Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในการสร้างอัตลักษณ์ชุมชน ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก

บทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในการสร้างอัตลักษณ์ชุมชน ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก

Published by nkhwanchanok, 2020-01-01 01:50:32

Description: ส่วนหนึ่งของงานวิจัย "การศึกษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก"

Keywords: บทบาทหน้าที่,มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม,อัตลักษณ์ชุมชน,พิษณุโลก

Search

Read the Text Version

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2561 คำนำ ตามที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ดาเนินการจัดทาวารสาร วิชาการ Veridian E – Journal, Silpakorn University ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2551 เปน็ ตน้ มา โดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหอ้ าจารย์ นกั วิชาการ นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา และผูส้ นใจทัว่ ไป ได้มีโอกาส เผยแพร่ผลงานทางวชิ าการและผลงานวิจัย รวมทงั้ ไดแ้ ลกเปลยี่ นความรู้ ความคิดเหน็ ทางวิชาการ และ การวจิ ยั ในสาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ อนั จะเป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาการศึกษาใน สาขาดงั กล่าวต่อไป วารสารวิชาการ Veridian E – Journal, Silpakorn University เป็นวารสารท่ีผ่านการรับรอง คณุ ภาพของศูนยด์ ชั นกี ารอา้ งอิงวารสารไทย (TCI) อยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI ในปี พ.ศ. 2561 กาหนดจดั ทาวารสารวิชาการ Veridian E – Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ จานวน 3 ฉบบั /ปี ดงั นี้ ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 1 เดือนมกราคม-เมษายน พ.ศ. 2561 ปที ี่ 11 ฉบับที่ 2 เดอื นพฤษภาคม-สงิ หาคม พ.ศ. 2561 ปที ี่ 11 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน-ธนั วาคม พ.ศ. 2561 หวังเป็นอย่างยิ่งว่าวารสารวิชาการ Veridian E – Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะน้ี จะช่วยสง่ เสริมและสนับสนุนการต่อยอด ผลงานวจิ ัย/งานสร้างสรรค์ และการนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นทางวิชาการและแก่ชุมชนและสังคมต่อไป (รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์) คณบดบี ณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร บรรณาธิการ [ก]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ I ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2561 กองบรรณาธิการ วารสารวชิ าการ Veridian E – Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทศั นวงศ์ บรรณาธกิ าร (ผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายใน) คณบดีบัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ เดชา วราชุน กองบรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิภายนอกศิลปิน แหง่ ชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพพมิ พแ์ ละส่ือผสม) สาขาวิชาศลิ ปกรรม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 3. ศาสตราจารยป์ รชี า เถาทอง กองบรรณาธกิ าร ผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายใน ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรมประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 4. ศาสตราจารย์ วโิ ชค มุกดามณี กองบรรณาธกิ าร ผ้ทู รงคณุ วฒุ ภิ ายใน ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สอื่ ผสม) คณะจิตรกรรมประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 5. ศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบตุ ร กองบรรณาธิการ ผ้ทู รงคุณวุฒิภายนอก ศลิ ปินศลิ ปาธร สาขาคีตศลิ ป์คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 6. ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอก คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั [ข]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ I ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2561 7. ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ุณ ดร.อัจฉรา วงศ์โสธร กองบรรณาธกิ าร ผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก 8. ศาสตราจารยภ์ ธิ าน ไกรฤทธ์ิ บุณยเกยี รติ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิภายนอกสภาวชิ าการ 9. ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมนิ ท์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี 10. ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ อรศิริ ปาณินท์ 11. ศาสตราจารย์กติ ตคิ ุณ กาจร สนุ พงษศ์ รี กองบรรณาธกิ าร ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก สถาบันสง่ เสรมิ การจดั การความรูเ้ พอื่ สังคม (สคส.) 12. ศาสตราจารย์ กาธร กลุ ชล 13. รองศาสตราจารย์ บาหยนั อม่ิ สาราญ กองบรรณาธกิ าร ผู้ทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอก 14. รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวทิ ยศริ ิธรรม คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคณุ วุฒิภายนอก คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กองบรรณาธิการ ผทู้ รงคุณวุฒิภายนอก กรรมการคณะวฒุ ิยาจารย์สาขา มนษุ ยศาสตร์และประธานคณะอนวุ ุฒิยาจารย์ ประจาคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอก คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคุณวฒุ ิภายใน คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร กองบรรณาธกิ าร ผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายใน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร [ค]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ I ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบบั ที่ 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2561 15. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยณ์ ฐั พล สวุ รรณกศุ ลส่ง กองบรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายใน คณะจติ รกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 16. อาจารย์ ดร. กาไลทพิ ย์ ปตั ตะพงศ์ กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคุณวฒุ ิภายใน คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 17. Professor Kazuhiro ABE, กองบรรณาธิการ ผ้ทู รงคณุ วุฒิภายนอก Seibi Gakuen College,Japan 18. Associate Professor Kuniko Statake, กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอก Tama Art University,Japan 19. Professor Tatsumasa Watanabe, กองบรรณาธกิ าร ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก Tama Art University,Japan 20. Professor Han Seon-Yong, กองบรรณาธกิ าร ผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก Konkuk University, Korea 21. Associate Professor Lance Chun Che Fung, Ph.D. กองบรรณาธกิ าร ผูท้ รงคณุ วุฒิภายนอก Murdoch University, Australia 22. Associate Professor Chokchai Leangsuksun, Ph.D. กองบรรณาธิการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอก Louisiana Tech University, USA 23. Professor Jesse Lin Jie-Shin, กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอก University I-Shou, Taiwan [ง]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ I ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2561 24. Phan Thu Hien, กองบรรณาธิการ ผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก National University of Vietnam 25. Nguyen Van Hieu, Ph.D. กองบรรณาธิการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอก 26. Nguyễn Ngọc Thơ, National University of Vietnam กองบรรณาธกิ าร ผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอก National University of Vietnam [จ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2561 ผทู้ รงคณุ วุฒิพิจารณาบทความ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ทอี่ ยู่ 1. อาจารย์ ดร.จิราภา พ่งึ บางกรวย สาขาการตลาด คณะวทิ ยาการจัดการและการทอ่ งเท่ียว มหาวิทยาลยั บูรพา 2. อาจารย์ ดร.ศุทธกิ านต์ คงคล้าย สาขาวชิ าการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วทิ ยาเขตชุมพร 3. รองศาสตราจารย์ ดร.อังคณา ตงุ คะสมิต คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยวชิ ิต เชยี รชนะ ภาควชิ าบริหารเทคนคิ ศกึ ษา คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวิทยศริ ธิ รรม ภาควชิ าพนื้ ฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยวุ รี ญานปรชี าเศรษฐ ภาควิชาพนื้ ฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ศรณั ย์ นกั รบ ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์คมธรรม ดารงเจรญิ คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 9. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มาเรียม นลิ พนั ธ์ุ ภาควชิ าหลักสตู รและวธิ สี อน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 10. รองศาสตราจารย์ ดร.พรพรรณ จันทโรนานนท์ คณะภาษาและวฒั นธรรมจนี มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ [ฉ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 11. อาจารย์ ดร.ภมู รินทร์ ภริ มยเ์ ลิศอมร คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 12. รองศาสตราจารย์ ดร.สบุ ิน ยรุ ะรัช มหาวิทยาลยั บูรพา 13. อาจารย์ ดร.กันตวรรณ มีสมสาร ศูนย์สง่ เสรมิ และพฒั นางานวจิ ัย 14. อาจารย์ ดร.สชุ นินธ์ บณั ฑนุ นั ทกุล มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ 15. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กรภสั สร อินทรบารงุ สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ 16. อาจารย์ ดร.สิรินทร์ ลดั ดากลม บญุ เชดิ ชู แขนงวชิ าหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช 17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพยส์ ุดา พฒุ จร 18. รองศาสตราจารย์พรชัย เทพปญั ญา คณะศึกษาศาสตร์ 19. อาจารย์ ดร.วรรณวสิ า บญุ มาก มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 20. รองศาสตราจารย์ ดร.คณติ เขียววิชยั สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ภาคหลักสตู รและวธิ สี อน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร นักวชิ าการอสิ ระ ภาควชิ าพน้ื ฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ภาควิชาพน้ื ฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร [ช]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 21. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธารินทร์ กา้ นเหลอื ง คณะศกึ ษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์ 22. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พราม อินพรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 23. รองศาสตราจารย์ ดร.กล้าหาญ ณ นา่ น ภาควชิ าศกึ ษาศาสตร์ 24. อาจารย์ ดร.กฤษดา เชยี รวัฒนสขุ คณะสงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 25. อาจารย์ ดร.นงนภสั แกว้ พลอย มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 26. รองศาสตราจารย์ ดร.นรนิ ทร์ สงั ข์รกั ษา 27. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพชยั พสนุ นท์ คณะบริหารธุรกจิ สาขาวชิ าการจดั การ 28. ผู้ช่วยศาสตราจารยเ์ กตุวดี สมบรู ณ์ทวี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 29. อาจารย์ ดร.ภฤศญา ปยิ นสุ รณ์ 30. อาจารย์ ดร.เพ็ญพนอ พ่วงแพ คณะบริหารธุรกจิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศิลปากร คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศิลปากร คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ศิลปากร สาขาวชิ าการสอนสงั คมศกึ ษา ภาควิชาหลกั สตู รและวิธสี อน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร [ซ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ที่ 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 31. อาจารย์ ดร.อนนั ปนั้ อินทร์ สาขาวชิ าการสอนสงั คม คณะศึกษาศาสตร์ 32. อาจารย์ ดร.พนชั กร สมิ ะขจรบญุ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 33. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สิรชิ ัย ดเี ลศิ 34. รองศาสตราจารย์ ดร.พิทกั ษ์ ศริ วิ งศ์ คณะวิทยาการจดั การ 35. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จติ ศักด์ิ พฒุ จร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 36. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยธ์ นกฤต สงั ขเ์ ฉย 37. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.บูลย์จรี า ชริ เวทย์ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 38. อาจารย์ ดร.สุนตี า โฆษติ ชยั วฒั น์ 39. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธติ จนั ทรวินจิ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 40. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกล วรเจริญศรี คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ภาควชิ าพน้ื ฐานทางการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ [ฌ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปีที่ 11 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2561 41. อาจารย์ ดร.วิชติ อมิ่ อารมณ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 42. อาจารย์ ดร.มานติ า ลโี ทชวลติ อรรถนพุ รรณ ภาควิชาหลกั สตู รและวธิ สี อน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 43. ศาสตราจารย์พงษศ์ ิลป์ อรุณรตั น์ ภาควิชานาฏยสงั คตี คณะอักษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 44. อาจารย์ ดร.กฤษณพงศ์ ทศั นบรรจง ภาควิชานาฏยสงั คตี คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 45. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พินดา วราสุนนั ท์ ภาควิชาครศุ ึกษา คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 46. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 47. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บารุง โตรตั น์ ขา้ ราชการเกษยี ณ 48. รองศาสตราจารย์ ดร.วสิ าข์ จตั ิวัตร์ ข้าราชการเกษยี ณ 49. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สงิ หนาท แสงสหี นาท ภาควชิ าการออกแบบและวางผงั ชมุ ชนเมอื ง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 50. รองศาสตราจารย์ ดร.ชยั สทิ ธิ์ ดา่ นกิตติกลุ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 51. รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ คงเทยี่ ง สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั นอร์ทกรุงเทพ [ญ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปีที่ 11 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 52. อาจารย์ ดร.จกั รพรรดิ์ วะทา สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา 53. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ ธารงสนิ ถาวร มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพธนบุรี 54. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนพุ งศ์ อวริ ุทธา 55. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เผดจ็ ทุกขส์ ญู คณะการจัดการและการท่องเทย่ี ว 56. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ขวญั ฤดี พรชัยทิวัตถ์ มหาวิทยาลยั บรู พา 57. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จนั ทนา แสนสขุ 58. อาจารย์ ดร.จุรีวรรณ จันพลา คณะบริหารธุรกจิ มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ 59. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อมรินทร์ เทวตา คณะบริหารธุรกจิ และศิลปศาสตร์ 60. รองศาสตราจารย์อรยิ ะ กิตตเิ จรญิ วิวฒั น์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา ตาก 61. ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุชาติ เถาทอง คณะวทิ ยาการจดั การ 62. รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ วทิ ยาลยั การจัดการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ คณะศลิ ปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร สาขาวชิ าศิลปกรรม คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบงั สาขาทัศนศิลปแ์ ละการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ [ฎ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบับที่ 3 เดอื นกันยายน – ธันวาคม 2561 63. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์โสรตั น์ วงศส์ ุทธิธรรม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 64. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มยุรี ลีท่ องอิน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 65. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กลั ยาณี ตันตรานนท์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 66. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณวรี ์ บุญคุม้ ภาควชิ าพน้ื ฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 67. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คีรีบูน จงวฒุ ิเวศย์ ภาควิชาการศกึ ษานอกโรงเรียน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 68. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศริ ิพร เลศิ ยิง่ ยศ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 69. อาจารย์ ดร.สมพร ปานยนิ ดี ภาควชิ าการจัดการทัว่ ไป คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั สยาม 70. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธรี ชัย เนตรถนอมศักดิ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 71. รองศาสตราจารย์ ดร.นวลฉวี ประเสรฐิ สขุ ภาควชิ าจติ วิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาลัยวิทยาลัยศลิ ปากร 72. อาจารย์ ดร.อรุ ปรยี ์ เกดิ ในมงคล ภาควชิ าจติ วทิ ยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 73. อาจารย์ ดร.ยอดขวัญ สวัสดี คณะมณั ฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 74. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักด์ิ เขียวมัง่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา [ฏ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปีที่ 11 ฉบับท่ี 3 เดือนกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 75. อาจารย์ ดร.ฐติ มิ า เวชพงศ์ ภาควิชาจติ วทิ ยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ 76. รองศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ วไิ ลนชุ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 77. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพทั ธ์ โพธ์ทิ อง 78. รองศาสตราจารยส์ มพร รว่ มสขุ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย 79. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มนสั สนิ ี บญุ มีศรีสงา่ 80. อาจารย์ ดร.นพรตั น์ บญุ เพียรผล คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 81. รองศาสตราจารย์ ดร.เขมณัฏฐ์ มิง่ ศิรธิ รรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 82. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกนฤน บางทา่ ไม้ 83. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชยั ณรงค์ อริยะประเสรฐิ ขา้ ราชการเกษียณ 84. รองศาสตราจารย์กญั ญรัตน์ เวชชศาสตร์ 85. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลธชิ า หอมฟุ้ง คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 86. ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณนิ ท์ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร สานกั งานเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช ภาควชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ขา้ ราชการเกษยี ณ ภาควิชาหลักสตู รและวิธสี อน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [ฐ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2561 87. อาจารย์ ดร.สุปรียา หวงั พชั รพล คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน 88. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญศิริ ชาตนิ ิยม ภาควชิ าออกแบบเครอ่ื งประดบั คณะมัณฑนศลิ ป์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 89. อาจารย์ ดร.อภินภัศ จิตรกร สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั 90. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สธุ รรม รตั นโชติ นกั วิชาการอสิ ระ 91. รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีวฒั น์ วัฒนกลุ เจรญิ สานักวชิ าศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช 92. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ตระหนกั จติ ร ยุตยรรยง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย 93. อาจารย์ ดร.พิชญพ์ ธู ไวยโชติ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย 94. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช ศรโี ภคางกลุ วิทยาลัยการปกครองท้องถนิ่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแแกน่ 95. อาจารย์ ดร.จิรพรรณ นฤภัทร คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 96. รองศาสตราจารย์ ดร.ศรณั ย์ นกั รบ ภาควชิ าดนตรี คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 97. อาจารย์ ดร.มนัสนนั ท์ นา้ สมบูรณ์ ภาควิชาหลกั สตู รและวธิ สี อน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร [ฑ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2561 98. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประเสรฐิ อินทร์รกั ษ์ ภาควชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 99. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรกาญจน์ สขุ สดเขยี ว ภาควิชาการบริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 100. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สายสดุ า เตียเจริญ ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 101. รองศาสตราจารยส์ มชาย วรัญญานไุ กร ภาควชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ 102. ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ุณกาธร กุลชล คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 103. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพ 104. รองศาสตราจารย์ ดร.สบุ ิน ยุระรชั ศนู ย์ส่งเสรมิ และพัฒนางานวจิ ยั มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม 105. รองศาสตราจารย์ ดร.ธรี ะวฒั น์ จันทกึ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 106. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั พัชร์ อภวิ ัฒนไ์ พศาล คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 107. รองศาสตราจารย์ ดร.การณุ ย์ ประทุม คณะการบญั ชีและการจัดการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 108. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริวรรณ วณชิ วัฒนวรชยั ภาควชิ าหลักสตู รและวธิ สี อน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 109. อาจารย์ ดร.วงศ์ลัดดา วีระไพบลู ย์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร [ฒ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 3 เดอื นกนั ยายน – ธันวาคม 2561 110. อาจารย์ ดร.ทรรศนีย์ โมรา ภาควชิ าหลกั สตู รและวธิ สี อน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 111. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารยี ์ รนุ่ พระแสง ภาควชิ าภาษาปัจจบุ นั ตะวนั ออก คณะอักษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 112. อาจารย์ ดร.พรรณภัทร ปลง่ั ศรีเจริญสขุ ภาควชิ าการศกึ ษาตลอดชวี ติ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 113. อาจารย์ ดร.อัฏฐมา บญุ ปาลติ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 114. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชวนช่นื อัคคะวณิชชา คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 115. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.น้ามนต์ เรืองฤทธิ์ ภาควิชาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 116. อาจารย์ ดร.พทิ กั ษ์ สุพรรโณภาพ ภาควิชาพนื้ ฐานทางการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 117. อาจารย์ ดร.ภัทรธ์ รี า เทยี นเพม่ิ พูล ภาควิชาหลกั สตู รและวธิ สี อน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 118. อาจารย์ ดร.ศิระ ศรโี ยธนิ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 119. อาจารย์ ดร.นภาเดช บญุ เชดิ ชู สาขาพนื้ ฐานการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม [ณ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2561 120. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนสิทธ์ิ สทิ ธิส์ งู เนนิ สาขาวชิ าหลักสตู รและการนเิ ทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 121. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สญั ชัย สนั ตเิ วส คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 122. ผชู้ ่วยศาสตราจารยน์ ธิ วิ ดี ทองป้อง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 123. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ขวญั ชนก นัยจรัญ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม 124. อาจารย์ ดร.ขจิตา ศรพี ่มุ ภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา 125. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะพรรณ ช่างวฒั นชัย ภาควชิ าเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 126. รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 127. อาจารย์ ดร.รุง่ ทิพย์ จันทร์ธนะกลุ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 128. รองศาสตราจารยส์ มประสงค์ น่วมบุญลอื ข้าราชการเกษยี ณ 129. อาจารย์ ดร.บารุง ชานาญเรือ ภาควชิ าหลักสตู รและวธิ สี อน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 130. อาจารย์ ดร.มาลนิ ี คุ้มสภา คณะรฐั ศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ [ด]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบบั ท่ี 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 131. อาจารย์ ดร.ประพล เปรมทองสขุ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 132. รองศาสตราจารย์กันจณา ดาโสภี คณะวจิ ติ รศิลป์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 133. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศศิภา พจนว์ าที คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 134. อาจารย์ ดร.สรัญญา จนั ทรช์ สู กลุ ภาควชิ าหลักสตู รและวธิ สี อน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 135. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิราวิทย์ ญาณจนิ ดา วิทยาลยั ศลิ ปะ สอ่ื และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 136. ดร.กรวรรณ สังขกร สถาบนั วจิ ยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 137. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กัญญพ์ ัสวี กล่อมธงเจริญ คณะบรหิ ารธุรกิจ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ 138. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนิรทุ ธ์ สตมิ ่นั ภาควชิ าเทคโนโลยีการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 139. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุนีย์ พงษ์พนิ ิจภญิ โญ ภาควชิ าคอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 140. อาจารย์ ดร.วสั รา รอดเหตุภัย ภาควิชาคอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 141. อาจารย์ ดร.ธติ ิ ญานปรีชาเศรษฐ ภาควิชาพนื้ ฐานการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 142. ศาสตราจารยว์ ิโชค มกุ ดามณี คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรม และภาพพิมพ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร [ต]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปีที่ 11 ฉบับท่ี 3 เดือนกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 143. ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ กญั ญา เจริญศภุ กุล คณะจติ รกรรม ประติมากรรม และภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 144. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สทิ ธชิ ยั ธรรมเสนห่ ์ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา 145. อาจารย์ ดร.ดวงพร พุทธวงค์ คณะบริหารธรุ กจิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 146. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ภัธทรา โต๊ะบุรนิ ทร์ ภาควชิ านาฏยสงั คีต คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 147. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชัย อารีรุ่งเรือง คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ 148. อาจารย์ ดร.วิไลวรรณ สิรโิ รจนพุฒิ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 149. อาจารย์ ดร.กติ ตมิ า พนั ธพ์ ฤกษา ภาควิชาการจดั การเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา 150. รองศาสตราจารย์ ดร.ธนนิ ท์รฐั รตั นพงศภ์ ญิ โญ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 151. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มัทนา วังถนอมศักดิ์ ภาควชิ าการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร 152. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธรี พงษ์ บัวหลา้ ภาควชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรฐั ศาสตรแ์ ละนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา 153. รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เชษฐ์ ชริ ะมณี คณะรฐั ศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา [ถ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2561 154. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนุพงศ์ อวิรุทธา คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ 155. อาจารย์ ดร.ปรีญานันท์ พร้อมสุขกลุ วิทยาลยั ดรุ ิยางคศิลป์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล 156. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพยศ์ รี คณะบรหิ ารธุรกิจและศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เชยี งราย 157. อาจารย์ ดร.จันทนีย์ จริ ณั ธนัฐ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 158. รองศาสตราจารยส์ ุภาภรณ์ จนิ ดามณีโรจน์ ขา้ ราชการเกษยี ณ 159. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พวงทพิ ย์ เกียรติสหกุล ภาควชิ าประวัติศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 160. อาจารย์ ดร.กษริ ชพี เป็นสุข ภาควชิ าความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย [ท]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 สารบัญ หนา้ คานา ก บรรณาธกิ าร และ กองบรรณาธกิ าร ข–จ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ฉ–ท บทความ : กล่มุ มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ โมเดลความสัมพนั ธเ์ ชงิ สาเหตุของปัจจัยท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมเนือยน่งิ ของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี ในประเทศไทย (A Causal Relationship Model of Factors Affecting Sedentary Behaviors in Undergraduate Students in Thailand) ธติ ิ ญานปรชี าเศรษฐ (Thiti Yanprechaset) 1-14 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กลยทุ ธ์การพัฒนาคุณภาพชีวติ การทางานของพนกั งานสายวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร (Development Strategy for Quality of Work life of Academic Personnel, Silapakorn University) ประเสริฐ อนิ ทรร์ กั ษ์ (Prasert Intarak) ชุมศกั ด์ิ อินทรร์ ักษ์ (Choomsak Intarak) สงวน อินทร์รักษ์ (Sanguan Intarak) 15-34 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การบริหารระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนเพ่อื การพฒั นาคณุ ธรรมและจริยธรรมนกั เรยี น (The Administration System of Caring Student for Morality and Ethics) วรกาญจน์ สุขสดเขยี ว (Vorakarn Suksodkiew) 35-54 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การประเมินความตอ้ งการจาเปน็ เพอื่ พฒั นาสมรรถนะนสิ ติ ครูตามกรอบอาร์-ทแี พค (A Needs Assessment to Develop Pre-Service Teachers’ Competency Based on R-TPACK Framework) พนดิ า ศกนุ ตนาค (Panida Sakuntanak) 55-73 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- [ธ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2561 พระอจั ฉริยภาพทางดนตรใี นพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร: กรณีศกึ ษา การบนั ทกึ เสียงการขับรอ้ งประสานเสยี ง บทเพลงพระราชนพิ นธท์ มี่ ีคารอ้ ง จานวน 41 บทเพลง (The Musical genius of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej : A Case Study of the Recording of 41 Royal Compositions with Lyrics for Choir) มนสกิ าร เหลา่ วานชิ (Monsikarn Laovanich) วิชฏาลมั พก์ เหลา่ วานชิ (Vitchatalum Laovanich) 74-91 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- รูปแบบการพฒั นาครูโดยใชก้ ระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี เพือ่ สง่ เสริม ความสามารถจัด การเรียนรู้ตามแนวสะเตม็ ศกึ ษาในระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (Model of developing teachers by using the process of Professional Learning Community (PLC) in promoting learning management abilities based on the STEM education approach at the basic education level.) กรัณย์พล ววิ รรธมงคล (Karanphon Wiwanthamongkon) 92-114 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การกลายเป็นคาไวยากรณข์ อง 個 e5 ในภาษาฮกเกยี้ นไตห้ วนั (The Grammaticalization of 個 e5 in Taiwanese Hokkien) สริ วิ รรณ แซ่โง้ว (Siriwan Saengow) 115-140 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การประเมนิ ความต้องการจาเปน็ ของการศึกษาหลกั สูตรศกึ ษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการ การศกึ ษา (นานาชาต)ิ (Needs Assessment of Study in Doctor of Education Program in Educational Management (International Program)) โสวริทธิ์ธร จนั ทรแ์ สงศรี (Sovaritthon Chansaengsee) ปานจติ ร์ หลงประดษิ ฐ์ (Panchit Longpradit) พสชนนั ท์ นิรมติ รไชยนนท์ (Poschanan Niramitchainont) อริศรา เลก็ สรรเสริญ (Arisara Leksansern) 141-159 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- [น]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 3 เดอื นกนั ยายน – ธันวาคม 2561 ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ความสขุ ในการทางานของครเู จเนอเรช่ันวายในโรงเรยี นของรฐั ในกรุงเทพมหานคร (Factors affecting Happiness at Work of Generation Y Teachers in Public Schools in Bangkok) พสชนนั นิรมิตรไชยนนท์ (Poschanan Niramitchainont) อรศิ รา เล็กสรรเสรญิ (Arisara Leksansern) ปานจติ ร์ หลงประดษิ ฐ์ (Panchit Longpradit) โสวริทธ์ิธร จนั ทรแ์ สงศรี (Sovaritthon Chansaengsee) 160-176 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ปลกู และเตบิ โต: การทางานสวนสาหรบั เดก็ ปฐมวยั (Growing Plants and Growing Children: The gardening activity for young children) มานติ า ลีโทชวลิต อรรถนุพรรณ (Manita Leethochawalit Atthanuphan) 177-191 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การพฒั นาโปรแกรมการศึกษาเพอ่ื สรา้ งความเปน็ พลเมอื งดสี าหรับเด็กที่สังกัดโรงเรียนตารวจตระเวน ชายแดนเขตพฒั นาพนื้ ทพี่ ิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดน ภาคใตข้ องจังหวัดสงขลา (Development Of An Education Program For Enhancing The Good Citizenship For The Youth In Special Administration Zone In Southern Border Of Songkhla Province) จฑุ ารตั น์ คชรัตน์ (Jutarat Kotcharat) 192-207 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การรับรู้บรรยากาศองคก์ ารกบั การพฒั นาตนเองของพนกั งานบริษทั เอกชน ในเขตกรุงเทพมหานคร (Perception of organizational climate and self-development of private employees In Bangkok) สทุ ธพิ งษ์ เกียรตวิ ชิ ญ์ (Suttipong Kiartivich) 208-219 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- รปู แบบการบริหารจัดการทมี ฟตุ บอลทมี ชาตไิ ทยสคู่ วามเป็นเลศิ ในการแข่งขันฟุตบอลโลก ปี ค.ศ. 2026 (Management Model for Excellence of Thailand Men’s National Football Team in FIFA World Cup 2026) อิษฎี กฏุ อินทร์ (Issadee Kutintara) 220-237 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- [บ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ที่ 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 การศึกษาความตอ้ งการจาเปน็ ในการจัดการเรียนการสอนวชิ ากฬี าศกึ ษา ของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร พระราชวงั สนามจนั ทร์ (A Study of the Need for Teaching and Learning in Sports Education of Students at Silpakorn University, Sanamchandra Palace Campus) วชิ ิต อ่ิมอารมย์ (Vichit Imarom) 238-255 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การวเิ คราะห์ปัจจยั 12 ประการ (Q12 ของ Gallup) ท่สี ง่ ผลตอ่ พฤติกรรมใน การทางานของพนกั งาน สัญชาติไทยที่ทางานในร้านอาหาร จังหวดั นทบรุ ี (Analysis of 12 Factors (Gallup's Q12) Affecting Work Behavior Employees of Thai nationality working in restaurants Nonthaburi.) กรรณิการ์ สิทธชิ ยั (Kannika Stiitchai) ประสพชยั พสนุ นท์ (Prasopchai Pasunon) 256-274 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- อทิ ธิพลของบุคลิกภาพแบบมจี ติ สานึกและแบบเปิดรับประสบการณท์ ี่ส่งผลต่อผลการดาเนนิ งานของ ธรุ กจิ ผ่านคณุ ลักษณะการเปน็ ผปู้ ระกอบการธุรกจิ ขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) ใน กรงุ เทพมหานคร (The influences of conscious mind and openness to experience personality that affect the business performance through the entrepreneurship of SMEs in Bangkok) กรรณิการ์ สิทธิชัย (Kannika Sittichai) วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ (Viroj Jadesadalug) 275-292 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สมการการคาดการณร์ ายไดจ้ ากนโยบายภาครฐั ตอ่ การสง่ เสรมิ งบประมาณของกล่มุ ประเทศรายไดป้ าน กลางขัน้ ตา่ กรณีศึกษา สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (An Equation of Forecasting Public Revenue from Government Policy to Promote Government Budgeting of Lower Middle-Income Country: A Case Study of the Lao People's Democratic Republic) กฤษณ์ รกั ชาติเจริญ (Krish Rugchatjaroen) 293-311 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- [ป]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 การจัดการตลาดธรุ กจิ ซอสกระท้อนแบบมสี ว่ นร่วมของวิสาหกจิ ชุมชนเกษตรอนิ ทรีย์ บ้านงว้ิ ราย ตาบลงิ้วราย อาเภอเมือง จงั หวัดลพบุรี (Marketing Management of Santol Sauce Business by Community’s Participation of Ban NgiuRai Organic Farming Community Enterprise, Ban NgiuRai Sub-district, Mueang District, Lop Buri Province) กุลชลี พวงเพช็ ร์ (Kulchalee Puangpejara) สมพร พวงเพช็ ร์ (Somporn Puangpejara) โสพศิ คานวนชัย (Sopich Kumnuanchai) 312-328 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- บทบาทหนา้ ท่ีของมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมในการสร้างอตั ลักษณช์ มุ ชน ตาบลหนองกะทา้ ว อาเภอนครไทย จังหวดั พษิ ณุโลก (The role of Intangible cultural heritage in the production of the community identity: the case study of Nangkatao sub-district, Nakornthai district, Phitsanulok province) ขวญั ชนก นัยจรัญ (Khwanchanok Naijarun) กฤษณา ชาญณรงค์ (Kritsana Chanarong) 329-344 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การใช้สือ่ สังคมออนไลนเ์ พ่ือการตลาดของโรงแรมอสิ ระระดบั 4-5 ดาว ในจงั หวัดภเู กต็ (The usage of social media for marketing of 4-5 star independent hotels in Changwat Phuket, Thailand) เขมธัชกานท์ สกุลกฤตธิ นี ันท์ (Khemtuchagarn Sakukritteenun) ณารีญา วรี ะกิจ (Nareeya Weerakit) 345-362 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ขอ้ เสนอแนะจากผู้มีสว่ นได้เสยี ตอ่ กระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในโครงการหรอื กจิ การท่อี าจ กอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ ชุมชนอยา่ งรุนแรงท้งั ทางด้านคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติ และ สุขภาพ (Recommendations from stakeholders towards Public Participation Process for Project which may Affect Community Severely in Respect of Both the Quality of Environment, Natural Resources and Health) คนางค์ คันธมธุรพจน์ (Kanang Kantamaturapoj) กานดา ปิยจนั ทร์ (Ganda Piyajun) สุวิทย์ วบิ ลุ ผลประเสรฐิ (Suwit Wibulpolprasert) 363-382 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- [ผ]

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 บทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมในการสรา้ งอตั ลักษณ์ชมุ ชน ตาบลหนองกะทา้ ว อาเภอนครไทย จงั หวัดพิษณุโลก* The role of Intangible cultural heritage in the production of the community identity: the case study of Nangkatao sub-district, Nakornthai district, Phitsanulok province ขวญั ชนก นยั จรัญ (Khwanchanok Naijarun)** กฤษณา ชาญณรงค์ (Kritsana Chanarong)*** บทคดั ยอ่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในการสร้าง อัตลักษณ์ชุมชนของตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ดาเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ สืบค้นข้อมูลมรดกวัฒนธรรมโดยใช้กระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR : Community Based Research) ท่เี น้นการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ นท่เี กี่ยวข้อง และอธิบายผลการวิจัยในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวจิ ัยพบว่ามรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม ตาบลหนองกะทา้ ว ปรากฏจานวน 6 ด้าน ได้แก่ 1) วรรณกรรม พ้ืนบ้าน 2) ศิลปะการแสดง 3) แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณีและเทศกาล 4) ความรู้และการปฏิบัติ เกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5) งานช่างฝีมือด้ังเดิม และ 6) กีฬาภูมิปัญญา เม่ือนามาวิเคราะห์คุณค่าอัต ลกั ษณ์มรดกวฒั นธรรม พบวา่ มรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมของชาวตาบลหนองกะท้าว มีบทบาทหน้าท่ีในการ อธบิ ายกาเนิดอตั ลักษณข์ องกลุ่มชนและพธิ กี รรม มีบทบาทหนา้ ทใี่ นการให้การศึกษา อบรมระเบียบสังคม รักษา มาตรฐานพฤติกรรมของสังคม และมีบทบาทหน้าที่ในการเป็นทางออกให้กับความคับข้องใจของบุคคลอันเกิด จากกฎเกณฑ์ทางสังคม ซึ่งมรดกวัฒนธรรมเหล่าน้ีช่วยสร้างอัตลักษณ์ของคนในชุมชนที่มีความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและชาติพันธ์ุ ให้มีความเข้มแข็ง มีปฏิสัมพันธ์ และสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขบนพ้ืนฐานของ วฒั นธรรมดั้งเดิมของแตล่ ะกลุม่ ชน คาสาคัญ : มรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม, อัตลักษณช์ มุ ชน, ตาบลหนองกะท้าว จงั หวดั พิษณโุ ลก * บทความน้เี ปน็ ส่วนหน่งึ ของงานวิจยั เรอื่ ง การศึกษามรดกวัฒนธรรม ตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวดั พิษณโุ ลก ** ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ประจาสาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม Assistant Professor Dr., Thai Language, Faculty of Humanities and Social Sciences, Pibulsongkram Rajabhat University. , [email protected], 0814429080 *** อาจารย์ ประจาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม Lecturer., Thai Language, Faculty of Humanities and Social Sciences, Pibulsongkram Rajabhat University. , [email protected], 0895679557 329

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 Abstract The objective of this research was to examine the role of Intangible cultural heritage in the production of the community identity in Nongkatao sub-district, Nakornthai district, Phitsanulok province. The study presented the qualitative research method by using Community Based Research (CBR). This method referred to the process that brought a variety of participants who were the researchers and community members that worked the sub- district administrative organization and the villagers who lived in Nongkatao sub-district. These community members and villagers helped to investigate the data of cultural heritage in order to get the accurate results. The findings of this research found that there were six aspects of community culture in Nongkatao sub-district: 1) Folk literature (traditional literature) 2) Performing arts 3) Social practices, a rite or traditional and festival ceremonies 4) Knowledge and practices concerning nature and universe 5) Traditional craftsman 6) Folk sports and traditional games. The value and identity of Intangible cultural heritage revealed that Nongkatao sub-district had the roles of explanation in the original community identity as well as traditional and festival ceremonies. Moreover, this value also presented the roles of education and practices in the common law tradition in order to maintain behavioral standards of society. In addition, this value showed that the roles of Intangible cultural heritage coped with frustration of individuals that several problems came from social norms. Therefore, all aspects of Intangible cultural heritage supported the identity of community members who had cultural and ethnic diversity in order to gain strength, desirable interaction as well as living together happily and peacefully in the society based on traditional culture which expressed each part of the group members. Keywords: Intangible cultural heritage, community identity, Nongkatao sub-district Phitsanulok province บทนา ตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย ปัจจุบันแบ่งเขตการปกครอง เป็น 27 หมู่บ้าน การตั้งชุมชน ประกอบไปด้วยกลุ่มคนพื้นเมืองนครไทย และกลุ่มคนที่อพยพ มาจากพ้ืนที่อื่น คือ ภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ มาตั้งถิ่นฐานทากิน ดังนั้นในชุมชนจึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและ พิธีกรรม เช่น การจุดบ้ังไฟ การเลี้ยงปู่บ้าน การแห่ปราสาทผึ้ง การเทศน์มหาชาติ การแห่ธง การทาบุญ กลางบ้านและบวงสรวงเทพารกั ษต์ ้นโพธเ์ิ สด็จ ประเพณดี ังกลา่ วนี้ถือเป็นประเพณีพ้ืนถ่นิ ของตาบลหนองกะท้าว แสดงให้เห็นถึงความเช่ือและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของคนในชุมชนท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน อัน เปน็ สิง่ หลอมรวมใหก้ ลุ่มคนในชมุ ชนมคี วามผกู พันกนั นาไปสู่การอยรู่ ว่ มในพื้นท่ีเดียวกันอย่างเก้ือกูลและสามัคคี 330

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบับที่ 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 นอกจากประเพณีพิธีกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมของคนในชุมชนแล้ว ยังรวมไปถึง วิถีชีวิตการกินอยู่ เช่น การกินข้าวเจ้า การกินข้าวเหนียว การรักษาโรคภัยไข้เจ็บโดยใช้หมอชาวบ้าน เป็นต้น ดังนั้นวัฒนธรรมท้องถิ่นจึงถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนที่มีการส่ังสม สืบทอดและปรับเปลี่ยนเพ่ือ การดารงอยู่ของวัฒนธรรม เพราะวัฒนธรรมเป็นเคร่ืองช่วยให้สมาชิกในชุมชนมีความเข้าใจ ซาบซ้ึงและ เกิด ความภาคภูมิใจร่วมกัน นอกจากนยี้ งั แสดงถงึ ความเปน็ อตั ลักษณห์ รอื เอกลักษณท์ างวฒั นธรรมดว้ ย การศึกษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมชุมชนเป็นการค้นหาอัตลักษณ์ของชุมชน อีกทั้งยังเป็น การสร้างจิตสานึกให้คนตระหนักถึงคุณค่าของท้องถิ่นและสร้างความเชื่อมั่น ภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชน ซึ่ง นบั เปน็ ความเคลื่อนไหวที่ก้าวหน้าจากการศึกษาตามระเบียบแบบแผนในตาราวิชาการหรือหนังสือเรียนที่เขียน ถึงวัฒนธรรมไทยในแบบฉบับ ให้กลายเป็นความมีส่วนร่วมของชุมชนในการบอกเล่าเรื่องราว วิถีชีวิต ความเชื่อ ภูมิปัญญาของตนเอง ดังท่ีจารุวรรณ ธรรมวัตร (2559) กล่าวถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนผ่านเรื่องเล่าว่า การศึกษาเรื่องเลา่ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการสร้างพลังชุมชน วิธีการศึกษาเรื่องเล่าใช้วิธีการศึกษาแบบประวัติศาสตร์ บอกเล่า (Oral history) ผู้ศึกษาควรใช้วิธีการสัมภาษณ์คู่กับการเข้าร่วมสังเกตการณ์ชีวิตความเป็นอยู่ ความเปน็ ไปของหมบู่ า้ นและการรบั รูอ้ ารมณร์ ว่ มของคนในพ้นื ที่ โดยอ้างถึงแนวคดิ ของ Malinowski, 1948 (อา้ ง ถึงในจารุวรรณ ธรรมวัตร, 2559) ท่ีว่า การศึกษาเรื่องเล่าต้องศึกษาบริบททางสังคม วัฒนธรรม ไม่ใช่ให้ ความสาคัญกับตัวบท (text) ต้องสนใจผู้เป็นเจ้าของเรื่องเล่า บทบาทของเร่ืองเล่าในการรวมกลุ่มและการให้ ความสนุกสนาน การเล่าเร่ืองจึงเป็นการส่ือสารท่ีอาจมุ่งให้ความรู้ มุ่งให้รับรู้หรือมุ่งให้ผลด้านอารมณ์ความรู้สึก ผู้ศึกษาต้องวิเคราะห์หาแก่นและแกนของเรื่องเล่า จุดเน้นของเรื่องเล่าตลอดจนตรรกะภายในเร่ืองเล่า ผลการศึกษาคือ การรับรู้ปรากฏการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม และความคิดของผู้เล่า การศึกษาบริบททาง วัฒนธรรมดังกล่าว สามารถศึกษาตามแนวทางคติชนวิทยา ดังที่ วิลเลียม บาสคอม (William R. Bascom, 1965) ได้ใช้ทฤษฎีบทบาทหน้าที่ (Functionalism) อธิบายว่าคติชนวิทยามีบทบาทหน้าท่ีต่อสังคมอยู่ 4 ประการ คือ หน้าท่ใี นการอธิบายความ คับข้องใจของมนุษย์จากกฎข้อบังคับของแต่ละสังคมในระดับท่ีแตกต่าง กัน หน้าท่ีให้แง่คิดแก่มนุษย์ หน้าท่ีให้การศึกษาอบรมคนในสังคม และหน้าท่ีในการสร้างระเบียบ บรรทัดฐาน และแบบแผนพฤตกิ รรมแก่คนในสังคม และจากแนวคดิ ของสชุ าติ แสงทอง (2560) ที่กลา่ ววา่ การทากิจกรรมใด ควรมาจากฐานรากของชุมชน การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การนาผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมมากเท่าใด โอกาสความสาเร็จจะสูงข้ึนตามไปด้วย ดังนั้นการศึกษาวัฒนธรรมชุมชนจึงเป็นแรงผลักดันในชุมชนท้องถิ่นให้ สามารถกาหนดทศิ ทางของตนเองเพือ่ วางแผนกา้ วสู่อนาคตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จากแนวคิดดงั กล่าวนี้ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษามรดกวัฒนธรรมชุมชนผ่านประวัติศาสตร์บอกเล่าของ คนในชุมชน โดยเลือกใช้การดาเนินการวิจัยในลักษณะกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR : Community Based Research) ท่เี นน้ การมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องเป็นศูนย์กลาง เปิดโอกาสให้สมาชิกในตาบล หนองกะท้าวทกุ คนที่มีความแตกตา่ งทางเศรษฐกิจ และสถานะทางสังคม มารว่ มใช้ศักยภาพของตนในการศึกษา สืบค้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในพื้นท่ี ท้ังนี้เพ่ือให้การศึกษาประวัติศาสตร์และมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมท้องถิ่นมีความโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ และสร้างอัตลักษณ์ที่แท้จริงของชุมชน นอกจากนี้ 331

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ี่ 11 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมดังกล่าวน้ันยังสามารถนามาเป็นข้อมูลในการศึกษาความหลากหลายทาง วฒั นธรรมของกลุม่ คนได้อกี ด้วย ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ วนี้ผ้วู จิ ยั จงึ สนใจท่ีจะสืบค้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก และนาข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท่ีสืบค้นได้มาวิเคราะห์บทบาท หน้าท่ีของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในการสร้างอัตลักษณ์ชุมชน ของตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพษิ ณุโลก วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย เพ่ือศึกษาบทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในการอธิบายอัตลักษณ์มรดกวัฒนธรรม ชุมชน ตาบลหนองกะทา้ ว อาเภอนครไทย จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ของเขตของการวิจยั ด้านพนื้ ท่ี ตาบลหนองกะทา้ ว อาเภอนครไทย จงั หวดั พิษณโุ ลก ประกอบดว้ ยหมบู่ า้ นจานวน 27 หมู่บา้ น ด้านเน้ือหา มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท่ีพบในตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก จานวน 6 ด้าน คือ 1) วรรณกรรมพื้นบ้าน 2) ศิลปะการแสดง 3) แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณีและเทศกาล 4) ความรแู้ ละการปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล 5) งานช่างฝีมือด้ังเดิม และ 6) กีฬาภูมิปญั ญา กรอบแนวคิดในการวิจัย งานวิจัยฉบับน้ีใช้ทฤษฎีบทบาทหน้าท่ีตามแนวคิดของศิราพร ณ ถลาง (2557) ที่ปรับทฤษฎีบทบาทหน้าที่ ของ วิลเลียม บาสคอม (1956) มาเป็นกรอบ ในการอธิบายบทบาทหน้าท่ีของคติชนในสังคม จาแนกออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1. บทบาทหน้าที่คติชนในการอธิบายกาเนดิ อตั ลกั ษณ์ของกลมุ่ ชนและพธิ กี รรม 2. บทบาทหน้าท่ีคติชนในการใหก้ ารศึกษา อบรมระเบียบสังคม และรกั ษามาตรฐานพฤตกิ รรมของสงั คม 3. บทบาทหนา้ ที่คตชิ นในการเปน็ ทางออกให้กับความคับข้องใจของบุคคลอันเกดิ จากกฎเกณฑ์ทางสงั คม วิธีดาเนนิ การวจิ ัย งานวิจยั ฉบับนเ้ี ป็นงานวิจัยเชงิ คุณภาพ (Qualitative Research) ใชก้ ระบวนการงานวิจยั เพื่อท้องถน่ิ (CBR : Community Based Research) ทเี่ น้นการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นศูนย์กลาง โดยเปิด โอกาสให้สมาชิกในตาบลหนองกะท้าวทุกคนท่ีมีความแตกต่างทางเศรษฐกิจ และสถานะทางสังคม มาร่วมใช้ ศักยภาพของตนร่วมศึกษาสบื ค้นมรดกวัฒนธรรมเพอ่ื ใช้เป็นฐานขอ้ มูลในการพัฒนาชุมชนในมติ ิต่าง ๆ ดังน้ี 332

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบับที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2561 1. ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้องกบั มรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม และทฤษฎบี ทบาทหนา้ ท่ี 2. สร้างเครือข่ายชุมชน ลงพื้นที่ศึกษา สารวจเก็บข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิของชุมชนโดยการ สัมภาษณ์ผู้รู้ในชุมชน และนาข้อมูลมาจัดหมวดหมู่ ตามกรอบการศึกษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของ กระทรวงวฒั นธรรม ทกี่ าหนดประเภทของมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมเปน็ 6 ประเภท (คณะกรรมการสง่ เสรมิ และรกั ษามรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม, 2560) ดังนี้ 1) วรรณกรรมพื้นบ้าน 2) ศิลปะการแสดง 3) แนวปฏิบัติ ทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4) ความรู้และการปฏิบัติเก่ียวกับธรรมชาติและจักรวาล 5) งาน ช่างฝมี ือดง้ั เดมิ และ 6) กฬี าภูมปิ ญั ญาไทย 3. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล โดยให้ชุมชนเจ้าของพื้นท่ีจานวน 12 คน ที่ได้รับการยอมรับว่า เปน็ ปราชญ์ชาวบา้ นของตาบลหนองกะท้าวเข้าร่วมสะทอ้ น เตมิ เต็ม ตรวจสอบและแก้ไขขอ้ มลู ถ้ามขี อ้ ผดิ พลาด 4. นาข้อมูลท่ีได้ท้ังหมดมาวิเคราะห์คุณค่าอัตลักษณ์มรดกวัฒนธรรมชุมชน ตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย โดยใช้ทฤษฎีบทบาทหน้าที่ตามแนวคิดของศิราพร ณ ถลาง (2557) ท่ีปรับทฤษฎีบทบาทหน้าท่ีของ วิลเลียม บาสคอม (William R. Bascom, 1956) มาเป็นกรอบในการอธิบายบทบาทหน้าท่ีของคติชนในสังคม จาแนกออกเปน็ 3 ประเด็น คือ 1. บทบาทหน้าที่คตชิ นในการอธิบายกาเนดิ อัตลักษณข์ องกลุ่มชนและพิธกี รรม 2. บทบาทหนา้ ที่คตชิ นในการใหก้ ารศกึ ษา อบรมระเบยี บสงั คม และรักษามาตรฐานพฤตกิ รรมของ สงั คม 3. บทบาทหน้าที่คตชิ นในการเปน็ ทางออกให้กับความคบั ขอ้ งใจของบคุ คลอันเกดิ จากกฎเกณฑ์ทาง สังคม 5. สรปุ และอภิปรายผลการวิจัย ผลการวิจยั ผลการวิจัยพบว่าตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก มีมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรม จานวน 6 ด้าน ได้แก่ 1) วรรณกรรมพ้ืนบ้าน จานวน 42 เรื่อง 2) ศิลปะการแสดง จานวน 1 การ แสดง 3) แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล จานวน 23 เรื่อง 4) ความรู้และการปฏิบัติ เกี่ยวกับธรรมชาติและจกั รวาล จานวน 22 เรอ่ื ง 5) งานช่างฝีมือด้ังเดิม จานวน 9 เร่ือง และ 6) กีฬาภูมิปัญญา ด้านการละเล่นพื้นบ้าน จานวน 4 ชนิด รวมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท้ังสิ้น 101 เรื่อง มรดกภูมิปัญญา ทางวฒั นธรรมดังกล่าวเมื่อนามาจาแนกตามกรอบการวิจัยทั้ง 6 ด้านน้ี พบว่ามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมแต่ ละดา้ นตา่ งมีบทบาทหนา้ ที่ในสังคมท่แี ตกต่างกัน เพื่อธารงรกั ษาความเป็นชุมชนให้คงอยู่สืบไป ซึ่งสามารถนามา วิเคราะห์คุณค่าและอตั ลกั ษณ์วัฒนธรรมของพื้นที่ตามบทบาทหน้าท่ีของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประเภท ต่าง ๆ ท่ดี ารงอยู่ในชมุ ชน โดยใช้ทฤษฎบี ทบาทหน้าท่ี (Functionalism) ทมี่ องวา่ วัฒนธรรมส่วนต่าง ๆ ในสังคม มหี น้าทีต่ อบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ ท้ังทางด้านปัจจัยพื้นฐานด้านความม่ันคงของสังคม และความม่ันคง ทางจิตใจ วัฒนธรรมในส่วนท่ีเป็นคติชน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล่าประเภทต่าง ๆ เพลง การละเล่น การแสดงความ เช่ือ พิธีกรรม ล้วนมีหน้าท่ีตอบสนองความต้องการของมนุษย์ทางด้านจิตใจ และช่วยสร้างความเข้มแข็งและ ความม่นั คงทางวฒั นธรรมใหแ้ ตล่ ะสงั คม (ศริ าพร ณ ถลาง, 2557) 333

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ี่ 11 ฉบับท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธันวาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 จากการวิเคราะห์ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในตาบลหนองกะท้าว อาเภอนคร ไทย จงั หวัดพิษณโุ ลก สามารถจาแนกบทบาทหน้าที่ได้ดงั น้ี 1. บทบาทหนา้ ท่ีในการอธิบายกาเนิด และอัตลักษณ์ของกลมุ่ ชนและพิธีกรรม วัฒนธรรมส่วนต่าง ๆ ในสังคมมีหน้าท่ีตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ท้ังทางด้านปัจจัยพื้นฐาน ทางดา้ นความมัน่ คงของสงั คม และความมนั่ คงทางจิตใจ ประเพณี พิธกี รรม มีหน้าทต่ี อบสนองความตอ้ งการของ มนุษย์ ทั้ง 2 ดา้ น คือ ทางด้านสังคมและทางด้านจิตใจ พิธีกรรมเป็นเร่ืองของกลุ่มชน แสดงให้เห็นการรวมพลัง ของคนในสังคม การประกอบพิธีกรรมแต่ละครั้งทาให้สมาชิกในสังคมรู้สึกม่ันคง อบอุ่น พิธีกรรมจึงเป็นกลไกใน การสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มชน และหน้าที่ประการสาคัญของพิธีกรรม คือ ช่วยให้มนุษย์มีความมั่นคงทางใจ มีความสบายใจขึ้น เพราะพิธีกรรมมักเกี่ยวข้องกับการขอร้องให้อานาจเหนือธรรมชาติช่วยเหลือในสิ่งท่ีมนุษย์ ไม่มั่นใจ เช่น ขอฝน ขอให้ผลผลิตดี ขอใหห้ ายเจบ็ ไข้ ท้งั น้ีพธิ ีกรรมมักมีองคป์ ระกอบที่สาคญั คือ ตานาน จนอาจ กล่าวได้ว่า สมาชิกในสังคมใช้เรื่องเล่าประเภทตานานในการอธิบายเหตุผลและที่มาในการประกอบพิธีกรรม ตานานจึงเป็นสว่ นทเี่ ปน็ นามธรรม ในขณะท่ีพิธีกรรมเป็นส่วนที่เป็นรูปธรรม (ศิราพร ณ ถลาง, 2557) บทบาท หน้าท่ีของคติชนในการอธิบายการเกิดวัฒนธรรมของชุมชน ตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทยจากการเก็บ ข้อมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ์พบว่ามีข้อมูลมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมของตาบลหนองกะท้าวท่ีมีบทบาท หน้าท่ีในการอธิบายกาเนิดอัตลักษณ์และสถานภาพของคนในสังคม สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประการ คือ บทบาทหน้าที่ในการใหค้ าอธิบายเกี่ยวกับกาเนิดอัตลักษณ์และสถานภาพของบุคคลในสังคม และบทบาทหน้าท่ี ในการให้คาอธบิ ายท่ีมาของการประกอบพธิ กี รรม สามารถอธิบายได้ ดงั น้ี 1.1 ตานานกับการอธิบายกาเนิดและอัตลักษณ์ของกลุ่มคนหนองกะท้าวและสถานภาพของ คนในสงั คม สาเหตุหนึ่งที่ปรากฏบทบาทหน้าที่ในการอธิบายกาเนิดอัตลักษณ์และสถานภาพของคนในสังคม เป็นเพราะทกุ หมู่บา้ นล้วนมีตานานเล่าขานถึงความเป็นมาของบรรพบุรุษและถิ่นท่ีอยู่ซ่ึงมีวัฒนธรรม ความเช่ือที่ สืบทอดกันมาอย่างยาวนานจนกลายเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน ยกตัวอย่าง ตานานเร่ืองพ่อทองศรี แม่พิมพา ท่ี ชาวหนองกะท้าวเลา่ ขานตอ่ กนั มาว่า พ่อทองศรี แม่พมิ พา ที่เป็นคนกลุม่ แรกเขา้ มาตง้ั หลกั ปกั ฐาน ทามาหากิน ในตาบลหนองกะท้าว รวมถึงเกิดเร่ืองราวมหัศจรรย์ ในช่วงที่สองตายายเข้ามาอยู่ในตาบลหนองกะท้าว คือ มี ต้นโพธิใ์ หญเ่ กิดขน้ึ มาอย่างมหัศจรรย์ บางคนเล่าว่าต้นโพธ์ิลอยมากลางน้า แต่บางคนเล่าว่าต้นโพธิ์ลอยลงมา จากฟา้ แตจ่ ุดร่วมของตานานที่เหมอื นกนั คือ สองตายายเปน็ คนนาต้นโพธมิ์ าปลูกในท่ีปจั จุบนั ชาวหนองกะท้าว เช่ือว่าสองตายายเป็นต้นกาเนิดของคนหนองกะท้าวในปัจจุบัน จึงได้แสดงความกตัญญูโดยต้ังช่ือหมู่บ้านว่า หนองสองเฒ่า ต่อมาเปล่ียนเป็นชื่อหนองกราบเท้า เพ่ือแสดงความกตัญญูต่อสองตายาย และเวลาต่อมาชื่อ หนองกราบเท้าได้เพี้ยนมาเป็นช่ือหนองกะท้าวในปัจจุบัน จากตานานน้ีทาให้บุคคลในตาบลหนองกะท้าวมี ความรักและสามัคคีกัน เพราะพวกเขาเชื่อว่าลูกหลานตาบลหนองกะท้าวทุกคนสืบเช้ือสายมาจากพ่อทองศรี แมพ่ ิมพา นัน่ หมายความวา่ ทกุ คนเปน็ เครอื ญาตกิ ันจึงต้องรักและสามัคคีกัน 334

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 1.2 ตานานกบั การอธบิ ายพิธีกรรม นอกจากตานานเล่าขานจะทาการถา่ ยทอดเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ของบรรพบุรุษและถ่ินท่ีอยู่ แลว้ ตานานเหล่านัน้ ยงั มีความสมั พันธ์เชอ่ื มโยงมาถึงการประกอบพิธกี รรมประจาปีต่าง ๆ อีกดว้ ย ตานานปรมั ปราเป็นเร่อื งเล่าท่มี ีตวั ละครหรอื ผูม้ อี านาจเหนอื ธรรมชาติ เชน่ เทพเจ้า พระเจา้ ผีฟ้า ผีบรรพบุรุษ มักมีความสัมพันธ์กับระบบความเช่ือเกี่ยวกับอานาจเหนือธรรมชาติ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ศาสนา และ พธิ ีกรรมในสังคมนั้น ๆ ในส่วนของพิธีกรรมที่มีเร่ืองเล่าหรือตานานอธิบายประกอบ ท่ีพบในตาบลหนองกะท้าว คือ พิธีการจุดบั้งไฟเพื่อบูชาพญาแถน การสวดมนต์ปลาช่อน การปั้นโคลนขอฝน และการแห่นางแมว พิธีกรรม เหล่านี้เป็นการขอให้เทวดาหรือส่ิงศักดิ์สิทธ์ิช่วยให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล เพื่อให้พืชผลทางการเกษตรเจริญ งอกงาม นอกจากน้ียังมีการบูชาแม่โพสพ การทาบุญบริเวณที่นา เพราะเช่ือว่าการบวงสรวงเจ้าแม่โพสพทาให้ ข้าวงอกงาม อดุ มสมบูรณ์ ได้ผลผลิตดี การใชต้ านานอธบิ ายพิธกี รรมทป่ี รากฏในพ้นื ที่ตาบลหนองกะท้าว เชน่ พธิ ีกรรมทางศาสนา ตานานการแห่ตาชูชก ตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก มีประเพณีการแห่ตาชูชกซึ่งจัดขึ้นประจาทุกปีในช่วงเทศกาลออกพรรษาโดยจัดให้มีการเทศน์มหาชาติ มหาเวสสันดรชาดกทัง้ 13 กัณฑ์โดยตอ้ งกระทาใหเ้ สร็จภายในวนั เดยี ว กัณฑช์ ูชกเปน็ กัณฑท์ ่ยี ง่ิ ใหญ่และชาวบ้าน ก็ให้ความสาคัญมาก เม่ือถึงเทศกาลออกพรรษาชาวบ้านหนองกะท้าวจะรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพ่ือขออาสาเป็น เจา้ ภาพแห่กัณฑ์เทศน์ หากชาวบ้านหมู่ใดจับฉลากได้กณั ฑ์ชชู ก จะถอื ว่าเป็นโชคดีเพราะกัณฑ์ชูชกนถ้ี ือเป็นกัณฑ์ ที่เด่นมากกว่ากัณฑ์อ่ืนๆ จะเห็นว่าประเพณีและพิธีกรรมมักจะมีเรื่องเล่ามาจากตานานหรือชาดก อย่างเทศน์ มหาชาติของชาวหนองกะท้าวเองก็มาจากมหาเวสสันดรชาดก นามาผูกโยงกับพิธีกรรมที่ถือปฏิบัติใน ชุมชน สอดคล้องกับแนวคิดของ ปฐม หงษ์สุวรรณ (2556) ท่ีกล่าวว่าพิธีกรรมมักมีองค์ประกอบสาคัญคือเร่ือง เลา่ ศักดสิ์ ิทธิ์ บา้ งกเ็ ปน็ ตานาน บ้างก็เปน็ ชาดก สาหรบั ผ้คู นในสงั คมไทยก็ไดใ้ ช้เรอ่ื งราวชาดกด้วยเชน่ กัน ดังกรณี เรอื่ งมหาเวสสนั ดรชาดกถูกใช้ในการอธบิ ายความคิด ความเชือ่ และเหตผุ ลในการประกอบพิธกี รรมการเทศนม์ หาชาติ 2. บทบาทหนา้ ท่ีในการให้การศึกษาอบรมระเบียบสังคมและรักษามาตรฐานพฤติกรรมของสังคม สาหรบั บทบาทหน้าที่ของคติชนในลกั ษณะน้ี ศริ าพร ณ ถลาง (2557) มองว่าคติชนจะทาหน้าที่เป็น กลไกสาคัญในการเป็นสถาบันการศึกษาในความหมายว่า ให้ความรู้ ถ่ายทอดวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ปลูกฝัง ทัศนคติ อบรมสัง่ สอนระเบยี บสังคม รกั ษามาตรฐานทางจรยิ ธรรม และพฤติกรรมที่เป็นแบบแผนท่ีสังคมยอมรับ โดยผ่านคติชนหลายประเภทท้ังเพลงกล่อมเด็ก นิทาน การละเล่น หรือการแสดง บทบาทหน้าที่น้ีจาแนกออก เป็น 3 ลักษณะใหญ่ คือ 1) บทบาหน้าท่ีทคติชนในการถ่ายทอดเรื่องราวเก่ียวกับท้องถ่ินของตน 2) บทบาท หน้าท่ีคติชนในการให้ความรู้และเสริมสร้างปัญญา และ 3) บทบาทหน้าท่ีคติชนในการอบรมระเบียบสังคม ปลูกฝงั คา่ นิยม และรกั ษาบรรทดั ฐานทางพฤติกรรมใหส้ ังคม สามารถอธบิ ายได้ ดงั นี้ 2.1 บทบาทหน้าที่ในการถา่ ยทอดเรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ทอ้ งถิน่ ของตาบลหนองกะทา้ ว มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท่ีพบในการถ่ายทอดเร่ืองราวเกี่ยวกับท้องถ่ินของตนให้กับคนรุ่น หลังได้ทราบถึงตัวตน และภูมิหลังของชุมชนว่าตาบลหนองกะท้าว ซ่ึงเป็นท้องถิ่นของพวกเขามีประวัติความ เปน็ มาอยา่ งไร ผ่านเร่ืองราวของตานานการตง้ั ช่อื หมบู่ ้านทัง้ 27 หมู่บ้าน และจากการสัมภาษณ์เพ่ือเก็บข้อมูลใน งานวิจัย พบว่าตานานการตั้งช่ือหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านของตาบลหนองกะท้าว มักเล่าถึงประวัติศาสตร์ความ 335

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 เปน็ มา ในการอพยพและการเลือกตั้งรกราก ชยั ภูมิ ในพ้ืนท่ีนั้น ๆ ด้วย เช่น ประวัติหมู่บ้านนาจาน จากเร่ืองเล่า กล่าววา่ เริ่มมีการกอ่ ตัง้ หมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ.2468 โดยแรกเร่ิมมีประชากรจานวน 14 ครัวเรือน ซ่ึงคน กลุ่มน้ีย้าย ถ่ินฐานมาจากบ้านถ้าบ้านเหลือม อาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ในขณะน้ันกาลังเกิดโรคระบาดอย่างรุนแรง ชาวบา้ นจึงพากันเดนิ เทา้ ลัดเลาะภูเขามาเรอ่ื ย ๆ จนกระท่งั มาถึงบรเิ วณบ้านนาจานปัจจุบัน ซึ่งเมื่อก่อนเป็นภูมิ ประเทศทม่ี ปี า่ รก เปน็ ทีล่ มุ่ ใกล้แหล่งน้า พวกเขาจึงมองว่าพื้นท่ีนี้เหมาะสมสาหรับการทามาหากินและ ตั้งหลัก ปักฐาน อีกท้ังเมื่อก่อน บริเวณน้ีมีต้นทองกวาว หรือท่ีชาวบ้านเรียกว่าต้นจานข้ึนอยู่เป็นจานวนมากริมท้องทุ่ง นา ก็เลยเรียกชื่อหมู่บ้านน้ีว่า บ้านนาจาน (วินิช บาลีใหญ่, ผู้ให้สัมภาษณ์, วันท่ี 2 มิถุนายน 2560) จะเห็นว่า เร่ืองเล่าของแต่ละหมู่บ้านทาให้ทราบภูมิหลังของคนในหมู่บ้านนั้น ๆ สอดคล้องกับท่ี ศิราพร ณ ถลาง (2557) กลา่ ววา่ นิทานหรือเรื่องเล่าประจาถ่นิ จะช่วยสร้างอัตลักษณ์ของกล่มุ ชน นอกจากน้ียังมีบทบาทในการอธิบายให้ ความรู้เก่ยี วกบั ประวัติ ที่มาของชื่อสถานท่ี หรือภูมิศาสตร์ในท้องถ่ินอีกด้วย ทั้งยังกล่าวอีกว่าข้อมูลคติชนที่เป็น มขุ ปาฐะชว่ ยทาหน้าทใ่ี หค้ วามรเู้ กยี่ วกับทอ้ งถนิ่ ให้คนในทอ้ งถิน่ ได้รับรูป้ ระวตั ิความเป็นมาและมีความภาคภูมิใจ เกี่ยวกับรากเหง้าของตนเอง ซึ่งนอกจากเร่ืองเล่าแล้ว ยังมีคติชนประเภทอื่น เช่น การแสดง เครื่องจัก สาน หตั ถกรรมพืน้ บ้านของแต่ละทอ้ งถิน่ ก็ล้วนเป็นกลไกในการใชบ้ อกวา่ ตนเองคือใคร เมื่อสมาชิกเติบโตมาจะ สามารถเรยี นรูอ้ ตั ลกั ษณ์หรอื ตัวตนของตนเองโดยผา่ นอตั ลกั ษณว์ ฒั นธรรมในรูปแบบต่าง ๆ ไดอ้ กี ด้วย งานช่างฝมี อื ดงั้ เดมิ กับการถา่ ยทอดเรื่องราวเกี่ยวกบั ทอ้ งถ่ิน งานช่างฝีมือดั้งเดิมท่ีพบในตาบลหนองกะท้าว ประกอบไปด้วยการจักสาน เช่น การใช้ตอกมาสาน เป็นหวด สาหรับน่งึ ขา้ วเหนียว การสานหวดนึง่ ข้าวนี้ พบมากในกลุ่มหมู่บา้ นท่อี พยพมาจากจงั หวดั เลย เพราะคน กลุ่มนี้รับประทานข้าวเหนียวแทนข้าวเจ้า การทาไม้หนีบถ่านที่ทาจากไม้ไผ่ หรือชาวบ้านเรียกว่า“ไม้คะนีบ” แสดงใหเ้ ห็นถึงภมู ิปัญญาในการใชท้ รพั ยากรท่มี ีอยอู่ ยา่ งอดุ มสมบูรณ์ ตอบสนองวิถีชีวิตของคน นอกจากนี้ยังพบ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น หยวกกล้วย มาแทงฉลุเป็นลวดลายต่าง ๆ ใช้สาหรับประดับตกแต่งงาน พธิ ี เชน่ ใช้ประดบั ตกแตง่ “แล” สาหรับแห่นาค การตอกทองเป็นการฉลลุ ายทป่ี ระณตี งดงามลงบนกระดาษเพ่ือ ใช้ประดับและประกอบเป็นชฎาสาหรับให้นาคสวมใส่ขณะน่ังบนแลแห่นาค พวงตาหร่ัง เป็นการเรียกชื่อ สง่ิ ประดิษฐ์ตามชือ่ ของผู้คิดค้นการฉลุลายลงบนกระดาษอ่อน (กระดาษว่าว) และประกอบกระดาษให้เป็นพวง ห้อยระย้าลงมาอย่างสวยงาม จะเห็นว่างานช่างฝีมือด้ังเดิมในลักษณะต่าง ๆ มีบทบาทในการถ่ายทอดเร่ืองราว เกี่ยวกับท้องถ่นิ เช่น บอกเลา่ ที่มาท่ไี ปของคนในพนื้ ท่ี ผา่ นอุปกรณ์เคร่ืองใช้ เชน่ หวดน่งึ ข้าวท่ีถึงแมว้ า่ ปจั จบุ นั จะ มภี าชนะอืน่ ๆ หลายชนดิ ผลติ ข้ึนมา เพ่อื แทนที่ภูมิปัญญาเหล่านี้แต่คนในพื้นที่ก็ยังคงเลือกใช้หวด ท่ีมาจากการ จักสานขึ้นเอง เพ่ือดารงอัตลักษณ์วัฒนธรรมของตนไว้ ส่วนการแทงหยวก การตอกทอง หรือการทาพวงตาหร่ัง นนั้ เปน็ การถ่ายทอดเรื่องราวเก่ียวกับคนในท้องถิ่นท่ีมีความพิถีพิถัน ละเอียดลออใน การทางาน และงานฝีมือ เหลา่ นี้มกั จะใช้เป็นส่วนหนึ่งในการประดบั ตกแต่งในงานพิธีกรรมโดยเฉพาะงานบุญ คือ การแห่นาค เป็นหนึ่งใน พิธกี รรมท่ีชาวหนองกะท้าวให้ความสาคัญมาก เพราะเขาเชอื่ วา่ นาค หรอื ผู้ท่ีกาลงั บวชนาคนั้นเป็นผู้มีบุญ ไม่ควร จะตอ้ งสัมผัสกับพื้นดิน ดังน้ันจึงต้องทาพาหนะสาหรับให้นาคนั่งไปให้ถึงวัด และนาคเปรียบเสมือนพระอินทร์ที่ กาลงั จะกลับไปอยูท่ ่สี วรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ ดงั นั้นพาหนะของนาคซึ่งชาวหนองกะท้าวเรียกว่า “แล” นน้ั จงึ ตอ้ งมกี าร 336

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบับที่ 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 ประดับตกแต่งอย่างสวยงาม แสดงให้เห็นถึงความเคารพศรัทธา อีกท้ังยังเป็น การถ่ายทอดเรื่องราวเก่ียวกับ ความเช่อื ในท้องถิน่ ตนผ่านพธิ กี รรมอกี ดว้ ย จากการเรียนรู้เรื่องราวเก่ียวกับท้องถ่ินของตนผ่านมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมน้ัน สะท้อนให้เห็นถึง ความสาคัญของมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมเพราะมีส่วนช่วยให้คนในชุมชนได้รู้จักพ้ืนท่ีของตนเองอย่างถ่องแท้ เพราะการเร่มิ เรียนรแู้ ละทาความเข้าใจพนื้ ที่ของตนเองเป็นพ้ืนฐานอนั ดีในการพัฒนาชุมชน และประพฤติปฏิบัติ ตนได้อย่างถกู ตอ้ งและมีความสุข 2.2 บทบาทหน้าท่ีในการใหค้ วามรแู้ ละเสริมสรา้ งปญั ญาผ่านนิทานพ้ืนบา้ น ศริ าพร ณ ถลาง (2557) กลา่ วถงึ บทบาทหน้าที่ในการใหค้ วามรูแ้ ละเสริมสรา้ งปัญญาว่าในสังคม สมยั กอ่ นท่ยี ังไมม่ ีโรงเรียน หรือการศึกษาในระบบ คตชิ นทาหนา้ ทแี่ ทนสถาบนั การศกึ ษา ซง่ึ ปจั จบุ ันนีอ้ าจถือเปน็ การศึกษาตามอัธยาศยั เช่น เพลงกลอ่ มเด็กช่วยให้ความรู้เก่ียวกับธรรมชาติและสังคม สอดคล้องกับแนวคิดของ ปฐม หงษ์สุวรรณ (2556) ที่กล่าวว่าพิธีกรรมนอกจากจะเป็นการละเล่นเพื่อสร้างความสนุกสนานแล้ว ยังทา หน้าท่ีสอนอบรมระเบียบสังคมให้แก่เด็กและคนในชุมชนส่วนใหญ่ท่ีมาร่วมชม ร่วมดู ให้ได้รับทราบเกี่ยวกับ แนวประพฤติปฏบิ ตั ิท่ีถูกตอ้ งทค่ี วรกระทาตามสังคมกาหนด วรรณกรรมทใ่ี หค้ วามรูใ้ นด้านคณุ ธรรม จากผลการวิจัย พบมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่แสดงให้เห็นบทบาทคติชนในการให้ความรู้และ เสริมสร้างปัญญาในเร่ืองของคุณธรรมผ่านนิทานและบทเพลงพ้ืนบ้าน เช่น นิทานเร่ืองสองเส่ียว ท่ีกล่าวถึงชาย สองคนเปน็ เพือ่ นกัน วันหนึ่งทัง้ สองไปทานาดว้ ยกนั คนหน่ึงเตรยี มขา้ วห่อไปกินตอนกลางวันด้วย แต่อีกคนไม่ได้ หอ่ ข้าวไป เมื่อถึงชว่ งกลางวนั เพือ่ นคนทหี่ อ่ ข้าวมา นั่งกินข้าวหอ่ ของตนโดยไม่ชวนเพ่ือนอีกคนเลย พอตกบ่ายมีงู จะมาฉกชายคนทีห่ ่อขา้ วมา ชายคนนั้นขอความความช่วยเหลือจากเพ่อื น เพ่ือนก็ตอบว่า เราช่วยไม่ได้หรอก เรา ไม่มีแรง เพราะไม่ได้กินข้าวกลางวัน ผลสุดท้ายคือชายคนที่ห่อข้าวมาถูกงูกัดตาย (ปิยะดา อ่อนสาลี, ผู้ให้ สัมภาษณ์, วันที่ 20 กนั ยายน 2560) สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ บุคคลควรจะมีความเอ้อื เฟือ้ แบ่งปันกัน บทสวดประกอบพิธีกรรมในการเลี้ยงปู่ ที่เป็นบทอัญเชิญเจ้าที่เจ้าทางเจ้าป่า เจ้าเขา รวมถึงส่ิง ศักด์ิสิทธิ์อ่ืน ๆ ที่ปกปักรักษาพ้ืนที่ให้ลงมารับของเซ่นไหว้ ที่คนในหมู่บ้านร่วมใจกันทาถวาย (เจริญ โทจาปา, ผู้ให้สัมภาษณ์, วันที่ 15 พฤษภาคม 2560) แสดงให้เห็นถึงความกตัญญูรู้คุณและความอ่อนน้อมต่อส่ิงที่อยู่ เหนอื ธรรมชาติ เพลงกล่อมเดก็ เช่น เพลงนกกาเหวา่ ใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั ธรรมชาติของนกกาเหวา่ ท่มี ักจะไปวางไข่ ไวใ้ นรงั ของนกชนิดอื่นแล้วกบ็ ินหนไี ป 2.3 บทบาทหน้าท่ีในการอบรมระเบียบสังคมปลูกฝังค่านิยมและรักษาบรรทัดฐานทาง พฤตกิ รรมให้สงั คม จากผลการวิจัยพบว่า บทบาทหนา้ ท่ีคติชนในลักษณะของพธิ ีกรรมและการละเล่นพืน้ บา้ นที่มสี ่วน ในการอบรมระเบยี บสังคม สร้างกฎ สรา้ งกฎกตกิ าใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ร่วมกนั รวมถงึ สร้างบรรทดั ฐานทางพฤติกรรม ให้คนในตาบลหนองกะทา้ วยึดถือปฏิบัติ ซึ่งแต่ละหมู่บ้านจะมีแนวปฏิบัติท่ีแตกต่างกันไปตามความเช่ือและที่มา ของตนน้ัน สอดคล้องผลการวิจัยของรัตนา จันทร์เทาว์ (2559) ที่ศึกษาพลวัตของบทบาทหน้าท่ีประเพณี การแขง่ เรอื ยาวในภาคอสี าน ทพ่ี บว่าประเพณีแข่งเรือยาวมีบทบาทหน้าท่ีด้านการให้การศึกษาต่อสมาชิกชุมชน กลา่ วคือ ประเพณีแข่งเรือยาวนั้นสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการส่ังสอน อบรมแก่สมาชิกในชุมชนให้รู้จัก ป่าไม้ 337

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปีท่ี 11 ฉบับท่ี 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 สายน้า การทาเรือ ตลอดจนการเรียนรู้บทบาทหน้าที่ของตนในฐานะการมีส่วนร่วมต่อกิจกรรมของชุมชน ไดเ้ รยี นรู้การทางานเป็นทีม ความรกั สามคั คแี ละการช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกัน ประเพณีนี้ถือเป็นกระบวนการอย่าง หนง่ึ ในการขดั เกลาทางสงั คมด้วย บทบาทหน้าที่คตชิ นในลักษณะนป้ี รากฏใหเ้ หน็ ผา่ นบทเพลงพื้นบา้ นการละเล่น และพิธีกรรมบางพิธี เช่นบทบาทคติชนในการอบรมระเบียบสังคม ปลูกฝังค่านิยม และรักษาบรรทัดฐานทาง พฤติกรรมใหส้ งั คม ท่ปี รากฏในเพลงพืน้ บา้ น สะท้อนค่านยิ มในเรื่องของการทาทาน เอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน เชน่ เนื้อเพลงแห่นางแมว (ใหม่ กระเสียน, ผู้ให้สัมภาษณ์, วันท่ี 28 กรกฎาคม 2560) ท่ีปรากฏเป็นสาระสาคัญ ว่า การแห่นางแมวคร้ังน้ีเพือ่ ขอใหฝ้ นฟ้าตกลงมา ไม่ได้หวงั ผลประโยชน์ (ไม่ไดค้ า่ จ้าง ยมื แมวเขามา) ดังน้ันคนจงึ ต้องช่วยกนั เล้ียงดูแมวโดยการใหป้ ลา ใหแ้ ตง (ช่วยกนั ให้อาหารแก่แมว) และถ้าหากใครไมช่ ว่ ยไมเ่ ออื้ เฟ้ือ ก็จะให้ เกดิ ส่งิ ทไ่ี มด่ ีกับคนนน้ั เชน่ คนทที่ านาก็ขอให้หนูกดั ขา้ วคนทที่ าสวนก็ขอให้ผลผลติ ขายไมไ่ ด้ เป็นต้น บทรอ้ งลกั ษณะนจ้ี งึ เป็นการปลกู ฝงั ค่านิยมในเรือ่ งของการเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ยอมสละประโยชน์ส่วนตน เพ่ือประโยชน์ส่วนรวม ผ่านทางบทร้องพื้นบ้าน หรือแม้แต่เพลงแห่นาคท่ีใช้ร้องระหว่างการแห่นาค ก็จะแสดง ลกั ษณะคาสอน อบรมนาค ไปด้วย เช่น บทเพลงแห่นาค ท่ีร้องว่า “พ่อนาคไปวัด อย่าไปนัดสีกา กลัวหลวงพ่อ จะตี กลัวหลวงพี่จะด่า” (ใหม่ กระเสียน, ผู้ให้สัมภาษณ์, วันที่ 28 กรกฎาคม 2560) จากเนื้อร้องน้ีแสดงให้ เห็นถงึ การอบรมสอนนาควา่ การบวชนาค คือ การเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์จึงต้องตัดเรื่องทางโลกให้สิ้น โดยเฉพาะ เรอ่ื งผู้หญิง ไมเ่ ชน่ นัน้ แลว้ จะถูกลงโทษ หรือแมแ้ ต่พธิ กี รรมการเลีย้ งปขู่ องแตล่ ะหมู่บ้าน ที่มีการกาหนดกฎเกณฑ์ กติกา และมารยาทในการเข้าร่วมงาน รวมถึงข้อตกลงท่ีทุกคนในหมู่บ้านต้องรับรู้ร่วมกัน กล่าวคือ ทุกคนใน หมู่บ้านไม่ว่าจะทางานไกลแค่ไหน ก็จะต้องกลับมาในงานเล้ียงปู่ของหมู่บ้าน เพ่ือแสดงความกตัญญูรู้ คุณ ต่อ “ปู่” อนั เปน็ สงิ่ ศกั ดิ์สิทธ์ขิ องหมู่บ้าน พิธีกรรมนจี้ ึงสะท้อนให้เห็นถงึ ความกตัญญูรู้คุณ อีกท้ังยังเป็นกุศโลบาย หน่งึ ที่ใหค้ นกลบั บ้าน โดยสร้างบรรทดั ฐานขน้ึ มาว่า ในหนึ่งปอี ยา่ งนอ้ ยก็จะต้องกลับมาพบปะกันหน่งึ ครง้ั เพ่ือมา ทาบุญร่วมกนั ปฏสิ มั พันธ์ ถามไถส่ ารทุกขส์ ุกดิบของกันและกัน ปลูกฝังความรักใคร่ สามคั คกี นั การละเล่นพ้ืนบ้านเป็นหนึ่งในการอบรมระเบียบสังคมในเรื่องของการยอมรับกติกากลุ่ม ในฐานะที่ เป็นส่วนหน่ึงในสงั คม (สว่ นหนึ่งของการละเล่น) กล่าวคือ การละเล่นแต่ละชนิด จะมีการกาหนดกติกาให้ทุกคน ถือปฏิบัติร่วมกัน มีการแข่งขัน แพ้ ชนะ เช่น การเล่นโยนหมากแระ ที่ต้ังกฎเกณฑ์การเล่น โดยแบ่งผู้เล่น ออกเป็นสองฝ่าย ผลัดกันเล่น ถ้าใครไปถึงจุดสูงสุดก่อน (แม่วา) จะถือว่าชนะ หรือการเล่นลูกช่วงซ่ึงมี กติกา คือ แบ่งชายหญิงให้อยู่คนละฝ่ังกัน เม่ือโยนลูกช่วงออกไป อีกฝ่ายจะต้องรับลูกช่วงให้ได้ ถ้ารับได้ก็มี สทิ ธ์ปิ าลูกชว่ งกลับให้ถกู ตวั ฝา่ ยตรงขา้ ม แต่ถา้ ปาไมถ่ กู ฝา่ ยนน้ั ก็จะปาลกู ชว่ งยอ้ นกลับมา และถา้ ปาถกู ใครคนน้ัน กจ็ ะต้องกลายเปน็ เชลยของฝา่ ยทีป่ าโดน แล้วถ้าหากว่าปาโดนตัวเชลยของอีกฝั่ง เชลยผู้น้ันก็สามารถกลับไปฝ่ัง เดมิ ได้ เล่นตอ่ ไปเรื่อย ๆ ฝา่ ยไหนได้เชลยมากกว่า ก็จะเปน็ ฝ่ายชนะ และต้องใหเ้ ดิมพันตามทีต่ กลงกันไว้ เช่น ให้ เหล้า (บุญส่ง บุญคุ้ม, ผู้ให้สัมภาษณ์, วันที่ 15 พฤษภาคม 2560) เป็นต้น จะเห็นว่าการละเล่นแม้จะเป็นไป เพยี งเพ่อื ความสนกุ สนาน แตก่ ็สอดแทรกกศุ โลบายในเรอ่ื งของระเบียบสงั คมเอาไว้ดว้ ย 338

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 11 ฉบับที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธันวาคม 2561 3. บทบาทหน้าที่ในการเป็นทางออกให้กับความคับข้องใจของบุคคลอันเกิดจากกฎเกณฑ์ทาง สังคม คติชนมีบทบาทโดยตรงในการทาหน้าท่ีเสนอทางออกทางใจให้แก่มนุษย์ในสังคม กล่าวคือ คติชนมี บทบาทด้านจิตใจ เพราะสามารถชดเชยสิ่งท่ีมนุษย์ปรารถนา แต่ทาไม่ได้ในชีวิตจริง และเสนอทางออกให้กับ ปัญหาอันเกิดจากกฎเกณฑ์ทางสังคมท่ีเคร่งครัด ทาให้สมาชิกมีความคับข้องใจ หรืออึดอัดใจ ท่ีไม่สามารถพูด หรือแสดงออกได้เมือ่ เกิดความขดั แยง้ ในใจ (สุชาติ แสงทอง, 2560) จากการศึกษามรดกวฒั นธรรม ตาบลหนอง กะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณโุ ลก พบภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมท่แี สดงบทบาทในดา้ นน้ี ดงั น้ี 3.1 นทิ านมหัศจรรยก์ ับการเปน็ ทางออกใหก้ บั ความรสู้ กึ ขดั แยง้ ในครอบครัว นิทานเป็นส่ิงท่ีช่วยระบายความคับข้องใจให้กับมนุษย์ ดังน้ัน นิทานจึงมักมีความเหนือจริง เช่น การกระทาของตัวละคร การแปลงร่างของตัวละคร และในบางคร้ังตัวละครอาจจะไม่ได้ใช้เพียงแค่คนเท่าน้ัน แตอ่ าจเปน็ สตั วอ์ ืน่ ๆ เช่น งู กระต่าย เตา่ ก็ได้ ในส่วนของนิทานมหัศจรรย์ ทเ่ี ป็นเรื่องเล่าเพื่อเป็นการแสดงออก ถึงความร้สู กึ ขัดแยง้ ในครอบครัว นทิ านในลักษณะนีท้ ่ีพบในตาบลหนองกะทา้ ว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก คือ นิทานเร่ืองอิลุนอิหล้า ซึ่งเป็นเร่ืองราวของครอบครัว ๆ หนึ่ง ที่มีลูกสาวสองคน ชื่อ ลุนกับหล้า ลุนแต่งงาน ชายรปู งามคนหนึง่ ซ่งึ ไมใ่ ครรู้ว่าแทจ้ ริงแลว้ เป็นพญางทู ี่แปลงกายมา เม่ือหล้าเห็นว่าลุนแต่งงาน อยู่กับสามีแล้วมี ความสขุ ตนก็เลยคิดทจี่ ะแต่งงานบา้ ง พ่อกบั แม่จึงขอให้หล้าเป็นภรรยาอกี คนหน่ึงของสามีลุน เมื่อหล้าแต่งงาน กับพญางูซึ่งเป็นสามีของพี่สาว หล้าก็ถูกพญางูฆ่าตาย (บุญส่ง บุญคุ้ม, ผู้ให้สัมภาษณ์, วันท่ี 15 พฤษภาคม 2560) จากนิทานเรื่องน้ีจะเห็นความขัดแย้งในครอบครัวที่มักเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เมื่อลูกเขยเข้ามาอยู่ในบ้าน ภรรยา และภรรยาผู้น้ันมีน้องสาว พ่ีเขยกับน้องเมียมักจะแอบชอบพอกันและแอบมีความสัมพันธ์กัน ดังนั้น นิทานเร่ืองนี้จึงช่วยป้องปรามความขัดแย้งในครอบครัว คือ เป็นนิทานที่สอนไม่ให้น้องสาวคิดเกินเลยกับ พเ่ี ขย และการเปรียบเทียบวา่ พ่เี ขยเป็นเหมือนงนู ัน้ หมายถึง พ่ีเขยเป็นผูช้ ายทเี่ อาแตไ่ ด้ ไม่รู้จกั พอน่นั เอง 3.2 คติชนกับการเป็นทางระบายความกดดันในใจอันเกิดจากกฎเกณฑ์ในสังคมผ่านนิทาน พน้ื บา้ นและพธิ กี รรม หรอื สว่ นประกอบในการจดั พิธกี รรม สาหรับคติชนกับการระบายความกดดันในใจอันเกิดจากกฎเกณฑ์ในสังคมนี้ เกิดข้ึนเน่ืองจาก ทุกสังคมย่อมกาหนดกฎเกณฑ์เพื่อควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม ซ่ึงในขณะเดียวกันมนุษย์ย่อมรู้สึกขัดกับ กฎเกณฑ์หรอื ขอ้ หา้ มบางอย่างท่ีสงั คมกาหนด เมือ่ มนษุ ยม์ คี วามรสู้ ึกอดึ อดั หรอื คบั ขอ้ งใจกับการท่ีต้องปฏิบัติตาม กฎหรอื ขอ้ หา้ ม จงึ มกี ารระบายออกในลักษณะตา่ ง ๆ เชน่ เร่ืองเล่า หรือพิธีกรรม ในส่วนของตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย พบคติชนในด้านนี้ คือ การใช้นิทานมุกตลกเพื่อระบายความอัดอ้ันตันใจให้สมาชิกในสังคม จากข้อมลู พบนทิ านเรอื่ งหนงึ่ คือ นทิ านเรอื่ งขี้ไก่โป่ เป็นเรื่องราวของเด็กวัดกับหลวงตา ซ่ึงเด็กวัดคนน้ีเป็นเด็กขี้ เกยี จ วันหนึ่งหลวงตาสง่ั ให้เขาทาความสะอาดศาลาวดั ให้เสร็จก่อนที่หลวงตาจะกลับจากทาธุระ เด็กวัดก็ไม่ยอม ทาตามคาสั่ง เมื่อหลวงตากลับมาวัดจึงโวยวาย และสั่งให้เด็กวัดคนน้ันทาความสะอาดศาลาวัดให้เสร็จ แล้ว หลวงตากอ็ อกไปทาธุระต่อ เด็กวดั จึงออกอบุ ายโดยการเอาน้าอ้อยมาหยดไวบ้ นศาลาใหด้ ูคล้ายกับขี้ไก่ เม่ือหลวง ตากลับมา เด็กวัดก็นั่งกินขี้ไก่ (น้าอ้อย) อย่างเอร็ดอร่อย จนหลวงตาสงสัย จึงลองชิมข้ีไก่บ้าง แล้วก็พบว่ามี รสชาตหิ วาน อรอ่ ย วนั รุ่งขน้ึ หลวงตาจงึ ไลเ่ ดก็ วัดให้ออกไปจากศาลา จากนัน้ หลวงตาก็รอให้ไก่มาข้ี แล้วหลวงตา กน็ ั่งกินขีไ้ ก่ แต่ก็พบว่าไม่ได้รสชาติหวานอร่อยเหมือนเมื่อวาน เมื่อเด็กวัดมาเห็นหลวงตากินขี้ไก่ตามอุบายของ 339

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ่ี 11 ฉบับท่ี 3 เดอื นกนั ยายน – ธันวาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 ตน กน็ ง่ั หวั เราะ หลวงตาจึงรู้ว่าตนหลงกลของเด็กวัดจึงจับเด็กวัดมาลงโทษ (ปิยะดา อ่อนสาลี, ผู้ให้สัมภาษณ์, 20 กนั ยายน 2560) จากการสมั ภาษณ์พบว่านิทานเร่อื งนใี้ ช้เล่าให้เด็กฟงั เพ่ือเป็นขอ้ คิดวา่ เด็กไม่ควรหลอกผู้ใหญ่ ไมเ่ ช่นน้ันจะถกู ทาโทษเหมือนเด็กวดั คนน้ี แตผ่ วู้ จิ ัยมีความเหน็ ว่า นิทานเร่อื งนีเ้ ป็นเครื่องระบายความกดดันในใจ จากกฎเกณฑ์ของสังคม กล่าวคือ ตามปกติแล้วสังคมไทยห้ามไม่ให้วิจารณ์พระสงฆ์ เพราะจะถือเป็นการลบหลู่ ศาสนา จะเกิดเป็นบาป แต่จากนิทานเร่ืองนี้กลายเป็นเรื่องตลกขบขันท่ีพระสงฆ์หลงอุบายเด็กวัด จนต้องกิน ข้ีไก่ ซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริงในสังคมท่ีคนไม่อาจลบหลู่พระสงฆ์ได้ บทบาทหน้าที่ในข้อน้ีสอดคล้องกับ ผลการวจิ ัยของกฤษณา ชาญณรงค์ และบารนี บญุ ทรง (2555) ทีศ่ กึ ษากวีนิพนธ์พืน้ บ้านในตาบลทา้ ยดง อาเภอ วงั โปง่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ พบว่า กวีนพิ นธพ์ น้ื บา้ นมบี ทบาทหนา้ ทใ่ี นการระบายความคับข้องใจ โดยเสนอแนวคิด วา่ บทบาทหนา้ ท่ขี องกวีนพิ นธ์พืน้ บ้านมีความหมายท่ีแฝงอยู่ในความขบขันและความเพลิดเพลิน เป็นการเผยให้ เห็นถงึ ความพยายามท่ีจะหลีกหนีจากความกดดันและความคับขอ้ งใจตา่ ง ๆ เช่น ความคบั ขอ้ งใจจากกฎระเบียบ ของสังคม ซงึ่ การอยู่ร่วมกันในสังคมบางครั้งไม่อาจแสดงออกหรือเปิดเผยความรู้สึกอย่างตรงไปตรงมาได้เพราะ อาจเป็นเร่ืองไม่เหมาะสมและอาจกระทบกระเทอื นถงึ ความสัมพันธ์ ดังนั้นจึงต้องผ่อนปรนความรู้สึกที่ถูกเก็บกด ผ่านกวีนิพนธพ์ ้นื บ้าน ในด้านของพิธีกรรมที่เป็นทางระบายความกดดันในใจอันเกิดจากกฎเกณฑ์ในสังคม ที่พบในตาบล หนองกะท้าวนั้น มักจะประกอบอยู่ในส่วนหน่ึงของพิธีกรรมซึ่งจะมีการแสดงออกทางเพศอย่างชัดเจน เช่น การขบวนแห่ตาชูชก ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของพิธีเทศน์มหาชาติ ซึ่งเป็นพิธีกรรมสาคัญของตาบล ในขบวนแห่ ชชู ก จะประกอบไปด้วยชูชก 2 แบบ คอื ชูชกขาวและชูชกเหลอื ง ชูชกขาวเป็นคนดี มีเมตตา เป็นสัญลักษณ์ของ ความอุดมสมบูรณ์ท้ังปวง ชูชกขาวจะใส่ชุดขาวแบบพราหมณ์ ส่วนชูชกเหลือง หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ชูชกผี เป็นชูชกร้าย แต่งกายด้วยเศษผ้าจีวรพระ สวมหัวคล้ายผี ผมยาวรุงรัง ในมือถือปลัดขิก (อวัยวะเพศ ชาย) ขนาดใหญ่ ว่ิงไลท่ ่ิมแทงชาวบา้ น โดยเฉพาะเดก็ และผหู้ ญิงไมว่ ่าสาวหรือแก่ พฤติกรรมของชูชกผีสร้างเสียง หวั เราะ รอยย้มิ ความตลกขบขนั และมติ รภาพให้กับคนท่มี าร่วมงาน นอกจากนยี้ ังพบการแสดงบทบาททางเพศ ในพธิ ีการป้ันโคลนขอฝน ที่มกี ารนาดินเหนยี วมาปั้นเป็นรปู หญงิ ชายกาลังมีเพศสัมพันธ์กัน แล้วนาไปวางไว้ในท่ี สาธารณะเพอื่ ขอฝน ตามความเชอ่ื วา่ เม่ือเทวดาเห็นความอจุ าดตานีเ้ ขา้ จะบันดาลใหฝ้ นตกมาล้างความอจุ าดของ คน พิธีกรรมนี้จึงเป็นการแสดงออกถึงการระบายความกดดันในใจอันเกิดจากกฎเกณฑ์ในสังคม กล่าวคือ เรื่อง เพศเป็นส่ิงที่คนในสังคมไทยถือว่าเป็นเรื่องที่ควรปกปิด ห้ามแสดงออกต่อหน้าสาธารณชน ถ้าหากมีการปฏิบัติ หรอื มพี ฤตกิ รรมทส่ี ือ่ ไปทางเพศอย่างโจ่งแจ้ง ต่อหน้าสาธารณชน ก็จะถูกสังคมประณามเพราะสังคมมองว่าเป็น เร่ืองผิด เป็นที่อุจาด ดังที่ ศิราพร ณ ถลาง (2557) กล่าวว่า สังคมไทยมีข้อห้ามที่เคร่งครัดมากเกี่ยวกับการพูด เรื่องเพศ หรอื การแสดงออกทางเพศในทส่ี าธารณะ การได้ระบายออกในลกั ษณะน้ีจงึ ถอื วา่ เป็นชอ่ งทางให้สมาชิก ในสงั คมได้แหวกกรอบและกฎเกณฑ์ทางสังคมไดบ้ ้างซึง่ จะช่วยทาให้คนเรามสี ขุ ภาพจติ ดีขึ้น สรุปไดว้ า่ มรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมทีพ่ บในตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ปรากฏให้เหน็ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดยแสดงผ่านความเช่ือ พิธีกรรม หรือภูมิปัญญาในลักษณะอ่ืน ๆ และความหลากหลายทางวัฒนธรรมน้ีเอง ที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่า คือ บทบาทหน้าที่ในการช่วยรักษาความ เข้มแข็งทางวัฒนธรรมและความมนั่ คงใหแ้ กค่ นในชุมชน และอตั ลักษณข์ องตาบลได้อย่างชัดเจน กล่าวคือ คนใน 340

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 ตาบลหนองกะท้าวประกอบไปดว้ ยคนทอี่ พยพมาจากถิ่นอ่ืน แล้วมาต้ังถ่ินฐานอยู่บริเวณหมู่บ้านต่าง ๆ ในตาบล เช่น คนไทยเชอื้ สายลาว คนกลุ่มน้สี ่วนใหญอ่ พยพมาจากจงั หวดั เลย เมื่อยา้ ยถ่ินมาอยใู่ นตาบลหนองกะท้าว พวก เขาก็นาเอาเรื่องเล่า แนวปฏิบัติ ความเชื่อ พิธีกรรมดั้งเดิมติดมาด้วย คนไทยดั้งเดิมที่อยู่ในตาบลหนองกะท้าว ก็มีความเช่ือ พิธีกรรม ท่ีเป็นอัตลักษณ์และแนวปฏิบัติของพวกเขาชัดเจน คนสองกลุ่มนี้มีการปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกัน และกัน โดยผ่านพิธีกรรม เทศกาล และความเชื่ออ่ืน ๆ ที่สร้างข้ึนใหม่ร่วมกัน จึงกลายเป็นอัตลักษณ์วัฒนธรรม ของพ้ืนท่ี ช่วยสร้างความสมานสามคั คี ทาให้คนอยรู่ ่วมกันอยา่ งมีสงบสุข สรปุ ผลและอภิปรายผล จากการวิเคราะห์บทบาทหนา้ ทขี่ องมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรมในการสร้างอัตลักษณ์ชุมชนตาบล หนองกะท้าว สรุปได้ว่ามรดกวัฒนธรรมซ่ึงประกอบไปด้วยวรรณกรรมพื้นบ้าน ศิลปะการแสดง แนวปฏิบัติทาง สังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ความรแู้ ละการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล งานช่างฝีมือดั้งเดิม และกีฬาภมู ิปัญญานั้น มบี ทบาทหนา้ ท่ี ดังนี้ 1. บทบาทหน้าที่ในการอธิบายกาเนิด และอัตลักษณ์ของกลุ่มชนและพิธีกรรม ผ่านมรดกภูมิปัญญา วัฒนธรรม คอื 1.1 ตานานกบั การอธิบายกาเนดิ และอัตลกั ษณ์ของกลมุ่ คนหนองกะท้าวและสถานภาพของคนในสังคม 1.2 ตานานกับการอธิบายพธิ กี รรม 2. บทบาทหน้าท่ีในการให้การศึกษาอบรมระเบียบสังคมและรักษามาตรฐานพฤติกรรมของสังคม มรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมมีบทบาทหน้าที่ คือ 2.1 บทบาทหนา้ ท่ีในการถา่ ยทอดเรอ่ื งราวเกีย่ วกับท้องถ่นิ ตาบลหนองกะทา้ ว 2.2 บทบาทหน้าท่ีในการใหค้ วามรแู้ ละเสริมสรา้ งปญั ญาผา่ นนิทานพน้ื บ้าน 2.3 บทบาทหนา้ ท่ีในการอบรมระเบียบสังคมปลูกฝังค่านิยมและรักษาบรรทัดฐานทางพฤติกรรม ใหส้ ังคมผา่ นการละเลน่ และบทเพลงพนื้ บา้ น 3. บทบาทหน้าที่ในการเป็นทางออกให้กับความคับข้องใจของบุคคลอันเกิดจากกฎเกณฑ์ทางสังคม ผ่านมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม คือ 3.1 นิทานมหศั จรรยก์ ับการเปน็ ทางออกใหก้ บั ความร้สู ึกขดั แยง้ ในครอบครัวปรากฏผา่ นนทิ านพน้ื บ้าน 3.2 คตชิ นกับการเป็นทางระบายความกดดนั ในใจอนั เกดิ จากกฎเกณฑ์ในสังคมปรากฏผ่านนิทาน บ้านและพิธกี รรม หรือส่วนประกอบในการจดั พิธกี รรม จากผลการวจิ ัยสามารถนามาอภิปรายผลได้วา่ มรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมดงั กลา่ ว ปรากฏให้เห็น ความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดยแสดงผ่านความเชอื่ พิธกี รรม หรือภูมิปัญญาในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งช่วยรักษา ความเข้มแข็งทางวัฒนธรรมและสร้างความมั่นคง สามัคคีให้แก่คนในชุมชน ซึ่งมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ ให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์และดารงอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขบนพ้ืนฐานของวัฒนธรรมด้ังเดิมของแต่ละกลุ่มชน สอดคลอ้ งกับทฤษฎีบทบาทหน้าที่ (Functionalism) ตามแนวคิดของรัตนา จันทร์เทาว์ (2559) ที่ศึกษาทฤษฎี บทบาทหน้าท่ีจากประเพณีการแข่งเรือยาว และได้ข้อสรุปว่าทฤษฎีดังกล่าวนามาวิเคราะห์ข้อมูลประเภท ประเพณีได้ โดยเห็นว่าประเพณีพิธีกรรมมีความสาคัญยิ่งในการสร้างความม่ันใจและให้กาลังใจแก่คนในสังคม 341

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ่ี 11 ฉบับที่ 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 นอกจากนี้ประเพณียังเป็นส่วนสาคัญในวัฒนธรรมท่ีใช้สร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มชนด้วย ซ่ึงสอดคล้องกับ ผลการวิจัยของเปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ (2560) ท่ีใช้ทฤษฎีบทบาทหน้าท่ีในการอธิบายอัตลักษณ์ของภูกามยาว ตามรูปลกั ษณ์ ความเชื่อ และภูมปิ ญั ญา จากผลการวิจยั พบว่ารูปลักษณ์ ความเช่ือ และภูมิปัญญาของภูกามยาว มบี ทบาทหน้าท่ีในการอธบิ ายอัตลกั ษณ์ ดงั น้ี 1) สรา้ งความรู้และความภาคภูมิใจให้แก่คนในชุมชนหรือชาติพันธุ์ เดียวกัน 2) เป็นภาพลักษณ์แห่งความเจริญทางศิลปวัฒนธรรมชุมชน 3) เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน 4) เป็นท่พี ่งึ ทางใจและเป็นเครื่องมือในการควบคมุ พฤติกรรมคนในชมุ ชน 5) เปน็ เครื่องมือในการแสดงตัวตนและ ความเป็นเจ้าของพนื้ ท่ี และ 6) เป็นปจั จัยสาคญั ทท่ี าใหเ้ กดิ ธุรกจิ ท่องเที่ยว อันเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน และผลการวิจัยของศิราพร ณ ถลาง และสุพิน ฤทธิ์เพ็ญ (2559) ท่ีศึกษางานปอยไทใหญ่ : การแสดงอัตลักษณ์ ของชาวไทใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่ากรณีของชาวไทใหญ่ที่เข้ามาอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ เม่ือหลุดลอยจาก มาตุภูมิ เข้ามาอยู่ในจงั หวดั เชียงใหม่ ก็มคี วามพยายามทจ่ี ะสืบทอดวฒั นธรรมประเพณีเช่นท่ีเคยปฏิบัติในรัฐฉาน ในพนื้ ท่ใี หม่ เมอ่ื วเิ คราะห์อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวไทใหญพ่ บมติ ิการสืบทอดอัตลักษณท์ างวัฒนธรรมตาม ประเพณีของชาวไทยใหญ่ มติ กิ ารยอมรับวัฒนธรรมเจ้าของพื้นที่ คือ วัฒนธรรม ไทยวนและวัฒนธรรมราชการ ของรัฐไทย เข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมไทใหญ่ในบางเรื่อง บางสถานการณ์ และมิติของการผสมผสาน กลมกลืนทางสังคม (cultural assimilation) และวกุล มิตรพระพันธ์ (2559) ทาวิจัยเร่ืองทานมหาปาง : พิธีกรรมบอกตัวตนของคนพลัดถิ่นชาวไทล้ือ เมืองยอง ผลการวิจัยพบว่า ชาวไทลื้อ เมืองยองได้ถูกตัดขาดจาก มาตภุ มู ิทางพื้นท่ี แต่ชว่ งเวลาในการปฏบิ ตั พิ ธิ กี รรมไดค้ ืนมาตุภมู ิทางวฒั นธรรมมาให้ชว่ั ขณะ ชาวไทล้ือ เมอื งยอง พยายามธารงรักษารปู แบบวัฒนธรรมเดิมไวใ้ นชวี ิตจรงิ เพราะวัฒนธรรมคือบ้านหลังสุดท้ายและหลังเดียวท่ีกลุ่ม คนพลัดถิ่นสามารถนาติดตัวข้ามแดนมาด้วยได้ และการปรับตัวเพ่ือเอาตัวรอดในแผ่นดินใหม่ ส่ิงเดียวที่พอจะ เชอ่ื มตอ่ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคนพลัดถ่นิ กับพื้นท่ใี หมไ่ ดค้ อื พุทธศาสนา การแสดงตัวตนผ่านพิธีกรรมทางศาสนา จงึ เปน็ ทางออกของการปรบั ตัวเพ่อื อยูร่ อด ตอบโจทย์ในการรกั ษาตวั ตนเดมิ ของกลุ่มชาติพนั ธุ์ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของตาบลหนองกะท้าว มีการปฏิบัติสืบทอดกันต่อ ๆ มาต้ังแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน และมีความสัมพันธ์กับการดาเนินชีวิตของชาวหนองกะท้าว กล่าวคือ ด้านวรรณกรรมพ้ืนบ้าน แสดงประวัติศาสตร์ ความเป็นมา การอพยพยา้ ยถ่ิน การต้ังหลกั ปกั ฐานของคนในอดตี อนั เปน็ รากฐานของชุมชน ในปัจจุบัน ด้านศิลปะการแสดง คือ หมอลาเร่ืองต่อกลอนเป็นศิลปะการแสดงที่พบในอดีต เป็นการแสดงเพื่อ สร้างความผ่อนคลายในชุมชน ด้านแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณีและเทศกาล เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้คนเกิดความรักและผูกพันกับท้องถ่ิน อีกทั้งยังเป็นแนวปฏิบัติร่วมกันของคนที่อาศัยอยู่ในตาบล ท่ีถึงแมว้ า่ จะอพยพหรือยา้ ยถน่ิ มาจากภมู ภิ าคใดก็ตาม ก่อให้เกดิ เป็นอตั ลกั ษณ์ของชุมชน เช่น พิธีกรรม หรืองาน เทศกาล ตา่ ง ๆ ทัง้ นี้พิธีกรรม ประเพณีและเทศกาลท่ีปรากฏในตาบลหนองกะท้าว มีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกับ พระพทุ ธศาสนาท้งั สน้ิ เช่น การเลยี้ งปู่ถึงแม้จะเป็นความเชื่อเก่ียวกับผีหรือส่ิงล้ีลับ แต่ก่อนจะทาพิธีกรรมบูชาปู่ ดงั กลา่ ว จะตอ้ งทาบุญโดยให้พระสงฆ์เป็นผู้ประกอบพิธีก่อนเสมอ ด้านความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล ประกอบด้วย ความเชื่อ โหราศาสตร์ การแพทย์พ้ืนบ้าน และอาหารพื้นถ่ิน พบว่าผู้คนท่ีอพยพมา จากต่างพื้นที่กัน มีความเชื่อแตกต่างกัน และมีลักษณะการทานายทางโหราศาสตร์ที่แตกต่างกันด้วย รวมถึง ลักษณะอาหารก็มีความแตกต่างกัน เช่น การกินข้าวเจ้าในกลุ่มคนนครไทยพ้ืนเมือง และการกินข้าวเหนียวใน 342

Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 11 ฉบับที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธนั วาคม 2561 กลุ่มคนที่อพยพย้ายถ่ินฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นั่นหมายความว่าผู้คนท่ีอพยพมาจากต่างถ่ิน พวกเขาได้นาเอาวิถีชีวิต ความเช่ือ วัฒนธรรมด้ังเดิมมายึดถือปฏิบัติด้วย ด้านงานช่างฝีมือด้ังเดิม ท่ีพบคือ งาน จักสาน เป็นการจักสานส่ิงของเคร่ืองใช้ในครัวเรือน และงานฝีมือพ้ืนถิ่นท่ีต้องใช้ความประณีต ละเอียดลออใน การประดิษฐ์สร้าง และด้านกีฬาภูมิปัญญา ปรากฏเพียงการละเล่นพ้ืนบ้านเป็นการละเล่นเพ่ือผ่อนคลาย นิยม เล่นในงานเทศกาลโดยเฉพาะเทศกาลสงกรานต์ แต่ในปัจจุบันไม่ค่อยนิยมเล่นแล้ว สิ่งเหล่าน้ีถูกบันทึกเป็น ลายลักษณท์ ีป่ รากฏในงานวิจยั ผา่ นการสงั เกต การลงพืน้ ทภ่ี าคสนาม และการสมั ภาษณโ์ ดยใชเ้ ร่ืองเลา่ จากความ ทรงจาเป็นส่ือกลาง ทาใหไ้ ด้ข้อค้นพบวา่ เรอื่ งเล่าเปน็ ส่ิงสาคัญในการบันทกึ ความทรงจาในอดตี หรือเรียกอกี อยา่ ง หนึ่งว่าประวัติศาสตร์บอกเล่า (Oral history) สามารถสร้างคุณค่าให้เกิดอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชนได้ สอดคล้องกับแนวคิดของสรณัฐ ไตลังคะ (2560) ท่ีกล่าวถึงความสัมพันธ์ของเรื่องเล่ากับการสร้างอัตลักษณ์ว่า ปจั จุบนั มีการให้ความสาคัญกับการเร่ืองเล่ามากยิ่งขึ้นในทุกวงการ เร่ืองเล่าอาจใช้เพื่อสร้างอัตลักษณ์ชุมชนและ เผ่าพันธ์ุ เพือ่ บันทึกความทรงจาและสรา้ งตวั ตนของปจั เจกบุคคล เรื่องเล่าจงึ ไมใ่ ชเ่ รื่องเลน่ เพราะมันเป็นส่วนท่ีมี ความสาคญั ต่อชวี ิตมนษุ ย์ในทกุ วัฒนธรรม ดังนั้นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของตาบลหนองกะท้าว อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก จึง สะท้อนความหลากหลายทางดา้ นภูมิปญั ญาและวัฒนธรรม เนื่องจากประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่มีการอพยพมา จากหลายพ้ืนที่ กลุ่มคนเหล่านี้ได้มีการนาความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมดั้งเดิมของพวกเขามายึดถือปฏิบัติ ด้วย ในส่วนของคนนครไทยดั้งเดิมก็มีความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมท่ียึดถือปฏิบัติมาแต่อดีต เมื่อคนจาก หลากหลายวัฒนธรรมมารวมอยู่ในพ้ืนท่ีเดียวกัน พวกเขาจึงมีการสร้างแนวปฏิบัติร่วมกันโดยผ่านประเพณี พิธีกรรมบางอย่าง ซ่ึงประเพณีหรือพิธีกรรมเหล่าน้ีอาจจะถูกสร้างขึ้นใหม่ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือประยุกต์ ข้ึนมาให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ที่อยู่ร่วมกัน หรือท่ีเรียกว่า “พลวัตทางวัฒนธรรม” (Cultural Dynamic) มรดกทางวัฒนธรรมจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตาบลหนองกะท้าว ที่ช่วยประสาน สามัคคใี หค้ นท่ีมีความแตกตา่ งและความหลากหลายทางวฒั นธรรม สามารถอยรู่ ่วมกนั ได้อย่างสงบสุข 343

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Silpakorn University ปที ี่ 11 ฉบบั ที่ 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม 2561 ISSN 1906 - 3431 เอกสารอ้างอิง ภาษาไทย กฤษณา ชาญณรงค์ และบารนี บุญทรง. (2555). “กวีนิพนธ์พื้นบ้านในตาบลท้ายดง อาเภอวังโป่ง จังหวัด เพชรบรู ณ.์ ” สกั ทอง : วารสารการวจิ ัย. 18, 1 : 127-142. คณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. (2560). การกาหนดลักษณะของมรดก ภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม พ.ศ.2560. [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก: http://ich.culture.go.th/images/stories/ich-pdf/160.pdf . วันที่เขา้ ถึง 1 มีนาคม 2560. จารวุ รรณ ธรรมวตั ร. (2559). แนวทางการวิจยั เพอ่ื การสร้างสรรค์ทุนวัฒนธรรมชุมชนนครสวรรค์ ใน แนวคิด การวิจัยประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชนลุ่มน้าเจ้าพระยา. สุชาติ แสงทอง (บรรณาธิการ). นครสวรรค:์ รมิ ปิงการพิมพ.์ ปฐม หงษ์สุวรรณ. (2556). นานมาแล้ว มีเร่ืองเล่า นิทาน ตานาน ชีวิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์. (2560). “อัตลักษณ์ภูกามยาว : รูปลักษณ์ ความเชื่อ และภูมิปัญญา.” Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10, 3(กันยายน – ธันวาคม 2560): 868-886. รัตนา จันทร์เทาว์. (2559). “พลวัตของบทบาทหน้าท่ีประเพณีการแข่งเรือยาวในภาคอีสาน.” วารสาร มนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 33,3(กันยายน-ธนั วาคม 2559) : 115-134. วกุล มิตรพระพันธ์ (2559). ทานมหาปาง : พิธีกรรมบอกตัวตนของคนไทล้ือพลัดถิ่น หมู่บ้านร่มโพธิ์ทอง ตาบลท่าก๊อ อาเภอสรวย จังหวัดเชียงราย ใน มองคติชนเห็นตัวตนชาติพันธุ์. ศิราพร ณ ถลาง (บรรณาธกิ าร). กรงุ เทพฯ: ศูนยม์ านุษยวิทยาสริ นิ ทร. ส ร ณั ฐ ไ ต ลั ง ค ะ . ( 2560) . ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ศิ ล ป์ แ ห่ ง ก า ร เ ล่ า เ ร่ื อ ง . พิ ม พ์ ค ร้ั ง ท่ี 3. ก รุ ง เ ท พ ฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. สุชาติ แสงทอง. (2560). นครสวรรคศ์ ึกษา :บันทึกเรื่องราวคนจนี ปากนา้ โพธิ์. นครสวรรค์: รมิ ปงิ การพมิ พ.์ ศริ าพร ณ ถลาง. (2557). ทฤษฎคี ติชนวทิ ยา วิธวี ทิ ยาในการวิเคราะหต์ านาน -นิทานพ้ืนบ้าน.พิมพ์ครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ศิราพร ณ ถลาง และสุพิน ฤทธ์ิเพ็ญ. (2559). งานปอยไทใหญ่ ‘เวที’ แห่งการแสดงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของ ชาวไทใหญ่ในจังหวัดเชยี งใหม่ ใน มองคติชนเห็นตัวตนชาติพันธ์ุ. ศิราพร ณ ถลาง (บรรณาธิการ). กรงุ เทพฯ: ศูนย์มานษุ ยวิทยาสิรนิ ทร. ภาษาต่างประเทศ William R. Bascom. (1965). Four Function of Folklore. The Study of Folklore. Ed. Alan Dundes (Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall, Inc., 1965), pp.279 – 298. 344