เอกสารประกอบการสอนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รายวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (IS1) นางสาวสุกนั ยา ช่นื รส
ก คำอธิบำยรำยวิชำ รายวิชา I20201การศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ ( Research and Knowledge Formation) 1.0 หนว่ ยกติ ศกึ ษา วเิ คราะห์ ฝึกทักษะต้ังประเดน็ ปญั หา/ต้ังคาถาม เกีย่ วกบั สถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก ตั้ง สมมุตฐิ านและให้เหตผุ ล ที่สนับสนนุ หรอื โตแ้ ยง้ ประเดน็ ความรู้ โดยใชค้ วามรู้จากศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ และมีทฤษฎี รองรับ ออกแบบ วางแผน รวบรวมขอ้ มูล ค้นควา้ แสวงหาความรู้เกย่ี วกบั สมมตฐิ านทต่ี ง้ั ไวจ้ ากแหล่งเรียนรทู้ ้งั ปฐมภมู ิ ทตุ ยิ ภมู ิ และสารสนเทศ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และพิจารณาความนา่ เชือ่ ถอื ของแหล่งเรยี นรู้อย่างมีวจิ ารณญาณ เพอ่ื ให้ ได้ข้อมลู ทคี่ รบถว้ นสมบรู ณ์ วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใช้วธิ ีการทเ่ี หมาะสม สงั เคราะห์ สรุป องค์ความรู้รว่ มกนั มีกระบวนการ กล่มุ ในการวพิ ากษ์ แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ โดยใชค้ วามรู้จากสาขาวิชาตา่ งๆ เสนอแนวคิด วธิ กี ารแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบด้วยกระบวนการคิด กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการปฏบิ ตั ิ เพ่ือใหเ้ กิดทักษะในการคน้ คว้า แสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรปุ อภปิ รายผล เปรยี บเทียบเชอ่ื มโยงความรู้ ความเปน็ มาของศาสตร์ เข้าใจหลักการและวธิ คี ิดในสง่ิ ท่ี ศึกษา เห็นประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ผลกำรเรียนรู้ 1. ตงั้ ประเด็นปญั หา จากสถานการณ์ปจั จุบนั และสงั คมโลก 2. ต้งั สมมตฐิ านและให้เหตผุ ลทส่ี นบั สนนุ หรืโตแ้ ย้งประเดน็ ความรโู้ ดยใชค้ วามรจู้ ากสาขาวิชาต่างๆ และมที ฤษฎีรองรับ 3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4. ศึกษา คน้ คว้า แสวงหาความรเู้ กยี่ วกบั ประเดน็ ทเ่ี ลอื กจากแหลง่ เรยี นรูท้ มี่ ปี ระสิทธภิ าพ 5. ตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือของแหลง่ ทมี่ าของขอ้ มลู 6. วิเคราะห์ ขอ้ ค้นพบ ด้วยสถิตทิ ี่เหมาะสม 7. สังเคราะห์ สรปุ องค์ความร้ดู ว้ ยกระบวนการกลมุ่ 8. เสนอแนวคิด การแก้ปญั หาเปน็ ระบบด้วยองคค์ วามร้จู ากการคน้ พบ คำนำ
ข หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 การสืบค้นข้อมูลและแหลง่ เรียนรู้ คำอธิบำยรำยวิชำ
1 กำรสืบคน้ ข้อมูล กำรสืบค้นข้อมลู หมายถึง วธิ กี ารต่างๆ ทใี่ ชป้ ระกอบ ในการสร้างประโยคการค้นหา เพ่ือให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับ ความต้องการมากท่ีสุด เทคนิคในการค้นหานั้น สามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คือ การค้นหาพื้นฐานหรืออย่างง่าย และการค้นหาแบบซับซ้อนหรือขั้นสูง การนาความรู้เก่ียวกับ อินเทอร์เน็ต มาประยุกต์ใช้ในการศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต โดยการใช้งานอินเทอร์เน็ต เก่ียวกับการศึกษาน้ีจะสามารถแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ระดับ ดงั น้ี 1. การสบื คน้ ขอ้ มูลทางอนิ เทอร์เนต็ 2. การนาข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็ มาใช้งาน 3. การสรา้ งแหล่งขอ้ มูลด้วยตนเอง แหล่งเรียนรู้
2 กำรเตรียมตวั ก่อนจะเริม่ ต้นกำรคน้ หำ 1. ผู้ค้นจะต้องทราบว่าตนเองต้องการค้นหาข้อมูล เก่ยี วกบั เรอ่ื งใด 2. รู้จักแหล่งสารสนเทศ ท้ังห้องสมุด อินเทอร์เน็ต และแหล่งอน่ื ๆ เพอ่ื สบื คน้ ให้ไดข้ อ้ มลู ตามท่ีต้องการ เป็นตน้ 3. ต้องรู้จักวิธีการใช้แหล่ง เช่น รู้จักวิธีค้นหาแบบ พื้นฐาน นอกจากน้ียังต้องรู้จักวิธีการจัดการผลลัพธ์ ได้แก่ การบันทึก การส่ังพิมพ์ การส่งข้อมูลทาง E-mail การจัดการ รายการบรรณานกุ รม เปน็ ต้น 4. รู้จักกฎ กติกา มารยาทในการใช้แหล่งสารสนเทศ เนือ่ งจากปจั จุบันไดม้ ีการละเลดิ ลขิ สทิ ธิก์ นั มากขนึ้ แหลง่ เรียนรู้
3 แหลง่ เรียนรู้ ควำมหมำยของแหล่งเรียนรู้ “แหล่งเรียนรู้” คือ ถ่ิน ท่ีอยู่ บริเวณ บ่อเกิด แห่ง ที่หรือศูนย์ความรู้ที่ให้เข้าไปศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจ ซึ่งแหล่งเรียนรู้จึงอาจเป็นไปได้ท้ังส่ิงท่ีเป็นธรรมชาติ หรือสิ่งท่ี มนุษย์สร้างข้ึน เป็นได้ท้ังบุคคล สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต และแหล่งเรียนรู้อาจจะอยู่ในห้องเรียนในโรงเรียนหรือนอก โรงเรียนกไ็ ด้ แหลง่ เรยี นรู้
4 ควำมสำคัญของแหล่งเรียนรู้ 1. กระตนุ้ ให้เกิดการเรียนรู้เรอื่ งใดเรอื่ งหน่ึง 2. ชว่ ยเสรมิ สรา้ งการเรียนร้ใู หล้ ึกซ้งึ ขึน้ 3. กระตุ้นมุ่งเน้นลึกในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง ซ่ึงผลักดันให้ผู้เรียน แสวงหาขอ้ มลู ทเี่ กีย่ วข้องเพิม่ มากข้ึน 4. เสริมสร้างการเรียนรู้ จนเกิดทักษะการแสวงหาข้อมูลท่ีมี ประสิทธภิ าพ 5. แหล่งการเรียนรู้เสริมสร้างการพัฒนาการคิด เช่น การแก้ปัญหา การให้เหตุผล และการประเมินอย่างมีวิจารญาณ โดย อาศยั กระบวนการวจิ ัยอิสระ แหล่งเรียนรู้
5 ประเภทของแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรยี นรใู้ น หอ้ งสมดุ โรงเรียน แหล่งเรยี นร้อู ่ืนๆ แหลง่ เรียนรู้ใน ในโรงเรียน ทอ้ งถ่นิ ประเภทของ แหล่งเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ อิเล็กทรอนกิ ส์ แหล่งเรียนรู้
6 แหล่งเรียนรูใ้ นโรงเรียน หอ้ งสมดุ ควำมหมำยของหอ้ งสมุด คาว่า ห้องสมุด ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “ Library”เ ป็ น ค า ซ่ึ ง ม า จ า ก ภ า ษ า ล ะ ติ น ว่ า “Libraria”แปลว่า ที่เก็บหนังสือ ห้องสมุดเป็นแหล่ง เรียนรู้ท่ีสาคัญที่สุดในโรงเรียน เป็นสถานที่รวบรวม สื่อการเรียนรู้ต่างๆ เช่น หนังสือ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ โสตทัศนวัสดุ ตลอดจนส่ือการศึกษารูปแบบต่างๆ เพื่อสนบั สนุน การจัดการเรียน การสอนในโรงเรียน แหลง่ เรยี นรู้
7 ประเภทของห้องสมดุ ห้องสมุดโรงเรียน คือ ห้องสมุดท่ีจัดตั้งขึ้น ภายในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมการเรียน การสอนของ สถานศึกษาน้ันๆ รวมท้ังเป็นการ ปลูกฝังนิสัยรักการอ่านหนังสือให้แก่ นักเรยี นดว้ ย หอ้ งสมุดวิทยำลัยหรือมหำวทิ ยำลัย คือ ห้องสมุดท่ีจัดต้ังขึ้นในวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยทุกแห่ง หรือ สานักหอสมุด จัดให้บริการแก่ นิสิต นักศึกษา อาจารย์ และ นักวิจัย เพ่ือส่งเสริม การศึกษา คน้ คว้าและวจิ ยั แหลง่ เรยี นรู้
8 ห้องสมุดประชำชน คือ ห้องสมุดท่ีรัฐจัดต้ังข้ึนเพ่ือให้ บริการแก่บุคคลท่ัวไป โดย ไม่จากัดเพศ วัย และระดับ การศึกษา มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ความรู้ ข่าวสาร และ ความบันเทิงทั่วๆไป ห้องสมุด ป ร ะ เ ภ ท น้ี จึ ง มี ห นั ง สื อ ห ล า ก ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท ไ ว้ ให้บริการ เช่น ห้องสมุด ประชาชน เปน็ ต้น แหลง่ เรียนรู้
9 ห้องสมุดเฉพำะ คือ ห้องสมุดท่ีจัดตั้งขึ้นในหน่วยงานราชการ ต่างๆ องค์กร สมาคม สถาบัน บริษัท ธนาคาร หนงั สือที่อยู่ใน ห้องสมุดประเภทนี้ ส่วนมากเป็นหนังสือที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพ ของหน่วยงานนน้ั ๆ จัดไว้เพือ่ ใหบ้ ริการแกเ่ จา้ หน้าท่ีในหน่วยงานได้ ศึกษาหาความรู้ในแขนงงานทีต่ นปฏบิ ตั งิ าน แหล่งเรยี นรู้
10 หอสมุดแห่งชำติ คือ ห้องสมุดท่ี เก็บรวบรวมสิ่งพิมพ์ที่พิมพ์ขึ้น ภายในประเทศไว้ อย่างสมบูรณ์ แ ล ะ อ นุ รั ก ษ์ ไ ว้ ใ ห้ ค ง ท น ถ า ว ร จั ด ใ ห้ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ด้ า น ประกอบการคน้ คว้าวิจยั หอสมุด แห่งชาติ จะต้องได้รับสิ่งพิมพ์ทุก เล่มท่ีพิมพ์ข้ึนภายในประเทศตาม กฎหมาย แหลง่ เรียนรู้
11 แหล่งเรยี นรู้อืน่ ๆในโรงเรยี น ห้องปฏิบัติกำร หมายถึง ห้องที่ทางโรงเรียน จัดตั้งข้ึน เพ่ือใช้เป็นสถานท่ีฝึกทักษะในด้าน ต่าง ๆ เป็นการเสริมการเรียนรู้ภาคทฤษฎี เชน่ หอ้ งปฏิบตั ิการทางภาษา ห้องปฏบิ ตั ิการ ฟสิ กิ ส์ ห้องปฏบิ ัติการเคมี เปน็ ตน้ ห้องสมุดกลุ่มสำระวิชำ หรือห้องสมุด ศูนย์วิชา โดยจัดให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง อาจเป็นห้องสาหรับ การเรียนการสอนวิชาน้ันๆ เป็นมุม หนังสือของกลุ่มสาระวิชาหรืออาจเป็น หอ้ งโดยเฉพาะวิชาใดวิชาหน่ึง แหลง่ เรียนรู้
12 อุทยำนกำรศึกษำ เป็นสถานท่ีที่ให้ ความรู้ ความรื่นรมย์ตามธรรมชาติ เ พ่ือการพักผ่อน หย่ อน ใจ ค วา ม เพลิดเพลินอยา่ งมีสาระโดยจัดเป็นสวน สมุนไพร สวนพฤกษศาสตร์ สวน เกษตร สวนธรรมชาติ เปน็ ตน้ ศูนย์เทคโนโลยีสำรสนเทศ เป็นแหล่ง ผ ลิ ต แ ล ะ ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ท ค โ น โ ล ยี เ พ่ื อ การศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการ เรียนการสอนแก่ครูผู้สอนและผู้เรียนใน รูปแบบต่าง ๆ ท่ีสามารถเรียนรู้ด้วย ตนเอง เช่น คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียน การสอน อนิ เทอร์เนต็ เปน็ ต้น แหล่งเรียนรู้
13 แหล่งเรียนร้ใู นท้องถนิ่ แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ป ร ะ เ ภ ท ธ ร ร ม ช ำ ติ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่หรือเกิดขึ้น ตามธรรมชาติ เช่น ภูเขา แม่น้า ลาคลอง สวน ไร่นา เช่น นักเรียนท่ีมี บ้านอยู่ใกล้แม่น้า ได้กระโดดน้าเล่น ต้ังแต่เด็ก จนว่ายน้าเป็นโดยไม่รู้ตัว เป็นตน้ แหล่งเรียนรู้ประเภทวัตถุและสถำนท่ีที่มนุษย์ สร้างข้ึน เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีอยู่แล้วในท้องถ่ินท้ัง ท่ีรัฐจัดขึ้น สถานที่ท่ีมีอยู่แล้วในวิถีชีวิตการทามา หากิน เช่น ห้องสมุดประชาชน วัด ที่อา่ นหนังสือ ประจาหม่บู า้ น โบราณสถาน โบราณวัตถุต่างๆ แหลง่ เรียนรู้
14 แหล่งเรียนรู้ทำงสังคม หมายถึง ระเบียบ แบบแผน ประเพณี วัฒนธรรมท่ีอยู่อาศัย การทามาหากิน เช่น ประเพณีเข้าพรรษา ประเพณีวันลอยกระทง ประเพณีวัน สงกรานต์ เปน็ ต้น แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคลหรือปรำชญ์ ชำวบ้ำน หมายถึง บุคคลผู้เป็นเจ้าของภูมิ ปัญญาชาวบ้าน และนาภูมิปัญญามาใช้ ประโยชน์ ในการดารงชีวิตจนประสบ ผลสาเร็จสามารถถ่ายทอดเช่ือมโยงคุณค่า ของอดตี กับปจั จุบนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แหลง่ เรยี นรู้
15 แหล่งเรยี นร้อู ิเลก็ ทรอนกิ ส์ แหล่งเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งเรียนรู้ท่ีผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตสามารถให้ผู้เรียนติดต่อส่ือสารกับผู้คนทั่วโลกได้อย่าง รวดเร็ว และสามารถสืบค้นหรือเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศจากท่ัวโลก จึงทาให้เกิดการเรียนรู้ตามอธั ยาศัย ทาใหผ้ ู้เรียนเกิดทักษะในด้านการ คิดอย่างมีระบบ การคิดเชิงวิเคราะห์ การวิเคราะห์สืบค้น การวิเคราะห์ข้อมูล การแก้ปัญหา และการคดิ อยา่ งอิสระ แหล่งเรียนรู้
16 อินเทอร์เน็ต เป็นการสืบค้นข้อมูลจาก เว็บบราวเซอร์ เช่น Internet Explorer Mozilla Firefox, Google Chrome เป็นต้น ซ่ึงในการสืบค้นจะเปิดเว็บ บราวเซอรข์ ึน้ มาและคน้ ใน google.com E-Book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้น ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส า ม า ร ถ แ ท ร ก ภ า พ เสียง ภาพเคล่ือนไหว แบบทดสอบ และสามารถส่ังพิมพเ์ อกสารที่ต้องการ ออกทางเครอ่ื งพิมพ์ได้ แหล่งเรยี นรู้
17 เทคนคิ กำรสืบค้นขอ้ มลู กำรสืบคน้ จำกหนงั สอื เป็นการเรียนรู้วิธีหนึ่งที่สาคัญและเป็นทักษะที่จาเป็นต่อ การศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองจากแหล่งเรยี นรทู้ ีน่ ่าเชอ่ื ถือ ขนั้ ตอนกำรศึกษำค้นคว้ำจำกหนังสือ 1. ค้นหาหนังสือจากช่ือหนังสือท่ีตนเองต้องการ ตามหมวดตา่ งๆ 2. คน้ หาเรือ่ งทตี่ ้องการจากสารบัญ 3. เมื่อได้เลขหนา้ จากสารบญั แลว้ ให้เปดิ ไปเลขหน้านัน้ ๆ 4. อา่ นหวั ขอ้ และรายละเอียดของเนือ้ หา 5. เขียนบรรณานุกรมของหนงั สอื แหลง่ เรยี นรู้
18 หมวดหมูห่ นังสือ 000 เบต็ เตล็ด/ท่ัวไป 100 ปรชั ญำ 200 ศำสนำ 300 สังคมศำสตร์ 400 ภำษำ 500 วิทยำศำสตร์ 600 วิทยำศำสตร์ประยุกต์ 700 ศลิ ปะ และนนั ทนำกำร 800 วรรณคดี 900 ภมู ิศำสตรแ์ ละประวติ ิศำสตร์ แหลง่ เรียนรู้
19 กำรสบื ค้นจำกอนิ เทอร์เนต็ การค้นหาแบบพื้นฐานหรืออย่างง่าย เป็นการค้นหา สารสนเทศอยา่ งง่ายๆ ไม่ซับซ้อน โดยใช้คาโดดๆ หรือผสมเพียง 1 คา ในการสืบค้นข้อมูล โดยส่วนใหญ่การค้นหาแบบง่ายจะมี ทางเลอื กในการค้นหา ไดแ้ ก่ ชอ่ื ผแู้ ตง่ ช่อื เร่ือง หัวเรอ่ื ง คำสำคัญ แหล่งเรียนรู้
21 กำรตงั้ ประเดน็ ปัญหำ ควำมหมำยของกำรต้งั ประเดน็ ปญั หำ การตั้งประเด็นปัญหา หมายถึง การคิดวิเคราะห์ การกาหนดหัวข้อการทา รายงาน เช่น ประเด็นปัญหาระดับบุคคล ชุมชน ท้องถ่ิน ประเทศ การตั้งสมมติฐาน และให้เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ และมีทฤษฎีรองรับ ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การศกึ ษาค้นคว้า แสวงหาคาตอบประสบผลสาเร็จ หลักเกณฑ์กำรเลือกหวั ข้อปญั หำ เกณฑใ์ นการคดั เลือกปัญหาที่ดแี ละเหมาะสม มีหลักการต่อไปน้ี 1. เลือกจากความสนใจของตนเอง เป็นแรงจูงใจที่จะผลักดันให้เกิดการติดตาม ค้นคว้า เพื่อใหโ้ ครงการได้บรรลเุ ป้าหมายไมเ่ บื่อหน่ายตอ่ การแกไ้ ขปญั หาที่อาจเกดิ ขน้ึ 2. เลอื กปญั หาท่ตี รงกับความสามารถของตน เช่น การเก็บรวมรวบและรายการ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ความสามารถในการให้รหสั ข้อมลู เป็นตน้ 3. เลอื กปัญหาทมี่ ีคุณคา่ ควรเป็นการเพ่มิ พูนให้เป็นความรใู้ หม่ 4. คานึงความเหมาะสมในเร่ืองของเวลา งบประมาณและกาลังแรงงานของตน 5. คานึงถึงสภาพแวดล้อมที่เออ้ื อานวย เชน่ ปัญหานัน้ จะได้รับความร่วมมือมาก น้อยเพยี งใด ปญั หานัน้ มแี หลง่ ค้นคว้าหรอื ไม่ เป็นตน้ กำรตัง้ ประเด็นปญั หำท่สี นใจ
22 ขอ้ ควรระวงั ในกำรเลือกหัวขอ้ ปญั หำ ผ้เู ขียนมขี ้อเสนอแนะนา และขอ้ ควรระวังในการเลือกหัวขอ้ ปัญหา ดังน้ี 1. ไม่ควรเลือกปัญหาท่ีกว้างเกินไป ไม่มีขอบเขต แต่ควรเลือกหัวข้อ ปญั หาท่แี คบแตม่ คี วามลกึ ซึง้ 2. ไม่ควรเลอื กปัญหาทห่ี าขอ้ ยตุ ไิ ม่ได้ 3. ไมค่ วรเลือกปัญหาที่ไม่สามารถหาขอ้ มูลมาทดสอบได้ 4. ไมค่ วรเลือกปญั หาท่ีไมม่ ีสาระสาคญั กำรเขยี นควำมเป็นมำและควำมสำคัญ การเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาอาจมีแนวทางในการ เขียนเป็นลาดับขั้นตอน ดงั นี้ 1. ขั้นปัญหา กล่าวถึงสภาพปัญหาท่ีพบในการจัดการเรียนการสอน หรือสภาพการจัดการเรียนการสอนทพี่ ึงประสงค์ 2. ขั้นวิเคราะห์ปัญหา ระบุถึงสภาพปัญหาของการจัดการเรียนการสอน โดยการวิเคราะห์ปัญหานั้นๆ อย่างรอบคอบ เพ่ือช้ีให้เห็นประเด็นของการวิจัย หากมตี ัวเลขประกอบใหน้ ามาระบุด้วย 3. ข้ันสรุปแนวทางที่จะแก้ปัญหาหรือพัฒนา ระบุวิธีการหรือนวัตกรรม ที่นามาแกไ้ ขปญั หาหรือพัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นการสอน
23 กำรเขยี นวัตถุประสงค์ การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย ต้องเป็นส่ิงท่ีปฏิบัติจริง วัดได้ประเมินได้ ข้อสาคัญ วัตถุประสงค์การวิจัย ไม่ใช่ประโยชน์ของการวิจัย หลักการเขียนวัตถุประสงค์ การวิจัย มดี ังน้ี 1. ตอ้ งสอดคล้องกับสภาพปญั หาและช่อื เรื่อง 2. ครอบคลุมส่งิ ทตี่ ้องการศึกษาและตวั แปร 3. ตอ้ งระบุสิ่งทต่ี ้องการศกึ ษา ตวั แปร กลมุ่ ที่ศกึ ษา (ทาอะไร กับใคร อย่างไร) 4. สามารถกาหนดรูปแบบการวิจยั ได้ ตัง้ สมมุตฐิ านได้ ตัวอย่ำง 1. ประเดน็ ปัญหำ : กำรใช้โทรศัพทใ์ นช้ันเรยี น 2. ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ในปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์ หรือโลกไร้พรมแดน การติดต่อสื่อสารสะดวกมากยิ่งข้ึน มีแอพลิ เคชัน่ ทีจ่ ะเป็นชอ่ งทางการสอื่ สาร ทงั้ ไลน์ เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ เป็นตน้ ทาให้การใช้โทรศัพท์มากย่ิงข้ึน นักเรียน ส่วนใหญ่ในโรงเรยี นสังขะ มโี ทรศัพทม์ อื ถอื กนั เกือบทุกคน และจะเป็นปัญหาคือ การที่นักเรียนนาโทรศัพท์ มาใช้ในโรงเรียนและในชั้นเรียน ท้ังให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้า และมีนักเรียนบางส่วนที่ใช้ในทางท่ี ผิด เล่นเกมส์มือถือ เล่นโทรศัพท์ในช้ันเรียนในระหว่าท่ีมีการเรียนการสอน ทาให้เกิดปัญหาการใช้ โทรศพั ท์มือถอื ขนึ้ จากข้อความเบ้ืองต้นทาให้ผู้จัดทามีความสนใจในเร่ืองการใช้โทรศัพท์มือถือในชั้นเรียน โดยจะได้ ศกึ ษาสาเหตุ และแนวทางการแก้ไขการใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถอื ในชน้ั เรียน 3. วตั ถปุ ระสงค์ 3.1 เพือ่ ศกึ ษาสาเหตุการใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือในช้ันเรียน 3.2 เพื่อหาแนวทางการแก้ไขการใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถือในชัน้ เรียน กำรต้งั ประเดน็ ปญั หำทสี่ นใจ
24 กำรตั้งสมมติฐำน ควำมหมำยของสมมตฐิ ำน การตัง้ สมมตฐิ าน คอื การทานายผล การคาดเดาเหตกุ ารณ์ หรือการคิด คาตอบล่วงหน้า อย่างมีเหตุมีผล โดยอาศัยหลักการ ความรู้ หรือประสบการณ์ เดมิ ท่มี ีอยู่ การตัง้ สมมติฐาน หมายถึง การกาหนดข้อความที่คาดคะเนคาตอบของ ปัญหา/เร่ืองที่สนใจไว้ก่อนทาการศึกษา ซ่ึงการคาดคะเนคาตอบน้ันมุ่งหวังให้ คาตอบหรือผลท่ีได้จากการศึกษาถูกต้องมากที่สุด สมมติฐานจึงเป็นเคร่ืองมือท่ี จะนาไปสกู่ ารพสิ จู นค์ ้นหาความจรงิ ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ดังนั้น การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนคาตอบไว้ล่วงหน้าอย่างมี เหตุผล หรือสมมติฐานคือข้อความท่ีอยู่ในรูปของการคาดคะเนความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร 2 ตัว หรือมากกวา่ 2 ตัวเพือ่ ใชต้ อบปญั หาท่ีต้องการศึกษา หลกั เกณฑ์กำรตง้ั สมมตฐิ ำน 1. ต้องเปน็ ขอ้ ความท่ีบอกความสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปรตน้ กับตัวแปร ตาม 2. ใน 1 ปัญหา อาจมหี ลายสมมตฐิ านได้ และสมมตฐิ านอาจจะผดิ หรือ ถูกกไ็ ด้ มกั ใชค้ าว่า \"ถ้า...........ดังนนั้ \"
25 ตัวอยำ่ งกำรตั้งสมมติฐำน 1. ชอ่ื เรือ่ ง : เปรียบเทยี บกำรเจรญิ เตบิ โตของถ่ัวงอกที่ปลูกกลำงแจง้ และ ปลกู ในท่ีรม่ ตวั แปรต้น : การปลูกถวั่ งอกกลางแจ้งและปลูกในร่ม ตัวแปรตำม : การเจรญิ เตบิ โตของถ่ัวงอก สมมตฐิ ำน : ถัว่ งอกท่ีปลกู กลางแจง้ จะเจรญิ เตบิ โตได้ดีกวา่ ถ่ัวงอกท่ีปลูกใน ท่ีรม่ 2. ชอื่ เรื่อง : เปรียบเทยี บกำรเจรญิ เติบโตของถวั่ งอกทป่ี ลูกกลำงแจ้งและ ปลูกในท่รี ม่ ตวั แปรต้น : แสงแดด ตัวแปรตำม : การเจรญิ เติบโตของถัว่ งอก สมมติฐำน : ถา้ แสงแดดมผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตของถั่วงอก ดงั นัน้ ถั่วงอกท่ี ปลกู กลางแจ้งจะเจริญเตบิ โตได้ดี 3. ชอื่ โครงงำน : เทยี นหอมตะไคร้ไล่ยุง ตวั แปรต้น : ตะไคร้สามารถไล่ยุงได้ ตัวแปรตำม : เทียนหอมตะไครไ้ ลย่ งุ ไมท่ าให้ผู้ใช้เกดิ อาการแพ้ สมมตฐิ ำน : เทียนหอมสมนุ ไพรท่ผี ลิตขนึ้ ได้นา่ จะมีกลิน่ ของสมนุ ไพรซึ่ง ได้แกต่ ะไครห้ อมใหก้ ล่นิ ที่หอมสดช่นื กำรตั้งประเด็นปญั หำที่สนใจ
27 กำรวำงโครงเรอ่ื งรำยงำน ควำมหมำยของโครงเร่ืองรำยงำน โครงเร่อื ง คือ กรอบของเร่ืองทผ่ี ูท้ ารายงานจะใชเ้ ปน็ แนวทางใน การเขียนรายงาน โดยการเขียนโครงเรื่องน้ันผู้เขียนรายงานจะเริ่มต้น จากการพิจารณาหัวข้อรายงานอย่างถี่ถ้วน วิเคราะห์แนวคิดต่างๆท่ี เก่ียวข้อง คัดเลือกแนวคิดสาคัญ รวมทั้งจัดลาดับว่าแนวคิดใดมา ก่อนหลังและมีความสัมพันธ์กันอย่างไรโดยอาจจัดลาดับตามเวลา หรือตามเหตกุ ารณ์ ควำมสำคัญในกำรเขียนโครงร่ำง 1. ชว่ ยให้ผเู้ ขยี นจัดแนวคดิ ได้ตรงกับเร่อื งท่ีจะเขยี น 2. ทาให้งานมีเอกภาพไมป่ ะปนและออกนอกเรื่อง 3. ช่วยใหง้ านเขียนมีสมั พันธภาพมีการลาดับความอยา่ งมีเหตุผล ต่อเน่ือง กำรเขยี นรำยงำนวชิ ำกำรและบรรณำนุกรม
28 รปู แบบของโครงเรอื่ ง จัดลาดับหวั ขอ้ ใหญแ่ ละหัวข้อย่อยให้เป็นระเบียบ หวั ข้อย่อยซ่ึงทาหน้าที่ ขยายโครงเรือ่ งให้ชัดเจนนั้น เขียนเย้ืองไปทางขวาของหวั ข้อใหญ่เล็กน้อย การใช้ ตวั อกั ษรหรอื ตวั เลขกากบั ควรใช้แบบเดยี วกัน ดงั ตัวอยา่ ง 1. หวั ข้อใหญข่ อ้ ที่ 1.1 หวั ขอ้ ย่อยข้อที่ 1 1.1.1 หัวขอ้ ยอ่ ยรองขอ้ ท่ี 1 1.1.2 หวั ข้อย่อยรองขอ้ ที่ 2 1.2 หัวขอ้ ย่อยข้อที่ 2 1.2.1 หวั ขอ้ ยอ่ ยรองขอ้ ท่ี 1 1.2.2 หัวข้อยอ่ ยรองข้อที่ 2 2. หัวข้อใหญข่ ้อท่ี 2 2.1 หวั ขอ้ ย่อยขอ้ ท่ี 1 2.1.1 หวั ข้อยอ่ ยรองขอ้ ท่ี 1 2.1.2 หวั ขอ้ ยอ่ ยรองขอ้ ท่ี 2 ผ้ทู ี่เขียนโครงเรื่องไว้ดีแลว้ จะเขียนเน้ือเร่ืองไดส้ ะดวก รวดเรว็ และเขา้ ใจงา่ ยตามเจตนารมณข์ องผู้เขยี น
29 ตัวอยำ่ งกำรเขียนโครงเรื่องรำยงำน เรอ่ื ง กำรศกึ ษำกำรปลูกทุเรียน บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญ 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.3 สมมตฐิ านของการศึกษาค้นควา้ 1.4 ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั บทท่ี 2 เอกสำรทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 2.1 ประวัติความเป็นมาการปลกู ทุเรยี นในประเทศไทย 2.1 พันธ์ทุ เุ รยี น 2.2 สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมสาหรับทเุ รยี น 2.3 วธิ ีการปลูกทุเรยี น 2.4 การดแู ลรกั ษา 2.5 การแปรรูป บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ งำน 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการดาเนินงาน 3.2 การออกแบบรายงานและวิธกี ารดาเนนิ การ 3.3 การดาเนนิ การ 3.4 การสรปุ ผลการดาเนนิ การ (เขียนเฉพาะความสาเร็จและปัญหา สว่ นการแก้ไขจะเขยี นที่บทท่ี 4) บทท่ี 4 ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ 4.1 ผลการดาเนนิ งาน 4.2 การนาไปใช้ บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรำยผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผล 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการศึกษาค้นคว้า 5.3 ข้อเสนอแนะและ กำรเขียนรำยงำนวชิ ำกำรและบรรณำนกุ รม
30 รำยงำนทำงวิชำกำร ควำมหมำยของรำยงำนทำงวิชำกำร รายงานวิชาการ หมายถึง เอกสารที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า สารวจ รวบรวม ศึกษา สังเคราะห์ หรือวิเคราะห์ เร่ืองทางวิชาการเร่ือง หนึ่งเร่ืองใดอย่างละเอียดและมีเหตุผล แล้วนามารวบรวมเรียบเรียงใหม่ ใหเ้ ปน็ ระเบียบ จากน้ันจงึ เขียนหรอื พมิ พ์ตามแบบแผน ข้ันตอนในกำรเขียนรำยงำนทำงวชิ ำกำร มีขัน้ ตอนดงั นี้ 1. เลือกหัวข้อเร่ืองและกำหนดช่ือเรื่องรำยงำน ควรเลือก หวั ข้อเร่ืองท่มี ีสาระประโยชน์ต่อผู้ศึกษาและผู้อ่านรายงาน 2. กำหนดวัตถปุ ระสงค์ของรำยงำน 3. ศึกษำค้นคว้ำรวบรวมข้อมลู อย่ำงเพียงพอ สามารถศึกษา แหล่งขอ้ มูลไดอ้ ยู่ 2 แหล่ง ไดแ้ ก่ 3.1 แหล่งข้อมลู ปฐมภูมิ เป็นข้อมูลท่ีผู้ทารายงานรวบรวม ขนึ้ เองจากการสารวจ การสงั เกต การสัมภาษณ์ เปน็ ตน้ 3.2 แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ หนังสือ วารสาร นิตยสาร วิทยานพิ นธ์ อนิ เทอร์เน็ต ฯลฯ
31 ตัง้ ใจเรียนนะคะ 4. ตรวจสอบข้อมูล เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ดีที่สุดและเหมาะสม ท่สี ดุ ซง่ึ เกณฑก์ ารตรวจสอบมดี ังน้ี 4.1 ควำมถูกต้องของข้อมูล เป็นผลงานที่ได้รับความ นยิ มแพรห่ ลายเป็นท่ยี อมรับจนพิมพ์ซ้าต่อเนื่องมาแลว้ หลายครงั้ 4.2 ควำมทันสมัยของข้อมูล เป็นข้อมูลที่มีการตีพิมพ์ ในปลี า่ สดุ เป็นข้อมลู ที่มีความสดใหม่ ทันสมัยเหมาะสมกับรายงาน 4.3 ตรวจสอบเรื่องลิขสิทธ์ิ ผลงานทางวิชาการเป็น ทรัพย์สินทางปัญญาท่ีมีกฎหมายลิขสิทธ์ิคุ้มครอง การจะทาการข้อมูล ใดๆ ต้องได้รีบอนุญาตจากผ้ถู ือลิขสิทธเ์ิ สยี กอ่ น กำรเขียนรำยงำนวชิ ำกำรและบรรณำนุกรม
32 5. บันทึกข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าแล้วจึง นามาจดบันทึกข้อความท่ีน่าสนใจ โดยมีวิธีการบันทึกข้อมูลท่ีนิยมใช้อยู่ 3 แบบ ไดแ้ ก่ 5.1 บันทึกแบบสรุปควำม เป็นการบันทึกสาระสาคัญ ของเรอื่ งท่ีต้องการให้ครบถ้วนด้วยภาษาของผบู้ ันทึกเอง 5.2 บันทึกแบบคัดลอกข้อควำม เป็นการคัดลอก ข้อความบางตอนท่ีต้องการจากตน้ ฉบับทกุ ประการ 5.3 บันทึกข้อมูลแบบถอดควำม เป็นการใช้กับ ข้อความที่เป็นบทร้อยกรองหรือภาษาต่างประเทศ แต่ต้องการใช้ใน แบบของรอ้ ยแก้วหรอื ภาษาไทย
33 ประเภทของรำยงำน 1. รำยงำนท่ัวไป เป็นรายงานที่เสนอ ข้อเท็จจริงในเร่ืองต่างๆ ได้แก่ รายงาน ในโอกาสต่างๆ รายงานการประชุม รายงานข่าว เปน็ ตน้ 2. รำยงำนทำงวิชำกำร คือ รายงานผลของ การศึกษาค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับเรื่องใดเร่ือง หนึ่งมุ่งเสนอผลทไ่ี ด้ตามความเป็นจริงซึ่งต้อง ทาตามข้ันตอน ระเบียบแบบแผนท่ีเป็น สากล และถือว่ารายงานเป็นส่วนหนึ่งของ การประเมินผลการเรียนการสอนของวิชา นั้นๆ ดว้ ย กำรเขียนรำยงำนวชิ ำกำรและบรรณำนกุ รม
34 วัตถปุ ระสงค์ของรำยงำนทำงวิชำกำร 1. เพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการให้กว้างขวางและลึกซึ้ง ย่งิ ข้ึน 2. พฒั นาทักษะการค้นควา้ และการเขียนรายงานทางวิชาการ 3. พัฒนาทกั ษะการคิด วิเคราะห์ สงั เคราะหอ์ ย่างมีระบบ 4. สง่ เสริมการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง กำรใชภ้ ำษำในกำรเขียนรำยงำน 1. ควรใช้ภาษาหรือสานวนโวหารเป็นของตนเองทีเ่ ข้าใจงา่ ยและถูกต้อง 2. ใช้ประโยคสน้ั ๆ ให้ได้ใจความชดั เจน สมบูรณ์ ตรงไปตรงมาไมว่ กวน 3. ใชภ้ าษาท่ีเปน็ ทางการไมใ่ ชภ้ าษาพูด คาผวน คาแสลง อักษรยอ่ คายอ่ 4. ใช้คาที่มคี วามหมายชัดเจน ละเว้นการใชภ้ าษาฟมุ่ เฟอื ย การเลน่ สานวน 5. ระมัดระวังในเรอ่ื งการสะกดคา การแบง่ วรรคตอน 6. ระมัดระวังการแยกคาด้วยเหตุท่ีเน้ือท่ีในบรรทัดไม่พอหรือหมดเนื้อที่ใน หน้าทนี่ นั้ เสยี กอ่ น 7. ให้เขียนเปน็ ภาษาไทยไมต่ อ้ งมีคาภาษาองั กฤษกากับ
35 ลกั ษณะของรำยงำนทด่ี ี 1. มกี ารนาหลักการและ/หรือทฤษฎีมาใช้อย่างเหมาะสมเน่ืองจากใน การศึกษาค้นคว้า จะต้องมีการวิเคราะห์เน้ือหา โดยมีหลักการหรือทฤษฎี มารองรับอยา่ งเหมาะสม 2. มีการแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม เช่น เสนอแนวทางการแก้ปัญหาที่ไม่เคยมีผู้ทามาก่อน หรือเคยมีผู้ทาแต่ไม่ ชัดเจนเพยี งพอ 3. ความสมบูรณ์และความถูกต้องของเน้ือหาสาระ เน้ือหาสาระต้อง สมบูรณต์ ามชอื่ เรอ่ื งท่ีกาหนด และถูกต้องในข้อเท็จจริง การอา้ งองิ ท่ีมาหรือ แหล่งค้นคว้าตอ้ งถกู ตอ้ ง 4. ความชัดเจนของการเขียนรายงานจะต้องมีความชัดเจนในด้าน ลาดับการเสนอเรอ่ื งมีความสามารถในการใช้ภาษา กำรเขยี นรำยงำนวิชำกำรและบรรณำนุกรม
36 ส่วนประกอบของรำยงำน สว่ นประกอบ ตอนต้น สว่ นประกอบ ของรำยงำน สว่ นประกอบ สว่ นประกอบ ตอนกลำง/ ตอนท้ำย เน้ือเร่อื ง
37 ส่วนประกอบของรำยงำน สว่ นประกอบของรายงานทางวิชาการ มีลักษณะ ดงั นี้ 1. ส่วนประกอบตอนต้น คือ ส่วนที่อยู่ต้นเล่มของรายงานก่อนถึงเน้ือ เร่ืองประกอบดว้ ย 1.1 ปกนอก (หน้ำปก) เป็นส่วนท่ีหุ้มรายงานท้ังหมด มีท้ังปกหน้า และปกหลงั ควรใช้กระดาษท่ี หนากว่ากระดาษในตวั เล่ม สีสุภาพ 1.2 ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่า 1 แผ่นคั่นอยู่ระหว่างปกนอก และปกใน 1.3 ปกใน หน้าปกในจะมีรายละเอียดเหมือนปกนอกทุกประการ แต่อาจจะเพม่ิ รายละเอียดตอนกลาง 1.4 คำนำ เป็นการกล่าวถึงเนื้อหาโดยสรุปของรายงานเพื่อให้ผู้อ่าน เขา้ ใจภาพรวมของรายงานเบอื้ งตน้ กำรเขียนรำยงำนวชิ ำกำรและบรรณำนกุ รม
38 1.5 สำรบญั เป็นการเรียงลาดบั บทต่างๆของรายงาน เรยี งตามลาดับ เนือ้ หาพร้อมระบุเลขหนา้ กากบั วา่ แตล่ ะบทเริม่ จากหน้าใด 1.6 สำรบัญตำรำง ในกรณีท่ีรายงานมีตารางประกอบจานวนมาก จะทาบัญชีตารางต่อจากสารบัญประกอบด้วย รายการตารางพร้อมระบุเลข หน้ากากบั เรยี งตามลาดบั เลขทตี่ ารางทป่ี รากฏในรายงาน 1.7 สำรบัญภำพ ในกรณีท่ีรายงานมีภาพประกอบจานวนมาก จะจดั ทาบัญชีภาพประกอบเช่นเดยี วกับบัญชตี าราง
39 2. ส่วนประกอบตอนกลำง (เนอ้ื เรอ่ื ง) เป็นส่วนสาคัญท่ีสุดของรายงาน แบ่งแยกเนอื้ หาทเี่ ขียนเป็นบทอย่าง มีระบบระเบียบ ตามลาดับรายงานทางวิชาการมีโครงสร้างมาตรฐาน 5 บท คอื บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การศึกษา บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ตงั้ ใจเรยี นนะคะ กำรเขียนรำยงำนวิชำกำรและบรรณำนกุ รม
40 3. สว่ นประกอบทำ้ ย ประกอบด้วย 3.1 บรรณำนุกรม คือ รายการสารสนเทศท้ังหมดท่ีผู้ทา รายงานได้ศึกษาค้นคว้านามาอ้างอิงประกอบการเรียบเรียงทารายงาน จัดเรียงตามลาดับตัวอักษรและเขียนรายงานต่างๆตามแบบแผนเขียน บรรณานุกรม 3.2 ภำคผนวก คือ ส่วนที่นามาเพ่ิมเติมในรายงานมีความ สมบูรณ์ยิ่งข้ึน ซึ่งไม่ใช้เนื้อหาโดยตรงไม่ก็ได้ข้ึนอยู่กับความจาเป็น และความเหมาะสมของรายงานแต่ละเรื่อง รูปภาพท่ี 1 ประชุมสมาชกิ ภายในกลมุ่ เพือ่ แบ่งหน้าที่ในการทารายงาน
41 กำรเขียนคำนำและสำรบัญ กำรเขยี นคำนำ คำนำ เป็นกล่าวถึงเน้ือหาโดยสรุปของรายงานเพื่อให้ผู้อ่าน เขา้ ใจภาพรวมของรายงานเบอ้ื งต้น ยกตวั อยา่ งเชน่ ตัวอยำ่ งกำรตวั อย่ำงกำรเขียนคำนำ คำนำ รายงานเล่มน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือประกอบการศึกษารายวิชาห้องสมุดเพ่ือ การศึกษาคน้ ควา้ รหสั วชิ า ห20202 เนือ้ หาภายในเล่มประกอบดว้ ย ความหมายของ หอ้ งสมุด ความสาคัญของห้องสมุด วตั ถปุ ระสงคข์ องห้องสมดุ ประเภทของห้องสมุด ผู้จัดทาขอขอบคุณ นางสาวสุกันยา ช่ืนรส ครูประจาวิชา ท่ีได้ให้ ค า ป รึ ก ษ า แ ล ะ ชี้ แ น ะ แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า จั ด ท า ร า ย ง า น เ ล่ ม นี้ และขอขอบคุณเจ้าของหนังสือทุกท่านท่ีใช้ประกอบการอ้างอิงในการเรียบเรียง รายงานเล่มนี้ เพ่ือทาให้การศึกษาค้นคว้าประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ หวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ รายงานเลม่ นี้จะมีประโยชน์แกผ่ สู้ นใจและผู้ศกึ ษาได้ไม่มากกน็ อ้ ย คณะผูจ้ ัดทา 1 กรกฎาคม 2562 กำรเขียนรำยงำนวิชำกำรและบรรณำนุกรม
42 กำรเขียนสำรบัญ สำรบัญ เป็นการเรียงลาดับบทต่างๆของรายงาน เรียงตามลาดับ เน้อื หาพร้อมระบุเลขหน้ากากบั ว่าแต่ละบทเริ่มจากหนา้ ใด สำรบัญ คำนำ หน้ำ สำรบญั ก สำรบัญตำรำง ข สำรบญั ภำพ ค บทที่ 1 บทนำ ง 1 ความเปน็ มาและความสาคญั 1 วตั ถุประสงค์ 1 สมมตฐิ านของการศึกษาคน้ คว้า 1 ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั 2 บทที่ 2 เอกสำรทเ่ี กย่ี วข้อง 3 ประวตั ิความเปน็ มาการปลูกทุเรยี นในประเทศไทย 3 พนั ธทุ์ เุ รยี น 5 สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมสาหรับทเุ รียน 6 วิธีการปลกู ทุเรียน 8
43 กำรตัง้ ค่ำหนำ้ กระดำษ กำรเขยี นรำยงำนวิชำกำรและบรรณำนกุ รม
44
45 กำรเขียนอำ้ งอิงในรำยงำน ควำมหมำยของกำรอ้ำงองิ การอ้างองิ หมายถงึ การแสดงแหลง่ ทมี่ าของหลักฐานทใี่ ช้ ประกอบการเขยี นรายงานซงึ่ จะช่วยใหผ้ อู้ ่านสามารถกลบั ไปสอบ หลักฐานดัง้ เดมิ ได้ ประโยชนข์ องกำรอ้ำงองิ การอา้ งองิ ในรายงานมปี ระโยชน์ตอ่ ผู้อา่ นและเขยี นรายงานดงั น้ี 1. ชว่ ยให้ผอู้ า่ นไดท้ ราบถึงหลกั ฐานที่มาของขอ้ ความที่ยกมา ประกอบการเขยี นรายงาน 2. ชว่ ยให้ผู้อา่ นตดิ ตามเรอ่ื งทแี่ นะนาให้อ่านสามารถตดิ ตามอ่าน เพมิ่ เติมได้อยา่ งสะดวก 3. เปน็ การแสดงวา่ ผลงานท่เี ขียนข้นึ มคี วามนา่ เชื่อถือสงู เพราะไดม้ ี การค้นควา้ เป็นอย่างดมี ไิ ดเ้ ขยี นข้ึนจากความคิดของผูเ้ ขยี นเพียงอยา่ งเดยี ว 4. ใหเ้ กยี รตเิ จา้ ของความรคู้ วามคดิ อันเป็นมารยาทของนกั วชิ าการ กำรเขียนรำยงำนวชิ ำกำรและบรรณำนุกรม
46 องคป์ ระกอบของกำรเขยี นอ้ำงองิ การอ้างอิงท่ีสมบูรณ์และชัดเจนจะต้องให้ผู้อ่านทราบว่า จะอ้างอิงเรื่องอะไร ของผู้ใด มีใจความว่าอย่างไรฉะนั้นองค์ประกอบ ของการเขยี นอา้ งองิ จึงควรประกอบด้วย 3 สว่ นคือ 1. การกลา่ วนาการอา้ งองิ เร่อื งอะไรของผ้ใู ด 2. ข้อความท่ีนามาอ้างอิงอาจจะยกมาอ้างอย่างสรุป หรือยัง คดั ลอกทาอญั ประกาศก็ได้ 3. แหลง่ อา้ งองิ ไดแ้ ก่ รายละเอียดบางส่วนของบรรณานุกรม นามาแจ้งไว้ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งตามวิธีอ้างอิงเพ่ือให้ผู้อ่านสามารถติดตาม อา่ นหรอื ตรวจสอบได้อยา่ งสะดวก ตัง้ ใจเรียนนะคะ
Search