Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยฉบับสมบูรณ์ นางสาวเรณู คุณเอนก

วิจัยฉบับสมบูรณ์ นางสาวเรณู คุณเอนก

Published by Renu Khun-anek, 2022-05-31 09:14:20

Description: วิจัยฉบับสมบูรณ์ นางสาวเรณู คุณเอนก

Search

Read the Text Version

การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน เร่ือง ความน่าจะเป็ น โดยใช้รูปแบบ DEASI MODEL สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 รหัสวิชา ค 23102 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2564 Development of academic achievement Fundamentals of Mathematics on Probability using the DEASI model for Grade 3 students เรณู คณุ เอนก RENU KHUNANEK โรงเรียนวังจันทร์วิทยา สหวิทยาเขต ระยอง 2 สํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา ชลบรุ ี ระยอง ปี การศึกษา 2564 Wangchanwittay School The United Campus, Rayong 2 The Secondary Education Service Area Office Chonburi Rayong Academic year 2021

บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ …………………………………………………………………………………………………….. ท่ี ………………………………………………..…. วนั ที่ …………………………..…………………..…. เรื่อง รายงานการจดั ส่งวิจยั ในช้นั เรียน เรียน ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา ดว้ ยขา้ พเจา้ นางสาวเรณู คณุ อเนก ตาํ แหน่ง ครู คศ.3 โรงเรียน วงั จนั ทร์วทิ ยา ไดจ้ ดั ทาํ รายงานวิจยั ใน ช้นั เรียน เรื่อง การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 รหัสวิชา ค 23102 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายละเอยี ดตามเอกสารแนบ จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบและพิจารณา ลงชื่อผวู้ ิจยั ………………………………………. (นางสาวเรณู คุณอเนก) ตาํ แหน่ง ครูวิทยาฐานะ ครู คศ.3 1. ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 3. ความคิดเหน็ ของรองผอู้ าํ นวยการวิชาการ คณิตศาสตร์ เรียน ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนวงั จนั ทร์วทิ ยา เพอื่ โปรดพิจารณา ลงช่ือ................................................... ลงชื่อ ................................................... (นางสมจิตต์ มาฆะสิทธ์ิ) ( นางสมชั ญา ผุดผ่อง ) ตาํ แหน่งครู คศ.3 รองผูอ้ าํ นวยการ………………………… 2. ความคดิ เห็นของหัวหนา้ งานวิจยั โรงเรียน 4. คาํ สง่ั ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา ............................................................................  อนุมตั ิ ลงช่ือ .................................................  สัง่ การ................................................... ( นางสาวธนณนั แจง้ ศรีสุข) ลงชื่อ ตาํ แหน่งครู คศ.1 ( นายศกั ดา สรรเสริญ) ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนสุนทรภ่พู ิทยา ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา

ชื่อเรื่อง การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยใช้ รูปแบบ DEASI MODEL สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 รหสั วิชา ค 23102 ชื่อผ้วู จิ ัย ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2564 สังกัด นางสาวเรณู คณุ เอนก ปี การศึกษา โรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา สหวทิ ยาเขตระยอง 2 สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง 2564 ท่ีมาและความสําคัญของปัญหา ผูว้ ิจยั มีความสนใจท่ีจะพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น โดยใช้ รูปแบบ DEASI MODEL สําหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 รหัสวิชา ค 23102 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2564 เน่ืองมาจากผลการเรียนของนักเรียนมีเกณที่ค่อนข้างต่าํ อาจมีสาเหตุมาจาก ส่ือการเรียนการสอนไม่ เพียงพอ นกั เรียนมคี วามรู้พ้ืนฐานวิชาคณิตศาสตร์นอ้ ย ขาดความรู้ความเขา้ ใจทถี่ ูกตอ้ ง และขาดการเอาใจใส่ใน การทบทวนเน้ือหาหรือบทเรียนจึงทาใหน้ กั เรียนทาคะแนนไดไ้ ม่ผา่ นตามเกณฑท์ กี่ าหนด จะเห็นวา่ คณิตศาสตร์มใิ ช่เป็นวชิ าทีเ่ พียงใหค้ ิดคานวณเกี่ยวกบั ตวั เลขเท่าน้นั แตก่ ารเรียนรู้คณิตศาสตร์ จะต้องให้เกิดคุณสมบัติซ่ึงถือเป็ นศักยภาพทางคณิตศาสตร์ท่ีสําคัญ คือ ความสามารถในการสํารวจ ความสามารถในการคาดเดา ความสามารถในการให้เหตุผล และความสามารถในการนาํ ความรู้ไปใชแ้ กป้ ัญหา ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ดงั น้ันผูว้ ิจยั จึงจดั ทาํ วิจัยในคร้ังน้ี เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็ น โดยใช้รูปแบบ DEASI MODEL สําหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 รหัสวิชา ค 23102 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2564 วัตถุประสงค์การวจิ ัยในช้ันเรยี น 1. เพอ่ื พฒั นาการจดั การเรียนรู้เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL สาํ หรบั นกั เรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนวงั จนั ทร์วทิ ยา อาํ เภอวงั จนั ทร์ จงั หวดั ระยอง ให้มีประสิทธิภาพ 2. เพ่ือเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง ความน่าจะเป็นของนกั เรียนท่ีไดร้ บั การจดั การเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL 3. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมตี ่อการจดั การเรียนรู้ เร่ือง ความน่าจะเป็น โดยใชโ้ ดยใช้ รูปแบบ DEASI MODEL สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 3

สมมติฐานงานวจิ ยั 1. การจดั การเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เร่ือง ความน่าจะเป็น สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 มีประสิทธิภาพ E1/E2 เป็นไปตามเกณฑ์ 75/75 2. นกั เรียที่ไดร้ บั การจดั กกากรเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เร่ือง ความน่าจะเป็น มี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรียน 3. นกั เรียท่ีไดร้ ับการจดั กกากรเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เร่ือง ความน่าจะเป็น มีความพงึ พอใจผา่ นเกณฑอ์ ยใู่ นระดบั มาก ขอบเขตของการวจิ ยั 1. พ้ืนท่ีโรงเรียน โรงเรียนวงั จนั ทร์วทิ ยา อาํ เภอวงั จนั ทร์ จงั หวดั ระยอง สหวทิ ยาเขตระยอง 2 สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง 2. ระยะเวลาท่ีศึกษา ดาํ เนินการทดลองสอนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2564 3. ประชากร, กล่มุ ตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา อาํ เภอ วงั จนั ทร์ จงั หวดั ระยอง สหวทิ ยาเขตระยอง 2 สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง จาํ นวน 3 หอ้ งเรียน รวมท้งั สิ้น 103 คน กลุ่มตวั อยา่ งทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาคร้งั น้ีไดแ้ ก่ นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 3/3 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนวงั จนั ทร์วิทยา อาํ เภอวงั จนั ทร์ จงั หวดั ระยอง สหวิทยาเขตระยอง 2 สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง จาํ นวน 38 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนื่องจาก เป็นนห้องเรียนท่ีผูศ้ ึกษาทาํ การจดั การเรียนการสอน 4. ตัวแปรที่ศึกษา ( Variables) 4.1 ตวั แปรตน้ (Independent variables) การจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชช้ ุดการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง ความน่าจะเป็น โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 ปี การศกึ ษา 2564 4.2 ตวั แปรตาม (Dependent variables) 4.2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานของนกั เรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 เร่ือง ความน่าจะเป็ น

4.2.2 ความพึงพอใจของนกั เรียนที่มตี ่อการจดั การเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เรื่อง ความน่าจะเป็ น ข้อตกลงเบื้องต้น นกั เรียนตอ้ งซ่ือสตั ยใ์ นการทาํ แบบฝึกทกั ษะ เรื่อง ความน่าจะเป็น คําจํากดั ในการวิจัย ( Definition of Terms) 1. รูปแบบ DEASI MODEL หมายถงึ การสอนแบบสาธิตท่ีเนน้ ให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วม และเกิด กระบวนการคดิ สร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยตนเอง 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง ความน่าจะเป็น ซ่ึงวดั ไดจ้ ากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทีผ่ วู้ ิจยั สร้างข้นึ เพ่อื ทดสอบ ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 ชนิด 4 ตวั เลอื ก จาํ นวน 10 ขอ้ 3. ประสิทธิภาพของการจดั การเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เรื่อง ความน่าจะเป็น หมายถงึ คูณภาพของการจดั การเรียนรู้ทที่ าํ ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองความน่าจะเป็นท่ีมปี ระสิทธิภาพ ของกระบวนการตอ่ ประสิทธิภาพของผลสัมฤทธ์ิ ( E1 / E2 ) มีผลสมั ฤทธ์ิเป็นไปตามเกณฑป์ ระสิทธิภาพ 75/75 4. E1 หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลีย่ จากการทาแบบฝึกทกั ษะเร่ือง ความน่าจะเป็น ระหว่างเรียนต่อ คะแนนเต็มท้งั หมด 5. E2 หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี ของการทดสอบหลงั เรียนต่อคะแนนเตม็ ท้งั หมด 6. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถงึ คะแนนของนกั เรียนท่ีวดั จากการสอบดว้ ย แบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 7 . ความพึงพอใจ หมายถึง ความคิดเห็นหรือความรู้สึกในดา้ นที่ดีของนกั เรียนท่ีมีต่อการจดั การเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เร่ือง ความน่าจะเป็ น สาํ หรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนวงั จนั ทร์ วทิ ยา จากแบบสอบถามความพึงพอใจที่ผูว้ ิจยั สร้างข้ึน มลี กั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) กาํ หนดค่าออกเป็ น 5 ระดบั ตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert) จาํ นวน 20 ขอ้ โดยวดั ความพึงพอใจ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ 2) ดา้ นบรรยากาศการเรียนการสอน 3) ด้านการใช้สื่อการเรียนการสอน 4) ดา้ นการวดั ผลและประเมินผล

วิธดี าํ เนินการวจิ ยั 1. ประชากร ( Population) นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2/2564 จาํ นวน 103 คน 2. กลมุ่ ตวั อยา่ ง ( Samplings) นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/2564 จาํ นวน 103 คน ไดม้ าจากการเลือกแบบเจาะจง 3. ตวั แปร( Variables) 3.1 ตวั แปรตน้ ( Independent variables) การจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เรื่อง ความน่าจะเป็น 3.2 ตวั แปรตาม (Dependent variables) 3.2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานของนกั เรียน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 เร่ือง ความน่าจะเป็น 3.2.2 ความพึงพอใจของนกั เรียนทมี่ ีต่อการจดั การเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL เรื่อง ความน่าจะเป็น 4. การวิเคราะห์ข้อมลู ( Analysis design) สถิติท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลในการทาวิจยั คร้งั น้ี 1. หาค่าสถิตพิ น้ื ฐาน 1.1 ค่าเฉลี่ยของประชากร (Mean : ������������) ∑ ������������ ������������ = ������������ เม่ือ ������������ แทน คะแนนเฉลี่ย Σ ������������ แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด ������������ แทน จานวนนกั เรียนท้งั หมด 1.2 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานของประชากร ������������ = �∑������������������������2 − (μ)2 เม่อื ������������ แทน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน Σ ������������2แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั อยา่ งยกกาลงั สอง ������������ แทน ค่าเฉล่ยี ������������ แทน จานวนนกั เรียนท้งั หมด

1.3 ค่าร้อยละ (������������) ������������ =������������������������ × 100 เมอ่ื ������������ แทน ค่าร้อยละ ������������ แทน ความถที่ ต่ี อ้ งการแปลงใหเ้ ป็นร้อยละ ������������ แทน คะแนนในแต่ละกลมุ่ 2. ค่าประสิทธภิ าพของแบบฝึ กทกั ษะ เรื่อง ความน่าจะเป็ น โดยใช้สูตร ดงั นี้ ∑ ������������ สูตรที่ 1 ������������1 = ������������ × 100 ������������ เม่ือ ������������1 แทน ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบฝึกทกั ษะการ เรียนรู้ระหวา่ งเรียนตอ่ คะแนนเต็มท้งั หมด Σ ������������ แทน คะแนนรวมของแบบฝึกทกั ษะ ������������ แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝึกทกั ษะทุกชุดรวมกนั ������������ แทน จานวนนกั เรียน สูตรท่ี 2 ������������2 = ∑ ������������ ������������ × 100 ������������ เมื่อ ������������2 แทน ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ ของการสอบหลงั เรียนตอ่ คะแนนเตม็ ท้งั หมด Σ ������������ แทน คะแนนรวมของการทดสอบหลงั เรียน ������������ แทน คะแนนเต็มการทดสอบหลงั เรียน ������������ แทน จานวนนกั เรียน 3. นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 ท่ีไดร้ ับการจดั การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ DEASI MODEL เรื่อง ความน่าจะเป็น มคี วามพึงพอใจของนกั เรียนผา่ นเกณฑอ์ ยใู่ นระดบั มาก เมอื่ เทยี บกบั เกณฑท์ ี่ กาํ หนด ใชก้ ารทดสอบคา่ ที (t-test for One Sample) (ชูศรี วงศ์รัตนะ. 2558: 83-84) ดงั น้ี

t= x−̅ μ0 โดยมี df = n -1 เมื่อ x̅ S μ0 S √n n df แทน ค่าเฉลีย่ ของกลุ่มตวั อยา่ ง แทน ค่าเฉล่ียของกลมุ่ ประชากร หรือ เกณฑท์ ี่ต้งั ข้นึ แทน ความเบย่ี งเบนมาตรฐานของกลุ่มตวั อยา่ ง แทน ขนาดของกล่มุ ตวั อยา่ ง แทน ช้นั แห่งความเป็นอสิ ระ (degree of freedom) ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 1. เพ่อื แกป้ ัญหานกั เรียนเรียนในห้องไม่เขา้ ใจโดยการใชแ้ บบฝึกทกั ษะใหน้ กั เรียนไดท้ บทวน 2. เพอ่ื เพิ่มความเขา้ ใจใหก้ บั นกั เรียนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ 3. เพ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ของนกั เรียน เร่ือง ความน่าจะเป็น 4. เพอื่ พฒั นาความสามารถดา้ นการคิดวเิ คราะหข์ องนกั เรียน เอกสารอ้างองิ หรือบรรณานุกรม ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2559). คู่มือครูสาระการเรยี นรู้พืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์เล่ม 2 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 หลักสูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. พมิ พค์ ร้ัง ท่ี 4 กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ กั ษรเจริญทศั น์. เขตพระนคร ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). หนงั สือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์เล่ม 2 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. พมิ พค์ ร้ังที่ 4 กรุงเทพฯ : โรง พิมพอ์ กั ษรเจริญทศั น.์ เขตพระนคร แพรวร่ง ศรีประภา. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์ โดยใช้แบบฝึ กทักษะ เรื่องการคูณ ทศนิยม ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5. ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑติ , สาขาคณิตศาสตร์ ศึกษา, คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. จินตนา ชูเชิด. (2537). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเขยี นสะกดคายากภาษาไทยของนกั เรียนช้ัน มัธยมศึกษาปี ท่ี 3 โดยการใช้เกมกบั การใช้แบบฝึ ก. ปริญญานิพนั ธ์ กศ.ม. , มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, มหาสารคาม หมอ่ มราชวงศ์ พรรคพงศส์ นิท สนิทวงศ.์ คณติ ศาสตร์เกดิ ข้ึนได้อย่างไร. สืบคน้ เมอ่ื 2 ตลุ าคม 2560, จาก http://www.atom.rmutphysics.com/physics/oldfront/222/index222.htm

หมอ่ มราชวงศ์ พรรคพงศส์ นิท สนิทวงศ.์ ประวตั ิความเป็ นมาของคณิตศาสตร์. สืบคน้ เมือ่ 2 ตุลาคม 2560, จาก http://www.mathhousetutor.com/math_history/ ทพิ ยพ์ ากร พรหมแกว้ . (2560). แบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ ม.3 เร่ือง ความน่าจะเป็ น. โรงเรียนสิชล คณุ าธารวิทยา จังหวัดนครศรีธรรมราช สาหนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12. สืบคน้ เม่อื 5/ธนั วาคม/2562. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.kroobannok.com/81472?fbclid=IwAR0xS3Ehq5NQOjPYTRk2xUJGAXirdJdIzEsV Fb7z1CvVY_B30aEiGfmEUu0 แผนการดําเนนิ การเกย่ี วกับกจิ กรรมและระยะเวลาทีใ่ ช้ในการวจิ ัย ข้ันตอน( Step) รายละเอยี ดของกจิ กรรม( Activities) ระยะเวลา ( Period) ข้นั ตอนท่ี 1 ข้นั ตอนท่ี 2 ศกึ ษาสภาพปัญหาและแนวทางการแกป้ ัญหา พฤศจิกายน 2564 ข้นั ตอนที่ 3 ข้นั ตอนท่ี 4 เขียนโครงร่างงานวิจยั พฤศจิกายน 2564 ข้นั ตอนที่ 5 สร้างและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื พฤศจิกายน 2564 ข้นั ตอนที่ 6 ทดสอบกอ่ นเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบ ธนั วาคม 2565 วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรียน ข้นั ตอนที่ 7 วชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง ความน่าจะเป็น ข้นั ตอนที่ 8 จาํ นวน 1 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที ดาํ เนินการจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบ ธนั วาคม 2564 ถึง DEASI MODEL เร่ือง ความน่าจะเป็น มกราคม 2565 ระยะเวลาในการจดั การเรียนรู้ จาํ นวน 10 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที ทดสอบหลงั เรียนดว้ ยแบบทดสอบวดั มกราคม 2565 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น จาํ นวน 1 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที เก็บรวมรวมขอ้ มูลและวิเคราะหข์ อ้ มูล กุมภาพนั ธ์ 2565 สรุปและอภิปรายผล กมุ ภาพนั ธ์-มนี าคม 2565

ภาคผนวก 1. เครื่องมือวิจยั 1.1 ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ เร่ือง ความน่าจะเป็น







1.2 ตวั อยา่ งชุดการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 3 รหัสวชิ า ค 23102 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2564







1.2 ตวั อยา่ งชุดการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยใชร้ ูปแบบ DEASI MODEL สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 รหัสวิชา ค 23102 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2564 2. ภาพถา่ ยประกอบการวิจยั







2. ภาพถา่ ยประกอบการวจิ ยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook