Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัปดาห์ที่ 1

สัปดาห์ที่ 1

Published by ch.aunchalee, 2020-12-02 03:46:11

Description: สัปดาห์ที่ 1

Search

Read the Text Version

1 แผนการสอน/แผนการเรยี นรู้ภาคทฤษฏี หนว่ ยที่ 1 แผนการสอน/การเรียนรูภ้ าคทฤษฎี สอนสัปดาห์ท่ี 1 คาบรวม 3 ช่อื วชิ า อินเทอร์เนต็ เพอ่ื งานธรุ กจิ จานวนคาบ 3 ช่อื หนว่ ย สงั คมออนไลน์ (Social Network) ชอ่ื เรื่อง. สงั คมออนไลน์ (Social Network) ข้ันนาเข้าส่บู ทเรียน (15 นาที) สมรรถนะอาชพี ประจาหนว่ ย สงั คมออนไลน์ (Social Network) สาระสาคญั Social Network หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ คือการท่ีมนุษย์สามารถเชื่อมโยงถึงกันทาความรู้จักกัน สื่อสารถึงกันได้ ผ่านทางระบบอนิ เทอร์เน็ตในรูปแบบการใหบ้ ริการผ่านเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงระหว่างบุคคลต่อบุคคล ไปจนถึงบุคคลกับกลุ่มบุคคลไว้ด้วยกันน่ันเอง โดยเว็บไซต์เหล่านี้จะมีพ้ืนท่ีให้ผู้คนเข้ามารู้จักกัน มีการให้พื้นที่ บริการ เคร่ืองมือต่างๆ เพ่ืออานวยความสะดวกในการสร้างเครือข่าย สร้างเน้ือหาตามความสนใจของผู้ใช้ จน กลายเป็นชุมชนท่ีทาให้ผู้ใช้สามารถแชร์ข้อมูล ตัวตน และทุกๆ สิ่งท่ีสนใจ เชื่อมโยงเข้ากับคนในเน็ตเวิร์กด้วย วิธกี ารต่างๆ เรือ่ งที่จะศกึ ษา 1. ความหมายเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ 2. ประเภทเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ 3. ประโยชน์เครือข่ายสงั คมออนไลน์ 4. แนวโน้มการใช้สื่อเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ 5. เว็บไซตท์ ีใ่ หบ้ รกิ ารเครือข่ายสังคมออนไลน์ 6. ภัยจากการใช้เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ จุดประสงคท์ ่ัวไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกบั ความหมายเครือข่ายสังคมออนไลน์ (ดา้ นความร้)ู 2. เพื่อใหม้ ที ักษะในดา้ นสงั คมออนไลน์ (ดา้ นทักษะ) 3. เพือ่ ใหเ้ ห็นคณุ ค่าของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (ด้านเจตคติ) 4. เพอ่ื มจี ติ สานึกทด่ี เี กย่ี วกบั สังคมออนไลน์ (ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ (ดา้ นความรู้ความจา) 2. ยกตัวอยา่ งประโยชนเ์ ครือขา่ ยสังคมออนไลน์ได้ (ด้านความเข้าใจ) 3. จาแนกประเภทเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ได้ (ด้านจติ พสิ ยั ) 4. ตดิ ตามแนวโนม้ การใช้สื่อเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ได้ (ดา้ นจิตพิสยั ) 5. สัมผสั เว็บไซตท์ ี่ใหบ้ ริการเครือข่ายสังคมออนไลนไ์ ด้ (ด้านทักษะ)

2 6. สังเกตภัยจากการใชเ้ ครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ได้ (ดา้ นทกั ษะ) 7. มีความรอบรู้ ระมัดระวังเก่ียวกับสังคมออนไลน์ได้ (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ พอเพียง) ข้นั ใหค้ วามรู้ (75 นาที) + ข้นั ประยุกต์ใช้ (60 นาท)ี เน้ือหาสาระการสอน/การเรียนรู้ ความหมายเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) มักปรากฏให้เห็นในลักษณะของการนามาใช้เพื่อดาเนินงาน หรือกิจกรรมต่างๆ โดยมีตัวบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ ร่วมกันเป็นเครือข่ายเพ่ือให้สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน แลกเปลยี่ นแบ่งปนั ทรัพยากร ข้อมูลขา่ วสาร ฯลฯ แต่ปัจจุบันคาวา่ (Social Network) จะหมายถึงระบบเครือขา่ ย บนโลกออนไลน์ หรือการติดต่อส่ือสารถึงกันผ่านอินเทอร์เน็ตน่ังเอง Wikipedia (2009) ให้ความหมาย (Social Network) ว่าเป็นโครงสร้างสังคมที่ประกอบด้วยโหนด (Node) ต่างๆ เชื่อมต่อกัน ซึ่งแต่ละโหนดท่ีเช่ือมโยงกันก็ อาจมคี วามสมั พนั ธก์ ับโหนดอ่นื ๆ ด้วย โดยอาจมีระดบั ของความสมั พนั ธก์ นั มีความซบั ซอ้ นมเี ปา้ หมาย เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) จึงหมายถึงการท่ีมนุษย์สามารถเช่ือมโยงถึงกัน ทาความรู้จัก กัน ส่ือสารถึงกันได้ ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบการให้บริการผ่านเว็บไซต์ท่ีเชื่อมโยงระหว่างบุคคลต่อ บุคคล ไปจนถึงบุคคลกับกลุ่มบุคคล ไว้ด้วยกันน่ันเองโดยเว็บไซต์เหล่านี้จะมีพ้ืนท่ีให้ผู้คนเข้ามารู้จักกัน มีการให้ พ้ืนท่ีบริการเครื่องมือต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวกในการสร้างเครือข่าย สร้างเน้ือหาตามความสนใจของผู้ใช้ รวมทั้งการเชื่อมโยงบริการทางอินเทอร์เน็ตท่ีผู้ใช้คุ้นเคย เช่น e-mail, messenger, weblog หรือ web board blog เขา้ ไว้ด้วยกัน จนกลายเป็นชมุ ชนท่ที าใหผ้ ู้ใช้สามารถแชรข์ ้อมูลตวั ตนและทุกๆ สิง่ ที่สนใจ เช่ือมโยงเข้ากบั คน ในเน็ตเวิรก์ ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ ซ่ึงเมื่อเกิดความสนใจก็ทาการเชื่อมต่อกลับ ซึ่งนอกจากติดต่อกับเพ่ือนโดยตรงแล้วยัง สามารถทาการตดิ ตอ่ กับเพ่ือนของเพ่ือนนน้ั ได้อีกด้วยดังภาพ ประเภทเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ บรกิ ารทมี่ ลี กั ษณะ Social Network สามารถแบง่ เป็นประเภท ได้ 6 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Identity Network) เว็บไซต์เหล่านี้ใช้สาหรับนาเสนอตัวตน และเผยแพร่ เรื่องราวของตนเองทางอินเทอร์เน็ตสามารถเขียน blog สร้างอัลบ้ัมรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพ่ือนและสร้าง เครือขา่ ยข้นึ มาได้ ตวั อย่างเชน่ Facebook, hi 5, MySpace 2. ประเภทเผยแพร่ผลงาน (Creative Network) เราสามารถใช้เว็บไซต์เหล่าน้ีในการนาเสนอผลงาน ของตัวเองได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงเพลงสาหรบั ช่างภาพคนไทยหลายคนก็มักจะนิยม ใช้ Multiply ในการนาเสนอผลงานภาพถ่ายของตัวเอง มกี ารแลกเปล่ียนความคิดเห็น ติชมรูปภาพ และยงั ใชเ้ ป็น อัลบ้ัมภาพออนไลนเ์ พ่ือให้คนท่ีกาลังหาชา่ งภาพอยสู่ ามารถเข้ามาดูผลงาน และตดิ ต่อจา้ งช่างภาพน้ันๆ ได้โดยตรง ซึ่งเร่ิมกลายเป็นรูปแบบของธุรกิจบ้างแล้ว ตัวอย่างเช่น YouTube, Yahoo VDO, GoogleVDO, Flickr, Multiply 3. ประเภทความสนใจตรงกัน (Interested Network) มีลักษณะของเว็บไซต์ท่ีมีการรวมกันของสมาชิก ซงึ่ มีความสนใจที่ตรงกนั หรือสนใจในเรอ่ื งเดียวกัน ตัวอยา่ งเชน่  del.icio.us เป็น Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดท่ีว่าแทนท่ี เราจะ Bookmark เว็บที่เราชอบเก็บไว้ในเคร่ืองของเราคนเดียว ก็เปล่ียนรูปแบบให้สามารถแบ่งให้ผู้อ่ืนดูได้ด้วย และสามารถรู้ได้ด้วยว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก เป็นทีน่ ่าสนใจ โดยดูได้จากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์นั้นถูก

3 Bookmark เอาไวจ้ ากสมาชกิ คนอน่ื ๆนนั่ เอง  Digg คล้ายกบั del.icio.us แตจ่ ะให้ลงคะแนนโหวตแตล่ ะเวบ็ ทถี่ ูกยกมานาเสนอและมีการคอม เมนต์ ในแตล่ ะเรอ่ื งนั้นดว้ ย  สาหรับ Zickr ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยคนไทย เป็นเว็บลักษณะเดียวกับ Digg แต่เป็นภาษาไทย บรกิ ารเพอ่ื คนไทย  อกี เวบ็ หน่งึ คือ duocore.tv สมาชกิ สามารถให้คะแนนเรื่องเกีย่ วกบั ไอทที ่ีช่ืนชอบได้มจี ดุ เด่นคือ การนาเสนอรายการ Online TV โดยสองพธิ กี รอารมณ์ดีท่ีจัดรายการกนั แบบ Home VDO 4. ประเภทร่วมกันทางาน (Collaboration Network) มีลักษณะของเว็บไซต์ท่ีมีการทางานร่วมกัน หรือมีการใชข้ ้อมลู รว่ มกนั ในเรื่องเดยี วกัน ตัวอยา่ งเชน่  Wikipedia เป็นสารานกุ รมท่ีอนุญาตให้ใครก็ไดเ้ ขา้ มาช่วยกนั เขียน และแก้ไขบทความต่างๆ ได้ ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรมออนไลน์ขนาดใหญท่ ่รี วบรวมความรู้ ข่าวสารและเหตุการณ์ตา่ งๆ ไวม้ ากมาย  Google Maps ปัจจุบันสร้างแผนท่ีของตัวเอง หรือแชร์แผนที่ให้คนอ่ืนได้ จึงทาให้มีสถานที่ สาคัญหรือสถานท่ีต่างๆ ถูกปักหมุดเอาไว้ พร้อมกับข้อมูลของสถานที่น้ันๆ ไว้ พร้อมท้ังแสดงผลจากการค้นหาได้ อีกดว้ ย 5. ประเภทPeer to Peer (P2P) P2P เป็นการเชื่อมต่อกันระหว่าง Client (เครื่องผู้ใช้, เครื่องลูกข่าย) กับ Client โดยตรง โปรแกรม Skype จึงได้นาหลักการน้ีมาใช้เป็นโปรแกรมสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต และก็มี BitTorrent เกิดข้นึ มาเป็นเทคโนโลยที ่ที าให้เกดิ การแบ่งปนั ไฟล์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว 6. ประเภทโลกเสมือน (Gaming/Virtual Reality) โลกเสมือนในท่ีนี้ คือเกมส์ออนไลน์ ตัวอย่างเช่น SecondLife เป็นโลกเสมือนจริง สามารถสร้างตัวละครโดยสมมติให้เป็นตัวเราเองขึ้นมาได้ มีการใช้ชีวิตอยู่ใน เกมส์ อยใู่ นชมุ ชนเสมือน (Virtual Community) สามารถซอื้ ขายที่ดนิ และหารายไดจ้ ากการทากจิ กรรมตา่ งๆ ได้ ประโยชน์เครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ 1. ปริมาณเป็นส่ิงสาคัญ ปริมาณกับคุณภาพมักถูกนามาใช้ในการวัดผลลัพธ์ความสาเร็จของธุรกิจและ เรื่องอ่ืนๆ เช่น ธุรกิจท่ีมีลูกค้าเป็นจานวนมากก็ย่อมประสบความสาเร็จได้มากกว่าธุรกิจท่ีมีลูกค้าจานวนน้อยกว่า หรือเว็บไซต์ท่ีมีสมาชิกมากหรือผู้เข้าชมมากย่อมง่ายต่อความสาเร็จ ในการสร้างชุมชนออนไลน์บนเว็บไซต์ของ ตนเอง ดังน้ัน เวบ็ ไซต์ Social Media มักจะประกาศจานวนของสมาชิกเสมอว่ามีมากน้อยแค่ไหนตลอดเวลา หรือ ธุรกิจที่ใช้เว็บไซต์ Social Media เพื่อการตลาดก็ต้องการสมาชิกหรือผู้ที่ช่ืนชมแบรนด์ของตัวเองเป็นจานวนมาก เชน่ กัน 2. ข้อความคือส่ือกลาง ข้อความได้กลายเป็นส่ือเดียวท่ีอยู่ในสื่อออนไลน์ทุกประเภทข้อความจะถูกผูก ติดเข้ากับสอ่ื อื่นๆ ไม่ว่าจะเปน็ รูปภาพ วีดีโอ เป็นตน้ ปัจจยั สาคัญอย่างหนึ่งที่ข้อความยงั มีความสาคญั อยู่ก็เพราะ การค้นหาท่ีง่ายอยู่ และเรายังไม่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยพอที่จะค้นหาคาได้จากไฟล์รูปภาพหรือไฟล์เสียงได้ ดังนั้น ข้อความที่แนบมากับส่ือเหล่านั้นจึงมีสาคัญเป็นอย่างมาก นักการตลาดจะต้องให้ความสาคัญกับการเขียนอธิบาย ประกอบสื่อหรือการกาหนดคาที่เป็น Tag ด้วยเช่นกัน มิฉะน้ัน ส่ือของคุณจะไม่ถูกค้นพบและไม่ได้รับความสนใจ ในทส่ี ดุ 3. ผู้เช่ียวชาญยังมีความสาคัญอยู่ การตลาดส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media Marketing)อาจจะดู เหมือนว่างา่ ย แต่ในความเป็นจริงแล้ว การตลาดส่ือสังคมออนไลน์ก็ไม่ได้ง่ายซะทีเดียว นักการตลาดออนไลน์ที่อยู่ ในสังคมออนไลน์ตลอดเวลา ศึกษาแนวโน้มใหม่ๆ รจู้ ักผู้เชีย่ วชาญสังคมออนไลน์ต่างๆ และมีผู้ติดตามจานวนมาก ย่อมมีความได้เปรียบท่ีจะเป็นผู้เชี่ยวชาญและสามารถนาการตลาดส่ือสังคมออนไลน์ให้ประสบความสาเร็จได้

4 ดังน้ันถ้าเจ้าหน้าที่การตลาดของคุณไม่มีความเช่ียวชาญในสื่อออนไลน์และส่ือสังคมออนไลน์แล้วคุณจะต้องมอง หาทางเลอื กในการจา้ งผู้เชี่ยวชาญมาเปน็ ทป่ี รกึ ษาให้กับคุณดว้ ย 4. Social media เป็นสื่อใหม่ บางคนอาจจะคิดว่า Social Media เป็นเพียงการแปลงสื่อเดิมให้อยู่ใน รูปแบบของดิจิทัลเท่านั้น แต่จริงๆ แล้ว มันไม่ใช่อย่างน้ันเพียงอย่างเดียว มันเป็นส่ือที่คุณสามารถเผยแพร่ให้กับ คนอื่นๆ ได้ง่ายขึ้น สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้ สามารถให้เรตตงิ้ ได้ เป็นตน้ การตลาดเดิมด้วย 4P ดว้ ย สื่อเดิมก็ยังคงมีอยู่ แต่คุณจะต้องศึกษากับสื่อใหม่อย่าง Social Media ท่ีแตกแขนงย่อยออกไปเป็นจานวนมาก เชน่ การตลาด Hashtags หรือ การตลาด Check-ins เปน็ ต้น 5. จ้างบริษัทเอาต์ซอร์ส เพื่อการตลาดสังคมออนไลน์ การจ้างบริษัทเอาต์ซอร์สหรือบริษัทภายนอกมา ชว่ ยบริหารการตลาดสังคมออนไลน์ของบริษทั ถกู ตั้งเปน็ คาถามมาโดยตลอดว่าจาเปน็ รึเปลา่ ? ถ้าเจ้าหน้าที่ของคุณ สามารถดูแลเว็บไซต์สังคมออนไลน์ของบริษัทได้ตลอดเวลาและมีทกั ษะในการโต้ตอบกับเพื่อนในสังคมออนไลน์ได้ เป็นอย่างดีแล้ว คุณก็ไม่จาเป็นที่จะต้องจ้างบริษัทภายนอกก็ได้ แต่อย่าลืมด้วยนะครับว่า บริษัทจะต้องกาหนด เป้าหมายและหน้าท่ีท่ีชัดเจน มิฉะน้ันแล้วบริษัทก็ไม่สามารถท่ีจะวัดผลลัพธ์ความสาเร็จของการตลาดสื่อสังคม ออนไลนแ์ ละประสทิ ธภิ าพของเจา้ หนา้ ที่ได้ แนวโน้มการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ 1. พฤติกรรมผู้บริโภค ต่อเว็บไซต์ Social Network ปี 2010 และแนวโน้มในปีถัดไป โอกาสที่จะเห็น เว็บไซต์ไทยใหญ่ๆ เกิดขึ้นมาคงจะเป็นเร่ืองที่เห็นกันได้น้อย เพราะปัจจัยสนับสนุนต่างๆ เช่น เว็บไซต์ท่ีเริ่มมีการ เปล่ียนรูปแบบจาก portal ไปสู่รูปแบบที่เป็น Social กันมากข้ึน ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตท่ัวไปกลายเป็นเจ้าของเว็บ (Blog) กันมากขึ้น ทาให้การเข้าถึงหรือการสร้างเว็บไซต์ขนาดใหญ่จะมีให้เห็นกันน้อยลง โดยเฉพาะ ในเมืองไทย อีกท้ังรูปแบบการเข้ามาของเว็บไซต์ต่างประเทศ มีการปรับเปลี่ยนแปลงภาษาคือมีเว็บไซต์เวอร์ชั่นภาษาไทยกัน มากขึ้น ตัวอย่างที่เห็นชัดเจน ได้แก่ Facebook, Friendster หรือแม้แต่บริการอื่นๆ ท่ีมีรูปแบบเป็น Social Network ซงึ่ ปจั จยั น้ี เป็นปัจจัยหลกั ทท่ี าให้คนไทยหลายๆ คน หันไปใช้บรกิ าร Social Network มากข้นึ 2. Social Network กลยุทธ์ใหม่ทางการตลาดฟิลิปคอตเลอร์ นักวิชาการระดับโลกแห่งวิทยาลัยการ จัดการเคลล็อก มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นสหรัฐอเมริกา ในยุคท่ีการตลาดเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 เทรนด์ของ Social Networking ถือได้ว่ามาแรงและทรงอิทธิพล โดยกล่าวว่าเทรนด์การตลาดท่ีน่าสนใจและถูกจับตามองคือ รูปแบบของการตลาดแบบ Social Networking เนื่องจากเป็นการตลาดท่ีต้นทุนต่าแต่มีประสิทธิผลในการ กระจายการรับรู้มาก โดยถ้าเจ้าของสินค้าต้องการทาการตลาดกับสินค้าประเภทใดประเภทหน่ึง ให้ทาการเจาะ หากลุ่มนักศกึ ษาประมาณ 10 แห่ง และเลือกท่ีจะเข้าหา Social Leader ซ่ึงจะเป็นคนที่ทุกคนรู้จกั โดยวิธีการ คือ การนาตัวอย่างสินค้าให้กลุ่มน้ีไปใช้ และเมื่อคนกลุ่มน้ีนาไปใช้แล้วก็จะทาการบอกต่อถือเป็นการบอกปากต่อปาก แต่จะมีประสิทธิภาพมากกว่าอดีต เพราะปัจจุบันกระแสของ New Media หรืออินเทอร์เน็ตแพร่กระจายอย่าง รวดเร็วโดยกลุ่มคนที่เป็นผู้นาจะทาการส่ือสารไปในรูปแบบของ Blog,Facebook, Hi5, Myspace, YouTube, Twister โดย Social Network มี แนวโนม้ เปน็ กลยุทธใ์ หมท่ างการตลาด ดงั นี้  เปน็ การส่อื สารยงั ลกู คา้ โดยตรงปัจจุบันส่ือใหม่อย่าง Social Media กาลังไดร้ ับความสนใจจากแวดวงธุรกิจเพิ่มมากขึ้น โดย เริ่มจากความสนใจในกลุ่มนักการตลาดกลุ่มเล็กๆ ของไทย จากน้ันในเวลาเพียงไม่ก่ีเดือนความสนใจได้ถูกส่งต่อ และแพร่กระจายไปในแวดวงธุรกิจอยา่ งรวดเรว็ ราวกับ “ไวรสั ” (Viral Awareness) ซ่งึ แนวโน้มและความแรงของ Social Media นั้นคาดว่าจะมีเพ่ิมมากขึ้นไม่เฉพาะในกลุ่มธุรกิจที่เป็น Long Tail Business ที่ถูกคาดหมายว่า น่าจะเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักแรกของการตลาดบน Social Media แต่ยังรวมถึงการขยับเข้ามาอย่างรวดเร็วของ บรรดาธรุ กจิ ขนาดใหญ่ทแ่ี มว้ า่ จะมีทุนมหาศาลในการทาการตลาด

5 Social Media นั้นทาหน้าที่เปน็ ‘P’ ตวั ที่ 4 ของตาราการตลาด น่ันคือ บทบาทของ Promotion ท่ี มคี วามสาคัญมากต่อธุรกิจ เพราะ Social Media นั้นมีบทบาทเป็นช่องทางการส่ือสารทางการตลาด (marketing Communication) ท่ีทรงประสิทธิภาพมาก เพราะถึงแม้สินค้าจะมีราคาจะดี และสถานที่จัดจาหน่ายดีเพียงไร หากขาดช่องทางการส่ือสารสินค้าที่ดีแล้วย่อมทาให้ธุรกิจไม่ประสบความสาเร็จได้เช่นกัน ดังน้ันนักการตลาดเอง จาเป็นต้องปรับตัวให้เร็วเพื่อเข้ามาช่วงชิงความได้เปรียบของการเป็น First Mover ในสนามการตลาดดิจิตอลใน โลกของ Social Media การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต และความนิยมในการใชเ้ ครือข่าย Social Media ของผู้บริโภค ทา ให้รูปแบบการสื่อสารทางการตลาดกลายเป็นการส่ือสารแบบ 2 ทาง (2-way communication) และผู้บริโภคใน ปัจจุบันกลายเป็น Pro-sumer คือ เป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคข่าวสารในเวลาเดียวกัน ซึ่งนักการตลาดจะต้อง เตรียมรับมือโดยใช้ความยืดหยุ่นทางการตลาดมาจับ Social Media และสื่อท่ีจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตอีกทั้ง Social Media เป็นชอ่ งทางหลักในการส่อื สารและสรา้ งความสมั พันธ์ของผูบ้ ริโภคหลงั จากทรี่ ุกคืบเขา้ มาในกระแส วงการส่ือสารการตลาดอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ Facebook, Twitter และ Blog ต่างๆ ซ่ึงได้ผลเร็วและโหมแรง ปากต่อปาก (Word of Mouth) ในกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี โดยมียอดผู้ใช้งานโดยรวมสูงกว่าคนดูโทรทัศน์ทั่ว โลก  Social Network ย่อโลกเล็ก การสื่อสารไร้ขอบเขต การสื่อสารบนโลกออนไลน์กลายเป็นสิ่งที่ผนวกอยู่กับชีวิตของคนเราอย่างแยกไม่ออกท้ังนี้เพราะ ระบบของเทคโนโลยี ไมว่ ่าจะเป็นเครือข่าย หรืออปุ กรณ์การเข้าถึงต่างๆ ไดถ้ ูกพัฒนาข้นึ มามาก ท่ีเหน็ ได้ชัดเจนใน วนั น้ีคือ โทรศัพท์รุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาน้ัน มีทั้งกล้องถ่ายภาพมีระบบ WIFI มีเทคโนโลยีท่ีทาให้สามารถถ่ายรูปแบบ โดยผ่านทางมือถือ แล้วสามารถเข้าโปรแกรมส่งรูปไปอัพได้ท่ี Facebook ของตนเองเพื่อให้เพื่อนเข้ามาดูได้ทันที ซึ่งน้ีก็ถือเป็น Social Network อย่างหน่ึงท่ีสาคัญ การทาตลาดทาง Social Network จะทาให้ข้อมูลของสินค้า สามารถเข้าถึงได้ตรงกลมุ่ เปา้ หมาย และสามารถวัดผลได้ชดั เจนทีส่ ดุ ซง่ึ จะแตกต่างไป จากการทาการตลาดแบบที่ ผ่านมา เพราะการตลาดในยุคอดีตน้ัน จะเป็นลักษณะ In Touch โดยทาอย่างไรก็ได้ให้คนดู สนใจหรือเรียกร้อง ความสนใจกบั ตวั โฆษณาให้ไดม้ ากท่ีสุด โดยไม่สนใจว่า โฆษณาสินค้าชิน้ นน้ั ตรงกับกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ ซึ่งการทา การตลาดแบบหว่านเช่นนี้ตอ้ งใช้เงนิ ลงทุนค่อนข้างมาก หรือแม้แต่การทาการตลาดแบบ Below the Line ก็ไม่มี ใครการนั ตไี ดว้ า่ กลุ่มเปา้ หมายสามารถรบั ร้สู ารท่ีบรษิ ัทส่อื สารไปไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน สรุปการตลาดในยุค Social Network จะเป็นการเปล่ียนแปลงแนวความคิดของนักการตลาดไป อย่างส้ินเชิง เน่ืองจากสามารถแยกกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน และเร่ิมที่จะเป็น Consumer Center มากขึ้น ยกตัวอย่าง Federbrau, HTC วันน้ีต่างก็เดินหน้าทาการตลาดแบบ Social Network โดยมีการสร้าง Facebook ของแบรนด์ตัวเองข้ึนมา วันน้ีใครชอบก็เข้าไปชมความเคล่ือนไหว ไปร่วมแสดงความคิดเห็น พูดคุยกับคนคอ เดียวกันไดผ้ ่านเว็บไซต์เหลา่ นั้น ในขณะเดียวกันเจ้าของแบรนด์ก็สามารถเข้ามาพูดคุยกับกลุ่มลูกค้าโดยตรงได้ จึง เกิดเป็น Relationship ระหว่างกันและด้วยระบบเทคโนโลยีน่ีเองที่ช่วยให้นักการตลาดสามารถบริหารจัดการ ต้นทุนการทาการตลาดได้อย่างชัดเจน และเกิดความคุ้มค่ามากข้ึน เพราะวันน้ีด้วยโปรแกรมไอทีสามารถตอบทุก คาถามได้หมด เช่นวันนี้ บริษัททาแคมเปญพิเศษบนส่ือ Online สามารถวัดผลได้ถึงจานวนผู้เข้ามา จานวนคนที่ ซือ้ สินค้า คอื มีข้อมูล มีตวั เลขการเข้าถงึ ทุกอยา่ ง ซงึ่ ตรงนี้ทาให้บริษทั สามารถนามาพฒั นาแคมเปญ และระบบการ บริหารจัดการในการทาการโฆษณา เพราะทาให้รู้ว่าบริษัทจ่ายเงินไปเท่าไร และได้ลูกค้าเท่าไร ซ่ึงการวัดผลตรงนี้ ไม่สามารถทาได้เลยในสอ่ื ประเภท Offline

6  เปน็ Mass Media ปรากฏการณ์ Social Network ชุมชนในเครือข่ายบริการสังคม กาลังกลายเป็นกระแสร้อนแรงใน โลกของการสือ่ สารและโลกธรุ กิจ เพราะเปน็ ครัง้ แรกที่ระบบคอมพิวเตอรผ์ นวกเร่ืองการส่ือสาร ประชาสัมพันธ์เข้า กบั โลกธรุ กจิ โดยไม่ต้องพ่งึ พา “คนกลาง” อีกต่อไป เครือข่าย Social Network ได้ขยายวงกว้างออกไปเรื่อยๆ จากกิจกรรมเล่นๆ ในแวดวงเพ่ือนฝูงท่ี สามารถติดต่อส่ือสารในวงกว้าง ปัจจุบันได้ขยายตัวออกไปสู่แวดวงธุรกิจ และกลายเป็น “Tools” ใหม่ในแวด วงการตลาดที่กาลังมาแรง ในประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้บริการ Social Network ในปริมาณเพิ่มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องทุกปี และยังคงมาแรงเป็นอันดับต้นๆ ของโลกออนไลน์ โดยมีเว็บไซต์ท่ีมีจานวน ผู้เข้าชมสูงสุดท่ัวโลก ไดแ้ ก่ My Space, Facebookโดยมี Facebook และ Twitter เป็นเวบ็ ไซต์ที่มเี ปอรเ์ ซน็ ตเ์ ตบิ โตเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว เรื่อง Social Network จึงเปรียบเสมือนกระแส จนกลายเป็นแฟชั่นท่ีทาให้หลายส่วนเล็งเห็นทั้ง ผู้บริโภค จนไปเตะตากลุ่มนักการตลาดท่ีกาลังมองหาช่องทางรูปแบบใหม่ท่ีแตกต่างจากช่องทางรูปแบบเดิมๆ ท่ี ผู้บริโภคเริ่มปฏิเสธ (ส่ือ Mass Communication) จนกระทั่งช่องทางของ Social Network เข้ามาตอบโจทย์ รูปแบบการส่ือสารทางการตลาดเดิมๆ ท่ีนับวันจะย่ิงห่างจากกลุ่มผู้บริโภคท่ีมีความชื่นชอบเฉพาะตัวมากขึ้น นักการตลาดสมัยใหม่จึงเร่ิมปรับรูปแบบการทาตลาดลงไปใน Network ด้วยข้อมูลที่เข้าสู่กลุ่มเป้าหมายที่มีความ สนใจเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการของบริษัท เพราะเชื่อว่าการอาศัยเคร่ืองมืออย่าง Social Network จะมีความ รวดเร็ว และมี Impact อย่างมหาศาล กระแส Social Network จึงกลายเป็นไม้เด็ดทางการตลาด ท่ีบรรดาค่ายผู้ผลิตและจาหน่ายสินค้า ไม่ว่าจะเป็นสินค้าที่เป็นทั้งกลุ่ม Mass และ Niche ขอเกาะขบวนเพ่ือการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย จึงไม่น่าแปลกใจที่ ทุกวันนี้ บริษัทท้ังหลายหันมาใช้ Social Network ในการประชาสัมพันธ์แบรนด์ ท้ังในรูปแบบเกมออนไลน์ โดย ผ่านทาง Facebook, Twitter ฯลฯ โดยสอดแทรกการโฆษณาแบรนด์ตัวเอง ผ่านตัวละครหรือเนื้อหา หรือโปร โมตกิจกรรมผ่านส่อื Online เหลา่ นี้ 3. เทคโนโลยีสนับสนนุ การเข้าถงึ Social Network  มอื ถอื ชอ่ งทางใหมข่ องการเขา้ สอู่ ินเทอรเ์ น็ต โทรศัพท์ที่สามารถเข้าสู่อินเทอร์เน็ต จะมีเพ่ิมมากข้ึน ราคาอนิ เทอร์เนต็ ผ่านมือถือจะมีราคาถูก ลงและโปรแกรม-แอพพลิเคชั่น รวมถึงเนื้อหา (Content) จะเริ่มมีเพิ่มมากข้ึน และความเร็วการเข้าถึง อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือจะมีความเร็วเพิ่มมากขึ้นจากการเปิดให้บริการ 3G หรือ Wimax ทั้งหมดน้ีจะทาให้ อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือได้รับความนิยมมากข้ึนเร่ือยๆ สังเกตได้จากมือถือท่ีเร่ิมออกวางจาหน่ายกันมา ในช่วงนี้จะมีความสามารถในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ดีขึ้น ล่าสุดการใช้ Social Network ผ่าน BlackBerry Messenger (BBM) เพื่อทาการอัพเดตสดๆ เพ่ือนท่ีจบั ฉลากของขวัญปีใหม่ที่ออฟฟิศ ส่งภาพพร้อมคาบรรยายมา ใหส้ มาชิกท่ีกาลังเดินทางกลับจากต่างจังหวัด นคี่ ือการใช้ social network ส่วน YouTube และ Flickr ถือว่าเป็น Social ท่ลี งตวั เพราะการอัพเดตในทุกๆ กิจกรรม คุณสามารถสง่ ภาพผ่าน Tweet photo ถา่ ยวดิ ีโอลง YouTube ให้เพ่ือนดูได้ทันที การแสดงต่างๆ ได้แบบทันทีเช่นกัน ส่ิงที่น่าสนใจก็คือการท่ีส่ือมวลชนนา Social Network มา ใช้เป็น Social Media เพ่ือใช้เป็น New Media มากข้ึน การรายงานข่าวไม่ต้องรายงานต้นช่ัวโมง มีเหตุการณ์ อะไรก็พิมพ์เพ่ือลงใน twitter ได้ทันที พร้อมภาพประกอบหรือวิดีโอให้ดูได้เลยท้ัง BlackBerry, iPhone, Smartphone หรือแม้แต่มอื ถือทั่วไปก็รองรับ Facebook, Hi5, Twitter ให้ถา่ ยภาพแล้วโพสรูปภาพได้เลย มีการ แบ่งปนั การแชรแ์ บบเกิดข้ึนจริงในขณะน้ัน ถือว่าเป็นการสร้างสัมพันธเ์ หมือนทุกคนที่ต้องการการยอมรับและการ เข้าสังคมการแบ่งปันรปู เพ่อื ใหท้ กุ คนแสดงความ คิดเหน็ และยอมรบั ได้ทันที

7  รปู แบบข้อมลู ทต่ี อบรบั ระบบอินเทอร์เนต็ และระบบ Social Network เม่ือความเรว็ อินเทอรเ์ น็ตมคี วามเรว็ เพิ่มมากขน้ึ เนื้อหาขอ้ มลู จากเดมิ ท่ีเป็นตวั หนงั สอื หลายๆ เวบ็ ก็เลือกท่ีจะเปล่ียนรูปแบบของข้อมูลูเป็นรปู แบบภาพวีดิโอ เพราะด้วยการสร้างไฟล์วีดีโอทาได้ไม่ยาก เพราะสามารถสร้างได้จากโทรศัพท์มือถือและสามารถอัพโหลดไปเก็บไว้ได้ง่ายๆ ผ่านผู้ให้บริการมากมายหลาย แหลง่ จะทาใหข้ อ้ มูลรปู แบบวดิ โี อน้ี เปน็ เรอื่ งทีเ่ หน็ กันมากขน้ึ  ระบบอินเทอรเ์ น็ต ระบบอินเทอร์เน็ตท่ีมีความรวดเร็วขึ้น สอดรับทิศทางในปี ค.ศ.2010 เพราะ Internet 3–4 Mbps สามารถส่งภาพกระทู้วิดีโอได้อย่างรวดเร็ว ในทุกๆ การอัพโหลดข้อมูลหรือรูปภาพน้ันๆ ทุกเวบไซต์ ทุก Blog เม่ือมเี นอ้ื หาใหม่ก็ทาการอัพโหลดข้อมูลไว้ สือ่ Social Network ชว่ ยให้คนสามารถรู้จักมากขน้ึ  Google Group • àÇçºä«µìã¹ÃٻẺ Social Networking  Wikipedia • เวบ็ ไซต์ในรูปแบบข้อมลู อา้ งอิง  Myspace • เวบ็ ไซตใ์ นรูปแบบ Social Networking  Facebook • เวบ็ ไซตใ์ นรปู แบบ Social Networking  MouthShut • เว็บไซต์ในรปู แบบ Product Reviews  Yelp • เวบ็ ไซตใ์ นรูปแบบ Product Reviews  Youmeo • เวบ็ ทร่ี วม Social Network  Last.fm • เวบ็ เพลงสว่ นตัว Personal Music  YouTube • เวบ็ ไซต์ Social networking และแชรว์ ดิ ีโอ  Avatars United • เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking  Second Life • เวบ็ ไซตใ์ นรปู แบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality  Flickr • เว็บแชรร์ ูปภาพ เว็บ Social Media แบง่ ตามหมวด  หมวดการสอื่ สาร (Communication) Blogs : Blogger, LiveJournal, TypePad, WordPress, Vox Internet forums : vBulletin, phpBB Micro-blogging : Twitter, Plurk, Pownce, Jaiku Social networking : Avatars United, Bebo, Facebook, LinkedIn, MySpace, Orkut, Skyrock, Netlog, Hi5, Friendster, Multiply Social network aggregation : FriendFeed, Youmeo Events : Upcoming, Eventful, Meetup.com  หมวดความรว่ มมือ และแบ่งปนั (Collaboration) Wikis : Wikipedia, PBwiki, wetpaint Social bookmarking : Delicious, StumbleUpon, Stumpedia, Google Reader, CiteULike Social news : Digg, Mixx, Reddit Opinion sites : epinions, Yelp

8  หมวดมลั ติมเี ดีย (Multimedia) Photo sharing : Flickr, Zooomr, Photobucket, SmugMug Video sharing : YouTube, Vimeo, Revver Art sharing : deviantART Livecasting : Ustream.tv, Justin.tv, Skype Audio and Music Sharing : imeem, The Hype Machine, Last.fm, ccMixter  หมวดรวี วิ และแสดงความคดิ เห็น (Reviews and Opinions) Product Reviews : epinions.com, MouthShut.com, Yelp.com Q&A : Yahoo Answers  หมวดบันเทงิ (Entertainment) Virtual worlds : Second Life, The Sims Online Online gaming : World of Warcraft, EverQuest, Age of Conan, Spore (2008 video game) Game sharing : Miniclip ภัยจากการใชเ้ ครอื ข่ายสังคมออนไลน์ โลกของเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ก็ไมต่ ่างจากโลกความเป็นจรงิ ที่มีทงั้ “คนดี” “คนร้าย” “ตัวจริง” “ตัว ปลอม” ปะปนกันไปหมด แต่ท่ีน่าวิตกกว่าโลกความเป็นจริง คือเร่อื งราวบนโลกสังคมออนไลน์ แพร่กระจายไปได้ เร็วมาก แล้วก็หยุดยากเสียด้วย บางคนใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างรู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือคาดไม่ถึงว่าจะเกิดผล เสียหายตามมา อย่างกรณีที่มีข่าวลือท่ีสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น และมีการส่งต่อให้เพ่ือนๆ หลังจากนั้นไม่นานผู้ เผยแพร่ข้อความได้ถูกตารวจจับกุมข้อหากระทาความผิดตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และก็มีตัวอย่างข่าวลักษณะแบบนี้อยู่หลายกรณี จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าเม่ือเป็น “สังคม” ก็ ต้องมีกฎระเบียบ มีขอ้ ควรปฏบิ ัติไม่วา่ จะเป็นสังคมบน “โลกออนไลน์”หรือ “โลกความเป็นจริง” จึงขอกล่าวถึงข้อ ควรปฏิบตั แิ ละควรระวงั ในการใชเ้ ครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ดังน้ี  พึงตระหนักเสมอว่าการโพสต์ข้อความ หรือแสดงความคิดเห็นให้เผยแพร่บนส่ือสังคมออนไลน์ เป็น ขอ้ ความที่สามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยสาธารณะ ดงั นั้นผ้เู ผยแพร่ต้องรับผิดชอบทั้งด้านสงั คม และกฎหมาย  อยา่ เปิดเผยขอ้ มลู ส่วนตัวมากเกินไป บนสอื่ สังคมออนไลน์ รวมถึงขอ้ มลู ทาง การเงิน เพราะการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเท่าไหร่ภัยร้ายก็จะเข้าใกล้ตัวเรามากข้ึนเท่าน้ันการระบุวัน เดือน ปี เกิด จะทาใหม้ จิ ฉาชพี ทราบถงึ อายุ หากเป็นเดก็ หรอื วัยรนุ่ จะยิ่งเปน็ เป้าหมายเพราะลอ่ ลวงไดง้ า่ ย  ไม่ควรโพสต์ข้อความท่ีชี้ชวนให้มิจฉาชีพรับรู้ความเคลื่อนไหวส่วนตัวของเราตลอดเช่น บอกสถานะ ว่าไม่อยู่บ้าน หรือเดินทางไปท่ีไหน ขับรถอะไร ซ่ึงทาให้ผู้ไม่หวังดีวางแผนมาทาร้าย หรือวางแผนขโมยทรัพย์สิน เราได้  ใช้ความระมัดระวังอยา่ งย่งิ ในการโพสต์ หรือเผยแพร่ ส่งตอ่ ขอ้ ความ รูปภาพ วดิ ีโอท่ีอาจทาให้ผู้อื่น เสียหาย เช่น ภาพหลุด คลิปหลุด หรอื โพสต์รูปภาพท่ีสอื่ ถึงอบายมุขตา่ งๆ และไม่ควรใชถ้ ้อยคาหยาบคาย ถ้อยคา ลามก อนาจาร ดหู มนิ่ ส่อเสียด เสยี ดสี ใหร้ ้ายผู้อื่นในทางเสียหาย หรือสรา้ งความแตกแยกในสังคม  พึงระมัดระวังอย่างยิ่งที่จะไว้ใจหรอื เช่ือใจคนท่ีรู้จักผ่านอินเทอร์เน็ตในการแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัว เช่น ช่อื อีเมล์ หมายเลขโทรศัพท์ ทีอ่ ยู่ หรอื ช่ือสถานศกึ ษา เพราะอาจถกู หลอกลวง หรอื ลอ่ ลวงไปทาอนั ตรายได้  ให้ระมัดระวังการเช็คอิน (Check-in) ผา่ นส่ือสังคมออนไลน์ โดยใช้กล้องโทรศัพท์ถ่ายภาพ ระบุพกิ ัด

9 และเวลา เพราะภาพทกุ ภาพ การโพสตท์ ุกอย่างจะอยู่ในอินเทอร์เน็ต ไมม่ วี ันถกู ลบอย่างแท้จรงิ ในทางกฎหมาย การใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ในทางที่ผิด เช่น การโพสต์รูปภาพหรือข้อความท่ีไม่เป็น ความจริงโดยมีเจตนาที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือสร้างความปั่นป่วนให้กับสังคมนั้น อาจเข้าข่ายเป็น การกระทาความผิดตาม มาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ฐาน (1) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย แก่ผู้อ่ืนหรือประชาชน หรือ (2) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลอันเป็นเท็จโดยประการท่ีน่าจะเกิดความ เสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ หรือก่อให้เกิดความต่ืนตระหนกแก่ประชาชนหรือ (5) เผยแพร่หรือส่งต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1)หรือ (2) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือ ปรับไมเ่ กินหนึง่ แสนบาท หรือทัง้ จาทั้งปรบั นอกจากความรับผิดตามกฎหมายจากการโพสต์รูปหรือข้อความอันเป็นเท็จดังกล่าวแล้ว การใช้ส่ือสังคม ออนไลน์เป็นที่ระบายความแค้นหรือกลั่นแกล้งผู้อื่นโดยการโพสต์ข้อความว่าร้ายผู้อ่ืนไม่ว่าจะด้วยความนึกสนุก หรือเพ่อื ต้องการใหค้ นท่ีอยใู่ นเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ของผู้โพสต์ข้อความได้รับรู้ถึงความเลวรา้ ยหรือข้อมูลในด้าน ที่ไม่พึงประสงค์ของคนท่ีถูกกล่าวถึง ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้างาน เพ่ือนรว่ มงาน คู่อริสมัยเรียน หรือคนรักเก่าของสามี แม้จะทาให้ผู้โพสต์ข้อความได้รับความสะใจในช่ัวขณะหน่ึง แต่ก็อาจทาให้เกิดทุกข์มหันต์ตามมา เนื่องจากการ โพสตข์ อ้ ความในลกั ษณะดงั กลา่ วอาจเป็นเหตใุ หผ้ กู้ ระทาต้องรับผดิ ท้ังทางแพง่ และทางอาญา ในทางอาญานั้น ผู้กระทาอาจต้องรับผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการโฆษณาซึ่งต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน สองปีและปรับไม่เกินสองแสนบาท หากกระทาการโพสต์หรือแสดงความคิดเห็นไม่ว่าจะด้วยข้อความ เอกสาร ภาพ เสียง วิดีโอ ภาพยนตร์ หรือตัวอักษรท่ีทาให้ปรากฏด้วยวิธีใดๆ ท่ีเป็นการใส่ความผู้อ่ืนต่อบุคคลท่ีสาม ใน ลักษณะท่ีน่าจะทาให้ผู้อ่ืนน้ันเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง หรือแม้แต่ในกรณีที่ผู้ที่ถูกใส่ความเป็นผู้ท่ี เสียชีวิตไปแลว้ หากการใส่ความน้ันน่าจะเป็นเหตุให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้น้ันเสยี ชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรอื ถูกเกลียดชังผู้ท่ีโพสต์ข้อความก็มีความผิดฐานหมิ่นประมาทผู้ตายโดยการโฆษณา เช่นกัน อย่างไรก็ตาม หาก การโพสต์ข้อความนั้นเป็นการแสดงความคิดเห็นหรือข้อความโดยสุจริตเป็นการติชมบุคคลอื่นหรือสิ่งใดด้วยความ เป็นธรรม อันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทา เช่น การแสดงความคิดเห็นหรือติชมบุคคลสาธารณะด้วยความ เป็นธรรม หรือแสดงความคิดเห็นหรือข้อความโดยสุจริตเพ่ือป้องกันตนเองหรือป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับตนเอง ตามคลองธรรม ก็อาจไม่มีความผิดฐานหม่ินประมาท นอกจากนี้ ในกรณีที่การกระทาเป็นความผิดฐานหมิ่น ประมาทหากผู้ถูกหาว่ากระทาความผิดพิสูจน์ได้ว่าข้อความท่ีหาว่าเป็นหมิ่นประมาทน้ันเป็นความจริ ง ผู้ถูก กล่าวหาก็ไม่ต้องรับโทษ แต่ในกรณีที่เป็นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว ผู้ท่ีกระทาความผิดอาจต้องรบั โทษแม้เรื่องที่ ใส่ความจะเป็นเรื่องจริงก็ตาม เพราะกรณีการใส่ความในเรื่องส่วนตัวนั้น กฎหมายห้ามไม่ให้พิสูจน์ว่าเรื่องท่ีใส่ ความเปน็ เรอ่ื งจริงหรือไมจ่ ริงหากการพิสูจน์นั้นจะไม่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน ท้งั นี้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 326–330 สว่ นความรับผิดทางแพง่ น้ัน หากขอ้ ความท่ีโพสต์ไมเ่ ปน็ ความจริงและก่อใหเ้ กิดความเสยี หายแก่ ผทู้ ่ีถูกกล่าวถึง ผู้โพสต์ข้อความจะต้องรบั ผิดทางแพ่ง ฐานกระทาละเมดิ โดยการไขขา่ วแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่า ฝืนต่อความจริงเป็น ที่เสียหายแก่ช่ือเสียง เกียรติคุณหรือทางทามาหาได้หรือทางเจริญของผู้อื่น โดยจะต้องชดใช้ คา่ สินไหมทดแทนให้กบั ผู้ที่ต้องเสียหายจากการโพสต์ข้อความนั้น นอกเหนือจากโทษทางอาญาฐานหมิ่นประมาท โดยการโฆษณาที่กล่าวมาแล้ว เว้นแต่ในกรณีท่ีผู้โพสต์ข้อความไม่รู้ว่าข้อความที่โพสต์นั้นไม่เป็นความจริงและ ตนเองหรือผรู้ ับข้อความมีสว่ นได้เสียโดยชอบเกีย่ วกับเรื่องที่โพสต์น้ัน ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 423 ดังนนั้ ผู้ใช้งานสอ่ื สงั คมออนไลน์จงึ ควรจะคดิ ให้ดีก่อนที่จะโพสต์รปู ภาพ วิดโี อ ข้อความหรอื สือ่ ใดๆ ลงใน หน้าสื่อสังคมออนไลน์น้นั เนื่องจากเมื่อขึ้นชื่อว่า “สงั คม” ไม่ว่าจะสังคมในชีวติ จริงหรือในโลกออนไลน์ ก็ยอ่ มต้อง

10 มีกฎ กตกิ าทเ่ี ราตอ้ งรกั ษาเสมอเพื่อความสงบสุขของสงั คม แบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 1 คาชแี้ จง : 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยมที ้ังหมด 10 ขอ้ 10 คะแนน 2. หา้ มขีดเขยี นข้อความใดๆ ลงในข้อสอบโดยเด็ดขาด 3. จงเลอื กคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดยี วลงในกระดาษคาตอบทีแ่ จกให้ คาสงั่ ให้นักเรียนเลอื กกากบาท (X) ทับขอ้ ท่ีเหน็ วา่ ถกู ทส่ี ดุ เพยี งข้อเดยี วลงในกระดาษคาตอบท่ีแจกให้ 1. ขอ้ ใดไมถ่ อื วา่ เปน็ เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ก. e-mail ข. messenger ค. Web Download Paper ง. webblog 2. ข้อใดไม่ถอื ว่าเปน็ Social Network ประเภทเผยแพร่ตวั ตน ก. Facebook ข. YouTube ค. My Space ง. hi 5 3. เวบ็ ใดถูกพฒั นาขึน้ มาโดยคนไทย ก. Online Bookmarking ข. Digg ค. Zickr ง. duocore.tv 4. เวบ็ ไซตใ์ ดทอี่ นุญาตใหใ้ ครก็ได้เข้ามาชว่ ยกนั เขยี น และแกไ้ ขบทความตา่ งๆ ไดต้ ลอดเวลา ก. Wikipedia ข. Google Maps ค. Facebook ง. My Space 5. Social Media เปรียบเสมอื นอะไรของกลยุทธการตลาด ก. Product ข. Price ค. Place ง. Promotion 6. ขอ้ ใดไมเ่ ป็นเว็บไซตใ์ นรปู แบบ Social Networking ก. Google Group ข. Wikipedia ค. Myspace ง. Facebook 7. เว็บไซต์ในรปู แบบ Product Reviews คอื ขอ้ ใด

11 ก. Yelp ข. Google Group ค. Myspace ง. Youmeo 8. หากตอ้ งการสรา้ งเว็บเพลงสว่ นตัวควรเลอื กบรกิ ารเวบ็ ใด ก. YouTube ข. Google Group ค. Myspace ง. Last.fm 9. หากตอ้ งการสร้างเว็บแชรร์ ปู ภาพควรเลอื กบริการเว็บใด ก. YouTube ข. Myspace ค. Flickr ง. Youmeo 10. ข้อใดไม่ใช่เว็บไซตใ์ นหมวด Blogs ก. TypePad ข. WordPress ค. Vox ง. Twitter เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คขคกคขกงคง แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 1 คาชี้แจง : 1. ขอ้ สอบเปน็ แบบปรนยั มที ั้งหมด 10 ขอ้ 10 คะแนน 2. หา้ มขดี เขียนข้อความใดๆ ลงในขอ้ สอบโดยเด็ดขาด 3. จงเลอื กคาตอบท่ถี ูกตอ้ งเพียงคาตอบเดียวลงในกระดาษคาตอบทแ่ี จกให้ คาส่ัง ใหน้ ักเรยี นเลือกกากบาท (X) ทบั ข้อทีเ่ หน็ วา่ ถกู ทส่ี ุดเพียงข้อเดยี วลงในกระดาษคาตอบที่แจกให้ 1. เว็บไซต์ใดทอ่ี นุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแกไ้ ขบทความตา่ งๆได้ตลอดเวลา ก. Wikipedia ข. Google Maps ค. Facebook ง. My Space 2. หากต้องการสรา้ งเว็บเพลงส่วนตวั ควรเลือกบรกิ ารเว็บใด

12 ก. YouTube ข. Google Group ค. Myspace ง. Last.fm 3. หากต้องการสร้างเว็บแชรร์ ปู ภาพควรเลือกบรกิ ารเว็บใด ก. YouTube ข. Myspace ค. Flickr ง. Youmeo 4. Social Media เปรยี บเสมือนอะไรของกลยทุ ธการตลาด ก. Product ข. Price ค. Place ง. Promotion 5. ข้อใดไม่เปน็ เวบ็ ไซต์ในรูปแบบ Social Networking ก. Google Group ข. Wikipedia ค. Myspace ง. Facebook 6. เวบ็ ไซตใ์ นรูปแบบ Product Reviews คือข้อใด ก. Yelp ข. Google Group ค. Myspace ง. Youmeo 7. ข้อใดไม่ใช่เวบ็ ไซต์ในหมวด Blogs ก. TypePad ข. WordPress ค. Vox ง. Twitter 8. ข้อใดไม่ถือว่าเป็นเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ ก. e-mail ข. messenger ค. Web Download Paper ง. Weblog 9. ขอ้ ใดไมถ่ ือว่าเปน็ Social Network ประเภทเผยแพร่ตวั ตน

13 ก. Facebook ข. YouTube ค. My Space ง. hi5 10. เวบ็ ใดถูกพัฒนาขึน้ มาโดยคนไทย ก. Online Bookmarking ข. Digg ค. Zickr ง. duocore.tv เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยที่ 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 กงคคขกงคขค ใบงาน หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง สังคมออนไลน์ (Social Network) จุดประสงค์ 1. นักเรยี นสามารถบอกความหมายเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ถูกต้อง 2. นกั เรยี นสามารถบอกประเภทเครือข่ายสงั คมออนไลนไ์ ด้ 3. อธิบายเว็บไซตท์ ่ีให้บรกิ ารเครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ได้ 4. บอกภัยจากการใช้เครือขา่ ยสังคมออนไลนไ์ ด้ 5. เพ่ือให้นกั เรียนมีความสามัคคีและร่วมกนั ทางานเปน็ ทีม กจิ กรรม 1. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 3 คน แล้วค้นหาขอ้ มูลเก่ียวกับ เวบ็ ไซต์ Social Network แบบใดก็ได้ 1 เวบ็ ไซต์โดยไมซ่ ้ากนั โดยให้จัดทาเปน็ รายงานพร้อมนาเสนองาน ตามหัวข้อดงั นี้  ลกั ษณะการทางานและการใหบ้ รกิ าร  การใช้งานและการทางาน  ประโยชน์  จดุ เด่นและภยั ที่อาจเกดิ ขน้ึ 2. ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ นาขอ้ มูลทท่ี ารายงานออกมานาเสนอหน้าชน้ั กล่มุ ละ 5 นาที โดยให้เพือ่ นทอ่ี ยู่ ภายในชน้ั เรียนเป็นผปู้ ระเมนิ ตามแบบประเมนิ พฤติกรรมกลมุ่

14 บงาน หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง สังคมออนไลน์ (Social Network) จุดประสงค์ 6. นักเรยี นสามารถบอกความหมายเครือข่ายสงั คมออนไลนไ์ ด้ถกู ต้อง 7. นักเรยี นสามารถบอกประเภทเครอื ข่ายสังคมออนไลนไ์ ด้ 8. อธบิ ายเวบ็ ไซต์ที่ให้บรกิ ารเครือขา่ ยสงั คมออนไลนไ์ ด้ 9. บอกภยั จากการใชเ้ ครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ 10. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมีความสามัคคีและร่วมกนั ทางานเปน็ ทีม กิจกรรม 3. ใหน้ ักเรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 3 คน แล้วค้นหาข้อมูลเกยี่ วกบั เวบ็ ไซต์ Social Network แบบใดก็ได้ 1 เวบ็ ไซต์โดยไมซ่ ้ากนั โดยให้จัดทาเป็นรายงานพรอ้ มนาเสนองาน ตามหัวข้อดังน้ี  ลักษณะการทางานและการให้บริการ  การใช้งานและการทางาน  ประโยชน์  จดุ เด่นและภัยที่อาจเกดิ ขึ้น 4. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ นาขอ้ มูลท่ีทารายงานออกมานาเสนอหน้าชัน้ กล่มุ ละ 5 นาที โดยให้เพอ่ื นที่อยู่ ภายในช้นั เรียนเป็นผ้ปู ระเมินตามแบบประเมินพฤติกรรมกลุม่ ใหน้ กั ศกึ ษาทดลองปฏิบัตดิ ้วยตนเอง • ดา้ นทักษะ+ดา้ นจิตพิสยั (ปฏบิ ัติ+ด้านจิตพิสยั ) (จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 1-6) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. แบบทดสอบหลังเรียน 3. ใบงาน หน่วยท่ี 1 • ด้านคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง (จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมข้อท่ี 7) 1. มีภูมคิ มุ้ กนั ทด่ี ี และใชส้ ติปัญญาในการเชือ่ มต่อ ใช้งานอินเตอร์เนต็ ในดา้ นต่างๆ กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

15 ขัน้ ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรยี นรหู้ รอื กจิ กรรมของนกั เรยี น 1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา รายวิชา วธิ ีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง สังคม รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง สังคม ออนไลน์ (Social Network) ออนไลน์ (Social Network) 2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วย 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ เรียนท่ี 1 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทากิจกรรมการ เรยี นของหน่วยเรียนท่ี 1 และการใหค้ วามร่วมมือในการ เรยี นการสอน ทากจิ กรรม 3. ผสู้ อนให้ผู้เรียนยกตัวอยา่ งประโยชนเ์ ครือข่าย 3. ผู้เรียนยกตัวอย่างประโยชน์เครือข่ายสังคม สงั คมออนไลน์ ออนไลน์ 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 4. ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 หนว่ ยที่ 1 หนา้ 2-3 หน้า 2-3 5. ผ้สู อนให้ผเู้ รียนสลบั กนั ตรวจแบบทดสอบกอ่ น 5. ผู้เรียนสลับกันตรวจแบบทดสอบ ด้วยความ เรียนด้วยความซื่อสัตย์ โดยครูเป็นผู้เฉลย แล้วนา ซื่อสัตย์ โดยครูเป็นผู้เฉลย แล้วนาคะแนนท่ีได้บันทึกลง คะแนนที่ได้บันทึกลงในแบบบันทึกคะแนนการปฏิบัติ ในแบบบนั ทกึ คะแนนการปฏิบตั ิกจิ กรรมระหวา่ งเรยี น กิจกรรมระหว่างเรียน 2. ขั้นให้ความรู้ (75 นาที ) 2. ข้นั ใหค้ วามรู้ (75 นาที) 1. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1. ผู้สอนแนะนาวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ วชิ า อนิ เทอร์เน็ตเพอ่ื งานธุรกิจ หน่วยท่ี 1 เรอื่ ง สังคม ช่วยสอน วิชา อนิ เทอรเ์ นต็ เพื่องานธรุ กิจ หน่วยที่ 1 ออนไลน์ (Social Network) และให้ผู้เรียนศึกษาจาก เรื่อง สังคมออนไลน์ (Social Network) และให้ เอกสารประกอบการสอน 2. ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเน้ือหา โดย ผเู้ รยี นศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน 2. ผสู้ อนเปิดโอกาส ให้ผู้เรยี นถามปัญหา และข้อ ครูให้นักศึกษาสังเกตภัยจากการใช้เครือข่ายสังคม สงสัยจากเนื้อหา โดยครูให้นักศึกษาสังเกตภัยจากการ ออนไลน์ 3. ขนั้ ประยุกต์ใช้( 60 นาที ) ใช้เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ 1. ผเู้ รียนทาใบงาน หน่วยที่ 1 หน้าท่ี 28 3. ขั้นประยกุ ต์ใช้ (60 นาที ) 1. ผสู้ อนให้ผู้เรียนทาใบงาน หน่วยท่ี 1 หน้าท่ี 28 2. ผู้เรียนสืบค้นขอ้ มลู จากอินเทอร์เน็ต 2. ผสู้ อนให้ผูเ้ รยี นสบื ค้นขอ้ มลู จากอนิ เทอร์เน็ต กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือการเรยี นรู้

16 ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรยี นรหู้ รอื กิจกรรมของนกั เรยี น 4. ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล ( 30 นาที ) 4. ข้ันสรปุ และประเมินผล (30 นาที ) 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียน 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาท่ีได้ ใหม้ ีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกนั เรยี นเพอื่ ใหม้ ีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกัน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 2. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยท่ี 1 หน่วยที่ 1 หน้า 26-27 หนา้ 26-27 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนสลับกันตรวจแบบทดสอบหลัง 3. ผู้เรียนสลับกันตรวจแบบทดสอบหลังเรียน เรียนด้วยความซื่อสัตย์ แล้วนาคะแนนที่ได้บันทึกลงใน ด้วยความซ่ือสัตย์ นาคะแนนท่ีได้บันทึกลงในแบบ แบบบันทกึ คะแนนการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมระหวา่ งเรียน บนั ทึกคะแนนการปฏิบัติกจิ กรรมระหว่างเรียน พร้อม เปรียบเทียบคะแนนของแบบทดสอบก่อนเรียน และ หลังเรียนว่ามีผลต่างกันอย่างไร เพ่ือดูความก้าวหน้า 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ของตนเอง ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนที่จดั ทาขน้ึ 4. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย (บรรลจุ ดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-7) บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนที่จัดทาข้ึน (รวม 180 นาที หรือ 3 คาบเรียน) (บรรลจุ ุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-7) งานที่มอบหมายหรอื กจิ กรรมการวัดผลและประเมนิ ผล กอ่ นเรียน 1. จัดเตรียมเอกสาร สอ่ื การเรียนการสอนหน่วยที่ 1 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง สงั คมออนไลน์ (Social Network) แล้วสลบั กันตรวจคาตอบ 3. ศกึ ษาเน้ือหา ในบทที่ 1 4. ทาความเข้าใจเกย่ี วกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนของหน่วยที่ 1 และใหค้ วามร่วมมอื ในการทากิจกรรมใน หนว่ ยท่ี 1 ขณะเรียน 1. ศึกษาจากบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนและเอกสารประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 1 เรื่อง สังคม ออนไลน์ (Social Network) 2. ซักถามปัญหาข้อสงสัยจากผูส้ อน

17 หลังเรยี น 1. สรปุ เนือ้ หา 2. ทาแบบทดสอบ หน่วยท่ี 1 3. สลับกนั ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรียน แบบทดสอบก่อนเรยี น, แบบทดสอบหลังเรยี น, ใบงาน สอื่ การเรยี นการสอน/การเรียนรู้ สอื่ สง่ิ พมิ พ์ 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ (ใช้ประกอบการเรียนการสอนจุดประสงค์ เชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-7) 2. ใบความรู้ที่ 1 เร่ือง สังคมออนไลน์ (Social Network) (ใช้ประกอบการเรียนการสอนข้ันให้ ความรู้ เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 1-7) 3. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยที่ 1 ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน ข้อ 4 4. ใบงาน หนว่ ยที่ 1 ขัน้ ประยกุ ต์ใช้ขอ้ 1 5. แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยที่ 1 สรุปและประเมนิ ผล ข้อ 2 6. แบบประเมนิ ผลงานตามใบงาน ใชป้ ระกอบการสอนข้ันประยกุ ตใ์ ช้ ขอ้ 1 7. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทางาน ใช้ประกอบการสอนข้ันประยกุ ต์ใช้ ข้อ 2 สื่อโสตทศั น์ (ถ้ามี) 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่อื ของจริง 1. ภยั จากการใชเ้ ครือขา่ ยสงั คมออนไลน์(ใช้ประกอบการเรียนการสอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1- 7)

18 แหลง่ การเรยี นรู้ ในสถานศึกษา 1. ห้องสมดุ วิทยาลยั ฯ 2. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมลู ทาง Internet นอกสถานศึกษา ผ้ปู ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถนิ่ การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั วิชาอ่ืน 1. การบรู ณาการกับวชิ าภาษาไทย ด้านบุคลกิ ภาพในการนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น 2. การบูรณาการกบั วชิ าคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 3. การบูรณาการกับวิชาจริยธรรมในอาชีพคอมพวิ เตอร์ การประเมินผลการเรยี นรู้  หลกั การประเมินผลการเรียนรู้ กอ่ นเรยี น 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ขณะเรียน 1. ตรวจผลงานตามใบงานท่ี 1 หลังเรยี น 1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน คาถาม 1. จงอธบิ ายความหมายเครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ 2. ครือข่ายสงั คมออนไลน์มีกปี่ ระเภทอะไรบ้าง 3. จงยกตัวอยา่ งประโยชนเ์ ครอื ข่ายสังคมออนไลน์ 4. แนวโน้มการใชส้ ือ่ เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์มีแนวโนม้ อย่างไร 5. เวบ็ ไซตท์ ่ีให้บริการเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ มเี ว็บไซต์อะไรบา้ ง 6. ภัยจากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ คือ

19 ผลงาน/ชิน้ งาน/ผลสาเรจ็ ของผู้เรยี น ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น ใบงาน สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเกีย่ วกับสังคมออนไลน์ (Social Network) 1. วเิ คราะห์และตคี วามหมาย 2. ต้ังคาถาม 3. อภปิ รายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง 4. การประยุกตค์ วามรสู้ ่งู านอาชีพ สมรรถนะการปฏิบตั ิงานอาชพี 1. แสดงความร้เู ก่ียวกบั สงั คมออนไลน์ สมรรถนะการขยายผล ความสอดคล้อง จากการเรียน เร่ือง สังคมออนไลน์ (Social Network) ทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มเก่ียวกับ Social Network หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ คือการท่ีมนุษย์สามารถเช่ือมโยงถึงกันทาความรู้จักกัน ส่ือสารถึงกันได้ ผา่ นทางระบบอินเทอรเ์ นต็ ในรูปแบบการให้บริการผ่านเวบ็ ไซต์ท่เี ช่อื มโยงระหว่างบุคคลต่อบุคคล ไปจนถึงบุคคล กบั กลุ่มบุคคลไว้ด้วยกันน่ันเอง โดยเว็บไซต์เหล่าน้ีจะมีพ้ืนที่ให้ผู้คนเขา้ มารู้จักกัน มีการให้พ้ืนท่ีบริการ เคร่ืองมือ ต่างๆ เพือ่ อานวยความสะดวกในการสร้างเครอื ข่าย สร้างเนื้อหาตามความสนใจของผู้ใช้ จนกลายเป็นชมุ ชนท่ีทา ให้ผใู้ ช้สามารถแชร์ข้อมลู ตวั ตน และทุกๆ ส่ิงทีส่ นใจ เชือ่ มโยงเขา้ กบั คนในเนต็ เวิร์กด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ

20 รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้  จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 1 อธบิ ายความหมายเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลนไ์ ด้ 1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ 2. เคร่ืองมอื : แบบทดสอบ 3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : อธิบายความหมายเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ได้ จะได้ 1 คะแนน  จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 2 ยกตัวอย่างประโยชน์เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ได้ 1. วธิ ีการประเมนิ : ตรวจผลงาน 2. เครอ่ื งมือ : แบบประเมนิ 3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ยกตัวอยา่ งประโยชน์เครือขา่ ยสงั คมออนไลนไ์ ด้ จะได้ 1 คะแนน  จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 3 สัมผัสเว็บไซต์ทีใ่ ห้บริการเครือข่ายสงั คมออนไลน์ได้ 1. วธิ กี ารประเมิน : ตรวจผลงาน 2. เครื่องมือ : แบบประเมิน 3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สัมผัสเว็บไซตท์ ่ีใหบ้ ริการเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ได้ จะได้ 2 คะแนน  จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 4 สงั เกตภยั จากการใช้เครือขา่ ยสังคมออนไลนไ์ ด้ 1. วิธีการประเมิน : ตรวจผลงาน 2. เคร่ืองมอื : แบบประเมนิ 3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สังเกตภัยจากการใช้เครือข่ายสงั คมออนไลน์ได้ จะได้ 2 คะแนน  จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 5 จาแนกประเภทเครือข่ายสงั คมออนไลน์ได้ 1. วิธีการประเมนิ : ตรวจผลงาน 2. เคร่ืองมือ : แบบประเมิน 3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : จาแนกประเภทเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ได้ จะได้ 1 คะแนน  จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 6 ติดตามแนวโน้มการใช้ส่อื เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ได้ 1. วิธกี ารประเมิน : ตรวจผลงาน 2. เครอ่ื งมอื : แบบประเมิน 3. เกณฑ์การให้คะแนน : ติดตามแนวโน้มการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ จะได้ 1 คะแนน

21  จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ข้อที่ 7 มคี วามรอบรู้ ระมดั ระวงั เก่ยี วกบั สงั คมออนไลน์ได้ 1. วธิ กี ารประเมิน : ตรวจผลงาน 2. เครอ่ื งมอื : แบบประเมินกระบวนการทางานกลมุ่ 3. เกณฑ์การให้คะแนน : มีความรอบรู้ ระมัดระวงั เกีย่ วกบั สังคมออนไลน์ได้ จะได้ 2 คะแนน แบบประเมนิ กระบวนการทางาน ช่ือกลมุ่ ……………………………………………ช้ัน………………………ห้อง........................... รายชอื่ สมาชกิ 2……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท่ี……. 1……………………………………เลขท…ี่ …. 3……………………………………เลขท…่ี …. ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น 1 การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั 321 2 การแบง่ หนา้ ที่รบั ผดิ ชอบและการเตรียมความพรอ้ ม 3 การปฏบิ ตั หิ นา้ ทีท่ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4 การประเมินผลและปรบั ปรงุ งาน รวม ผู้ประเมนิ ………………………………………………… วันท่ี…………เดือน……………………..พ.ศ…………... เกณฑ์การให้คะแนน 1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั 3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเปา้ หมายการทางานอยา่ งชัดเจน 2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญ่มีสว่ นรว่ มในการกาหนดเปา้ หมายในการทางาน 1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน 2. การมอบหมายหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบและการเตรียมความพรอ้ ม 3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ่วั ถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มกี ารจดั เตรียมสถานที่ ส่อื / อุปกรณไ์ ว้อย่างพร้อมเพรยี ง 2 คะแนน = กระจายงานได้ทั่วถึง แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี อ่ื / อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพร้อมเพรยี ง แต่ขาด การจดั เตรียมสถานท่ี 1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ่วั ถงึ และมสี ื่อ / อปุ กรณไ์ มเ่ พยี งพอ 3. การปฏิบัตหิ น้าทท่ี ไ่ี ด้รับมอบหมาย 3 คะแนน = ทางานได้สาเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาทก่ี าหนด 2 คะแนน = ทางานได้สาเรจ็ ตามเป้าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาท่กี าหนด 1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเป้าหมาย 4. การประเมนิ ผลและปรับปรุงงาน 3 คะแนน = สมาชิกทุกคนรว่ มปรึกษาหารอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรับปรงุ งานเป็นระยะ 2 คะแนน = สมาชกิ บางสว่ นมสี ่วนรว่ มปรึกษาหารือ แต่ไมป่ รับปรงุ งาน 1 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนไมม่ ีสว่ นร่วมปรกึ ษาหารือ และปรับปรุงงาน

22 บนั ทกึ หลงั การสอน หนว่ ยที่ 1 สังคมออนไลน์ (Social Network) ผลการใช้แผนการเรยี นรู้ 1. เนื้อหาสอดคล้องกับจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 2. สามารถนาไปใชป้ ฏบิ ัตกิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรียนการสอน 3. สอื่ การสอนเหมาะสมดี ผลการเรยี นของนกั เรียน 1. นกั ศกึ ษาสว่ นใหญม่ ีความสนใจใฝร่ ู้ เขา้ ใจในบทเรยี น อภิปรายตอบคาถามในกลุ่ม และรว่ มกนั ปฏิบตั ใิ บงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 2. นักศึกษากระตือรือร้นและรบั ผิดชอบในการทางานกลุ่มเพ่ือให้งานสาเรจ็ ทันเวลาทกี่ าหนด 3. นักศึกษาสมั ผัสเว็บไซต์ที่ให้บรกิ ารเครอื ข่ายสังคมออนไลนไ์ ด้ 4. นกั ศกึ ษาสังเกตภัยจากการใชเ้ ครอื ข่ายสังคมออนไลนไ์ ด้ ผลการสอนของครู 1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสูตร 2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทาให้ผสู้ อนสอนได้อยา่ งม่ันใจ 3. สอนไดท้ ันตามเวลาทกี่ าหนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook