Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสืบค้นและแหล่งเรียนรู้

การสืบค้นและแหล่งเรียนรู้

Published by สุกันยา ชื่นรส, 2019-05-06 05:05:59

Description: การสืบค้นและแหล่งเรียนรู้

Search

Read the Text Version

การสืบค้นขอ้ มลู และแหลง่ เรียนรู้ นางสาวสุกนั ยา ชืน่ รส

ก คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) น้ี จัดทำข้ึนเพื่อ ประกอบกำรเรียนกำรสอนในรำยวิชำกำรศึกษำค้นคว้ำ และสร้ำงองค์ควำมรู้ (IS1) ผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ กำรสืบค้นข้อมูล แหล่งเรียนรู้ประเภทต่ำงๆ และเทคนิคกำร สืบค้นข้อมูล เพ่ือให้นักเรียนได้มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจในเน้ือหำ มำกย่ิงขึ้น นำเสนอในรูปแบบที่น่ำสนใจ มีภำพประกอบให้ นกั เรียนได้เหน็ ภำพจริง ประกอบกำรเรยี นรู้ได้ดีย่งิ ข้นึ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำจะเป็นประโยชน์แก่ นักเรยี น และผูส้ นใจไดไ้ มม่ ำกกน็ อ้ ย ผูจ้ ดั ทำ นำงสำวสกุ ันยำ ชื่นรส แหล่งเรียนรู้

สำรบญั ข คำนำ หนำ้ สำรบญั ก กำรสบื คน้ ข้อมูล ข 1 ควำมหมำยของกำรสืบคน้ ขอ้ มูล 1 กำรเตรียมตัวกอ่ นจะเร่มิ ตน้ กำรค้นหำ 2 แหลง่ เรยี นรู้ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรยี น 6 แหลง่ เรียนรใู้ นทอ้ งถิ่น แหล่งเรียนรอู้ เิ ลก็ ทรอนิกส์ 13 เทคนคิ กำรสบื คน้ ขอ้ มลู 15 กำรสบื คน้ จำกหนงั สอื 17 กำรสบื คน้ จำกอนิ เทอร์เนต็ 17 บรรณำนุกรม 19 20 แหล่งเรียนรู้

1 กำรสืบค้นข้อมูล กำรสืบค้นขอ้ มลู หมำยถงึ วธิ ีกำรตำ่ งๆ ท่ีใช้ประกอบ ในกำรสร้ำงประโยคกำรค้นหำ เพื่อให้ได้สำรสนเทศท่ีตรงกับ ควำมต้องกำรมำกท่ีสุด เทคนิคในกำรค้นหำนั้น สำมำรถแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คือ กำรค้นหำพ้ืนฐำนหรืออย่ำงง่ำย และกำรค้นหำแบบซับซ้อนหรือขั้นสูง กำรนำควำมรู้เกี่ยวกับ อินเทอร์เน็ต มำประยุกต์ใช้ในกำรศึกษำหำควำมรู้ ได้แก่ กำรสืบค้นข้อมูลทำงอินเทอร์เน็ต โดยกำรใช้งำนอินเทอร์เน็ต เก่ียวกับกำรศึกษำนี้จะสำมำรถแบ่งเนื้อหำออกเป็น 3 ระดับ ดงั นี้ 1. กำรสืบค้นข้อมูลทำงอินเทอร์เนต็ 2. กำรนำข้อมูลจำกอนิ เทอร์เนต็ มำใชง้ ำน 3. กำรสรำ้ งแหลง่ ข้อมูลดว้ ยตนเอง แหลง่ เรียนรู้

2 กำรเตรียมตัวกอ่ นจะเร่ิมตน้ กำรคน้ หำ 1. ผู้ค้นจะต้องทรำบว่ำตนเองต้องกำรค้นหำข้อมูล เกย่ี วกับเรือ่ งใด 2. รู้จักแหล่งสำรสนเทศ ทั้งห้องสมุด อินเทอร์เน็ต และแหลง่ อ่นื ๆ เพ่ือสบื คน้ ให้ได้ขอ้ มลู ตำมที่ต้องกำร เปน็ ต้น 3. ต้องรู้จักวิธีกำรใช้แหล่ง เช่น รู้จักวิธีค้นหำแบบ พ้ืนฐำน นอกจำกน้ียังต้องรู้จักวิธีกำรจัดกำรผลลัพธ์ ได้แก่ กำรบันทึก กำรสั่งพิมพ์ กำรส่งข้อมูลทำง E-mail กำรจัดกำร รำยกำรบรรณำนุกรม เป็นต้น 4. รู้จักกฎ กติกำ มำรยำทในกำรใช้แหล่งสำรสนเทศ เน่ืองจำกปัจจุบันได้มีกำรละเลิดลขิ สิทธ์ิกนั มำกขึ้น แหลง่ เรยี นรู้

3 แหล่งเรยี นรู้ ควำมหมำยของแหลง่ เรยี นรู้ “แหล่งเรียนรู้” คือ ถ่ิน ที่อยู่ บริเวณ บ่อเกิด แห่ง ที่หรือศูนย์ควำมรู้ท่ีให้เข้ำไปศึกษำหำควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ซ่ึงแหล่งเรียนรู้จึงอำจเป็นไปได้ท้ังสิ่งท่ีเป็นธรรมชำติ หรือสิ่งท่ี มนุษย์สร้ำงข้ึน เป็นได้ท้ังบุคคล สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต และแหล่งเรียนรู้อำจจะอยู่ในห้องเรียนในโรงเรียนหรือนอก โรงเรียนก็ได้ แหลง่ เรียนรู้

4 ควำมสำคญั ของแหลง่ เรียนรู้ 1. กระตุน้ ใหเ้ กิดกำรเรยี นรู้เรือ่ งใดเรอื่ งหน่งึ 2. ชว่ ยเสรมิ สร้ำงกำรเรียนร้ใู ห้ลึกซ้งึ ขึน้ 3. กระตุ้นมุง่ เน้นลึกในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ซึ่งผลักดันให้ผู้เรียน แสวงหำขอ้ มลู ท่ีเก่ยี วขอ้ งเพิม่ มำกข้ึน 4. เสริมสร้ำงกำรเรียนรู้ จนเกิดทักษะกำรแสวงหำข้อมูลท่ีมี ประสิทธภิ ำพ 5. แหล่งกำรเรียนรู้เสริมสร้ำงกำรพัฒนำกำรคิด เช่น กำรแก้ปัญหำ กำรให้เหตุผล และกำรประเมินอย่ำงมีวิจำรญำณ โดย อำศยั กระบวนกำรวจิ ยั อิสระ แหล่งเรยี นรู้

5 ประเภทของแหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรยี นรูใ้ น หอ้ งสมุด โรงเรยี น แหล่งเรยี นร้อู ่ืนๆ แหลง่ เรยี นรใู้ น ในโรงเรียน ทอ้ งถิ่น ประเภทของ แหลง่ เรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ แหล่งเรียนรู้

6 แหลง่ เรียนรูใ้ นโรงเรียน หอ้ งสมดุ ควำมหมำยของห้องสมุด คำว่ำ ห้องสมุด ตรงกับภำษำอังกฤษว่ำ “ Library”เ ป็ น ค ำ ซึ่ ง ม ำ จ ำ ก ภ ำ ษ ำ ล ะ ติ น ว่ ำ “Libraria”แปลว่ำ ท่ีเก็บหนังสือ ห้องสมุดเป็นแหล่ง เรียนรู้ท่ีสำคัญที่สุดในโรงเรียน เป็นสถำนท่ีรวบรวม สื่อกำรเรียนรู้ต่ำงๆ เช่น หนังสือ เอกสำร สิ่งพิมพ์ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนสื่อกำรศึกษำรูปแบบต่ำงๆ เพื่อสนบั สนนุ กำรจัดกำรเรียน กำรสอนในโรงเรียน แหลง่ เรยี นรู้

7 ประเภทของห้องสมุด ห้องสมุดโรงเรียน คือ ห้องสมุดท่ีจัดต้ังข้ึน ภำยในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมกำรเรียน กำรสอนของ สถำนศึกษำน้ันๆ รวมทั้งเป็นกำร ปลูกฝังนิสัยรักกำรอ่ำนหนังสือให้แก่ นักเรยี นดว้ ย ห้องสมดุ วทิ ยำลยั หรือมหำวิทยำลัย คือ ห้องสมุดท่ีจัดต้ังขึ้นในวิทยำลัย และ มหำวิทยำลัยทุกแห่ง หรือ สำนักหอสมุด จัดให้บริกำรแก่ นิสิต นักศึกษำ อำจำรย์ และ นักวิจัย เพ่ือส่งเสริม กำรศึกษำ ค้นคว้ำและวจิ ยั แหล่งเรียนรู้

8 ห้องสมุด ประชำชน คือ ห้องสมุดท่ีรัฐจัดตั้งข้ึนเพ่ือให้ บริกำรแก่บุคคลทั่วไป โดย ไม่จำกัดเพศ วัย และระดับ กำรศึกษำ มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ควำมรู้ ข่ำวสำร และ ควำมบันเทิงทวั่ ๆไป ห้องสมุด ป ร ะ เ ภ ท นี้ จึ ง มี ห นั ง สื อ ห ล ำ ก ห ล ำ ย ป ร ะ เ ภ ท ไ ว้ ให้บริกำร เช่น ห้องสมุด ประชำชน เป็นต้น แหล่งเรยี นรู้

9 ห้องสมุดเฉพำะ คือ ห้องสมุดที่จัดต้ังขึ้นในหน่วยงำนรำชกำร ต่ำงๆ องค์กร สมำคม สถำบัน บรษิ ัท ธนำคำร หนงั สอื ที่อยู่ใน ห้องสมุดประเภทนี้ ส่วนมำกเป็นหนังสือที่เก่ียวข้องกับวิชำชีพ ของหนว่ ยงำนนั้นๆ จดั ไว้เพ่อื ให้บริกำรแก่เจ้ำหนำ้ ทใี่ นหนว่ ยงำนได้ ศึกษำหำควำมร้ใู นแขนงงำนท่ีตนปฏบิ ตั งิ ำน แหลง่ เรยี นรู้

10 หอสมุดแห่งชำติ คือ ห้องสมุดท่ี เก็บรวบรวมสิ่งพิมพ์ท่ีพิมพ์ข้ึน ภำยในประเทศไว้ อย่ำงสมบูรณ์ แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ ไ ว้ ใ ห้ ค ง ท น ถ ำ ว ร จั ด ใ ห้ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ด้ ำ น ประกอบกำรคน้ ควำ้ วจิ ัย หอสมุด แห่งชำติ จะต้องได้รับสิ่งพิมพ์ทุก เล่มท่ีพิมพ์ข้ึนภำยในประเทศตำม กฎหมำย แหลง่ เรยี นรู้

11 แหล่งเรยี นรูอ้ ืน่ ๆในโรงเรียน ห้องปฏิบัติกำร หมำยถึง ห้องที่ทำงโรงเรียน จัดตั้งข้ึน เพ่ือใช้เป็นสถำนท่ีฝึกทักษะในด้ำน ต่ำง ๆ เป็นกำรเสริมกำรเรียนรู้ภำคทฤษฎี เชน่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ำรทำงภำษำ หอ้ งปฏบิ ัติกำร ฟิสกิ ส์ ห้องปฏิบัตกิ ำรเคมี เป็นตน้ ห้องสมุดกลุ่มสำระวิชำ หรือห้องสมุด ศูนย์วิชำ โดยจัดให้นักเรียนได้ศึกษำ ค้นคว้ำด้วยตนเอง อำจเป็นห้องสำหรับ กำรเรียนกำรสอนวิชำน้ันๆ เป็นมุม หนังสือของกลุ่มสำระวิชำหรืออำจเป็น หอ้ งโดยเฉพำะวชิ ำใดวชิ ำหน่ึง แหลง่ เรยี นรู้

12 อุทยำนกำรศึกษำ เป็นสถำนท่ีที่ให้ ควำมรู้ ควำมรื่นรมย์ตำมธรรมชำติ เพ่ือกำ ร พักผ่ อนหย่อน ใ จ ควำ ม เพลิดเพลินอยำ่ งมสี ำระโดยจัดเป็นสวน สมุนไพร สวนพฤกษศำสตร์ สวน เกษตร สวนธรรมชำติ เปน็ ตน้ ศูนย์เทคโนโลยีสำรสนเทศ เป็นแหล่ง ผ ลิ ต แ ล ะ ใ ห้ บ ริ ก ำ ร เ ท ค โ น โ ล ยี เ พ่ื อ กำรศึกษำ เพื่อสนับสนุนกำรจัดกำร เรียนกำรสอนแก่ครูผู้สอนและผู้เรียนใน รูปแบบต่ำง ๆ ที่สำมำรถเรียนรู้ด้วย ตนเอง เช่น คอมพิวเตอร์เพื่อกำรเรียน กำรสอน อนิ เทอร์เนต็ เปน็ ตน้ แหลง่ เรียนรู้

13 แหล่งเรยี นรใู้ นท้องถิ่น แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ป ร ะ เ ภ ท ธ ร ร ม ช ำ ติ เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่หรือเกิดขึ้น ตำมธรรมชำติ เช่น ภูเขำ แม่น้ำ ลำคลอง สวน ไร่นำ เช่น นักเรียนที่มี บ้ำนอยู่ใกล้แม่น้ำ ได้กระโดดน้ำเล่น ต้ังแต่เด็ก จนว่ำยน้ำเป็นโดยไม่รู้ตัว เป็นตน้ แหล่งเรียนรู้ประเภทวัตถุและสถำนท่ีที่มนุษย์ สร้ำงข้ึน เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่แล้วในท้องถ่ินท้ัง ท่ีรัฐจัดข้ึน สถำนท่ีท่ีมีอยู่แล้วในวิถีชีวิตกำรทำมำ หำกิน เช่น ห้องสมุดประชำชน วัด ที่อ่ำนหนังสือ ประจำหมบู่ ำ้ น โบรำณสถำน โบรำณวัตถุต่ำงๆ แหลง่ เรยี นรู้

14 แหล่งเรียนรู้ทำงสังคม หมำยถึง ระเบียบ แบบแผน ประเพณี วัฒนธรรมท่ีอยู่อำศัย กำรทำมำหำกิน เช่น ประเพณีเข้ำพรรษำ ประเพณีวันลอยกระทง ประเพณีวัน สงกรำนต์ เปน็ ต้น แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคลหรือปรำชญ์ ชำวบ้ำน หมำยถึง บุคคลผู้เป็นเจ้ำของภูมิ ปัญญำชำวบ้ำน และนำภูมิปัญญำมำใช้ ประโยชน์ ในกำรดำรงชีวิตจนประสบ ผลสำเร็จสำมำรถถ่ำยทอดเชื่อมโยงคุณค่ำ ของอดีตกบั ปจั จุบนั ได้อยำ่ งเหมำะสม แหล่งเรียนรู้

15 แหลง่ เรยี นรูอ้ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ หมำยถึง แหล่งเรียนรู้ท่ีผ่ำนเครือข่ำย อินเทอร์เน็ตสำมำรถให้ผู้เรียนติดต่อสื่อสำรกับผู้คนทั่วโลกได้อย่ำง รวดเร็ว และสำมำรถสืบค้นหรือเผยแพร่ข้อมูลสำรสนเทศจำกท่ัวโลก จงึ ทำใหเ้ กิดกำรเรียนรู้ตำมอัธยำศัย ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในด้ำนกำร คิดอย่ำงมีระบบ กำรคิดเชิงวิเครำะห์ กำรวิเครำะห์สืบค้น กำรวิเครำะห์ข้อมลู กำรแก้ปัญหำ และกำรคิดอย่ำงอิสระ แหล่งเรยี นรู้

16 อินเทอร์เน็ต เป็นกำรสืบค้นข้อมูลจำก เว็บบรำวเซอร์ เช่น Internet Explorer Mozilla Firefox, Google Chrome เป็นต้น ซ่ึงในกำรสืบค้นจะเปิดเว็บ บรำวเซอรข์ ้ึนมำและค้นใน google.com E-Book หมำยถึง หนังสือท่ีสร้ำงข้ึน ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ เป็นเอกสำรอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส ำ ม ำ ร ถ แ ท ร ก ภ ำ พ เสียง ภำพเคล่ือนไหว แบบทดสอบ และสำมำรถส่งั พิมพ์เอกสำรที่ต้องกำร ออกทำงเครอ่ื งพิมพ์ได้ แหลง่ เรยี นรู้

17 เทคนิคกำรสืบคน้ ขอ้ มลู กำรสืบคน้ จำกหนังสอื เป็นกำรเรียนรู้วิธีหน่ึงท่ีสำคัญและเป็นทักษะท่ีจำเป็นต่อ กำรศึกษำค้นควำ้ ดว้ ยตนเองจำกแหล่งเรยี นรทู้ ่ีนำ่ เชอ่ื ถอื ขนั้ ตอนกำรศึกษำค้นควำ้ จำกหนงั สือ 1. ค้นหำหนังสือจำกชื่อหนังสือท่ีตนเองต้องกำร ตำมหมวดตำ่ งๆ 2. คน้ หำเรื่องที่ตอ้ งกำรจำกสำรบัญ 3. เม่อื ได้เลขหน้ำจำกสำรบญั แลว้ ใหเ้ ปดิ ไปเลขหน้ำนัน้ ๆ 4. อำ่ นหวั ขอ้ และรำยละเอยี ดของเน้ือหำ 5. เขยี นบรรณำนกุ รมของหนงั สือ แหลง่ เรียนรู้

18 หมวดหม่หู นงั สอื 000 เบต็ เตลด็ /ทว่ั ไป 100 ปรัชญำ 200 ศำสนำ 300 สังคมศำสตร์ 400 ภำษำ 500 วิทยำศำสตร์ 600 วิทยำศำสตร์ประยุกต์ 700 ศลิ ปะ และนันทนำกำร 800 วรรณคดี 900 ภูมิศำสตร์และประวติ ศิ ำสตร์ แหล่งเรียนรู้

19 กำรสบื ค้นจำกอนิ เทอร์เนต็ กำรค้นหำแบบพ้ืนฐำนหรืออย่ำงง่ำย เป็นกำรค้นหำ สำรสนเทศอย่ำงง่ำยๆ ไม่ซับซ้อน โดยใช้คำโดดๆ หรือผสมเพียง 1 คำ ในกำรสืบค้นข้อมูล โดยส่วนใหญ่กำรค้นหำแบบง่ำยจะมี ทำงเลือกในกำรคน้ หำ ไดแ้ ก่ ชอ่ื ผแู้ ตง่ ชือ่ เร่ือง หวั เรอ่ื ง คำสำคัญ แหล่งเรียนรู้

บรรณำนกุ รม ชลดำ สมคั รเกษตรกำร. (2561). แหล่งเรียนรใู้ นโรงเรียน. [ออนไลน์] เข้ำถงึ ไดจ้ ำก : https://taichalada.wordpress.com สบื คน้ 29 มกรำคม 2561. พันธ์ประภำ พูนสิน. (2561). ประเภทของแหล่งเรียนรู้. [ออนไลน์] เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : http://punaoy.blogspot.com สบื ค้น 29 มกรำคม 2561. พันจมำวตั น์. (2562). ข้ันตอน วิธี และระเบียบวธิ ีในกำรสืบค้น. [ อ อ น ไ ล น์ ] เ ข้ ำ ถึ ง ไ ด้ จ ำ ก : http://knowledge- araya.blogspot.com สบื คน้ 6 พฤษภำคม 2562. แหลง่ เรียนรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook