Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LGBTQ

LGBTQ

Published by ppangjii, 2022-03-16 07:41:53

Description: ปลายภาค
นส ปัณฑารีย์ โพธินาม ม6/7 เลขที่ 6

Search

Read the Text Version

ความหลากหลายทางเพศ LGBTQ Issue 01 2022 Magazine Cover

รLู้จGักB TQ กลุ่มคนที่มีความหลาก L - Lesbian กลุ่มผู้หญิง หคลวาามก หลายทางเพศ หรือเพศ รักผู้หญิง หลาย ทางเลือก LGBTQ ทางเพศ เป็นกลุ่มคนที่มีอัต G - Gay กลุ่มชายรักชาย ลักษณ์ทางเพศ หรือ รสนิยมทางเพศที่แตก B - Bisexual หรือกลุ่ม ต่างไปจากคนส่วนใหญ่ ที่รักได้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง ในสังคม T - Transgender คือ กลุ่มคนข้ามเพศ จากเพศ ชายเป็นเพศหญิง หรือ เพศหญิงเป็นเพศชาย   Q - Queer คือ กลุ่มคนที่ พึงพอใจต่อเพศใดเพศ หนึ่ง โดยไม่ได้จำกัดใน เรื่องเพศ และความรัก

เพศทางเลือกยังสามารถอธิบายตามความหมาย ของเพศวิถี และอัตลักษณ์ทางเพศได้ เพศวิถี (Sexual Orientation) คือ ความรู้สึก รสนิยมทางเพศ รวมถึงความพึง พอใจทางเพศที่มีต่อบุคคลอื่น โดยจะแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะหลัก ๆ ได้แก่ รักต่างเพศ คือผู้ที่มีรสนิยมชื่นชอบเพศตรงข้าม หรือบุคคลต่างเพศ เช่น ผู้ชายที่ชอบผู้หญิง หรือผู้หญิงที่ชอบผู้ชาย รักเพศเดียวกัน คือผู้ที่มีรสนิยมชื่นชอบเพศเดียวกัน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม หลัก ๆ ได้แก่ เลสเบี้ยน (Lesbian) และเกย์ (Gay) ไบเซ็กชวล (Bisexual) คือผู้ที่มีรสนิยมชื่นชอบทั้งเพศหญิงและเพศชาย โดย จะมีอารมณ์เสน่หากับเพศตรงข้าม หรือเพศเดียวกันก็ได้ ไม่ฝักใฝ่ทางเพศ คือผู้ที่ไม่สนใจเรื่องเพศสัมพันธ์ แต่เพียงรู้สึกสนิทสนม ผูกพันกับบุคคลอื่ น - อัตลักษณ์ทางเพศ (Gender Identity) คือ การรับรู้ว่าตนเองต้องการเป็นผู้ชาย หรือผู้ หญิง ซึ่งบางคนอาจมีอัตลักษณ์ทางเพศ ตรงกับอวัยวะเพศ และโครงสร้างทาง ร่างกาย แต่บางคนอาจมีอัตลักษณ์ทาง เพศแตกต่างจากโครงสร้างทางร่างกาย หรือเรียกคนกลุ่มนี้ว่า “คนข้ามเพศ (Transgender)” โดยคนข้ามเพศอาจเป็นผู้ ที่ไม่สามารถกำหนดให้ตนเองเป็นผู้ชาย หรือผู้หญิงเพียงเพศใดเพศหนึ่งได้ด้วย

เพศทางเลือกเป็นค วามผิดปกติหรือไม่ ในสมัยก่อนอาจมองว่าการข้ามเพศ หรือกลุ่มคนที่อยู่ในเพศทางเลือกมีความ ผิดปกติที่เกี่ยวกับทางจิตใจ โดยมีเอกสารทางราชการระบุว่า ‘กะเทย’ เป็นผู้มี ความผิดปกติทางจิตถาวร เป็นโรคจิตวิกลจริต ซึ่งความคิดเหล่านี้ล้วนถูก ครอบงำด้วยวัฒนธรรม หรือบรรทัดฐานทางสังคมจนเกิดการเลือกปฏิบัติทำให้ คนกลุ่มนี้ไม่ได้รับสิทธิที่ควรได้เท่าที่ควร ในปัจจุบันสังคมได้เริ่มมีการเอา อิทธิพลทางความคิด และบรรทัดฐานทางสังคมแบบตะวันตกเข้ามา เราจึง สามารถพบเห็นกลุ่มคนที่เป็นเพศทางเลือกได้ทั่วไป โดยสังเกตได้จากสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือ ภาพยนตร์ หรือมีศัพท์ที่บัญญัติใช้เฉพาะกับสื่อบันเทิงที่เกี่ยวกับ ชายรักชาย หรือที่เรารู้จักกันในชื่อว่า “ซีรีส์วาย” นั่นเอง ในทางการแพทย์บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศไม่ได้เป็นโรค หรือมีความ ผิดปกติทางจิตใจแต่อย่างใด เพียงแต่เป็นส่วนผสมทั้งภายในและภายนอกที่ หลากหลาย เช่น ฮอร์โมน สารเคมีในสมอง การเลี้ยงดู วัฒนธรรม และพื้นฐาน ทางสังคมที่หล่อหลอมตัวบุคคลจึงไม่ใช่ความผิดปกติแต่อย่างใด

ปั ญ ห า อั ต ลั ก ษ ณ์ ท า ง เ พ ศ ส า ม า ร ถ แ ก้ ไ ข ไ ด้ โ ด ย ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ผู้ที่มีความแตกต่างด้านอัตลักษณ์ทาง เพศอาจมีปัญหาทางร่างกาย หรือเพศ สรีระที่ไม่ตรงกับความต้องการของ ตนเอง แพทย์จะช่วยเหลือโดยการแก้ไข ร่างกายให้สอดคล้องกับภาวะจิตใจ โดย จะมีการดำเนินการ ดังนี้ วินิจฉัย เริ่มต้นจากการปรึกษา จิตแพทย์เพื่อวินิจฉัย และให้คำ แนะนำในการปรับตัว และการสื่อสาร กับบุคคลอื่ นเพื่ อให้ทราบถึงวิธีการ ดูแลที่เหมาะสม การแปลงเพศ ผู้ที่ตัดสินใจจะรับการ ผ่าตัดแปลงเพศจะต้องได้รับการ ประเมินความพร้อมในการผ่าตัดจาก จิตแพทย์ และควรเข้ารับการผ่าตัด จากศัลยแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญ และควรทำการผ่าตัดในสถาน พยาบาลที่ได้มาตรฐานเพื่อความ ปลอดภัย

ปัญหากลุ่ม LGBTQ ต้องเผชิญ ไม่เปรียบเทียบ ควรส่งเสริมการรู้คุณค่าใน แนวปฏิบัติสำหรับ ที่สำคัญที่สุดไม่ได้มีแค่เพียง ตนเอง ไม่ควรเปรียบเทียบลูกหลานกับใคร ครอบครัวที่มีลูก บรรทัดฐานทางสังคม แต่ยังมี เพราะจะเป็นการสร้างความกดดันส่งผลให้ หลานเป็น LGBTQ ปัญหาในเรื่องการยอมรับจาก ไม่อยากเปิดใจกับเรามากยิ่งขึ้น คนในครอบครัว เนื่องจากคน กลุ่มนี้อาจต้องทำตามความหวัง สื่อสารในเชิงบวก มีการสื่อสารระหว่างกัน ของพ่อแม่ หรือต้องรักษาชื่อ เน้นการมองผลดีมากกว่าผลเสีย หมั่นพูด เสียงของวงศ์ตระกูล ซึ่งเป็นเรื่อง คุย เปิดโอกาสให้อีกฝ่ายได้บอกเล่าเรื่องราว สวนทางกับผู้ที่อยู่ในกลุ่มความ และรับฟังความคิดเห็นด้วยความเข้าใจ หลากหลายทางเพศ ครอบครัว หรือคนรอบข้างอาจยังขาดความ ให้ความสำคัญ ใส่ใจ และชื่นชมในสิ่งที่ทำได้ รู้ความเข้าใจในตัวตน หรือวิถีทาง แต่ไม่ควรเยินยอเกินจริง เพศของคนกลุ่มนี้ จึงควรเรียนรู้ แนวปฏิบัติเมื่อพบว่าลูกหลาน ให้โอกาสได้เรียนรู้ โดยอาจดูแลอยู่ห่าง ๆ เป็น LGBTQ หรือคอยให้ความช่วยเหลือเมื่อจำเป็น   สังเกตพฤติกรรม วัยรุ่นที่เป็นเพศที่สาม อาจต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ คนในครอบครัวจึงต้องคอยสังเกต พฤติกรรมที่อาจเป็นสัญญาณว่าตนเอง รู้สึกแปลกแยกจากสังคม หรือมีพฤติกรรม การแสดงออกทางเพศที่ไม่เหมาะสม ใช้ ความรุนแรง มีอาการซึมเศร้า เป็นต้น

รอบโลก ผู้คนถูกโจมตีเพียงเพราะคนที่ พวกเขารัก วิธีการที่พวกเขาแต่งตัว หรือแม้แต่เพราะตัวตนของพวกเขา ไม่ว่าจะเป็นการถูกล้อเลียนชื่อหรือโดนรังแก ไปจนถึงโดนปฏิเสธไม่รับ เข้าทำงานหรือไม่ได้รับสิทธิการรักษาสุขภาพที่เหมาะสม การถูกปฏิบัติ อย่างไม่เท่าเทียมมีให้เห็นมากมายและรุนแรงแตกต่างกันไป จนอาจถึง ขั้นเสี่ยงต่อชีวิตได้ เห็นได้จากกรณีตัวอย่างนับไม่ถ้วน ผู้ที่เป็น LGBTI ถูกคุกคามบนท้อง ถนน ถูกซ้อมทำร้ายร่างกาย หรือแม้กระทั่งถูกฆ่าเพียงเพราะตัวตนของ พวกเขา มีการกระทำรุนแรงต่อทรานส์เจนเดอร์มากมายที่พรากชีวิตไป อย่างน้อย 369 ชีวิตตั้งแต่เดือนตุลาคม 2017 จนถึงเดือนกันยายน 2018 ผู้ที่เป็นอินเทอร์เซ็กส์ถูกบังคับให้เข้ารับการผ่าตัดที่อันตราย ล่วงล้ำเข้าสู่ร่างกาย (invasive) และไม่มีความจำเป็นโดยสิ้นเชิงซึ่งอาจ ก่อให้เกิดผลข้างเคียงทางกายหรือจิตไปชั่วชีวิต

บางครั้ง ความรุนแรงที่มุ่งเป้าไปที่กลุ่มคน LGBTI ก็ เพิ่มจำนวนเพราะรัฐบาลที่ควรปกป้องกลุ่มคนเหล่านี้เสีย เอง นโยบายที่สนับสนุนโดยรัฐในเชชเนียนำไปสู่การมุ่งเป้า ทำร้ายเกย์ โดยบางส่วนถูกลักพาตัว ทรมาน หรือแม้ กระทั่งถูกฆ่า ในบังคลาเทศ นักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิ LGBTI ถูกกลุ่มติดอาวุธมีดมาเชเตทำร้ายจนเสียชีวิต โดยที่ตำรวจและรัฐบาลแทบไม่ให้ความสนใจมอบความ ยุติธรรมให้แก่ครอบครัวของเหยื่อ นอกจากนี้ หลายพื้นที่ ในแอฟริกาใต้สะฮารา ผู้คนยังคงใช้ชีวิตอย่างหวาดกลัว การโดนจับได้ที่นำไปสู่การถูกทำร้ายหรือถูกฆาตกรรม การร่วมเพศของคนเพศเดียวกันเป็นอาชญากรรมในกว่า 70 ประเทศ และเป็นโทษประหารชีวิตในเก้าประเทศ ไม่ว่า จะเป็นประเทศอิหร่าน ประเทศซาอุดีอาระเบีย ประเทศ ซูดานและประเทศเยเมน ถึงแม้ในบางพื้นที่จะไม่บังคับใช้ กฎหมายจำกัดสิทธิดังกล่าวอย่างจริงจัง การมีกฎหมาย เหล่านั้นก็สนับสนุนอคติต่อกลุ่มคน LGBTI ทำให้พวก เขารู้สึกขาดการปกป้องจากภัยคุกคาม การแบล็กเมล์ หรือความรุนแรง

ผู้คนรับมือกับการแบ่ง แยกนี้อย่างไร กลุ่มผู้สนับสนุน LGBTI ได้เอาชนะความท้าทายและความอันตรายมหาศาลเพื่อ เรียกร้องต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกลุ่มคน LGBTI และผลักดันให้ เปลี่ยนแปลงกฎหมายที่แบ่งแยกกลุ่มคนเหล่านี้ ตั้งแต่การนำเสนอแนวคิด ของไพรด์ไปจนถึงวันเฉลิมฉลองทั่วโลกอย่างวันต่อต้านโฮโมโฟเบีย ทรานส์โฟเบีย และไบโฟเบียนานาชาติ (หรือ IDAHOTB) ทั่วโลก กลุ่มคน LGBTI ได้สร้างกลุ่มพันธมิตรและสนับสนุนความภาคภูมิใจต่อตัวตนของพวก เขา ความพยายามร่วมกันของกลุ่มองค์กรนักเคลื่อนไหวรอบโลกได้ปรากฏผล ให้เห็นอย่างจริงจัง ทุกวันนี้ มีอย่างน้อย 43 ประเทศที่ออกมาประกาศว่า อาชญากรรมเกี่ยวกับโฮโมโฟเบียเป็นอาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชัง (hate crime) ประเภทหนึ่ง และในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 มี 27 ประเทศที่ได้อนุมัติให้การสมรสของคู่รักเพศเดียวกันถูกกฎหมาย

คำตอบของคำถามยอดฮิตเกี่ยวกับ การเป็น LGBT รสนิยมทางเพศ (sexual orientation) หมายความว่าอะไร รสนิยมทางเพศของคน ๆ หนึ่งสื่อถึงคนที่พวกเขาสนใจและสร้างความ สัมพันธ์ด้วย รสนิยมทางเพศเป็นเรื่องส่วนตัวและขึ้นอยู่กับตัวบุคคลว่าจะ ตัดสินว่าจะกำหนดหรือไม่และกำหนดอย่างไร สำหรับบางคน รสนิยม เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลารสนิยมทางเพศรวมถึง เลสเบี้ยน (lesbian – ผู้ หญิงที่ชอบผู้หญิง) เกย์ (gay ส่วนมากเป็นผู้ชายที่ชอบผู้ชาย) ไบเซ็กชวล (bisexual - ชอบผู้ชายและผู้หญิง) แพนเซ็กชวล (pansexual - ชอบที่ตัว บุคคล) ไม่ฝักใฝ่ใจทางเพศ (asexual - ไม่มีความชอบทางเพศต่อใคร)

คนที่เป็นทรานส์เจนเดอร์จะทำเรื่องขอรับรอง เพศสถานะได้ที่ไหนบ้าง คนที่เป็นทรานส์เจนเดอร์สามารถทำเรื่องขอรับ รองเพศสถานะได้ในบางประเทศ อย่างไรก็ตาม ส่วนมากมักต้องผ่านกระบวนการที่สร้างความ อับอายและละเมิดสิทธิมนุษยชน ไม่ว่าจะเป็นการ เข้ารับการวินิจฉัยทางจิตหรือการทำหมันถาวร มี เพียงเจ็ดประเทศเท่านั้นที่ไม่มีกระบวนการดัง กล่าว คือ อาร์เจนตินา บราซิล เบลเยียม โคลอมเบีย เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ มอลตา และ นอร์เวย์ อินเทอร์เซ็กส์แปลว่าอะไร การที่คนเกิดมาพร้อมลักษณะทางเพศที่แตก ต่างไปจากคุณลักษณะชายหญิงทั่วไปเรียกว่าอิน เทอร์เซ็กส์ ยกตัวอย่างเช่น ในบางกรณี ร่างกาย มีทั้งลักษณะของเพศหญิงและเพศชาย และอีก กรณีหนึ่งคือเมื่อองค์ประกอบของโครโมโซม ไม่ใช่ทั้งหญิงหรือชาย ลักษณะเหล่านี้อาจปรากฏ ตั้งแต่กำเนิด เริ่มปรากฏชัดเจนเมื่อเข้าสู่วัย เจริญพันธุ์หรือภายหลังในชีวิต หลายคนที่เป็นอินเทอร์เซ็กส์ต้องเผชิญกับการ ผ่าตัดที่รุกล้ำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ฉุกเฉิน (non- emergency) และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข ได้ ส่วนใหญ่มักทำขณะยังเป็นเด็กแต่บางครั้งก็ ทำภายหลัง ขั้นตอนเหล่านี้สร้างอุปสรรคที่ก่อ ความเสียหายต่อร่างกายและจิตใจในระยะยาว การมีเพศสัมพันธ์กับคนเพศเดียวกันเป็น อาชญากรรมที่ประเทศไหนบ้าง การมีเพศสัมพันธ์กับคู่รักเพศเดียวกันเป็นเรื่อง ผิดกฎหมายในกว่า 70 ประเทศ ในบังคลาเทศ บาร์เบโดส กายอานา เซียร์ราลีโอน กาตาร์ ยูกันดา และแซมเบีย ถือเป็นความผิดจำคุก ตลอดชีวิต มีเก้าประเทศที่กำหนดให้การรักเพศ เดียวกันเป็นโทษประหารชีวิต คือ อัฟกานิสถาน บรูไน อิหร่าน อิรัก มอริเตเนีย ปากีสถาน ซาอุดีอาระเบีย ซูดาน และเยเมน

การสมรสของคู่รักเพศเดียวกันถูกกฎหมาย ไพรด์ (Pride) คืออะไร ที่ไหนบ้าง ไพรด์มีหลายรูปแบบ ทั้งการเดินขบวนคาร์นิวัล ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 การสมรสของ ไปจนถึงการฉายภาพยนตร์และการโต้วาที ไพรด์ คู่รักเพศเดียวกันถูกกฎหมายในประเทศ ยังเป็นช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองของกลุ่มคน 27ประเทศ รวมถึงอาร์เจนตินา แคนาดา ที่ถูกจำกัดให้เป็นไปตามมาตรฐานของชายหรือ ไอร์แลนด์ มอลตา แอฟริกาใต้ อุรุกวัย และ หญิง โดยมีการจัดงานตลอดปีขึ้นอยู่กับสถานที่ ไต้หวัน และแอมเนสตี้กำลังเรียกร้องให้ญี่ปุ่น ในทวีปอเมริกาและยุโรป เทศกาลมักจะเริ่มใน ปฏิบัติเช่นเดียวกัน เดือนมิถุนายน ในขณะที่แอฟริกาใต้มีเทศกาลไพ รด์เดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม ไม่ว่าจะเป็นงาน แบบใด ไพรด์เป็นช่วงเวลาที่กลุ่มคน LGBTI ออก มาแสดงว่ายอมรับในสิ่งที่เป็นและภูมิใจในตัวตน ของตัวเอง เทศกาลไพรด์ถูกแบนในหลาย ประเทศทั่วโลก รวมถึงรัสเซีย ซาอุดีอาระเบีย ยูกันดา และล่าสุดตุรกี ไพรด์เฉลิมฉลองความ เปลี่ยนแปลงในเรื่องความหลากหลายและ เป็นการขยายประเด็นการเรียกร้องความเคารพ และการปกป้องสิทธิของ LGBTI

เ พ ร า ะ อ ะ ไ ร สิ ท ธิ ข อ ง ผู้ มี ความหลากหลายทางเพศ ( L G B T I ) จึ ง สำ คั ญ ? ทุกคนควรได้รู้สึกภูมิใจในตัวตนและคนที่รัก และมีสิทธิที่จะแสดงออก อย่างเสรี โดยข้อ 19 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ที่ อธิบายสิทธิที่ทุกคนได้รับความคุ้มครองเป็นครั้งแรก) ปกป้องเสรีภาพ ในการแสดงออกของทุกคน การหยุดโฮโมโฟเบียและทรานส์โฟเบียสามารถช่วยชีวิตคนได้ การ คุกคามของพวกที่ต่อต้าน LGBTI ทำให้กลุ่มคนที่แสดงตนเป็น LGBTI ตกอยู่ในความเสี่ยงต่อร่างกายและจิตใจอย่างสูง เพราะทุกคน ควรมีสิทธิต่อชีวิต เสรีภาพ และความปลอดภัย

การยอมรับกลุ่มคน LGBTI แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ตั ว ต น ข อ ง พ ว ก เ ข า จ ะ ล บ ล้ า ง ข้ อ จำ กั ด ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร เ ห ม า ร ว ม ลั ก ษ ณ ะ ท า ง เพศ (gender stereotypes) การเหมา ร ว ม เ ห ล่ า นี้ ส่ ง ผ ล เ สี ย ใ น สังคม ทั้งกำหนดและจำกัด วิถีชีวิตของคน การขจัดการ เ ห ม า ร ว ม จ ะ ป ล ด ป ล่ อ ย ใ ห้ ทุ ก ค น บ ร ร ลุ ศั ก ย ภ า พ ไ ด้ อ ย่ า ง เ ต็ ม ที่ โ ด ย ป ร า ศ จ า ก ข้ อ จำ กั ด อั น แ บ่ ง แ ย ก ข อ ง สั ง ค ม กลุ่มคน LGBTI โดยเฉพา ท ร า น ส์ เ จ น เ ด อ ร์แ ล ะ ค น ที่ แ ส ด ง อ อ ก ท า ง เ พ ศ ที่ ไ ม่ ต ร ง กั บ บ ร ร ทั ด ฐ า น ข อ ง สั ง ค ม (gender nonconforming) มัก เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร กี ด กั น ท า ง เศรษฐกิจและสังคม การ ต่อสู้เพื่ อกฎหมายที่เข้าถึง ค น ม า ก ขึ้ น โ ด ย ไ ม่ คำ นึ ง ถึ ง ร ส นิ ย ม ท า ง เ พ ศ แ ล ะ อั ต ลั ก ษ ณ์ ท า ง เ พ ศ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ก ลุ่ ม ค น เ ห ล่ า นี้ เ ข้ า ถึ ง สิ ท ธิ ทางสุขภาพ การศึกษา ที่อยู่ อาศัย และการจ้างงานมาก ขึ้ น

แ อ ม เ น ส ตี้ มี ส่ ว น ร่ ว ม แ อ ม เ น ส ตี้ มุ่ ง มั่น ที่ จ ะ ต่ อ สู้ กั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น สิ ท ธิ แบ่งแยกกลุ่มคน LGBTI ทั่วโลก L G B T I อ ย่ า ง ไ ร บ้ า ง แ อ ม เ น ส ตี้ ใ ห้ คำ แ น ะ นำ ต่ อ รัฐ บ า ล แ ล ะ ผู้ นำ ท ร ง อิ ท ธิ พ ล เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ป รับ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ป ก ป้ อ ง สิ ท ธิ ข อ ง ทุ ก ค น โ ด ย ไ ม่ คำ นึ ง ถึ ง ร ส นิ ย ม ท า ง เ พ ศ แ ล ะ อั ต ลั ก ษ ณ์ ท า ง เ พ ศ ข อ ง พวกเขา ห ลั ง จ า ก แ ค ม เ ป ญ ทั่ ว โ ล ก ข อ ง แ อ มเนสตี้ ศาลสูงสุดของไต้หวัน ตั ด สิ น ว่ า ก า ร แ บ น ก า ร ส ม ร ส ข อ ง คู่ รัก เ พ ศ เ ดี ย ว กั น ขั ด ต่ อ รัฐธรรมนูญ ในเดือนพฤษภาคม 2019 ไต้หวันกลายเป็นประเทศ แ ร ก ใ น เ อ เ ชี ย ที่ ย อ ม รับ ก า ร ส ม ร ส ข อ ง คู่ รัก เ พ ศ เ ดี ย ว กั น ในพื้ นที่อื่ น ๆ งานของแอมเนสตี้ ส ร้า ง อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ก ฎ ห ม า ย ใ ห ม่ ใ น กรีซ เดนมาร์ก และนอร์เวย์ ที่ อ นุ ญ า ต ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ข อ รับ ร อ ง เ พ ศ ส ถ า น ะ ที่ แ ท้ จ ริง ท า ง ก ฎ ห ม า ย จ า ก รัฐ บ า ล ใ น ข ณ ะ ที่ ไ ม่ มี ข้ อ ส ง สั ย เ ล ย ว่ า ก า ร เคลื่ อนไหวสิทธิ LGBTI ก้าวหน้า อย่างชัดเจน แต่งานยังไม่จบเพียง เท่านี้ แอมเนสตี้ช่วยนักกิจกรรมทั่ว โ ล ก โ ด ย ก า ร ผ ลิ ต แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ เ ด็ น ม า ก ม า ย ที่ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อกลุ่มคน LGBTI เช่น เครื่องมือ ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น ที่ จ ะ ช่ ว ย ต่ อ สู้ กั บ ก า ร แ บ่ ง แ ย ก ใ น แ อ ฟ ริก า ใ ต้ ส ะ ฮ า ร า และเอกสารชุด Body Politics ที่ มี เ ป้ า ห ม า ย ส ร้า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก เ กี่ ย ว กั บ ก า ร กำ ห น ด ใ ห้ ร ส นิ ย ม ท า ง เ พ ศ แ ล ะ ก า ร สื บ พั น ธุ์ เ ป็ น สิ่ ง ผิ ด กฎหมาย

‘ ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม ’ ‘ ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม ’ ห รือ ร่า ง พ . ร . บ . แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย แ พ่ ง แ ล ะ พ า ณิ ช ย์ ฉ บั บ ที่ พ . ศ . … . ใ ช้ เ ว ล า เ ดิ น ท า ง ม า ย า ว น า น จ น ไ ด้ ม า เ ป็ น ว า ร ะ ข อ ง ส ภ า ผู้ แ ท น ร า ษ ฎ ร ค รั้ง ที่ 3 0 ใ น วั น พุ ธ ที่ 9 ก . พ . 2 5 6 5 ร่า ง แ ก้ ไ ข ก ฎ ห ม า ย ฉ บั บ นี้ มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด ชั ด เ จ น คื อ ก า ร แ ก้ ไ ข ใ ห้ ก ลุ่ ม ผู้ มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง เ พ ศ ห รือ L G B T Q + ไ ด้ ห มั้ น แ ต่ ง ง า น มี สิ ท ธิ ต่ า ง ๆ ใ น แ บ บ คู่ ส ม ร ส ที่ ช อ บ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ร ว ม ถึ ง สิ ท ธิ ท า ง ด้ า น ม ร ด ก ท รัพ ย์ สิ น ก า ร รับ บุ ต ร บุ ญ ธ ร ร ม แ ล ะ อื่ น ๆ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ที่ ก ฎ ห ม า ย เ ก่ า อ นุ ญ า ต ใ ห้ ช า ย แ ล ะ ห ญิ ง เ ท่ า นั้ น

ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม คื อ ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม คื อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น สิ ท ธิ ก า ร ก่ อ ตั้ ง ค ร อ บ ค รัว ห รือ ค ว า ม เ รีย บ ง่ า ย ที่ ม นุ ษ ย์ ค น ห นึ่ ง จ ะ ส ร้า ง ค ร อ บ ค รัว โ ด ย ไ ม่ มี ข้ อ จำ กั ด # ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม เ ค ย ติ ด เ ท ร น ด์ ท วิ ต เ ต อ ร์ร ะ ย ะ ห นึ่ ง โ ด ย มี ส า ร ะ สำ คั ญ คื อ ก า ร แ ก้ ไ ข ถ้ อ ย คำ ใ น ห ล า ย ม า ต ร า ที่ ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย แ พ่ ง แ ล ะ พ า ณิ ช ย์ ( ป . พ . พ . ) บั ญ ญั ติ ว่ า “ ส า มี แ ล ะ ภ ร ร ย า ” เ ป็ น “ คู่ ส ม ร ส ” มี ก า ร ป รับ ถ้ อ ย คำ จ า ก คำ ว่ า “ ช า ย ” ห รือ “ ห ญิ ง ” เ ป็ น “ บุ ค ค ล ” เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ห ลั ก ก า ร ส ม ร ส ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล มี ก า ร กำ ห น ด ใ ห้ บุ ค ค ล ทุ ก ค น ไ ด้ ก า ร รับ ร อ ง สิ ท ธิ ต่ า ง ๆ เ ช่ น สิ ท ธิ ใ น ก า ร ห มั้ น สิ ท ธิ ใ น ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ส ม ร ส สิ ท ธิ ใ น ก า ร จั ด ก า ร ท รัพ ย์ สิ น ข อ ง คู่ ส ม ร ส ซึ่ ง ก า ร แ ก้ ไ ข นี้ จ ะ ทำ ใ ห้ สิ ท ธิ ข อ ง บุ ค ค ล ทุ ก ค น เ กิ ด ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม แ ล ะ ไ ด้ รับ ก า ร รับ ร อ ง แ ล ะ คุ้ ม ค ร อ ง ท า ง ก ฎ ห ม า ย ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ห ลั ก ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ต่ อ ห น้ า ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ห ลั ก ศั ก ดิ์ ศ รีค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์

จุดเริ่มต้น แรกเริ่มเดิมทีสมรสเท่าเทียมเกิดจากภาคประชาชน ที่มีคู่หญิงรักหญิงไป จดทะเบียนสมรสซึ่งถูกปฏิเสธและไม่ได้รับการจดทะเบียน เพราะตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1448 ระบุว่า การสมรสจะทำได้ ระหว่างชายและหญิงเท่านั้น ดังนั้น จึงเป็นการขับเคลื่อนของกลุ่มภาคประชาชนที่กำลังพยายามบอกกับ สังคมว่า กฎหมายสมรสในปัจจุบันเป็นการเลือกปฏิบัติ ซึ่งคือจุดเริ่มต้นใน ภาคประชาชนก่อนที่จะส่งต่อไปยังภาคกฎหมาย คุณธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.ส.พรรคก้าวไกล ได้รับฟังปัญหาของ ประชาชนและกลับมาทำการบ้าน ก่อนจะพัฒนาร่าง พ.ร.บ.ให้สมบูรณ์ และ ยื่นเข้าสู่สภาในที่สุด

‘ ธั ญ วั จ น์ ก ม ล ว ง ศ์ วั ฒ น์ ส . ส . บั ญ ชี ร า ย ชื่ อ พ ร ร ค ก้ า ว ไ ก ล อ ภิ ป ร า ย นำ เ ส น อ ว่ า ก ฎ ห ม า ย ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม ไ ม่ ไ ด้ เ รีย ก ร้อ ง ใ น สิ่ ง ที่ ม า ก ก ว่ า ผู้ อื่ น เ ป็ น สิ ท ธิ ที่ เ ร า ต้ อ ง มี อ ยู่ แ ล้ ว “ เ นื่ อ ง จ า ก บ ท บั ญ ญั ติ ใ น ป ร ะ ม ว ล แ พ่ ง แ ล ะ พ า ณิ ช ย์ ห ล า ย ม า ต ร า ขั ด ต่ อ บ ท บั ญ ญั ติ ใ น รัฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย พ . ศ . 2 5 6 0 ม า ต ร า 2 7 ว ร ร ค ส า ม ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร เ ลื อ ก ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม ต่ อ บุ ค ค ล ด้ ว ย เ ห ตุ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง เ รื่ อ ง เ พ ศ จึ ง เ ส น อ ใ ห้ มี ก า ร แ ก้ ไ ข ดั ง นี้ 1 . แ ก้ ไ ข ใ ห้ ช า ย ห ญิ ง ห รือ บุ ค ค ล ส อ ง ค น ซึ่ ง เ ป็ น เ พ ศ เ ดี ย ว กั น ส า ม า ร ถ ห มั้ น ส ม ร ส กั น ไ ด้ ตามกฎหมาย 2 . แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม ห ม ว ด ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ส า มี ภ ร ร ย า แ ล ะ คู่ ส ม ร ส แ ล ะ กำ ห น ด ใ ห้ ตั ด คำ ว่ า ส า มี แ ล ะ ภ ริย า แ ล ะ ใ ห้ เ พิ่ ม คำ ว่ า คู่ ส ม ร ส 3 . ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง คู่ ส ม ร ส ซึ่ ง บุ ค ค ล ส อ ง ค น ส ม ร ส กั น มี สิ ท ธิ ห น้ า ที่ แ ล ะ ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง ต า ม ก ฎ ห ม า ย 4 . แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม ห ม ว ด 4 จ า ก เ ดิ ม ท รัพ ย์ สิ น ร ะ ห ว่ า ง ส า มี ภ ร ร ย า เ ป็ น ท รัพ ย์ สิ น ร ะ ห ว่ า ง คู่ สมรส 5 . เ รื่ อ ง สิ ท ธิ แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง คู่ ส ม ร ส ที่ ช อ บ ด้ ว ย ก ฎ ห ม า ย ส า ม า ร ถ จั ด ก า ร ท รัพ ย์ สิ น แ ล ะ ห นี้ สิ น ร่ว ม กั น 6 . เ รื่ อ ง ก า ร สิ้ น สุ ด ก า ร ส ม ร ส ก า ร เ พิ ก ถ อ น ก า ร ส ม ร ส ก า ร ห ย่ า ข า ด จ า ก ก า ร ส ม ร ส ก า ร จั ด ก า ร ท รัพ ย์ สิ น ห ลั ง สิ้ น สุ ด ก า ร ส ม ร ส ก า ร เ รีย ก ค่ า ท ด แ ท น ค่ า อุ ป ก า ร ะ เ ลี้ ย ง ดู ห ลั ง สิ้ น สุ ด ก า ร ส ม ร ส 7 . ใ ห้ คู่ ส ม ร ส ที่ เ ป็ น เ พ ศ เ ดี ย ว กั น ซึ่ ง จ ด ท ะ เ บี ย น ส ม ร ส โ ด ย ช อ บ ด้ ว ย ก ฎ ห ม า ย ส า ม า ร ถ รับ ผู้ เ ย า ว์ เ ป็ น บุ ต ร บุ ญ ธ ร ร ม ร่ว ม กั น ไ ด้ 8 . ก ร ณี ที่ คู่ ส ม ร ส ฝ่ า ย ใ ด ฝ่ า ย ห นึ่ ง ที่ เ ป็ น ผู้ ฆ่ า คู่ ส ม ร ส กำ ห น ด ใ ห้ เ ป็ น ผู้ ถู ก จำ กั ด มิ ใ ห้ รับ ม ร ด ก 9 . คู่ ส ม ร ส ที่ ช อ บ ด้ ว ย ก ฎ ห ม า ย ห รือ คู่ ส ม ร ส ที่ ร้า ง กั น ห รือ แ ย ก ท า ง กั น โ ด ย มิ ไ ด้ ห ย่ า ร้า ง ต า ม ก ฎ ห ม า ย มี สิ ท ธิ ใ น ก า ร รับ ม ร ด ก ข อ ง คู่ ส ม ร ส ที่ เ สี ย ชี วิ ต

11 4 สาระสำคัญ การสมรสเท่าเทียม การแก้ไขรายละเอียดเกี่ยวกับ ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา การสมรส เป็น ทรัพย์สินระหว่างคู่สมรส จากเดิมที่ระบุ ความสัมพันธ์ รวมถึงมรดกของผู้ตายที่มีคู่ ระหว่างสามีภริยา เป็น ความ สมรส โดยได้ขอแก้ไขถ้อยคำใน สัมพันธ์ระหว่างคู่สมรส หลายมาตราที่ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์บัญญัติว่า สามี การสมรสให้บุคคลเพศเดียวกัน และภรรยา เป็น คู่สมรส หรือต่างเพศ การหมั้น ซึ่งมีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ สามารถ สมรสกันได้ หรือหากมีเหตุอัน แก้ไขรายละเอียดจากเดิมที่ระบุ สมควร ศาลอาจอนุญาตให้ ชายและหญิง ได้กำหนดศัพท์ขึ้น ทำการสมรสก่อนนั้นได้ สำหรับ ใหม่เป็น ผู้หมั้นและผู้รับหมั้น เงื่อนไขการสมรสยังคงเดิม แต่มี แทน การปรับถ้อยคำจาก ชายหรือ หญิง เป็น บุคคล เพื่อให้ สอดคล้องกับหลักการสมรส ระหว่างบุคคล

มายาคติ ที่ มีต่ อเรื่ อง เ พ ศ ใ น สั ง ค ม ไ ท ย L G B T Q + สั ง ค ม ไ ท ย ม อ ง ว่ า เ ป็ น ภั ย คุ ก ค า ม ท า ง ศ า ส น า เ นื่ อ ง จ า ก ค น ไ ท ย ส่ ว น ใ ห ญ่ นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ นิ ก า ย เ ถ ร ว า ท ซึ่ ง มี มุ ม ม อ ง เ ชิ ง ล บ ต่ อ วิ ถี ท า ง เ พ ศ แ ล ะ อั ต ลั ก ก ษ ณ์ ท า ง เ พ ศ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ไ ป ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ โ ด ย ม อ ง ว่ า เ ป็ น ก ร ร ม จ า ก ก า ร ทำ บ า ป ใ น ช า ติ ที่ ผ่ า น ม า ห รื อ เ ป็ น ก า ร ข า ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า ง เ พ ศ L G B T Q + สั ง ค ม ไ ท ย ม อ ง ว่ า ก ลุ่ ม ค น เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร ติ ด โ ร ค ท า ง เ พ ศ ( H I V ) สั ม พั น ธ์ แ ล ะ ทำ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย โ ร ค ติ ด ต่ อ ไ ด้ แ ก่ เ อ ช ไ อ วี จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น พ บ ข้ อ มู ล ห ลั ก ฐ า น อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ว่ า ช า ย ที่ มี เ พ ศ สั ม พั น ธ์ ( H I V )กั บ ช า ย แ ล ะ ส า ว ป ร ะ เ ภ ท ส อ ง มี อั ต ร า ก า ร ติ ด เ ชื้ อ เ อ ช ไ อ วี สู ง สั ง ค ม ไ ท ย ม อ ง ว่ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น สั ง ค ม จ ะ ล ด น้ อ ย ล ง เ พิ่ ม อั ต ร า ก า ร ก่ อ เ ห ตุ อ า ช ญ า ก ร ร ม ย ก ตั ว อ ย่ า ง ห้ อ ง น้ำ ส า ธ า ร ณ ะ ใ น ก ร ณี ที่ มี ก า ร ส ร้ า ง ขึ้ น เ พื่ อ ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง เ พ ศ สั ง ค ม ไ ท ย ม อ ง ว่ า ห า ก ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม ถู ก นำ ม า ใ ช้ ใ น ชี วิ ต จ ริ ง จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ โ ค ร ง ส ร้ า ง จำ น ว น ป ร ะ ช า ก ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ นื่ อ ง จ า ก จ ะ ทำ ใ ห้ จำ น ว น ป ร ะ ช า ก ร ล ด ล ง เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ แ ต่ ง ง า น กั บ เ พ ศ เ ดี ย ว กั น ไ ด้ แ ล ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ L G B T Q + สั ง ค ม ไ ท ย ถู ก ห ล่ อ ห ล อ ม ใ ห้ มี แ น ว คิ ด ว่ า ก ลุ่ ม ค น เ ป็ น ก ลุ่ ม ค น หั ว รุ น แ ร ง นิ ย ม ใ ช้ ค ว า ม รุ น แ ร ง แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ถู ก ม อ ง ว่ า เ ป็ น พ ว ก ห ม ก มุ่ น ท า ง เ พ ศ เ กี่ ย ว พั น กั บ โ ร ค ติ ด ต่ อ ท า ง เ พ ศ สั ม พั น ธ์ ร ว ม ถึ ง ก า ร ก่ อ เ ห ตุ อาชญากรรม L G B T Q + ก ลุ่ ม ถู ก ม อ ง ว่ า เ ป็ น ผู้ ที่ มี วิ ถี ท า ง เ พ ศ ห รื อ อั ต ลั ก ษ ณ์ ท า ง เ พ ศ ที่ L G B T Q + ถื อ ว่ า ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ บ ร ร ทั ด ฐ า น ข อ ง สั ง ค ม จึ ง ทำ ใ ห้ ก ลุ่ ม ค น ต้ อ ง เ ผ ชิ ญ ห น้ า กั บ ก า ร เ ป็ น ที่ ย อ ม รั บ จ า ก ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ค น ใ น สั ง ค ม เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ เ ป็ น ไ ป ต า ม บ ร ร ทั ด ฐ า น ข อ ง สั ง ค ม ทำ ใ ห้ ชื่ อ เ สี ย ง ข อ ง ว ง ศ์ ต ร ะ กู ล เ สื่ อ ม เ สี ย

ส ม ร ส เ ท่ า เ ที ย ม แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว คื อ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ทุ ก ค น ท สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานสำหรับกลุ่ม LGBTQ+ สู่ความเสมอภาค อย่างแท้จริง เช่น สิทธิในการหมั้น สิทธิในการจดทะเบียนสมรส สิทธิใน การจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส สิทธิในการเป็นทายาทโดยธรรม การ รับบุตรบุญธรรม และการรับมรดกจากคู่สมรส ซึ่งการแก้ไขนี้ จะทำให้ สิทธิของบุคคลทุกคนเกิดความเท่าเทียม และได้รับการรับรองและ คุ้มครองทางกฎหมาย สอดคล้องกับหลักความเสมอภาคต่อหน้า กฎหมายและหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิในการก่อตั้งครอบครัวเป็นของทุกคน โดยคู่สมรสซึ่งเป็นเพศ เดียวกันและจดทะเบียนสมรส สามารถรับเลี้ยงดูบุตรบุญธรรมร่วมกัน ได้ และให้มีสิทธิหน้าที่ระหว่างคู่สมรสด้วยกัน ระหว่างบิดา มารดา บุตร แล้วแต่กรณีตามบรรดากฎหมาย กฎกระทรวง และระเบียบบัญญัติ ซึ่ง รวมไปถึงการได้รับสิทธิ สวัสดิการต่าง ๆ ในการสมรสอีกด้วย เช่น สิทธิเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ สิทธิในการลดหย่อนภาษีบุตร บุญธรรม สิทธิในการยินยอมในการรักษาพยาบาล เช่น การผ่าตัด ฉุกเฉิน รับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรักษา คนเหล่านี้จะได้รับสิทธิที่ เป็นครอบครัวอย่างแท้จริง สิทธิที่ดีมักจะตามมาด้วยเศรษฐกิจที่ดีเสมอ เกิดการกระตุ้น เศรษฐกิจไปในทิศทางที่ดีขึ้น ซึ่งหากมีการแก้ไขที่เกิดขึ้นจริง กลุ่ม LGBT+ มีสิทธิในการมีครอบครัวอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เช่น สามารถกู้ซื้อบ้านด้วยกัน ทำประกันชีวิต หรือในเรื่องการลดหย่อนภาษี การรับบุตรบุญธรรม สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะสามารถปลดล็อคศักดิ์ศรี สิทธิ และสวัสดิการ การยกระดับความก้าวหน้าทางกฎหมายของไทย ความพยายามที่ จะเปลี่ยนแปลงกฎหมายให้กับทุกคนได้เข้าถึง สอดคล้องกับปฏิญญา สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) และอนุสัญญาอีกหลายฉบับ เช่น แผนการ พัฒนาโลกเพื่อความยั่งยืน (SDGs), กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR), กติการะหว่างประเทศว่า ด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR), อนุสัญญา ว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบต่อสตรี (CEDAW), อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook