Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมที 5 บทเรียนมอดูล.docx

กิจกรรมที 5 บทเรียนมอดูล.docx

Published by ch.aunchalee, 2021-09-25 19:06:50

Description: กิจกรรมที 5 บทเรียนมอดูล.docx

Search

Read the Text Version

คำนำ บทเรียนมอดูลชุดที่ 1 เร่ืองการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมอย่างง่ายด้วยโปรแกรมภาษาซี ฉบับน้ี ข้าพเจ้าเรียบเรยี งขึ้นมาเพ่ือให้ประกอบการเรยี นรู้รายวชิ าหลกั การเขียนโปรแกรม รหัสวชิ า 20204-2004 ช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 3 โดยพยายามเขียนให้นักเรียนเข้าใจง่าย นักเรียนสามารถศึกษาไดด้ ้วยตนเอง เพ่ือให้ความรู้พ้ืนฐานก่อนท่ีจะเขียนโปรแกรมและนาไปใช้ได้จริง และยังได้เพิ่มเติมเน้ือหาบางตอนเพื่อช่วย เสริมความรู้ความเข้าใจแกนักเรียน นอกจากนี้ยังได้เพ่ิมใบกิจกรรมเสริมให้นักเรียนมีประสบการณ์กว้างขาง ยิ่งข้ึน บทเรียนมอดูลชุดน้ีมีจุประสงค์เพ่ือให้นักเรียนได้ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมอย่างง่ายด้วยภาษาซี ภายในบทเรียนมอดูลเลม่ นี้ประกอบด้วย คาแนะนาการใช้บทเรียนมอดูล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ แบบทดสอบ ภาคความรู้ก่อนเรยี น เนือ้ หา ใบกิจกรรม แบบทดสอบภาคความรู้หลังเรียน รวมท้ังเฉลยกจิ กรรมและแบบทด บทเรียนมอมลู นน้ี ักเรยี นสามารถศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเองและเรยี นรู้กันเปน็ กล่มุ เล็กๆ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียนมอดูลชุดน้ีจะช่วยให้นักเรียนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ คาศัพท์ครอบครัวมากยิ่งขึ้นและส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนสูงข้ึน อย่างไรก็ตามในบทเรียน มอดูลเล่มนี้อาจมีบางจุดท่ีมีข้อบกพร่องผิดพลาด ขอให้ท่านผู้อ่านโปรดแจ้งข้าพเจ้าทราบด้วยจะชอบคุณเป็น อยา่ งยิ่ง ข้าพเจา้ ยนิ ดีรบั ฟงั ความเห็นและข้อเสนอแนะจากท่าน และพรอ้ มทจี่ ะนามาแกไ้ ขปรับปรุงบทเรยี นมอ มูลเล่มนี้ใหม้ คี วามสมบรู ณแ์ ละถูกตอ้ ง

สำรบัญ หน้า คานา สารบญั คาช้แี จงในการใช้มอดูลสาหรับนักเรียน สมรรถนะการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เน้ือหาการเรียนรู้ แบบฝกึ หดั แบบทดสอบหลังเรยี น

คำชแี จงในกำรใช้มอดูลสำหรับนกั เรยี น คาชี้แจงในการใช้มอดลู สาหรับนักเรียนการใชบ้ ทเรียนมอดูลใหเ้ กิดประสิทธิภาพตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียน การสอนไดอ้ ยา่ งสูงสดุ นกั เรยี นควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. การเตรยี มตวั ของนักเรยี น 1.1 ศึกษาบทเรียนมอดลู ลว่ งหน้ากอ่ นท่ีจะปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกบั จดุ ประสงค์ ข้อควรปฏิบัติ 1.2 วางแผน และจัดเตรียมอุปกรณ์ทใ่ี ชป้ ระกอบการเรียนรขู้ องตนเองให้พร้อมสาหรบั การปฏิบัติ กจิ กรรมตาทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 2. ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมในแตล่ ะครงั้ นกั เรยี นควรปฏิบัติ ดังน้ี 2.1 ศกึ ษาแนวทางในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมให้มีความเข้าใจอยา่ งถ่องแท้ หากพบปัญหาหรอื ไม่เขา้ ใจ ให้สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากครู 2.2 ปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆตามลาดับขั้นตอนท่ีกาหนด ดงั น้ี 2.2.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบภาคความรู้ก่อนเรยี น 2.2.2 นักเรยี นศกึ ษาและปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ตามแนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามลาดบั ขัน้ ตอนที่กาหนด 2.2.3 นกั เรยี นส่งผลงานหรอื ชน้ิ งานในการปฏบิ ัติกจิ กรรม มสี ่วนรว่ มในการนาเสนอ ผลงานหรอื อภิปรายความรู้ 2.2.4 นกั เรียนทาแบบทดสอบภาคความรู้หลังเรียน

หลกั สูตรรายวชิ า ช่ือวิชำ หลกั การเขียนโปรแกรม รหสั วชิ ำ 20204-2004 ทฤษฎี 2 ปฏิบัติ 2 3 หน่วยกติ หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ สาขางาน คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ เวลำเรยี นต่อภำค 72 ชว่ั โมง รำยวชิ ำตำมหลักสตู ร จุดประสงค์รำยวิชำ 1. เขา้ ใจเกีย่ วกบั หลักการเขียนโปรแกรม 2. สามารถวิเคราะห์ออกแบบผังงาน รหัสเทยี ม และขน้ั ตอนการแกไ้ ขปัญหา Algorithm 3. สามารถออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ 4. สามารถเขียนคาส่ังควบคมุ การทางานเบ้อื งตน้ 5. มีเจตคติและกิจนสิ ัยท่ดี ีในการปฏบิ ตั ิงานคอมพวิ เตอร์ด้วยความละเอียดรอบคอบและถูกต้อง สมรรถนะรำยวชิ ำ 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับการจดั การและกระบวนการที่เกย่ี วกบั การทาธรุ กิจบนส่ือสังคมออนไลน์ 2. สามารถใช้เครอ่ื งมือบนสอื่ สงั คมออนไลนใ์ นการดาเนนิ ธรุ กิจดจิ ิทลั 3. มีเจตคติและกจิ นิสัยทด่ี ใี นการปฏิบัตงิ านด้วยความรบั ผดิ ชอบ ซ่ือสัตว์ ละเอียด รอบคอบ คำอธิบำยรำยวิชำ ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั หลักการเขียนโปรแกรมและการวเิ คราะหง์ าน ผงั งาน หรสั เทียม และขั้นตอนการ แกไ้ ขปญั หา (Algorithm) โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์และการใช้กระบวนการเขยี นโปรแกรม คาส่งั การคานวณ เงือ่ นไขกรณี และการทาซา้ การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย

กำรออกชแื่อบหบนแล่วะยพกฒั ารนเำรโียปนรรแู้กรมอยำ่ งงำ่ ยด้วยโปรแกรมภำษำซี สำระสำคญั ธรุ กจิ ในยุคปัจจุบนั จาเปน็ ต้องทางานกบั ขอ้ มูลจานวนมาก และตอ้ งการความเรว็ ในการนาข้อมลู น้ันมา ใชป้ ระโยชน์ เพราะการแข่งขันทางธรุ กิจในปัจจบุ ันมีสงู มาก โปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงเข้ามามีบทบาทท่สี าคัญกบั การทางานธรุ กจิ ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ประมวลผลขอ้ มูล และสามารถนาข้อมลู ท่ถี ูกต้องมาใชใ้ นการตัดสินใน ในทางธรุ กิจ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีนามาใชง้ านนน้ั บางคร้งั กไ็ มส่ ามารถตอบสนองผ้ใู ชง้ านได้ตามต้องการ จงึ จาเปน็ ตอ้ งพัฒนาโปรแกรมข้ึนมา เปน็ พื้นฐานในการพฒั นาโปรแกรม สมรรถนะประจำหน่วย ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมในงานธรุ กจิ จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 บอกความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไดถ้ ูกต้อง 1.2 บอกรูปแบบการใช้งานนิพจนแ์ ละตวั ดาเนนิ การในภาษาซไี ด้ถูกต้อง 1.3 บอกขัน้ ตอนการติดตั้งโปรแกรมภาษาซี ไดถ้ ูกต้อง 1.4 บอกขั้นตอนการเขียนโปรแกรมภาษาซีไดถ้ ูกตอ้ ง 1.5 บอกชนิดของขอ้ ผดิ พลาดจากการเขียนโปรแกรมภาษาซีไดถ้ ูกตอ้ ง 2 ด้านทกั ษะ 2.1 ตดิ ตัง้ โปรแกรมภาษาซไี ด้ถูกต้อง 2.2 ปฏบิ ัตเิ ขียนโปรแกรมตามโครงสร้างของภาษาซี 2.3 ทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรมภาษาซี 2.4 ใช้งานนพิ จนแ์ ละตวั ดาเนนิ การในภาษาซีไดต้ ามรูปแบบของภาษา 3 ดา้ นจดิ พสิ ัย/คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.1 ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง รอบคอบ 3.2 สง่ งานตรงตามเวลาท่กี าหนด 3.3 มีความซอื่ สตั ย์ อดทน ไม่คดั ลอกผลงานผู้อ่ืน 3.4 ใช้เวลาอย่างเหมาะสมกบั งานทป่ี ฏิบตั ิ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน เร่อื ง กำรออกแบบและพัฒนำโปรแกรมอย่ำงง่ำยด้วยโปรแกรมภำษำ 1. หลักการออกแบบพฒั นาโปรแกรมใชห้ ลักใดในการพัฒนามากท่สี ดุ ก. การตง้ั โจทย์ ข. การวิเคราะห์ ค. การแกป้ ัญหา ง. การเรียนรจู้ ากของจริง 2. สิง่ สาคัญท่ีสุดของการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์คืออะไร ก. สามารถทางานได้อยา่ งรวดเรว็ ข. สามารถทางานได้อย่างหลากหลาย ค. หนา้ ตาและสีสนั สวยงาม ง. สามารถทางานได้อยา่ งถูกต้องครบถ้วน 3. ข้อใดเป็นขัน้ ตอนแรกในการวเิ คราะหง์ าน ก. การกาหนดลกั ษณะของข้อมลู เข้า ข. การกาหนดวิธีการประมวลผล ค. การกาหนดลักษณะของข้อมลู ออก ง. การกาหนดวัตถุประสงค์และเปา้ หมาย 4. ข้อใดต่อไปนี้อยูใ่ นขน้ั ตอนการออกแบบโปรแกรม ก. การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของงาน ข. การพจิ ารณาข้อมูลทจี่ ะนามาใช้ ค. การออกแบบผงั งาน ง. การนาขอ้ มลู ทต่ี ้องนามาประมวลผล 5. ข้อใดเกย่ี วข้องกบั การลงรหัสโปรแกรม ก. การวเิ คราะหป์ ัญหา ข. การออกแบบโปรแกรม ค. การเขียนโปรแกรม ง. การทดสอบและเขียนโปรแกรม 6. การนาเอาผลลัพธข์ องการออกแบบโปรแกรมเปล่ียนเป็นโปรแกรมภาคอมพวิ เตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง สัมพันธก์ บั ข้อใด

ก. การเขียนโปรแกรม ข. การทดสอบและเขียนโปรแกรม ค. การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม ง. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม 7. ข้อใดข้อใดเป็นโปรแกรมที่แม่นยาและเช่ือถือได้ ก. ใช้กี่ครั้งก็ไดผ้ ลลพั ธ์เหมอื นเดิม ข. โปรแกรมเขียนโดยผ้เู ขียนโปรแกรมที่มีชอ่ื เสียง ค. มีเอกสารประกอบชัดเจน ง. โปรแกรมท่ีซือ้ มาราคาแพง 8. ขอ้ ใดจดั เป็นโปรแกรมท่ีอา่ นงา่ ย ก. ข้ันตอนน้อย ข. เปน็ ระเบียบ มียอ่ หนา้ มเี วน้ วรรค ค. ไมต่ อ้ งมหี มายเหตุ ง. สื่อความหมายเฉพาะผมู้ ีความรเู้ กีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ 9. การทดสอบความถูกตอ้ งของโปรแกรม ต้องทาหลงั จากขั้นตอนใดต่อไปน้ี ก. การออกแบบโปรแกรม ข. การเขยี นโปรแกรม ค. การตรวจสอบความผิดพลาดของโปรแกรม ง. การตดิ ตง้ั และบารงุ รกั ษาโปรแกรม 10. . ขอ้ ใดไม่ใช่สง่ิ ทกี่ ารวิเคราะห์งานต้องวเิ คราะห์ ก. การวเิ คราะหภ์ าษา ข. การวเิ คราะห์ตัวแปร ค. การวเิ คราะหข์ ้อมลู เขา้ ง. การวเิ คราะหข์ ้อมูลออก เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย 1. ข. 6. ก . 2. ง. 7. ค. 3. ค. 8. ก. 4. ค. 9. ข. 5. ข. 10. ก.

เน้ือหำสำระกำรเรียนรู้ เนือ้ หำสำระกำรเรียนรู้ ควำมหมำยของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ คาสั่งหรือชุดคาส่ัง ท่ีเขียนข้ึนมาเพ่ือเป็นการแก้ปัญหา โดยอาศัยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เป็นเคร่ืองมือช่วยในการแก้ปัญหา และมีภาษาคอมพิวเตอร์ ท่ีทาการป้อนคาส่ัง เพือ่ กาหนดลาดับการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ ห้สามารถแกป้ ัญหาได้ตามที่ต้องการ ซึง่ จะเกดิ เปน็ งานช้ิน หนง่ึ ขึ้นมาเรยี กว่า “ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ” หลักกำรออกแบบและพัฒนำโปรแกรม การออกแบบโปรแกรมน้ันมีหลายวิธี เช่น การสังเคราะห์ การวเิ คราะห์ และการลองผิดลองถกู เป็นต้น ข้ันตอนกำรพฒั นำ ประกอบไปดว้ ย - การวเิ คราะหป์ ัญหา Program Analysis - การออกแบบโปรแกรม Program Design - การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาคอมพวิ เตอร์ - การทดสอบและแกไ้ ขโปรแกรม - การทาเอกสารประกอบโปรแกรม - การบารงุ รกั ษาโปรแกรม ขน้ั ตอนกำรพัฒนำโปรแกรม 1.กาหนดปัญหา 2. พิจารณาขอ้ มลู 3.พจิ ารณาการประมวลผล ตัวแปลภำษำโปรแกรม คือ ตัวท่ีทาหน้าท่ีแปลภาษาจากภาษาที่มนุษย์ใช้เขียนโปรแกรมไปเป็น ภาษาเคร่ือง เพื่อส่ังให้คอมพิวเตอร์ทางานตามคาสั่งที่มนุษย์ต้องการ โดยตัวแปลภาษาระดับสูง สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดด้วยกัน คือ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) และ คอมไพเลอร์ (Compiler) อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ตัวแปลภาษาแบบน้ี จะแปลและรันโปรแกรมเป็นคราวๆ ไป เม่ือ ต้องการรันโปรแกรม (run) อีกคร้ังก็ต้องมาแปลภาษาใหม่อีก ทาให้เสียเวลาในการแปลภาษา โปรแกรม คอมไพเลอร์ (Compiler) ตัวแปลภาษาแบบนี้ เป็นการอ่านชุดคาสั่งทั้งหมดในคราวเดียว ชดุ คาส่ัง จะถูกเกบ็ ไวใ้ นไฟล์ตน้ ฉบับโปรแกรมเรียกทับศพั ทว์ า่ ไฟล์ซอรส์ โค้ด (Source code) ขน้ั ตอนกำรเขียนโปรแกรม มีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน คือ ข้นั ตอนการวิเคราะห์ปัญหา การวางแผน แก้ไขปัญหา การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และ การจัดทาคู่มือ

เทคนคิ กำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงคส์ าคัญ เพอ่ื สร้างโปรแกรมให้มีคุณภาพ ทานาย ได้ว่าจะเกิดอะไรข้ึนในโปรแกรม เพื่อสร้างโปรแกรมที่ง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ขั้นตอนการพัฒนา โปรแกรมมรี ะบบระเบยี บย่งิ ขึน้ และ เพ่อื ใหก้ ารพัฒนาโปรแกรมมีความรวดเร็วและประหยัดตน้ ทนุ หลักกำรเขียนโปรแกรมภำษำซี แสดงให้ถึงหลักการเขียนโปรแกรมตามขั้นตอน คือ การสร้าง โปรแกรม การคอมไฟล์โปรแกรม การเชื่อมโยงโปรแกรม และ การสั่งรันโปรแกรม ตามลาดับ กฎเกณฑ์กำรเขียนโปรแกรมภำษำซี เป็นส่ิงสาคัญที่ผู้เขียนโปรแกรม จะต้องมีความเข้าใจใน กฎเกณฑก์ ารเขยี นโปรแกรมภาษาซี อักขระในภำษำซี มีกลุ่มอักขระต่างๆ ให้ใช้งานท่ีเรียกว่า Character Sets โดยมีการแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ด้วยกันคอื ชุดอักขระพ้นื ฐาน และชดุ อักขระเพอ่ื การประมวลผล ค่ำคงท่ี ตัวแปรและชนิดข้อมูล และคำเฉพำะ เป็นตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ เมื่อ นามาประกอบรวมเข้าด้วยกัน กจ็ ะเกดิ คาขึ้นมาทส่ี ามารถใชแ้ ทนความหมายได้ นิพจน์และตัวดำเนินกำร นิพจน์ในภาษาซีสามารถพบเห็นได้จากสูตรการคานวณตัวเลข ต่าง ๆ และ ตัวดาเนินการในภาษาซี ที่สาคัญ เช่น ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ตัวดาเนินการยูนารี ตัว ดาเนินการเปรียบเทียบตรรกะ ตัวดาเนินการระดับบิต ตัวดาเนินการกาหนดค่า และ ตัวดาเนินการเง่ือนไข ขน้ั ตอนกำรติดตงั้ โปรแกรม ภำษำซี โดยแสดงข้ันตอนตัง้ แตก่ ารคน้ หาตวั โปรแกรมจากอนิ เตอรเ์ น็ต จน ติดต้ังโปรแกรมเสรจ็ สมบูรณ์ แบบ Step By Step กำรเขียนโปรแกรม กำรตรวจสอบ และกำรแก้ไขโปรแกรม แสดงขั้นตอนการเรยี กใช้โปรแกรมเพ่ือ ใชง้ าน ข้นั ตอนการตรวจสอบความถูกตอ้ ง และการดาเนินการแก้ไขโปรแกรม ท่ีผดิ พลาดได้ ชนิดของข้อผิดพลำด ในการเขียนโปรแกรมภาษาซี จะมีด้วยกัน 3 ชนิด คือ ข้อผิดพลาดท่ีเกิดจาก ไวยากรณ์ ขอ้ ผดิ พลาดทเ่ี กิดจากตรรกะโปรแกรม และ ขอ้ ผิดพลาดในขณะรนั โปรแกรม

แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 6 จงตอบคำถำมต่อไปน้ี 1. บอกความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. อธบิ ายหลักการออกแบบและพฒั นาโปรแกรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. บอกรูปแบบการใช้งานนิพจน์และตวั ดาเนนิ การในภาษาซี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. บอกขัน้ ตอนการติดตง้ั โปรแกรมภาษาซี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. นาความรปู้ ระสบการณ์ไปใช้การเขียนโปรแกรมภาษาซีไปใช้ในงานอาชีพ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. วเิ คราะห์โปรแกรมภาษาของคอมพิวเตอร์ออกเปน็ ข้อ ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ให้แยกแยะตวั แปรภาษา คอมพวิ เตอร์มีอะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ประยกุ ตใ์ ชง้ านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานธรุ กิจอย่างไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. นิพจนแ์ ละตวั แปรภาษามอี ะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. อธบิ ายโครงสร้างภาษาซีให้ถกู ต้อง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบหลังเรียน เร่อื ง กำรออกแบบและพัฒนำโปรแกรมอยำ่ งงำ่ ยดว้ ยโปรแกรมภำษำ 1. หลักการออกแบบพฒั นาโปรแกรมใชห้ ลกั ใดในการพฒั นามากท่ีสุด ก. การตงั้ โจทย์ ข. การวเิ คราะห์ ค. การแกป้ ัญหา ง. การเรียนรจู้ ากของจริง 2. สิง่ สาคัญท่ีสุดของการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์คืออะไร ก. สามารถทางานได้อยา่ งรวดเร็ว ข. สามารถทางานได้อย่างหลากหลาย ค. หนา้ ตาและสีสนั สวยงาม ง. สามารถทางานได้อยา่ งถูกต้องครบถ้วน 3. ข้อใดเป็นข้นั ตอนแรกในการวเิ คราะหง์ าน ก. การกาหนดลกั ษณะของข้อมูลเข้า ข. การกาหนดวิธีการประมวลผล ค. การกาหนดลักษณะของข้อมลู ออก ง. การกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 4. ข้อใดต่อไปน้ีอยูใ่ นขน้ั ตอนการออกแบบโปรแกรม ก. การกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องงาน ข. การพจิ ารณาข้อมูลทจี่ ะนามาใช้ ค. การออกแบบผงั งาน ง. การนาข้อมลู ทต่ี ้องนามาประมวลผล 5. ข้อใดเกย่ี วข้องกบั การลงรหัสโปรแกรม ก. การวเิ คราะหป์ ัญหา ข. การออกแบบโปรแกรม ค. การเขยี นโปรแกรม ง. การทดสอบและเขียนโปรแกรม 6. การนาเอาผลลพั ธข์ องการออกแบบโปรแกรมเปลีย่ นเป็นโปรแกรมภาคอมพิวเตอรภ์ าษาใดภาษาหนึ่ง สัมพันธก์ บั ข้อใด

ก. การเขยี นโปรแกรม ข. การทดสอบและเขียนโปรแกรม ค. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม ง. การจดั ทาเอกสารประกอบโปรแกรม 7. ขอ้ ใดข้อใดเป็นโปรแกรมที่แม่นยาและเช่ือถือได้ ก. ใช้ก่คี ร้ังก็ไดผ้ ลลัพธ์เหมอื นเดิม ข. โปรแกรมเขยี นโดยผู้เขยี นโปรแกรมที่มีชื่อเสยี ง ค. มเี อกสารประกอบชัดเจน ง. โปรแกรมที่ซอื้ มาราคาแพง 8. ข้อใดจัดเป็นโปรแกรมท่ีอา่ นงา่ ย ก. ขั้นตอนนอ้ ย ข. เป็นระเบียบ มียอ่ หน้า มีเวน้ วรรค ค. ไมต่ อ้ งมหี มายเหตุ ง. สื่อความหมายเฉพาะผมู้ คี วามรู้เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ 9. การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม ต้องทาหลังจากขัน้ ตอนใดตอ่ ไปน้ี ก. การออกแบบโปรแกรม ข. การเขียนโปรแกรม ค. การตรวจสอบความผดิ พลาดของโปรแกรม ง. การติดต้งั และบารงุ รักษาโปรแกรม 10. . ขอ้ ใดไมใ่ ช่สง่ิ ที่การวเิ คราะห์งานต้องวเิ คราะห์ ก. การวิเคราะหภ์ าษา ข. การวเิ คราะห์ตัวแปร ค. การวเิ คราะหข์ ้อมูลเข้า ง. การวเิ คราะห์ข้อมลู ออก เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย 1. ข. 6. ก . 2. ง. 7. ค. 3. ค. 8. ก. 4. ค. 9. ข. 5. ข. 10. ก.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook