Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงาน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพกระถางจากขุยมะพร้าวเเละ กากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว

โครงงาน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพกระถางจากขุยมะพร้าวเเละ กากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว

Published by kanyapatuttarachon, 2021-10-04 08:45:48

Description: IS-2-224 (1)

Search

Read the Text Version

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพกระถางจากขยุ มะพร้าวเเละ กากกาแฟอาราบิก้าผสมขยุ มะพรา้ ว โดย นายภาณุภัทร อนิ สองใจ เลขท่ี 9 นายสรวชิ ญ์ ทองทิพย์ เลขท่ี 11 นายเศรษฐพงศ์ รงั สนิ านนั ท์เจริญ เลขท่ี 31 นายภมู ิธรรม พรานฟาน เลขที่ 33 นางสาวธญั ญารตั น์ สันติธัญโรจน์ เลขที่ 35 นางสาวกัญญาภัทร อุตรชน เลขที่ 36 ครูที่ปรกึ ษา ครดู ารง คันธะเรศย์ โรงเรียนปัว อาเภอปวั จังหวัดนา่ น สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 37

เรื่อง การเปรยี บเทียบประสิทธิภาพกระถางจากขุยมะพร้าวเเละ กากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพรา้ ว โดย นายภาณภุ ัทร อนิ สองใจ เลขที่ 9 นายสรวชิ ญ์ ทองทพิ ย์ เลขที่ 11 นายเศรษฐพงศ์ รงั สนิ านนั ท์เจรญิ เลขที่ 31 นายภูมิธรรม พรานฟาน เลขท่ี 33 นางสาวธัญญารัตน์ สนั ตธิ ัญโรจน์ เลขท่ี 35 นางสาวกญั ญาภัทร อุตรชน เลขท่ี 36 ครูทปี่ รกึ ษา ครูดารง คันธะเรศย์ โรงเรยี นปวั อาเภอปวั จังหวัดน่าน สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 ปกี ารศกึ ษา 2564 รายงานนเ้ี ป็นส่วนหนงึ่ ของรายวิชา IS 1 รหัสวิชา I30201 กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ อมพวิ เตอร์



ก โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง ชอ่ื โครงงาน การเปรยี บเทยี บประสิทธิภาพกระถางจากขุยมะพร้าวและกากกาแฟอารา บกิ า้ ผสมขุยมะพรา้ ว ผ้จู ัดทา นายภาณุภทั ร อนิ สองใจ นายสรวิชญ์ ทองทิพย์ นายเศรษฐพงศ์ รงั สินานันท์เจรญิ นายภมู ิธรรม พรานฟาน นางสาวธัญญารตั น์ สนั ตธิ ัญโรจน์ นางสาวกัญญาภัทร อตุ รชน อาจารย์ทปี่ รึกษา ดารง คันธะเรศย์ บทคัดย่อ โครงงานการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกระถางจากขุยมะพร้าวเเละกากกาแฟอาราบิก้า ผสมขุยมะพร้าวน้ี มีจุดประสงค์เพื่อนาสิ่งที่ไม่ได้ใช้มาทาให้เกิดประโยชน์ กลายเป็นกระถางบรรจุ ภัณฑ์ท่ีสามารถใช้งานและย่อยสลายได้ เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระถางจากจากขุยมะพร้าว เเละกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว รวมถึงศึกษาคุณสมบัติท่ีมีความเหมาะสมต่อการนาไปผลิต เป็นกระถางเพาะชา โดยวัดจากการดดู ซบั น้า การพองตวั ของกระถางเพาะชา โดยมีวิธีการทากระถาง จากเส้นใยพืช ดังน้ี เตรียมวัตถุดิบและวัสดุประสาน ได้แก่ 1. กากกาแฟอาราบิก้ารวบรวมจาก อ.ท่า วังผา จ.น่าน 2. กากมะพร้าวจากหมู่บ้าน ปรางค์ ต.ปัว อ.ปัว และ 3. กาวแป้งเปียกจากแป้งมัน สาปะหลัง กาวแป้งเปียก เตรียมโดยนาแป้งมันสาปะหลังผสมกับน้าที่อัตราส่วนของ แป้งมัน สาปะหลัง:น้าเปล่า เท่ากับ 1:10 แล้วนามากวนตั้งบนไฟอ่อน ๆ ประมาณ 15 นาที จะได้ กาวแป้ง เปยี กสใี ส มีลกั ษณะเหนยี ว คนจนกวาแป้งเปยี กมคี วามเย็นตวั ลงก็จะสามารถนามาใชง้ านได้ ในการผสมวตั ถดุ บิ กับวัสดุประสาน ผสมกาวเเป้งเปียกทไ่ี ดก้ ับขุยมะพรา้ วในอตั ราสว่ น 1:50 จากนั้นผสมกาวเเป้งเปียกที่ได้กับกากกาแฟเเละขุยมะพร้าว 1:1:60 ตามลาดับ อัดเป็นกระถางเพาะ ชาตามชนิดของเส้นใยพืชอย่างละ 2 กระถาง โดยกระถางจากขุยมะพร้าว 2 กระถาง และกระถาง

ข จากกากกาแฟอาราบกิ ้าผสมขุยมะพร้าว 2 กระถาง นากระถางไปตากเเดดให้เเข็ง ไม่ทิ้งไว้ในที่อับช้ืน เมื่อกระถางแห้งสนิท จึงนามาทดสอบคุณภาพของกระถางจากขุยมะพร้าว และกระถางจากกาก กาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว การศึกษาคุณสมบัติบางประการของกระถางเพาะชา งานวิจัยน้ีจะ ทาการศกึ ษาคุณสมบัติของกระถาง คอื ค่าเฉลยี่ การดูดซับน้าของกระถางเพาะชา โดยกระถางจากขุย มะพร้าว และกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 12.5 และ 75 ตามลาดับ ส่วน ค่าเฉล่ียการพองตัวของกระถางเพาะชาของกระถางขุยมะพร้าว และกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุย มะพร้าว คา่ เฉลี่ยอยทู่ ี่ 20 และ 80 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามลาดบั การศึกษาสมบัติเฉพาะของกระถางเพาะชา สองชนิดกระถางจากกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าวมีค่าเฉลี่ยท่ีมากกว่ากระถางจากขุยมะพร้าว เพียงอย่างเดียว จึงสรุปได้ว่ากระถางเพาะชาสองชนิดกระถางจากกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุย มะพร้าวนัน้ มปี ระสิทธิภาพที่ดกี วา่ Abstract A project comparing the efficiency of pots from coconut flakes and arabica coffee waste with coconut flakes. The purpose is to bring the unused to good use and become a biodegradable and biodegradable packaging pot. To compare the properties of pots from coconut flakes and arabica coffee with coconut flakes. As well as study the qualities suitable for production as a nursery pot. Measured by water absorption. Inflating by means of making pots from plant fibers Prepare raw materials and soldering materials as follows: 1. Arabica coffee waste collected from Tha Wang Pha, Nan 2. Coconut residue from Prang Village, Pua, Pua, and 3. Wet dough glue from tapioca starch, wet dough glue. Prepare by mixing tapioca starch with water at the ratio of tapioca starch:Water equal to 1:10 and stirring on a soft fire

ค for about 15 minutes. The powder is clear and sticky. Until the wet dough is cooled, it can be used. In mixing raw materials with soldering materials, mix the wet glue obtained with coconut flakes in a ratio of 1:50. Then mix the wet glue obtained with coffee waste and coconut flakes 1:1:60 respectively. It is a nursery pot based on two types of plant fibers, two coconut flake pots and two pots of Arabica coffee with coconut flakes. Put the pots in a drying pot. Do not leave it in a damp place. When the pots are completely dry, they test the quality of the pots from coconut flakes. Studying some features of nursery pots This research will study the properties of pots. The average water absorption of nursery pots by coconut flakes and Arabica coffee waste with coconut flakes. Averages are 12.5 and 75, respectively. Average Section Inflation of coffee pots and arabica coffee waste with coconut flakes The average is 20 and 80 percent, respectively. Studying the specific properties of two types of nursery pots, pots from Arabica coffee waste, coconut flake mixtures are on average greater than pots from coconut flakes alone. It concluded that two types of nursery pots from Arabica coffee waste with coconut flakes had better performance.

ง กติ ติกรรมประกาศ โครงงานนส้ี าเร็จลลุ ว่ งไปได้ด้วยความกรณุ าของคณุ ครดู ารงค์ คนั ธะเรศย์ คุณครู่ทป่ี รึกษา โครงงานท่ีได้ใหค้ าเเนะนา เเนวคดิ ตลอดจนเเก้ไขขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆมาโดยตลอด จนโครงงานเลม่ น้ี เสรจ็ สมบรู ณ์ คณะผจู้ ัดทาโครงงานจงึ ขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ขอกราบขอบพระคุณ นางสาวเอื้องทิพย์ ภมรพรมท่ีชว่ ยเเบ่งปันกากกาเเฟเพ่ือนามาใชใ้ น การทากระถางตน้ ไมใ้ นคร้ังน้ีด้วย คณะผ้จู ดั ทาโครงงาน

สารบัญ จ สารบญั หนา้ สารบญั ภาพ สารบัญตาราง จ บทที่ 1 บทนา ช ซ 1.1 ทมี่ าและความสาคญั 1.2 วัตถุประสงค์ 1 1.3 สมมตฐิ าน 1 1.4 ขอบเขตของโครงงาน 2 1.5 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รับ 2 1.6 ตัวแปรทีศ่ กึ ษา 2 1.7 นิยามศัพทเ์ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ 2 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง 2.1 กาแฟ 5 2.1.1 ลักษณะที่สาคัญของกาแฟ 5 2.1.2 อาราบิก้า 6 2.1.3 กระบวนการผลติ กาแฟสาเรจ็ รปู 7 2.1.4 กากกาแฟ 7 2.1.5 ประโยชน์และโทษของกาแฟต่อรา่ งกาย 7 2.2 มะพรา้ ว 9 2.3 วธิ ีการทากระถาง 9 2.4งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง 10

สารบญั (ต่อ) ฉ บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ การทดลอง หน้า 3.1 วสั ดุอปุ กรณแ์ ละเครื่องมือพเิ ศษ 3.2 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 12 12 บทที่ 4 ผลการดาเดนิ งาน 14 บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนนิ การโครงงาน 15 บรรณานุกรม 16 ภาคผนวก 18 19 ก วัสดอุ ุปกรณ์ ข ขน้ั ตอนการทากระถาง

สารบญั รปู ภาพ ช ภาพที่ หน้า ภาพท่ี 1.1 กระถาง 18 ภาพท่ี 1.2 ขยุ มะพร้าว 18 ภาพที่ 1.3 หมอ้ เเละไม้คน 18 ภาพท่ี 1.4 แปง้ มนั สาปะหลัง 18 ภาพที่ 1.5 กากกาแฟอาราบิกา้ 18 ภาพท่ี 2.1 ผสมนา้ กบั แป้งมันสาปะหลงั 19 ภาพที่ 2.2 ตม้ น้าแป้งมันสาปะหลงั 19 ภาพที่ 2.3 กาวแปง้ เปียกทหี่ นืด 19 ภาพท่ี 2.4 ผสมกากกาแฟอาราบกิ า้ กับขยุ มะพรา้ วในกาวแปง้ เปียก 20 ภาพที่ 2.5 ผสมขยุ มะพร้าวในกาวแปง้ เปยี ก 20 ภาพท่ี 2.6 กระถางจากขุยมะพร้าว 21 ภาพท่ี 2.7 กระถางจากกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพรา้ ว 21

สารบัญตาราง ซ ตาราง หน้า ตารางท่ี1 คา่ เฉลี่ยการดูดซบั นา้ ของกระถางเพาะชา 14 ตารางท่ี2 ค่าเฉลี่ยการพองตัวของกระถางเพาะชา 14

1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ทม่ี าและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันการดูแลสิ่งแวดล้อมและการลดมลภาวะโลกร้อนเป็นส่ิงท่ีสาคัญ การนาวัสดุที่เหลือใช้ หรือการนาขยะมาทาประโยชน์จึงได้รับความสนใจจากทั้งภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึง ส่วนใหญ่ประชากรของประเทศไทยนั้นจะประกอบอาชีพเกษตรกร การปลูกพืชให้ได้ผลผลิตท่ีสูงนั้น นอกจากจะต้องดูแลรักษา รดน้า พรวนดิน ใส่ปุ๋ย พืชบางชนิดจะต้องเพาะกล้าไม้ในถุงเพาะชา หรือ ในกระถางเพาะชาพลาสติกเพ่ือให้ต้นกล้ามีความแข็งแรงพอ ก่อนที่จะปลูก ทุกวันนี้การผลิตกล้าไม้ ของเกษตรกรก็มักจะมีการใช้กระถางหรือถุงเพาะชาพลาสติก เน่ืองจากมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย แต่ กลับกนั กระถางหรอื ถงุ เพาะชาพลาสติกน้ันไม่ให้สารอาหารแก่พืชท่ีปลูก รวมถึงมีความลาบากในการ นาต้นกล้าออก ซึ่งอาจจะทาใหก้ ระทบกระเทอื นตอ่ ระบบของรากต้นกล้า นอกจากนี้ถุงเพาะชายังเป็น ขยะย่อยสลายยาก ส่วนกระถางพลาสติกน้ัน เม่ือมีการชารุด เสียหายก็ไม่สามารถนาไปใช้เพ่ือการ เพาะชาได้ใหม่อีกท้ังยังไม่มีการรับซ้ือคืน เนื่องจากกระถางพลาสติกเก่า มีราคาถูก ไม่คุ้มกับที่จะนา กลับมาใช้ใหม่จงึ ตอ้ งถกู ทง้ิ เปน็ ขยะยอ่ ยสลายไดย้ ากเชน่ กนั จากปญั หาข้างต้น เร่อื งการจัดการขยะมลู ฝอยจากกิจกรรมการเพาะปลูกพืชในพื้นที่เกษตรกรรม เป็นสาเหตุท่กี ่อใหเ้ กิดปัญหาทางสง่ิ แวดล้อม และหากมีการทาลายโดยการเผาจะก่อให้เกิดมลพิษทาง อากาศตามมา ท้ังยังเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์และสัตว์ รวมถึงเป็นสาเหตุหน่ึง ของการเกดิ ภาวะโลกรอ้ น ดังน้ันจึงมีความสนใจนาเสน้ ใยจากธรรมชาติคือ กากกาแฟ และขุยมะพร้าว ซึ่งเป็นวัตถุดิบจาก ธรรมชาตมิ าใช้ทาเป็นกระถางเพาะชา โดยกระถางใบแรกทาจากขุยมะพร้าวและขุยมะพร้าวผสมกาก กาแฟอาราบกิ ้า มาทากระถางจากน้ันนามาทาการเปรียบเทียบหาประสิทธิภาพของเส้นใยท้ัง 2 ชนิด ท่มี ีความเหมาะสมในการจะนามาผลติ เป็นกระถางเพาะชาต่อไป 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการทาโครงงาน 1. เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระถางจากกระถางจากจากขุยมะพร้าวเเละกากกาแฟอาราบิก้า ผสมขยุ มะพรา้ ว 2. เพอ่ื ศกึ ษาคุณสมบตั ิที่มีความเหมาะสมต่อการนาไปผลิตเป็นกระถางเพาะชา โดยวัดจากการดูดซับ น้า การพองตวั ของกระถาง

2 1.3 สมมติฐาน กระถางที่ผสมกากกาแฟอาราบิก้ากับขุยมะพร้าวมีคุณสมบัติเหมาะสมในการนาไปผลิตเป็น กระถางเพาะชา 1.4 ขอบเขตของการทาโครงงาน 1. การศึกษาคุณสมบัติของกระถางเพาะชาจากกระถางจากจากขุยมะพร้าวเเละกากกาแฟอาราบิก้า ผสมขยุ มะพร้าวไดก้ าหนดขอบเขตการศึกษามรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1.1 วัตถดุ ิบและวัสดปุ ระสาน ก) กากกาแฟอาราบิก้ารวบรวมจาก อ.ท่าวังผา จ.นา่ น ข) กากมะพร้าวจากหม่บู ้าน ปรางค์ ต.ปวั อ.ปัว ค) กาวแป้งเปียกจากแปง้ มันสาปะหลงั 2. การศึกษาคุณสมบตั ขิ องกระถางเพาะชาจากกากกาแฟอาราบิก้า และกากมะพร้าว ซ่ึงงานวิจัยน้ีจะ ทาการศกึ ษาองคป์ ระกอบ โดยศึกษาเรือ่ งการดูดซับน้า การพองตัวของกระถางเพาะชา 3. เปรยี บเทียบคุณสมบัตทิ ศ่ี ึกษาไดข้ องกระถางเพาะชาจากกากกาแฟอาราบิกา้ และกากมะพรา้ ว 1.5 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั 1. ทราบชนิดของกระถางท่มี ีคณุ สมบตั ิเหมาะสมทสี่ ดุ ในการนามาทาเป็นกระถาง 2. ผลของการทดสอบสามารถนาไปประกอบกับการตัดสินใจต่อการนาไปพัฒนาเป็นกระถางเพาะชา 1.6 ตัวแปรท่ีศกึ ษา ตัวแปรตน้ ขุยมะพรา้ ว กากกาแฟอาราบกิ ้า ตัวแปรตาม คณุ ภาพของกระถางเพาะชา ตวั แปรควบคมุ ชนดิ กากกาแฟ ชนิดขุยมะพรา้ ว ระยะเวลาการทดลอง ปริมาณน้า

3 1.7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 1. กระถางจากกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว หมายถึง กากกาแฟที่นามาผสมกับขุยมะพร้าว ผสมให้เข้ากันจากนั้นนาไปผสมกับกาวเเปง้ เปียก 2. กระถางจากขุยมะพรา้ ว หมายถงึ ขุยมะพร้าวท่ีนามาผสมกบั กาวแปง้ เปยี ก 3. กาวแป้งเปียก หมายถึง แปง้ มันสาปะหลงั กวนกับนา้ บนเตาไฟใหเ้ หนยี ว 4. คณุ สมบัติต่อการนาไปทากระถาง หมายถึง มีการดูดซับน้า การพองตัวของกระถางเพาะชาท่ีดีเม่ือ เปรียบเทียบระหว่างกระถางจากกระถางจากขุยมะพร้าวและกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว

4 บทท่ี 2 เอกสารและโครงงานท่เี กย่ี วข้อง 2.1 กาแฟ (Coffee) กาแฟ (Coffee) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Coffeaarabica L. กาแฟมีหลาย ชนิดกาแฟชนิดสาคัญ ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ กาแฟอาราบิก้า (C.arabica Linn) กาแฟแคนิโฟรา (C.canephora Pierer ex Frochrer, C.robusta linden) กาแฟไลเบริก้า (C.liberica Bull ex Hiern) และกาแฟเอกเซลล่า (C.excels) กาแฟจัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลางสูงประมาณ 3-5 เมตร ลาต้น ของกาแฟมีลักษณะตั้งตรง กง่ิ จะขนานไปกับระดบั พื้นดนิ หรอื ห้อยตา่ ลงดิน ซ่ึงเป็นที่เกิดของดอกและผลต่อไป ดอกของกาแฟมีสี ขาวบริสุทธ์ิ กล่ินหอมคล้ายมะลิอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ส่วนใหญ่ดอกของ กาแฟจะออกจากข้อของก้าน กาแฟ แมว้ ่ากาแฟจะออกดอกเป็นจานวนมาก แตจ่ ะมีการตดิ ผลเพียง 16-26 เปอร์เซน็ ต์เท่าน้นั ตามเอกสารของกรมส่งเสริมการเกษตรเรียบเรียงโดย ศุภนารถ เกตุเจริญ ระบุว่า กาแฟถูก ค้นพบในราว 850 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดยพบว่าชาวแอฟริกันพื้นเมืองบริโภคกาแฟเป็น อาหารมา นานแล้ว ทั้งน้ีสันนิษฐานว่าคนในยุคนั้นอาจเรียนรู้จากการสังเกต สัตว์ว่ากินอะไร แล้วนามาทดลอง กนิ บ้าง เลยร้วู ่าผลกาแฟมีรสหวาน เป็นที่ชน่ื ชอบของนกและสัตว์ต่างๆ เร่ิมแรกจะกินผลสุก ต่อมานา ผลิตมาแปรรูป ไวน์ เรียกว่า ควาฮเ์ วย์ (Quahwehi) ต่อมาเปล่ียนสาเนียง เป็นดาวา (Kawha) คาฟฟี (Kaffe) และ คอฟฟ่ี (Coffee) ตามลาดับ ส่วนคนไทยสมัยก่อนเรียก โก หรือ ข้าวนะ ปัจจุบัน เรียก \"กาแฟ\" ชาวแอฟริกัน ลองเค้ียวเมล็ดกาแฟแล้วรู้สึกกระปร้ีกระเปร่า สบายหายเหน็ดเหน่ือยจาก อากาศร้อน หรอื เดนิ ทางไกล เพราะในเมล็ด กาแฟมสี ารช่วยกระตนุ้ รา่ งกาย จากสรรพคุณดังกล่าวทา ให้กาแฟได้รับ ความนิยม เริ่มเป็นท่ีรู้จักของคนท่ัวไป ต่อมามีการพัฒนาเมล็ดกาแฟมาป่น ผสมกับ ไขมนั สตั ว์ปั้นเป็นก้อนติดตัวไว้กินเป็นอาหารระหว่าง เดินทาง ชาวพ้ืนเมืองบางเผ่าในแอฟริกาใช้เซ่น ไหวเ้ ทพเจ้า ทน่ี บั ถือ บ้างใช้เมล็ดกาแฟจม่ เลือดให้กนิ ในพิธีร่วมสาบาน บา้ งใช้กาแฟเป็นของขวัญมอบ ให้แขกที่มาเยี่ยมเยือนเค้ียวก่อนเล้ียงอาหาร ต่อมากาแฟถูกนามาใช้เป็นเคร่ืองดื่ม โดยระยะแรกใช้ เมล็ดกาแฟใส่น้าต้มจนน้าออกเป็นสีเหลือง จากนั้นได้พัฒนาการมาเรื่อย ๆ จนมีกรรมวิธีหรือ กระบวนการในการบริโภคกาแฟเช่นปัจจุบัน ในราว ค.ศ. 1000 พ่อค้าทาสนาทางนิโกรจากประเทศ ด้านในแอฟริกาไปยังซาอุดิอาระเบีย ในตะวันออกกลาง โดยพ่อค้าทาง และทาสได้นาผลและเมล็ด กาแฟติดตวั ไปด้วย ชาวอาหรบั กาแฟไปปลูกและเกบ็ เป็นความลับ เมลด็ กาแฟ กาแฟจัดเป็นเคร่ืองดื่มท่ีได้รับความนิยมมากท่ีสุดอย่างหนึ่งของโลก จากประวัติศาสตร์อัน ยาวนาน ต้นกาเนิดในทวีปแอฟริกาไปสู่ยุโรป และได้แพร่หลายไปยังทุกมุมโลก ผ่านเส้นทางการค้า ประวัตศิ าสตร์ของโลกยคุ อาณานิคม ผลจากการเดินทางอันยาวนานได้บ่มเพาะสายพันธุ์และกรรมวิธี การผลิต พัฒนาด้านการค่ัวและการปรุงกาแฟในสูตรต่าง ๆ ตามรากฐานทางวัฒนธรรมท่ีกาแฟได้

5 แทรกตวั เขา้ ไป กาแฟเป็นผลผลิตท่ีได้จาก ต้นกาแฟ (Coffee Tree: Coffea) ผลกาแฟมีลักษณะเป็น ผลกลมรี เมื่อสุกจะมีสีแดงสดเหมือนลูกเชอร์ร่ี (แต่มีบางสายพันธุ์ท่ีสุกแล้วมีสีเหลือง) ภายในจะมี เมล็ด 2 เมล็ดประกบกันโดยท่ัวไปแล้ว จะนิยมเรียกผลดิบนี้ว่าเชอร์รี่ (Cherry) ส่วนท่ีนามา รับประทานคือ เมล็ด ซ่ึงต้องนามาผ่านกระบวนการแยกเนื้อออกก่อน หลังจากน้ันจึงนาเมล็ดมาตาก แห้ง เมอ่ื ได้เมล็ดแหง้ (Green beans) แล้ว เกษตรกรจึงนาไปขายให้แก่พ่อค้าโรงงานคั่ว เป็นที่ทราบ กนั ดวี า่ กาแฟในโลกใบน้ีแบ่งออกเปน็ 2 พันธ์ใุ หญ่ ๆ นน่ั คอื อาราบิก้า และ โรบัสต้า โดยอาราบิก้าจะ สามารถเพาะปลูกให้ได้ผลผลิตทม่ี ีคุณภาพดไี ดต้ อ้ งปลูกในท่สี งู สภาพอากาศ เย็น เพราะหากปลูกในที่ ต่าและอากาศร้อนเกินไปจะทาให้ผลกาแฟเชอร์ร่ีสุกเร็ว ซ่ึงน่ันเป็นผลร้าย เพราะเมล็ดกาแฟจะไม่มี ปริมาณคาเฟอีนมากพอ จึงไร้คุณภาพ ในส่วนของกาแฟโรบัสต้าสามารถ ปลูกได้ในสภาพแวดล้อม ท่ัวไป คือ อากาศร้อนช้ืน ต้องการน้าจานวนมาก โดยในตัวโรบัสต้านั้นจะมี สารคาเฟอีนมากพออยู่ แล้วจึงทาให้มีความทนมากกว่าอาราบิก้าท่ีต้องใช้เวลาบ่มสะสม นอกจากนี้ พื้นท่ีในการเพาะปลูกก็ สามารถปลูกได้ในท่ี ๆ ต่ากว่าได้ เน่ืองจากกาแฟที่รับประทานกันในปัจจุบันนิยมให้อยู่ในรูปแบบ กระบวนการสุดทา้ ยน่ัน คือ การนาเมล็ดกาแฟสารมาค่ัวตามความต้องการ เช่น คั่วอ่อน ค่ัวกลาง คั่ว แก่ เมอ่ื เปน็ ผลกาแฟ เชอร์ร่ีที่ยังไม่ไดท้ าการแปรรปู นัน้ จะไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก แต่กลุ่มคนท่ี นิยมนากาแฟไปให้ตัวชะมดกินเพ่ือเป็นการหมักกาแฟกลับได้รับความนิยมมากกว่าการท่ีคนท่ัวไปจะ กินเน้ือเชอร์รี่นี้เอง กาแฟเชอร์ร่ีจะถูกนาไปผ่าน 6 กระบวนการแปรรูป โดยแบ่งออก เป็น 2 วิธีใหญ่ ๆ น่ันคือการหมักเอาเนื้อเชอร์รี่ออก และ การตาก แห้งกาแฟเชอร์รี่ ซ่ึงการหมักก็จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ โดยที่กล่าวไปข้างต้นคือการให้ ชะมดรับประทานกาแฟและขับถ่ายออกมา หรือการ แชห่ มกั เอาไว้ในบอ่ ซีเมนต์ และการกะเทาะออก ดว้ ยเคร่ืองกะเทาะกาแฟเชอร์ร่ีเปียก โดยวิธีนี้จะช่วย ให้กาแฟมีรสชาติที่แปลกใหม่ไปจากเดิม เนื่องจากเป็นวิธีใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย (ภาควิชากาย วภิ าคศาสตร์ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2552) 2.1.1 ลักษณะทสี่ าคัญของกาแฟ ก) ลาต้น โดยธรรมชาติแล้วกาแฟมีลักษณะลาต้นตรงในระยะแรกของ การเจริญเติบโตจะ ไม่แตกกิ่ง แต่มีใบแตกออกตรงข้ออยู่ตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ต่อมาเม่ือมี การเจริญเติบโตขึ้นเร่ือย ๆ ก็มี การแตกก่ิงออกจากลาต้นในลักษณะท่ีแยกออกจากกัน และอยู่ตรงข้ามกัน กิ่งท่ีแตกออกมาใหม่จะมี ใบแตกออกเปน็ คๆู่ อย่ตู รงข้อเช่นเดียวกับลาต้น ก่ิงจะขนานไปกับระดับ พื้นดินหรือห้อยต่าลงดิน ซ่ึง เป็นท่ีเกิดของดอกและผลต่อไป นอกจากการแตกก่ิงออกจากตาของลาต้น อีกเป็นจานวนมาก ทาให้ หนอ่ เกดิ ขนึ้ ใหม่น้ีเบียดกับลาต้น ซง่ึ ถ้าหากปลอ่ ยไว้ให้เจริญเตบิ โตเร่ือย ๆ โดยไม่มีการปลิดทิ้งหรือตัด จะทาให้กาแฟมีทรงพุ่มท่ีแนบแน่นเป็นที่สะสมของโรค แมลง และให้ผลผลิตลดต่าลง (กรมวิชาการ เกษตร, 2560) ข) ดอก ดอกกาแฟมีสีขาวบริสุทธิ์ กล่ินหอมคล้ายมะลิป่า รูปคล้ายดาว มีก้านสั้นอยู่รวมกัน เป็นกลุ่มจะเกิดตามข้อของต้นกาแฟบ้างเป็นส่วนน้อย แต่ส่วนใหญ่ดอกกาแฟจะ ออกจากข้อของก่ิง กาแฟ โดยเริ่มไปจากข้อท่ีอยู่ใกล้ลาต้นออกไปหาปลายก่ิง กาแฟมีลักษณะพิเศษ คือ ข้อของก่ิงจะส้ัน สามารถทจ่ี ะเกิดดอกและติดผลไดม้ าก ดอกกาแฟเปน็ ดอกสมบูรณ์เพศมีทัง้ เกสร ตัวผู้และเกสรตัวเมีย รวมอยู่ในดอกเดียวกัน เกสรตัวเมียจะมีอยู่สองส่วน เกสรตัวผู้มีอยู่จานวนเท่ากับ กลีบดอกคือ

6 ประมาณ 2-4 อัน กาแฟบางพันธ์ุอาจจะมีการผสมพันธ์ุข้ามสายพันธ์ุกันง่ายหากอยู่ใกล้ กันซ่ึงการ ออกดอกของกาแฟขึ้นอยู่กับปริมาณน้า เม่ือถึงฤดูฝน ดอกจะออกหลังจากฝนตกประมาณ 1 เดือน แต่ถ้าหากอากาศชุ่มช้ืนอยู่ตลอดปี หรือมีการชลประทานเพียงพอ กาแฟจะออกดอกสม่าเสมอตลอด ท้งั ป(ี กรมวิชาการเกษตร, 2560) ค) ผล แม้ว่าดอกกาแฟจะออกเป็นจานวนมากแต่การติดผลจะมีเพียง 16- 26 เปอร์เซ็นต์ เมื่อกลีบดอกร่วงแล้ว ผลกาแฟจะติดเป็นผลมีลักษณะคล้ายลูกหว้า ซ่ึงภายในผลกาแฟ 8 แบ่ง ออกเป็นสองส่วน ส่วนหน่ึงมีเมล็ดกาแฟ 1 เมล็ด ซึ่งมีลักษณะแบนยาวไปตามรูปของเปลือกหุ้ม ถ้า หากเมล็ดหนึ่งเมล็ดใดลีบเพราะการผสมพันธ์ุไม่ดี เมล็ดท่ีเหลืออยู่จะมีรูปกลม ส่วนยาวจะมีรูปโค้ง เปน็ รปู กระบอกตดั เมล็ดท่สี กุ จะมสี ีน้าตาลปนแดง (จารุพัชร์ และคณะ, 2556) ง) เมล็ดของกาแฟ ลักษณะของผลกาแฟจะคล้ายลูกหว้าภายในผลจะแบ่งออกเป็น สองส่วน ส่วนหน่ึง มีเมล็ดกาแฟ 1 เมล็ด เมล็ดกาแฟเป็นส่วนท่ีอยู่ในกะลาซึ่งห่อหุ้มด้วยเย่ือบางๆ อีก ช้ันหน่ึง ส่วนเน้ือกาแฟท่ีหุ้มกะลาเมื่อสุกเต็มท่ีจะมีรสหวานเล็กน้อย ลักษณะเป็นยางเหนียว ๆ เม่ือ ปลอก เปลือกและเน้ือทิ้งไปแล้วนาเมล็ดกาแฟท้ังกะลาไปตากแห้งจะเสียน้าหนักไปประมาณ 7 เปอร์เซ็นต์ และเม่อื กะเทาะเอาเปลือกและเนื้อท้ิงแล้ว นาเมล็ดกาแฟท้ังกะลาไปตากแห้งอีกคร้ังจะเสียน้าหนักไป อีกประมาณ 14.78 เปอร์เซ็นต์ หรือกล่าวได้ว่าผลกาแฟสดที่เก็บมาทาเป็นกาแฟแห้งจะสูญเสีย น้าหนักไปประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ โดยเฉพาะหากนาไปคั่วทาเป็นกาแฟสาหรับชงรับประทานก็จะมี เน้ือกาแฟแท้เพียงร้อยละ 13.60 ของน้าหนักสดของที่เก็บมาจากต้นใหม่ ๆ องค์ประกอบของสารใน เมล็ดกาแฟท่ีสาคัญคือ คาเฟอีน 0.3-3.5 เปอร์เซ็นต์กรดคลอโรเจนิก 3-10 เปอร์เซ็นต์ และกรดแทน นกิ เป็นต้น (มาลัยพร, 2552) ส่วนประกอบของเมล็ดกาแฟแสดงดงั ภาพท่ี 2-1 2.1.2 อาราบกิ า้ (Arabica: Coffea Arabica) เปน็ สายพนั ธุ์ท่ผี ูค้ นนิยมมากทส่ี ุด มีลักษณะเด่นที่กลิ่นและรสท่ีหอมหวนเป็นที่ ถูกใจคนท่ัว โลก มีคาเฟอีนประมาณ 1-1.6% ต่อเมล็ด แต่มีข้อจากัดในเรื่องพ้ืนท่ีปลูก มักจะไม่ทนต่อโรคและ ความผันผวนทางสภาพอากาศ (กลัวน้าค้างแข็ง) ในประเทศไทยมีการปลูกมากในจังหวัดภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮอ่ งสอน ตาก น่าน ลกั ษณะของเมล็ดจะเปน็ เมล็ดทค่ี อ่ นข้างเรียวและส่วน ผ่าตรงกลางน้ันจะเป็นเหมือนรูปตัว S พื้นที่ท่ีใช้ปลูกอาราบิก้าให้ได้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพควรจะเป็นท่ี สูง อากาศเย็น เพราะสายพันธุ์นี้จะเจริญเติบโตได้ดีจึงจาเป็นต้องปลูกบนพื้นท่ีที่อยู่เหนือขึ้นไปจาก ระดับของน้าทะเลประมาณ 800 – 1,000 เมตร หรือ 1,000 เมตร ข้ึน และด้วยเอกลักษณ์ของกล่ินท่ี หอมอย่างพอดีพร้อมกับรสชาติท่ีออกไปทางกลมกล่อมนุ่มนวล อีกทั้งยังมีปริมาณของคาเฟอีนที่ต่า มากไม่ถึง 2% ท่ี ส่งผลให้สายพันธุ์กาแฟอาราบิก้าเป็นท่ีนิยมและขายได้มากท่ีสุดในโลก เฉล่ียถึง 80% อาราบกิ า้ มีสายพนั ธุ์ย่อยอีกหลายสายพนั ธ์ุ เช่น ทริปปกิ ้า , เบอรเ์ บิล้ , คาทูร่า , คาติมอร์ (เกิดจากการผสมลูกครึ่ง คาทูร่า-โรบัสต้า เข้ากับ คาทรู า่ จนได้ลูกผสม 75% คาทรู ่า – 25% โรบสั ตา้ มีรสชาติใกลเ้ คียงกบั สายพนั ธ์ุบรสิ ทุ ธ์อิ าราบกิ ้า แตม่ คี วามทนทานตอ่ สภาพ ภูมอิ ากาศและโรคราสนมิ เหมอื นโรบัสตา้ ) (พชั นี สวุ รรณวศิ ลกจิ , 2552)

7 การให้ผลผลิต ต้นกาแฟจะเร่ิมให้ผลผลิตประมาณเดือนเมษายนจะผลิตตาดอกในซอกใบท่ี ข้อของก่งิ นอนดอกกาแฟมีสีขาวเกิดเป็นกลุ่ม แต่ละช่อดอกในแต่ละข้ออาจมี 2-20 ดอกบานต่อเนื่อง ในช่วง 8-12 วัน ดอกท่ีออกในแต่ละครั้งจะมีการติดผลจนถึงการเก็บเกี่ยว ผิวผลจะมีสีเขียวและ คอ่ นข้างแขง็ ต่อเมอ่ื มกี ารเจริญพัฒนาและสะสมสารอาหารมากข้ึน จนกระทั่งมีขนาดผลโตเต็มที่ ผลท่ี สุกแก่เต็มท่ี (Coffee cherries) ดังแสดงในภาพที่ 2.1 ผิวผลจะมีการ 7 เปล่ียนจากสีเขียวไปเป็นสี ตามลกั ษณะประจาพนั ธุ์ เชน่ สแี ดงสดแบบเลอื ดนก สีแดงเข้ม แบบสีเลือดหมู สีส้มหรือสีเหลือง เป็น ต้น ผิวผลจะมีความอ่อนนุ่มข้ึน ระยะเวลาต้ังแต่การออกดอกจนถึงการเก็บเกี่ยวสาหรับอาราบิก้าคือ 6-8 เดอื น (พชั นี สวุ รรณวิศลกิจ, 2549) 2.1.3 กระบวนการผลติ กาแฟสาเร็จรปู นอกจากเปลือกกาแฟแลว้ กากกาแฟกเ็ ป็นของเสียอกี ชนิดหนง่ึ ทีเ่ กิดข้ึน จากกระบวนการ สกดั เมลด็ กาแฟดิบในอุตสาหกรรมการผลิตผงก่ึงสาเร็จรูป โดยเมล็ดกาแฟที่ผา่ นการ 10 คั่วแลว้ จะถกู นาเขา้ ส่เู ครื่องบด ต่อมากาแฟผงที่บดแลว้ จะเข้าสู่เครอ่ื ง Percolator เพอ่ื ทาการสกดั กาแฟด้วยไอ น้า จะทาให้ได้กาแฟออกมาอยูใ่ นรปู ของเหลว จากนั้นจะถูกสเปรยด์ ว้ ยอากาศรอ้ นทาให้ ได้กาแฟผง กงึ่ สาเร็จรูปออกมา ซ่ึงในร้านกาแฟทม่ี ีการค่วั เมล็ดกาแฟเองก็จะมีขัน้ ตอนคล้ายกัน เพยี งแตจ่ ะไม่มี การผา่ นน้ากาแฟไปยังเครื่อง Spray dryer ข้นั ตอนต่าง ๆ (ศรนั ย์, 2554) 2.1.4 กากกาแฟ กากกาแฟเป็นของเสียที่เกดิ จากการผลติ ผงกาแฟสาเรจ็ รูป ในปี ค.ศ. 1970 ประเทศบราซลิ ไดก้ ลายเป็นผผู้ ลติ กาแฟผงก่งึ สาเรจ็ รูปรายใหญท่ ส่ี าคญั ในช่วงแรกน้ันมีผงกาแฟทีผ่ า่ นการใช้แลว้ ซ่งึ เปน็ ของเสยี เกิดขน้ึ 1.86 กิโลกรัม ตอ่ การผลติ ผงกาแฟกึง่ สาเรจ็ รูป 1 กโิ ลกรัม แตห่ ลังจากมีการ พัฒนาทางด้านอตุ สาหกรรม ทาให้อัตราสว่ นการเกดิ ของเสียส่วนน้คี งเหลือ 1.27 กิโลกรัมตอ่ การผลติ ผงกาแฟก่งึ สาเร็จรปู 1 กิโลกรมั จนกระท่ังในปัจจุบันอัตราส่วนน้ีเหลอื เพยี ง 0.91 กโิ ลกรัมตอ่ ผง กาแฟกึ่งสาเรจ็ รปู 1 กิโลกรัมเทา่ นั้น (Silva et al., 1998) แมว้ า่ อัตราการเกดิ ของเสียนีจ้ ะลดลง แตป่ รมิ าณการผลิตกาแฟทเ่ี พ่มิ สงู ขึ้นมากกว่าในอดีต ก็ ทาให้ของเสียจากกระบวนการผลติ กาแฟยงั คงมีผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อมอยู่ เนื่องจากของเสียเหล่านี้ มีองค์ประกอบของสารอินทรีย์อยู่เปน็ จานวนมาก จึงไม่สามารถท้งิ ได้โดยไมผ่ ่านกระบวนการบาบัด กอ่ น ดว้ ยเหตนุ ้ีในปัจจุบันจึงมแี นวคดิ ที่จะนาของเสียเหล่าน้ีไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ (Tokimoto et al., 2005) 2.1.5 ประโยชนแ์ ละโทษของกาแฟต่อร่างกาย อดิศร (2551) กล่าวถึง ประโยชนแ์ ละโทษของกาแฟ ทม่ี ผี ลต่อร่างกายของมนุษยไ์ ว้ ดงั น้ี ก) ประโยชน์ 1. ป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ บี มีผู้วิจัยพิสูจน์แล้วว่า กาแฟมีประโยชน์ในการป้องกัน โรคดังกลา่ ว

8 2. ป้องกันโรคหอบ คาเฟอีนในกาแฟสามารถระงับความตึงเครียดของประสาทสัมผัส สารอง ลดการเกิดโรคหอบได้ 3. ป้องกันมะเร็งตับ มะเร็งลาไส้ และมะเร็งช่องปาก จากผลการทดลองจริงพบว่า กาแฟมีประสทิ ธภิ าพปอ้ งกนั โรคขา้ งตน้ โดยเฉพาะคาเฟอีนมีกรดอะซติ ิกที่ชว่ ยป้องกนั โรค 4. ขับไล่ความชรา ออกซิเจน เป็นสารท่ีร่างกายต้องการมากจริง แต่ถ้ามากเกินไป โอกาสจะเป็นมะเร็งสูง ทาให้แก่เร็วโดยเฉพาะกาแฟที่เข้มข้นจะทาให้ออกไซด์แตกตัว ลดการเกิด มะเรง็ ไดก้ ระตุ้นการเผลาผลาญอาหารในร่างกาย 5. กาแฟสามารถลดอัตราคลอเลสเตอรอล ป้องกันโรคหัวใจเพราะในกาแฟมีนิโคตินแต่ ไม่ใช่ชนิดเดยี วกับบุหร่ี แต่เป็นวติ ามนิ บีรวมชนิดหน่งึ ทีร่ า่ งกายตอ้ งการชว่ ยลด คลอเลสเตอรอลในเส้น เลอื ด จึงป้องกนั โรคหวั ใจ 6. การศึกษาการใชก้ ากกาแฟเป็นวสั ดุสาหรบั การผลติ ปยุ๋ หมัก พบวา่ กากกาแฟสามารถ ใช้เป็นวัสดุหมักปุ๋ยได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากมีแร่ธาตุท่ีเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช อีกท้ัง ต้นไม้ที่ปลูกด้วยดินที่มีส่วนผสมของกากกาแฟจะช่วยป้องกันไม่ให้พวกหอย ทากหรือตัวบุ้งมากัดกิน ใบไม้ (Pushpa et al., 2012) 7. การศึกษาเพ่ือนากากกาแฟมาใช้ในทางด้านพลังงานทางเลือก เช่น การศึกษาความ เป็นไปได้ในการใช้กากกาแฟสาหรับการผลิตไบโอดีเซล (Nidia et al., 2012) การใช้ประโยชน์จาก กากกาแฟ เพอื่ ใชเ้ ป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมเน่อื งจากกากกาแฟมีค่าความร้อนสูง คือ 5,000 กิโลแคลลอรี่ตอ่ กโิ ลกรัม (Silva et al., 1998) เปน็ ต้น 8. การนากากกาแฟมาประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน เช่น การออกแบบโคมไฟจาก กากกาแฟ ได้แก่ โคมไฟตง้ั พนื้ โคมไฟตั้งโต๊ะ และโคมไฟระย้า (พิจัยสขุ , 2555) ข) โทษจากประโยชน์ท่ีกล่าวมาหากด่ืมในปริมาณมากเกินไปอาจทาให้เกิดโทษแก่ร่างกายได้ เช่น 1. ดื่มกาแฟตอนเย็นทาให้นอนไม่หลับ เพราะกาแฟมีผลต่อร่างกาย คนเราไม่เหมือนกัน ควรด่มื ให้น้อยลง 2. สตรีมีครรภ์ไม่ควรดืม่ เพราะคาเฟอีนมีผลตอ่ อวัยวะของทารกในครรภท์ ย่ี งั อ่อนแออยู่ 3. เด็กไมค่ วรด่มื กาแฟ โดยเฉพาะเดก็ ที่มอี ายุต่ากวา่ 10 ขวบ 12 ขวบ 4. คนท่ีเป็นโรคกระเพาะอาหารควรงดด่ืมกาแฟ เพราะคาเฟอีนช่วยหล่ังน้าย่อยใน กระเพาะจะยง่ิ เพ่มิ กรดในกระเพาะอาหาร 5. คนเปน็ โรคหัวใจไม่ควรด่มื กาแฟเพราะคาเฟอนี ช่วยกระตุ้นโรคหวั ใจ 6. เพิ่มอัตราเส่ียงในการเป็นโรคกระดูกพรุนสาหรับผู้หญิงหมดประจาเดือน เนื่องจาก คาเฟอนี มีผลต่อการดดู ซึมยบั ยง้ั แคลเซียม 2.1.6 การใช้ประโยชนจ์ ากเศษเหลอื ของกาแฟจากอตุ สาหกรรมการเกษตร เศษเหลือกาแฟจากอุตสาหกรรมการเกษตร สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับผลผลิตโดยการ ใช้ประโยชน์จากส่ิงเหลือใช้เป็นแนวทางหนึ่งในการทาการเกษตรได้อย่างย่ังยืน ซ่ึงในแต่ละปีมีของ เหลือใช้ทางการเกษตรเป็นจานวนมากที่ไม่ได้นามาใช้ให้เกิดประโยชน์และบางครั้งอาจทาให้เกิด

9 ปญั หาต่อสง่ิ แวดล้อมอีกด้วย ซ่ึงในกระบวนการผลิตเมล็ดกาแฟนอกเหนือจากจะได้เมล็ด กาแฟ สาร ที่เป็นผลผลิตโดยตรงแล้ว ยังมีส่ิงเหลือใช้ท่ีเป็นผลพลอยได้จากการผลิตอีกหลายชนิดท่ี เกษตรกร สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถผลิตเป็นการค้าเพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับเกษตรกรได้อีกด้วย (พรพรรณ และคณะ, 2557) 2.2 มะพร้าว กากมะพร้าว ณรงค์ โฉมเฉลา (2559:หน้า 6) ได้กล่าวถึงรายละเอียดของกากมะพร้าวและใย มะพร้าว ดังน้ี มะพร้าวเป็นพืชตระกูลปาล์ม ซ่ึงเส้นใยแข็งที่ได้มาจากกาบมะพร้าวจะเรียกว่า “ใย มะพร้าว” ดว้ ยเสน้ ใยทีม่ ีลักษณะเฉพาะทางธรรมชาติเป็นเส้นใยท่ีหยุ่นเหนียวแข็งแรง ทนทาน มีอายุ การใช้งานท่ียาวนาน และเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมเน่ืองจากเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติจึงสามารถ ย่อยสลายได้ง่าย ดังนั้นใยมะพร้าวจึงถูกนามาใช้ประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมรวมท้ังเป็นวัตถุดิบ สาหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน ชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ กากมะพร้าวและใยมะพร้าวน้ี สามารถใช้ใน อตุ สาหกรรมการเกษตรได้ เช่น การใช้เป็นฐานรองเพื่อการยึดเกาะของต้นกล้า และต้นกล้วยไม้ หรือ ใช้แทนหญ้าและฟางคลุมพ้ืนดินรอบๆ ต้นไม้ เพื่อรักษาความช้ืน และยังใช้ปกคลุมที่โล่งเพ่ือเก็บกัก ความช้นื รกั ษาพ้นื หญา้ ใหเ้ ขียวชอมุ่ (บณุ ยภู มาโต และธนัชชา สาราญ, 2561: หนา้ 5) เนอื่ งจากมะพร้าว มีเส้นใยแข็งท่ีได้มาจากกาบมะพร้าว เรียกว่า “ใยมะพร้าว” ด้วยเส้นใยท่ีมี ลักษณะเฉพาะทางธรรมชาติเป็นเส้นใยที่ยืดหยุ่นเหนียวแข็งแรง ทนทาน มีอายุการใช้งานท่ียาวนาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเน่ืองจากเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติจึงสามารถย่อยสลายได้ ง่าย สามารถใช้ในอุตสาหกรรมการเกษตรได้ ใช้ปกคลุม และช่วยรักษาความช้ืน รวมทั้งยังใช้เป็น ฐานรองเพ่ือการยึดเกาะของต้นกล้า เหมาะแก่การท่ีจะน้ามาศึกษาอีกด้วยเช่นกัน ดังน้ันจึงเลือกส่วน ของกากมะพรา้ วทีเ่ หลอื ท้ิงจากการบรโิ ภคมาใช้ประโยชน์ 2.3 วธิ กี ารทากระถาง 1. กระถาง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณยสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง\"ภาชนะท่ีมีปากกว้าง รปู แบบตา่ งๆ ใช้สาหรับปลูกตน้ ไม้หรอื ใสน่ า้ \" ทามาจากดิน หรือ พลาสติกหรือ เซรามิก มีรูระบายน้า ท่ีก้น และมี ถาดรองรับน้าเข้าชุดกัน ขนาดรูปทรงและสีสันแตกต่างกันไปตามความนิยมใช้สาหรับ ตกแตง่ สภาพภายในอาคารใหส้ วยงามเพิม่ ขนึ้ 2. วธิ ที ากระถาง บุณยภู มาโต และธนัชชา สาราญ (2561: หน้า 9) ได้กล่าวว่า วิธีการทากระถางจากขุย มะพร้าววา่ มีวัสดุ และข้นั ตอน ดังนี้ วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการทากระถางจากเสน้ ใยพืช 1) กากมะพร้าว 2) กาวแปง้ เปยี ก

10 3) กระถางต้นไม้ขนาดต่างกัน ขัน้ ตอนการทากระถางต้นไม้ 1) นากากมะพร้าวและกาวแปง้ เปียกมาผสมให้เขา้ กัน 2) ใชม้ ือนวดแปง้ เปยี กกบั กากมะพรา้ วให้เข้ากนั 3) นากากมะพร้าวทผ่ี สมแล้วอัดใสก่ ระถางให้แน่น 4) นากระถางอีกใบมากดตรงกลางกระถางให้เปน็ หลุมตรงกลางแลว้ ทิง้ ให้แหง้ 5) คอ่ ย ๆ แกะแบบออกแล้วท้งิ ไวจ้ นแหง้ สนิท พงศธร หนูเล็ก จิราณุวัฒน์ แสงมุกด์ และชินพันธ์ุ แซ่ซ้ิม (2559:หน้า 7) กล่าวว่าวิธีการผลิต กระถางจากขุยมะพร้าวจะประกอบด้วยส่วนผสม ดังนี้ ขุยมะพร้าว 100 กรัม ,ใยมะพร้าว 150 กรัม และกาวแป้งเปียก 50 กรัม ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน จากน้ันนาไปอัดด้วยเคร่ืองอัดไฮโดรลิก อัดด้วย แรงที่ 10 ตัน ซ่ึงจะทาให้กระถางที่ได้ออกมามีรูปทรงและลักษณะตามที่ต้องการ และเมื่อนาไปตาก แดดจะไม่เกิดรอยร้าว รวมท้ังไม่แตกที่ปากขอบกระถางด้วย ทั้งน้ี ส่วนผสมดังกล่าวจะผลิตกระถาง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 น้ิวได้จานวน 1 กระถาง และหลังจากนากระถางท่ีได้ไปตากท้ิงไว้ ประมาณ 10 นาที เมื่อกระถางแห้งดีแลว้ กส็ ามารถนาไปใช้งานได้ทันที 1. นากากกาแฟไปตากแดดใหแ้ ห้ง 2. นากากกาแฟใส่กะละมัง 3. เทกาวแป้งเปียกทีต่ งั้ ไฟเคย่ี วจนเหนยี วมาเทลงในกะละมัง 4.ผสมกาวแปง้ เปยี กกบั กากากาแฟให้เข้ากัน 5. นากากกาแฟทผ่ี สมแล้วมาอดั ใสก่ ระถางแม่พิมพ์ 6. นากระถางไปตากแดดให้แหง้ แล้วฉีดสเปรย์เคลือบเงา 7. ได้กระถางท่เี สรจ็ สมบรู ณพ์ ร้อมใช้ ( วธิ ที ากระถางจากกากกาแฟ ,2559: หน้า 1) 2.3 งานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง ปัญญา และพิทยา (2553) ทดสอบคุณสมบัติความแข็งแรงของวัสดุ และอัตราส่วนที่ 34 เหมาะสมในการพิจารณาเลือกวัสดุความชื้นของวัสดุการดูดซับน้าการพองตัวของกระถาง ผล การศึกษาพิจารณาเลือกวัสดุ พบ่ว่าการทดสอบหาความช้ืนของวัสดุ หมาก ใบไม้ผักตบชวา กาบ มะพร้าว ชานอ้อย พบว่า ผักตบชวามีความช้ืนที่สูงกว่าวัสดุประเภทชนิดต่าง ๆที่ 56.77 เปอร์เซ็นต์ และมีความหนาแน่นเท่ากับ 0.41 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร โดยได้นาชิ้นส่วนที่ผ่านการอัดโดย เคร่ืองอัดไฮโดรคลอลิกแล้ว มาหาค่าความแข็งแรงของวัสดุโดยใช้เครื่องทดสอบคุณสมบัติทาง กายภาพ โดยใช้การทดสอบแรงกดกดลงในชิ้นส่วนเป็นระยะ 20 มิลลิเมตร การทดสอบอัตราส่วนท่ี เหมาะสม พบว่าในอัตราส่วนที่ 100:100 ผักตบชวากับปุ๋ยคอกใช้แรงกดอัดที่ 1 ตัน มีการรับแรงกด ได้มากท่ีสุด ที่ 16.72 ตัน การทดสอบการดูดซับน้า พบว่าอัตราส่วนผสมที่ 3:0 มีการดูดซับน้าใน ปรมิ าณมากท่ี แรงกด 15 ตัน ในการดูดซับน้าของกระถางในปริมาณท่ีมากจะมีผลดีต่อการกักเก็บน้า

11 ทาให้ประหยัด น้าที่ใช้ในการรดน้าของกระถางต้นไม้การทดสอบการพองตัว พบว่าอัตราส่วนผสม มี ผลตอ่ ความแข็งแรงของกระถางเปน็ ค่าชีว้ ัดในการพิจารณาเลือกแรงกดอัดของกระถางท่ีเหมาะสมกับ การใช้งาน ในอัตราส่วนท่ี 3:0 มีค่าการพองตัวของเปอร์เซ็นต์ท่ีสูงกว่าอัตราส่วนอ่ืน ๆ เนื่องจาก ชนิ้ ส่วนของ กระถางทน่ี ามาทดสอบมปี ริมาณของช่องว่างวัสดุมากทาให้น้าแทรกเข้าไปในวัสดุท่ีอยู่ใน เน้ือช้ินส่วน วัสดุได้มาก ทาให้น้าเกิดการดันตัวของช้ินส่วนวัสดุออกมามากทาให้เกิดการพองตัวได้ มากและการทดสอบความแข็งแรงของกระถาง พบว่าท่ีอัตราส่วนผสม 1:1 ใช้แรงกดอัดของวัสดุที่ 15 ตัน และมี การดูดซับน้าที่น้อยและการพองตัวของกระถางที่น้อยมีการรับแรงกดท่ีสูงสุด และ เหมาะสมสาหรบั การนาไปใชง้ านโดยไดว้ เิ คราะห์ผลการทดสอบจากอัตราสว่ นผสม 3:0 และ 2:1 ทดสอบการพองตัวของกระถาง ต้นไม้ตามความหนาโดยตัดช้ินตัวอย่างทดสอบขนาด 5×5 เซนติเมตร ตัดจากด้านบนของกระถางต้นไม้ชุดการทดลองละ 3 ตัวอย่างโดยทุกชุดการทดลอง ทง้ั หมด 18 ตัวอย่างจากนั้นทาเครื่องหมายตาแหน่งท่ีวัดความหนา และวัดความหนาของชิ้นตัวอย่าง เป็นความหนา กอ่ นแช่นา้ และแช่ชิ้นตวั อยา่ งในน้าสะอาดท่ีอุณหภูมิ20 ± 2องศาเซลเซียส เม่ือแช่ช้ิน ตัวอย่าง 1 ชั่วโมง รีบนาช้ินตัวอย่างข้ึนมาซับบนน้าที่ผิว ออกให้หมดด้วยผ้าหมาดแล้วปล่อยไว้ที่ อุณหภูมิห้องโดยวางให้ขอบด้านใดด้านหนึ่งอยู่บนแผ่น วัสดุที่ไม่ดูดซึมน้าปล่อยช้ินทดสอบไว้อีก1 ชว่ั โมง นาช้ินตัวอย่างข้ึนมาวัดความหนาตามตาแหน่งเดิมเป็นความหนาหลังแช่น้า การวัดความพรุน ของกระถางต้นไม้ ซ่ึงต้องมาทาการทดลองเพื่อหาความพรุนของกระถางต้นไม้ การทดสอบการ เปล่ียนแปลงของ การเสื่อมทางชีวภาพกระถาง โดยทาการทดลองปลูกต้นดาวเรืองกบกระถางต้นไม้ จากกากตะกอน น้ามันปาล์มและตะกอนเชอื้ เหด็ เก่าวัสดุเหลอื ทงิ้ จาก ( มอก:876-2547 )

12 บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการทดลอง ในการศกึ ษาคร้ังนมี้ ีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างกระถางจากกาก มะพร้าวและกระถางจากกากกาแฟผสมขยุ มะพร้าวถึงความเเเตกต่างของประสิทธิภาพในการนามาใช้ ประโยชน์ 3.1 วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือพเิ ศษ 3.1.1 วัสดอุ ุปกรณ์ (1) กากกาแฟ (2) ขยุ มะพร้าว (3) แป้งมันสาปะหลงั (4) หม้อ (5) ไมค้ น (6) กระถาง 6 ใบ (7) นา้ (8) กะละมงั 2 ใบ (9) ตาชัง่ 3.2 ข้ันตอนการดาเนนิ งาน 3.2.1 การรวบรวม การเตรยี มวัตถุดิบ และวัสดปุ ระสาน 3.2.1.1 กากกาแฟอาราบิก้าจะทาการรวบรวมมาจากรา้ นกาแฟสด กากกาแฟท่ีรวบรวมได้ และทาการลดความช้นื โดยนากากกาแฟไปตากที่อณุ หภมู ิหอ้ ง ประมาณ 2-3 วัน หลงั จากนั้นนามา รอ่ นเพ่ือคดั แยกขนาดให้มีขนาด 2 มลิ ลเิ มตร 3.2.1.2 กากมะพร้าวจากในหมูบ่ า้ นทุ่งผง้ึ อ.ทงุ่ ช้าง จ.น่าน 3.2.1.3 กาวแปง้ เปียก เตรยี มโดยนาแป้งมันสาปะหลังผสมกับนา้ แปง้ มนั สาปะหลัง:นา้ เปล่า เท่ากบั 1:10 แลว้ นามากวนต้ังบนไฟอ่อน ๆ ประมาณ 15 นาที จะได้ กาวแปง้ เปียกสีใส มีลักษณะ เหนยี ว คนจนกว่าแปง้ เปียกมีความเยน็ ตัวลงกจ็ ะสามารถนามาใช้งานได้ 3.2.2 การผสมวตั ถดุ ิบกับวัสดุประสาน 3.2.2.1 ผสมกาวเเป้งเปียกทไี่ ดก้ บั ขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 1:50 3.2.2.1 ผสมกาวเเปง้ เปยี กท่ีไดก้ ับกากกาแฟเเละขยุ มะพรา้ ว 1:1:60 ตามลาดบั

13 3.2.3 อดั เป็นกระถางเพาะชาตามชนดิ ของเสน้ ใยพชื อยา่ งละ 2 กระถาง โดยกระถางจากขุย มะพรา้ ว 2 กระถาง และกระถางจากกากกาแฟอาราบิก้าผสมขุยมะพร้าว 2 กระถาง 3.2.4 นากระถางไปตากเเดดใหเ้ เขง็ ไมท่ ิ้งไว้ในท่ีอับชื้น 3.2.5 ทดสอบคุณภาพของกระถางจากขยุ มะพร้าว และกระถางจากกากกาแฟอาราบิกา้ ผสมขยุ มะพรา้ ว 3.2.5.1 การศกึ ษาคุณสมบตั ิบางประการของกระถางเพาะชา งานวจิ ยั น้จี ะทาการศึกษา คุณสมบัติของกระถางเฉพาะ โดยมรี ายละเอียดดังน้ี (1) การดูดซบั น้าของกระถางเพาะชา อตั ราส่วนทข่ี น้ึ รปู ได้เทา่ นนั้ การทดสอบการพอง ตัวตามความหนา (มอก. 876-2547) โดยอ้างอิงวิธีการ ทดสอบจาก อานาจ (2554) โดยตัดชิ้น ทดสอบขนาด 50 x 50 มิลลิเมตร อัตราส่วนละ 3 ชิ้นทดสอบ แล้วนาไปชั่งมวลก่อนการแช่น้า จากนัน้ วางชน้ิ ทดสอบในระนาบเดียวกับระดับผิวน้า โดยให้ขอบบน อยู่ใต้ผิวน้า ชิ้นทดสอบแต่ละชิ้น ควรวางห่างกันและห่างผนังของภาชนะพอสมควร เม่ือแช่ช้ินทดสอบ ครบ 2 ช่ัวโมง แล้วจึงนาชิ้น ทดสอบขน้ึ จากน้า โดยไม่มีการดูดซบั น้า ทาเชน่ นีท้ กุ ชนิ้ ทดสอบ จากน้ัน นาไปชั่งหาน้าหนักท่ีแน่นอน แล้วหาคา่ เฉลย่ี แสดงสตู รดงั ต่อไปนี้ การดดู ซับน้าของกระถางเพาะชา (เปอรเ์ ซ็นต์) = มวลของกระถางเพาะหลงั แชน่ ้า มวลของกระถางเพาะชากอ่ นแชน่ า้ มวลของกระถางเพาะชาก่อนแชน่ า้ (2) การทดสอบการพองตวั ของกระถางเพาะชา ตดั ช้นิ ทดสอบขนาด 4 x 4 เซนติเมตร วัดความหนาขึน้ ทดลองทัง้ 4 มมุ หาคา่ เฉลี่ยเปน็ ความหนาก่อนแช่นา้ นาช้นิ ทดสอบไปแชน่ ้าใน ภาชนะที่อุณหภูมิห้อง เมื่อแช่ครบ 2 ช่วั โมง แลว้ จงึ นาขนึ้ จากนา้ และนาไปวัดความหนาตามตาแหนง่ เดมิ หาคา่ เฉล่ียเป็นความหนาหลังแช่น้า ใชข้ ้ันทดสอบ 3 ช้นิ ต่อหนึ่งอัตราสว่ น แล้วหาค่าเฉลยี่ (อา่ นาง, 2554) แสดงสูตรดงั ตอ่ ไปนี้ การทดสอบการพองตวั ของกระถางเพาะชา (เปอร์เซน็ ต)์ = ความหนาของกระถางเพาะหลงั แช่นา้ ความหนาของกระถางเพาะชากอ่ นแช่น้า ความหนาของกระถางเพาะชาก่อนแช่น้า

14 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน จาการศกึ ษาคุณสมบตั ิบางประการของกระถางเพาะจากกากกาแฟและกระถางจากกาก กาแฟผสมขุยมะพร้าว โดยคุณสมบัตทิ ่ีศึกษา ได้แก่ การดูดซบั นา้ เและการพองตวั ของกระถาง ผล การศึกษามีรายละเอยี ดดังน้ี 4.1 ผลการศกึ ษาการดดู ซบั นา้ ผลการศึกษาการดูดซับนา้ แสดงดังตารางท่ี 1 คา่ เฉลี่ยการดดู ซบั น้า ตารางที่ 1 คา่ เฉลยี่ การดูดซับนา้ ของกระถางเพาะชา (เปอรเ์ ซ็นต์) ลาดบั ชนิดกระถาง 12.5 1 กากกาแฟ 2 กากกาแฟอาราบิกา้ ผสมขยุ มะพรา้ ว 75 4.2 ผลการศึกษาการพองตัว ผลการศกึ ษาการพองตวั แสดงดงั ตารางท่ี 2 คา่ เฉลีย่ การพองตวั ตารางท่ี 2 คา่ เฉล่ียการพองตัวของกระถางเพาะชา (เปอร์เซน็ ต์) ลาดับ ชนดิ กระถาง 20 80 1 กากกาแฟ 2 กากกาแฟอาราบิกา้ ผสมขยุ มะพร้าว

15 บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินโครงงาน 5.1 สรปุ ผลการทดลอง 5.1.1 คา่ เฉล่ยี การดดู ซับนา้ ของกระถางเพาะชาจากขุยมะพร้าวและกากกาแฟอาราบิกา้ ผสมขยุ มะพรา้ ว 12.5% 75% ตามลาดบั 5.1.2 คา่ เฉลย่ี การดูดซบั นา้ ของกระถางเพาะชาจากขยุ มะพร้าวและกากกาแฟอาราบกิ ้า ผสมขยุ มะพรา้ ว 20% 80% ตามลาดับ 5.2 อภปิ รายผลการทดลอง 5.2.1 การศึกษาสมบัติในการดดู ซบั น้าของกระถางเพาะชาทั้งสองชนิดกระถางจากกากกาแฟ อาราบกิ ้าผสมขยุ มะพร้าวมีคา่ เฉลย่ี ที่มากกว่ากระถางจากขุยมะพร้าวเพียงอย่างเดยี ว ซ่ึงเม่อื พจิ ารณา ตามลกั ษณะของกระถางเเลว้ จะพบว่าเส้นใยมะพร้าวมีความเปน็ เสน้ ใยแนน่ เหนยี วแตย่ ังไม่มีความ ละเอยี ดเท่ากับกากกาแฟ 5.2.2 การศกึ ษาสมบัติในการดดู ซบั น้าของกระถางเพาะชางสองชนิดกระถางจากกากกาแฟอา ราบิก้าผสมขยุ มะพรา้ วมีค่าเฉล่ียท่มี ากกวา่ กระถางจากขุยมะพรา้ วเพยี งอย่างเดยี ว ซึ่งเมื่อ พจิ ารณาจากการพองของแผ่นกระถางทถ่ี ูกตดั จะพบว่าขยุ มะพรา้ วมคี วามแข็งเน่ืองจากเส้นใยจบั กับ แนน่ หนาทาใหน้ ้าถกู ดดู ซึมเข้าไปไดย้ าก 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1 ในการทดสอบครัง้ ต่อไปควรควบคมุ ปริมาณของกาวแปง้ เปียกให้เทา่ กนั มากท่ีสดุ เพ่ือความ เที่ยงตรงของค่าเฉลี่ยทว่ี ดั ได้ 5.3.2 ศึกษาคณุ สมบัติอ่นื ๆท่ีเกย่ี วข้องกบั ประสทิ ธภิ าพของกระถางเชน่ ค่าความเปน็ กรด-เบส ค่า ความแข็งแรง คา่ ความช้นื

16 บรรณานุกรม บุณยภู มาโต เเละธนัชชา สาราญ . (2561). รายงานการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา เรื่อง กระถางตน้ ไม้ จากกากมะพร้าว. วชิ าสหกิจศกึ ษา ภาควิชาการโรงแรมและการทองเที่ยว ่ คณะศิลป ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. วรรณวิภา ไชยชาญ,วีระศักดิ์ ไชยชาญ เเละเอนก สาวะอินทร. (2560). รายงานการวิจัยกระถาง เพาะชา คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ศรีวชิ ัย. ณรงค์ โฉมเฉลา. (2559). ขุยมะพรา้ วและใยมะพร้าว. (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา: http://www.jfkfeed.com. 12 กรกฎาคม 2564 พิมพเ์ พ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (2544). แป้งมันสาปะหลัง. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมา: http://www.foodnetworksolution.com. 15 กรกฎาคม 2564 วิธีทากระถางต้นไม้. (2541). (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา: http://transformerscmp.blogspot .com/2011/10/blogpost.html.15 กรกฎาคม 2564 กรมวิชาการเกษตร. มปป. ลักษณะทางพฤกษศาสตรแ์ ละพนั ธกุ์ าแฟ. (ออนไลน)์ . แหล่งทมี่ า: http://www.doa.go.th/hortold/images/stories/academy/coffee/botan yandcultivar.pdf, 18 กรกฎาคม 2564

ภาคผนวก

รูปประกอบการทากระถาง ก.วสั ดอุ ปุ กรณ์ ภาพที่1.1 กระถาง ภาพท1่ี .2 ขยุ มะพร้าว ภาพที่1.3 หม้อเเละไม้คน ภาพที่1.4 แหง้ มนั สาปะหลงั ภาพที่1.5 กากกาแฟอาราบิกา้

ข. ขั้นตอนการทากระถาง ภาพท่ี2.1 ผสมน้ากบั แปง้ มนั สาปะหลัง ภาพท2่ี .2 ต้มน้าแป้งมันสาปะหลัง ภาพท่ี2.3 กาวแป้งเปียกท่หี นดื

ภาพที2.4 ผสมกากกาแฟอาราบกิ า้ กับขุยมะพรา้ วในกาวแป้งเปยี ก ภาพที่2.5 ผสมขยุ มะพร้าวในกาวแป้งเปยี ก

ภาพท่ี2.6 กระถางจากขยุ มะพรา้ ว ภ ภาพที่2.7 กระถางจากกากกาแฟอาราบิก้าผสมขยุ มะพรา้ ว