Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore we have one planet to call our own (1)

we have one planet to call our own (1)

Published by lovekarnjana, 2022-03-03 08:52:13

Description: we have one planet to call our own (1)

Search

Read the Text Version

ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เมฆ หมอก และหยาดน้ำฟ้ า ร า ย วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ พื้ น ฐ า น

คำนำ หนั งสืออิเล็กทรอนิ กส์ “เมฆ หมอก และหยาดน้ำฟ้ า” เล่มนี้ เป็ นส่วน หนึ่ งของรายวิชา นวัตกรรมการศึ กษา ซึ่งเป็ นเรื่องราวใน วงการวิทยาศาสตร์ที่ผู้เขียนได้รวบรวมและเรียบเรียงมาจาก เนื้ อหา สาระรายวิชาวิทยาศาสตร์ช่วยให้ผู้อ่านได้ศึ กษาและเรียนรู้ เข้าใจ ได้ดียิ่งขึ้น ผู้จัดทำหวังว่าหนั งสืออิเล็กทรอนิ กส์เล่มนี้ จะได้ความรู้และเกิด ประโยชน์ แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน ผู้จัดทำ นั กศึ กษาวิทยาศาสตร์ทั่วไป

สารบัญ หน้ า เรื่อง 1-2 เมฆ (Clouds) 3 การเรียกชื่อเมฆ 4-7 การแบ่งระดับชั้นของเมฆ เมฆชั้นต่ำ เมฆชั้นกลาง 8 เมฆชั้ นสู ง เมฆก่อตัวในแนวตั้ง (Clouds of Vertical Development)⛅️ 9 หมอก (Fog) 10 น้ำค้าง 11 หยาดน้ำฟ้ า 12 ชนิ ดของหยาดน้ำฟ้ าในประเทศไทย 13 อุปกรณ์วัดน้ำฝน คณะผู้จัดทำ

ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่อยู่รอบตัวเรา ไม่ว่าจะเป็ น เมฆ หมอก และ หยาดน้ำฟ้ า (ฝน) ล้วนสืบเนื่ องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ อากาศ ซึ่งมีผลต่อความเป็ นอยู่ของมนุษย์ทั้งสิ้น

เมฆ (Clouds) \"เมฆ\" เป็ นกลุ่มละอองน้ำที่เกิดจากการ ควบแน่ น ซึ่ งเกิดจากการยกตัวของกลุ่มอากาศ (Air parcel) ผ่านความสูงเหนื อระดับควบแน่ นและมี อุณหภูมิลดต่ำกว่าจุดน้ำค้าง ตัวอย่างการเกิดเมฆที่ เห็นได้ชัด ได้แก่ \"คอนเทรล\" (Contrails) ซึ่ งเป็ น เมฆที่สร้างขึ้นโดยฝี มือมนุษย์ เมื่อเครื่องบินไอพ่น บินอยู่ในระดับสูงเหนื อระดับควบแน่ น ไอน้ำซึ่ งอยู่ ในอากาศร้อนที่พ่นออกมาจากเครื่องยนต์ ปะทะเข้า กับอากาศเย็น ซึ่ งอยู่ภายนอก เกิดการควบแน่ น เป็ นหยดน้ำ โดยการจับตัวกับเขม่าควันจาก เครื่องยนต์ ซึ่ งทำหน้ าที่เป็ นแกนควบแน่ น เราจึง มองเห็นควันเมฆสี ขาวถูกพ่นออกมาทางท้ายของ เครื่องยนต์เป็ นทางยาว คอนเทรล\" เมฆซึ่งเกิดขึ้นจากไอพ่นเครื่องบิน ที่มา : https://sites.google.com/a/kpch.ac.th/withyasastr-2/mekh-hmxk-nakhang-laea-fn

การเรียกชื่ อเมฆ เมฆ ซึ่งเกิดขึ้นในธรมชาติมี 2 รู ปร่าง ลักษณะ คือ เมฆก้อนและเมฆแผ่น เราเรียกเมฆ ก้อนว่า \"เมฆคิวมูลัส\" (Cumulus)และเรียกเมฆแผ่น ว่า \"เมฆสเตรตัส\"(Stratus)หากเมฆก้อนลอยชิด ติดกัน เรานำชื่อทั้งสองมารวมกันและเรียกว่า \"เมฆสเตรโตคิวมูลัส\" (Stratocumulus) ในกรณีที่ เป็ นเมฆฝน เราจะเพิ่มคำว่า \"นิ มโบ\"หรือ \"นิ มบัส \" ซึ่งแปลว่า \"ฝน\" เข้าไป เช่น เราเรียกเมฆก้อนที่ มีฝนตกว่า\"เมฆคิวมูโลนิ มบัส\" (Cumulonimbus) และเรียกเมฆแผ่นที่มีฝนตกว่า \"เมฆนิ มโบสเต รตัส\" (Nimbostratus)

เมฆ แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ คือ เมฆชั้นต่ำ (สูงไม่เกิน 2 กิโลเมตร) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 กิโลเมตร) เมฆชั้ นสู ง (6 กิโลเมตรขึ้นไป)

เมฆชั้นต่ำ (Low Clouds) เกิดขึ้นที่ระดับต่ำกว่า 2 กิโลเมตร เมฆสเตรตัส (Stratus) เมฆแผ่นบาง ลอยสูงเหนื อพื้นไม่มาก นั ก เช่น ลอยปกคลุมยอดเขามักเกิด ขึ้นตอนเข้า หรือหลังฝนตก บางครั้ง ลอย ต่ำปกคลุมพื้นดิน เรียกว่า \"หมอก\" เมฆสเตรโตคิวมูลัส (Stratocumulus) เมฆก้อน ลอยติดกันเป็ นแพ ไม่มีรู ปทรงที่ ขัดเจน มีช่องว่งระหว่างก้อนเพียงเล็กน้ อย มักเกิดขึ้นเวลาที่อากาศไม่ดี และมีสีเทา เนื่ องจากลอยอยู่ในเงาของเมฆชั้นบน เมฆนิ มโบสเตรตัส (Nimbostratus) เมฆแผ่นสีเทา เกิดขึ้นเวลาที่อากาศมี เสถียรภาพ ทำให้เกิดฝนพรำ ฝนผ่าน หรือฝนตกแดดออกไม่มีพายุฝนฟ้ าคะนอง ฟ้ าร้องฟ้ าผ่า มักปรากฏให้เห็นสายฝน ตกลงมาจากฐานเมฆ

MCLIDODULDES ⛅️ เมฆชั้นกลาง (Middle Clouds) เกิดขึ้นที่ระดับสูง 2 - 6 กิโลเมตร เมฆอัลโตคิวมูลัส (Altocumulus) เมฆก้อน สีขาว มีลักษณะคล้ายฝูงแกะ ลอยเป็ นแพ มีช่องว่างระหว่างก้อนเล็กน้ อย เมฆอัลโตสเตรตัส (Altostratus) เมฆแผ่นหนา ส่วนมากมักมีสีทา เนื่ องจากบังแสงดวงอาทิตย์ไม่ให้ลอดผ่าน และเกิดขึ้นปกคลุมท้องฟ้ าเป็ นบริเวณกว้างมากหรือปกคลุมท้องฟ้ าทั้งหมด

เมฆชั้นสูง (High Clouds) เกิดขึ้นที่ระดับสูงมากกว่า 6 กิโลเมตร เมฆเซอโรคิวมูลัส (Cirrocumulus) เมฆสีขาว เป็ นผลึกน้ำแข็ง มีลักษณะ เป็ นริ้วคลื่นเล็กๆ มักเกิดขึ้นปกคลุม ท้องฟ้ าบริเวณกว้าง เมฆเซอโรสเตรตัส (Cirrostratus) เมฆแผ่นบาง สีขาว เป็ นผลึกน้ำแข็ง ปกคลุมท้องฟ้ าเป็ นบริเวณกว้าง โปร่งแสงต่อแสงอาทิตย์ บางครั้ง หักเหแสง ทำให้เกิดดวงอาทิตย์ ทรงกลด และดวงจันทร์ทรงกลด เป็ นรู ปวงกลม สีคล้ายรุ้ง เมฆเซอรัส (Cirrus) เมฆริ้ว สีขาว รู ปร่างคล้ายขนนก เป็ นผลึกน้ำแข็ง มักเกิดขึ้นในวัน ที่มีอากาศดีท้องฟ้ าเป็ นสีฟ้ าเข้ม

เมฆก่อตัวในแนวตั้ง (CLOUDS OF VERTICAL DEVELOPMENT)⛅️ เมฆคิวมูลัส (Cumulus) เมฆก้อนปุกปุย สีขาวเป็ นรู ปกะหล่ำ ก่อตัวในแนวตั้ง เกิดขึ้นจากอากาศ ไม่มีเถียรภาพ ฐานเมฆเป็ นสีเทาเนื่ องจากมีความหนามากพอที่จะบดบังแสง จนทำให้เกิดเงามักปรากฏให้เห็นเวลาอากาศตี ท้องฟ้ าเป็ นสีฟ้ าเข้ม เมฆคิวมูโลนิ มบัส (Cumulonimbus) เมฆก่อตัวในแนวตั้ง พัฒนามาจากเมฆคิวมูลัส มีขนาดใหญ่ มากปกคลุมพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด ทำให้เกิดพายุฝนฟ้ าคะนอง หากกระแสลมชั้นบนพัดแรง ก็จะทำให้ยอดเมฆรู ปกะหล่ำ กลายเป็ นรู ป ทั่งตีเหล็กต่อยอดออกมาเป็ น เมนซอโรสเตรตัส หรือเมฆเซอรัส

หมอก (Fog) หมอก เกิดจากไอน้ำเปลี่ยนสถานะควบแน่ นเป็ นหยดน้ำ เล็ก ๆ เช่นเดียวกับเมฆ เพียงแต่เมฆเกิดจากการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิเนื่ องจากการยกตัวของกลุ่มอากาศ แต่หมอกเกิดขึ้น จากความเย็นของพื้นผิว หรือการเพิ่มปริมาณไอน้ำในอากาศ ซอคใึ่ืงานนเกวพกัืาิ้นดนศทขีเดึ่้ิหนมนีนอืจโาอะดกพเืายย้น็ศวนิดขธึิต้ีนนันีว้คจอแวะยล่บมาีะอแงุทรณ้น่อวนหดงเฟภเู้ปร็มใ็ิวนสตท่หำำพแยใอดลห้ตะนไ้มกอีำคกหน้วลมำาาใอมงนก หนาแน่ นสูงเคลื่อนตัวลงสู่ที่ต่ำ หนาแน่ นในหุบเหว และมีอยู่อย่าง เมื่ออากาศอุ่นมีความชื้นสูง ปะทะกับพื้น ผิวที่มีความหนาวเย็น เช่น ผิวน้ำในทะล สาบ อากาศจะควบแน่ นกลายเป็ นหยดน้ำ ในลักษณะเช่นเดียวกับหยดน้ำ ซึ่งเกาะ อยู่รอบแก้วน้ำแข็ง หคซเเเึ่วยมวางื็ล่บยรนอ้าอใแอซหึ่นจานงล่เกอันมงปืายู่ฝอกศ่ะขปน้ลรทา้าอะตงะยทบนกกัเะนซบปึ่็ไกงแัอนอบมลาีหน้คอกว้มวำาคาทากอศีว่มรากบเยศชะื็แ้นหเนเนหย่สร็ซึูืนน่ยองงขขเอึ้ปปไนอย็ูอ่นงะจข้ฤนทาหา้กดงะำยูบพจหกืดั้านนบนกนถ้อาลแำวนามลกเน้ชวา่นศ แล้วควบแน่ นกลายเป็ นละอองน้ำเล็ก มองเห็นเป็ นควันสีขาว ๆ ให้เรา

น้ำค้าง (Dew) น้ำค้าง เกิดจากการควบแน่ นของไอน้ำบนพื้นผิวของวัตถุ ซึ่งมี การแผ่รังสีออกจนกระทั่งอุณหภูมิลดต่ำลงกว่จุดน้ำค้างของอากาศ ซึ่งอยู่ รอบ ๆ เนื่ องจากพื้นผิวแต่ละชนิ ดมีการแผ่รังสีที่แตกต่างกัน ตังนั้ นใน บริเวณเดียวกัน ปริมาณของน้ำค้างที่ปกคลุมพื้นผิวแต่ละชนิ ดจึงไม่เท่ากัน เช่น ในตอนหัวค่ำ อาจมีน้ำค้างปกคลุมพื้นหญ้า แต่ไม่มีน้ำค้งปกคลุมพื้น คอนกรีต เหตุผลอีกประการหนึ่ งซึ่งทำให้น้ำค้างมักเกิดขึ้นบนใบไม้ใบ หญ้าก็คือ ไบของพืชคายไอน้ำออกมา ทำให้อากาศ น้ำค้างแข็ง (frost) หรือ แม่คะนิ้ ง เป็ นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติเมื่อมีอากาศหนาวจัดจะทำให้น้ำค้างที่อยู่บน ยอดหญ้าเกิดแข็งตัวเป็ นเก็ดน้ำแข็ง (ส่วนมากเกิดบนยอดดอยในฤดูหนาว) กระบวนการเกิดปรากฏการณ์การเกิดน้ำค้างแข็ง มี 2 แบบด้วยกัน คือ 1. การเกิดน้ำค้างแข็งโดยตรง จะเกิดในช่วงที่อุณหภูมิของอากาศใกล้ผิวโลก ลดต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง 2. การเกิดน้ำค้างแข็งโดยอ้อม เกิดเมื่ออุณหภูมิอากาศลดต่ำลง โดยมีปริมาณความชื้ นใกล้พื้นดิ นสู ง

หยาดน้ำฟ้ า (Precipitation) หยาดน้ำฟ้ า เป็ นชื่อเรียกรวมของ หยดน้ำ และน้ำแข็ง ที่เกิดจาการควบแน่ น ของไอน้ำแล้วตกลงมาสู่พื้น เช่น ฝน ลูกเห็บ หิมะ เป็ นต้น หยาดน้ำฟ้ าแตก ต่างจาก จากหยุดน้ำหรือละอองน้ำในก้อนเมฆ (Cloud droplets)ตรงที่หยาดน้ำ ต้องมีขนาดใหญ่และมีน้ำหนั กมากพอที่จะชนะแรงต้านอากาศ และตกสู่พื้นโลก ได้โดยไม่ระเหยเป็ นไอน้ำเสียก่อน ขณะที่อยู่ใต้ระดับควบแน่ น ฉะนั้ น กระบวนการเกิดหยาดน้ำทำจึงมีความสลับขับข้อนมากกว่ากระบวนการ กานควบ แน่ นที่ทำให้กิดเมฆหยาดน้ำฟ้ า (Precipitation) ฝน ลูกเห็บ หิมะ

ชนิ ดของหยาดน้ำฟ้ าในประเทศไทย ฝน (Rain) เป็ นหยดน้ำมีขนาดประมาณ 0.5- 5 มิลลิเมตร ฝนส่วน ใหญ่ ตกลงมาจากเมฆนิ มโบสตรตัส และมฆคิวมูโลนิ มบัส ฝนละออง (Drizzle) เป็ นหยดน้ำขนาดเล็กกว่า 0.5 มิลลิเมตร เกิด จากเมฆสเตรตัส พบเห็นบ่อยบนยอดเขาสูง ตกต่อเนื่ องเป็ นเวลานา ละอองหมอก (Mist) เป็ นหยดน้ำชนาด 0.005-0.05 มิลลิเมตร เกิด จากเมฆสเตรตัส ทำให้เรารู้สึกชื้นเมื่อเดินผ่าน มักพบบนยอดเขาสูง ลูกเห็บ (Hail) เป็ นก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่กว่ 5 เขนติเมตร เกิดขึ้น จากกระแสในอากาศไหลขึ้น (updraf) และไหลลง (downdraf) ภายในเมฆคิวมูโลนิ มบัส พัดให้ผลึกน้ำแข็งปะทะกับน้ำเย็นยิ่งยวด กลายเป็ นก้อนน้ำแข็งห่อหุ้มกันเป็ นชั้น ๆจนมีขนาดใหญ่ และตกลงมา

อุปกรณ์วัดน้ำฝน ในการวัดปริมาณน้ำฝน เราใช้หน่ วยวัดเป็ นมิลลิเมตร เช่น ถ้าฝนตกลงมาทำให้ระดับน้ำฝนในภาชนะที่รองรับสูงขึ้น 10 มิลลิเมตร หมายความว่า ฝนตกวัดได้ 10 มิลลิเมตร ถ้าฝน ตกลงมาทำให้ระดับน้ำฝนในภาชนะที่รองรับสูงขึ้น 25 มิลลิเมตร หมายความว่า ฝนตกวัดได้ 25 มิลลิเมตร ดังในภาพ ที่ 10 ด้านซ้าย อุปกรณ์วัดน้ำฝน (Rain gauge) ขนาดมาตรฐานเป็ น ทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร บนปาก กระบอกมีกรวยรอรับน้ำฝน ให้ตกลงสู่กระบอกตวงซึ่งอยู่ ภายในซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดเล็กกว่ากระบอกนอก 10 เท่า (เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร) ทั้งนี้ เพื่อขยายมาตราส่วน ขยายขึ้น 10 เท่า ทำให้เกิดความสะดวกในการอ่านค่าปริมาณน้ำ ฝนได้ละเอียดยิ่งขึ้น ดังในภาพที่ 10 ด้านขวา





ผู้จัดทำ นางสาวกาญจนาพร สุขมาก เลขที่3 นางสาวโซเฟี ย หะยีดาโอะ เลขที่10 นางสาวนิ สรีนย์ ปานคู เลขที่14 นางสาวมารีย๊ะ กาสา เลขที่19 ห้องว.612

ร่วมทำกิจกรรมและ ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ >>>


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook