์ตามรายวิชา หรือหลักสูตรท่ีเปิดสอนหรือเปิดอบรม ของสถานศกึ ษาต่างๆ Virtual University คอื มหาวิทยาลัยท่ีมีการเปิดการเรียนการสอนทางไกล โดยกิจกรรม หลักท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินการจัดการเรียนการสอนจะใช้ระบบออนไลน์เป็นหลัก ซึ่งก็เป็นอีก รูปแบบหน่ึงของ e-Commerce ทางการศึกษา การจัดการศึกษาแบบ Virtual University นี้อาจจะ ดาเนนิ การโดยใชบ้ ุคลากรของมหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ ทอี่ ยู่คนละแหง่ มารว่ มมอื กันไดเ้ ปน็ เครือขา่ ย ๔.๖-การเรยี นการสอนออนไลน์ หากจะกล่าวถึงพัฒนาการของการเรียนการสอนทางไกลในประเทศไทย คนส่วนใหญ่จะ รู้จักและคุ้นเคยกับการเรียนทางไกลกับ มสธ. (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช)ซ่ึงรูปแบบการเรียน นั้นผู้เรียนเป็นผู้กาหนดตาราง และระเบียบวินัยในการเรียนด้วยตนเอง โดยศึกษาจากเอกสารชุดวิชา

นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศกึ ษา ๔๔ (printed materials) ท่ีมหาวิทยาลัยจัดทาขึ้นเป็นส่ือหลัก (ซึ่งจัดเป็นการเรียนการสอนแบบ asynchronous) โดยในแต่ละรายวิชาจะมีตารางเวลารายการส่ือวิทยุ หรือสื่อโทรทัศน์ ประกอบชุด วชิ า (การเรียนการสอนแบบ synchronous ทางเดียว) นอกจากน้ันยังมีการสอนเสริม ณ ศูนย์บริการ การศึกษาทั่วประเทศ (เป็นการเรียนการสอนแบบปกติ synchronous สองทาง) ท้ังน้ีการประเมินผล วชิ า (summative evaluation) จะดาเนินการเพยี งครงั้ เดียวคอื สอบปลายภาค หากนักศึกษาสอบไม่ ผ่านสามารถที่จะสอบซ่อมได้ ๑ คร้ัง ข้อสอบส่วนใหญ่จะเป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (multiplechoices) จุดแข็งของระบบการเรียนการสอนทางไกลแบบ มสธ. คือ สามารถจะขยายโอกาสทาง การศึกษาให้กับนักศึกษาได้เป็นจานวนมากทั่วประเทศ ในราคาถูก การพัฒนาเอกสารชุดวิชามีระบบ และกลไกในการดาเนินการท่ีมีคุณภาพ และได้ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการที่หลากหลายมาร่วมในการ พฒั นาเอกสารชุดวิชา แต่เอกสารชุดวิชาของ มสธ. ก็มีข้อจากัดตรงท่ีว่าไม่ได้ผ่านการทดลองสอนจริง และปรับปรุงโดยยึดข้อมูลย้อนกลับจากการสอน อีกทั้งต้องใช้เวลานานในการปรับปรุงเน้ือหาวิชา นอกจากนั้นแล้วระบบการเรียนทางไกลแบบ มสธ. การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนมีน้อย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนแทบไม่มีเลย การเรียนการสอนส่วนใหญ่นักศึกษาจะเรียนรู้ด้วย ตนเอง และเน่ืองจากรายวิชาส่วนใหญ่มีนักศึกษาจานวนมาก ในการวัดผลจึงจาเป็นต้องใช้ข้อสอบ ปรนัยแบบเลอื กตอบเป็นสว่ นใหญ่ ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ ๘ (๒๕๔๐-๒๕๔๔) ทบวงมหาวิทยาลัย มีนโยบายขยายวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยของรัฐไปยังส่วนภูมิภาคเพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการ ศึกษาและรองรบั การเพิ่มขึ้นของนกั เรียนท่ีสาเร็จการศกึ ษามธั ยมปลาย โดยใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่แล้วอัน ได้แก่ สถานท่ีของวิทยาเขตและบุคลากรทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยท่ีมีอยู่แล้ว และใช้การเรียน การสอนทางไกลระบบ video conferencing ผ่านเครือข่ายสารสนเทศเพ่ือพัฒนาการศึกษาซึ่ง เชื่อมโยงเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ของมหาวทิ ยาลัยของรัฐเข้าด้วยกันชื่อ Uninet วิทยาเขตใหม่ที่ต้ังขึ้นนี้ เรียกว่าวิทยาเขตสารสนเทศ ระบบการเรียนการสอนทางไกลระบบ video conferencing ดังกล่าว จะเรียกว่าระบบการเรียนการสอนทางไกล ๒ ทาง น่ันคอื ผ้เู รียนและผู้สอนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กันได้ ถงึ แม้จะอย่หู ่างไกลกนั จดั เป็นการเรียนการสอนแบบ synchronous คือต้องมีการจัดตารางห้องเรียน และหอ้ งสอน ตารางเวลาการเรยี นการสอน การเรียนการสอนวิชาศึกษาท่ัวไปของมหาวิทยาลัยศรีนค รินทรวิโรฒน์ ซึ่งมีนิสิตเรียนเป็นจานวนมาก และนิสิตท่ีเรียนมีทั้งอยู่ท่ีส่วนกลางประสานมิตร และท่ี องครักษ์ จังหวัดนครนายก ก็ใช้การเรียนการสอนทางไกล ๒ ทางดังกล่าว นอกจากนั้นแล้ว ทบวงมหาวิทยาลยั ยังได้สนับสนุนงบประมาณให้มหาวิทยาลัยร่วมมือกันพัฒนา courseware สาหรับ วิชาศึกษาทั่วไปและวิชาพื้นฐานด้วย เพื่อผลักดันให้เกิดเน้ือหาบทเรียนออนไลน์ภาษาไทยมากข้ึน การเรียนการสอนออนไลน์เป็นการเรียนการสอนที่อาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน (Computer Mediated Communication : CMC) การเรียนการสอนออนไลน์อาจจะใช้เป็นส่วนหน่ึงของการเรียนการสอน แบบปกติ ซึง่ ยังมีการกาหนดตารางเวลาเรียนและห้องเรียนแบบปกติ แต่ใช้เคร่ืองมือออนไลน์มาเสริม เช่น การนาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการสอนเผยแพร่บนเว็บ เช่น เค้าโครงการเรียนการสอน (course syllabus) เอกสารประกอบการเรียนการสอน แหล่งวิทยาการท่ีต้องการให้นักศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม