Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5

การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5

Published by The nextgen evaluation, 2022-04-01 02:02:00

Description: การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5

Search

Read the Text Version

4. การสรา้ ง บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 137 ความไวว้ างใจ 4.1 แนวคดิ ของการสรา้ งความไวว้ างใจ 4.2 จุดมงุ่ หมาของการสรา้ งความไว้วางใจ 4.3 พลังของความไว้วางใจ 4.4 ความตอ้ งการของผเู้ รยี นทีเ่ ปน็ พื้นฐาน ของความไว้วางใจ 4.5 บคุ ลกิ ภาพของโคช้ ทเ่ี สริมสรา้ งความไว้วางใจ 4.6 การสือ่ สารของโค้ชทเ่ี สริมสร้างความไวว้ างใจ 4.7 วธิ ีการสร้างความไว้วางใจ 4.8 ปจั จัยยึดเหน่ียวความไว้วางใจ 4.9 การจัดการความไวว้ างใจ

138 บทท่ี 4 การสรา้ งความไว้วางใจ Trust & Touch ผูเ้ รยี นมีความเช่ือม่ัน วา่ ได้รับความรกั ความเมตตา จากโคช้ ทาให้เกิดการพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง

บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 139 4.1 แนวคดิ ของการสรา้ งความไว้วางใจ ความไว้วางใจเป็นปัจจัยที่สาคัญท่ีสุดของการโค้ชเพราะเป็นเหตุปัจจัย เดียวท่ีทาให้ผู้เรียนพร้อมท่ีจะเรียนรู้และพัฒนาตนเองตามคาช้ีแนะของโค้ช หากการ โค้ชเป็นไปด้วยความไว้วางใจซ่ึงกันและกันโดยโค้ชมีความไว้วางใจผู้เรียน ผู้เรียน มคี วามไวว้ างใจโค้ช ความไว้วางใจ เป็นมิติทางด้านจิตใจที่เกิดข้ึนจากการได้รับการตอบสนอง ความต้องการ ท่ีช่วยเสริมพลังความเช่ือม่ันในตนเอง ความรู้สึกปลอดภัย เม่ือมีความ ไวว้ างใจก็พร้อมท่ีจะรับฟงั และปฏิบตั ติ ามอยา่ งเต็มใจและมีความสขุ พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต. (2557) ได้วิเคราะห์แบ่งระดับของ ความสุขไว้ 5 ขัน้ ดงั น้ี ขนั้ ท่ี 1 ความสุขจากการเสพวัตถุ หรือส่ิงบารุงบาเรอภายนอก เป็นความสุขท่ีเกิดกับบุคคลทุกคนโดยท่ัวไป เกิดจากการได้รับสิ่งที่ตนเองต้องการ เช่น ทรพั ยส์ ิน การเคารพนับถอื การให้เกียรติ เป็นตน้ ขนั้ ที่ 2 ความสุขจากการให้ เป็นความสุขท่ีเกิดจากการมีความ เมตตากรุณาในการให้กับบุคคลอ่ืนด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน การให้ ดังกล่าวมีหลายรูปแบบ อาจเป็นการให้สิ่งของ ให้ความช่วยเหลือ ให้ความรู้ ให้ ความคดิ ท่ดี ี ให้อภยั เปน็ ตน้ ขั้นที่ 3 ความสุขจากการดาเนินชีวิตถูกต้องสอดคล้องกับ ธรรมชาติ เป็นความสุขทเ่ี กิดจากการดาเนินชีวิตทถี่ กู ต้องตามธรรมชาติ ซึ่งถ้าวิเคราะห์ แล้วความสุขข้ันน้ีเป็นความสุขท่ีเกิดจาก การประพฤติอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม การไม่ เบยี ดเบียนทง้ั ตนเองและผ้อู ่นื การพูดและทาในส่งิ ท่ีเป็นจรงิ ขัน้ ท่ี 4 ความสุขจากความสามารถในการปรุงแต่ง เป็นความสุข ท่ีเกิดจากการคิดทางบวก (positive thinking) เมื่อต้องประสบกับสถานการณ์ต่างๆ เป็นการเปล่ียนมุมมองทางลบให้เป็นทางบวก เปล่ียนสภาพจิตใจจากความเศร้าหมอง ขนุ่ มวั ไมส่ บายใจ ใหเ้ ปน็ ความเบกิ บานใจ สบายใจ

140 บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ ขั้นที่ 5 ความสขุ เหนือการปรงุ แตง่ เปน็ ความสขุ ทไ่ี ม่ต้องอาศัยการ ปรุงแต่ง ความสุข เกิดจากการใช้ปัญญาหรือเหตุผล รู้เท่าทันความจริงของโลกและ ชีวิต จิตเปน็ อุเบกขา เปน็ จิตทส่ี บาย ไมม่ อี ะไรมารบกวน การเรียนรูอ้ ย่างมคี วามสุขเปน็ ตวั แปรทีส่ าคัญทสี่ ุดในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพราะเป็นท้ังเหตุปัจจัยท่ีส่งเสริมการเรียนรู้และเป็นผลที่เกิดจากการท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้ ดังนั้นผู้สอนจงึ ควรให้ความสาคญั กับความสขุ ในการเรยี นร้ใู หม้ าก โดยการจดั การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความสุขเป็นลาดับแรกซ่ึงถ้านาระดับข้ันของความสุข 5 ขั้น มาวิเคราะห์ ตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความสุขในการเรียนรู้จะวิเครา ะห์ได้ดังตาราง ต่อไปนี้ ตาราง 8 กิจกรรมทเี่ สรมิ สรา้ งการเรียนรูอ้ ย่างมคี วามสขุ ขน้ั ของความสุข ตวั อยา่ งกิจกรรมที่เสรมิ สรา้ งการเรียนรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ ข้นั ที่ 1 ความสุขจากการเสพวตั ถุ - ฝกึ ให้ผ้เู รยี นใชส้ ่ือและเทคโนโลยใี นการสบื เสาะแสวงหา ขน้ั ที่ 2 ความสุขจากการให้ ความรู้ - ฝกึ ให้ผู้เรียนเรยี นรู้จากส่อื ท่ีต่นื เต้น ดึงดูดความสนใจ ข้นั ท่ี 3 ความสขุ จากการดาเนนิ - ฝึกใหผ้ เู้ รียนให้การยอมรับ การชมเชย การให้กาลงั ใจ ชีวิตถูกตอ้ งสอดคล้องกบั แก่เพอ่ื น ธรรมชาติ - ฝึกใหผ้ เู้ รยี นให้ความชว่ ยเหลอื เพ่อื น - ฝึกให้ผเู้ รียนให้คาแนะนาทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อเพือ่ น - ฝึกให้ผู้เรียนให้เพื่อนยืมสง่ิ ของอปุ กรณก์ ารเรียน - ฝกึ ให้ผู้เรียนใหค้ าชมเชย ใหก้ าลงั ใจเพอ่ื น - ฝกึ ใหผ้ ู้เรยี นให้ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแกไ้ ข ผลงาน - ให้โอกาสผเู้ รียนปฏบิ ัติงานเต็มความสามารถ - ฝกึ ให้ผูเ้ รียนประเมินและปรับปรงุ ตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง - ฝึกให้ผู้เรียนพดู และทาในสิง่ ที่เป็นจริง - ฝกึ ให้ผเู้ รียนแลกเปลีย่ นเรียนรรู้ ว่ มกนั

บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ 141 ตาราง 8 กิจกรรมที่เสริมสร้างการเรียนรู้อยา่ งมีความสขุ (ตอ่ ) ขั้นของความสขุ ตัวอย่างกจิ กรรมทเี่ สรมิ สรา้ งการเรียนรู้อย่างมคี วามสขุ ขน้ั ที่ 4 ความสขุ จากความสามารถ - ฝึกให้ผู้เรียนรบั รู้ความคิด อารมณ์ ของตนเอง ในการปรงุ แตง่ - ฝึกใหผ้ เู้ รยี นคดิ ทางบวกตอ่ สถานการณท์ ีเ่ กดิ ข้ึน - ฝึกใหผ้ ู้เรยี นค้นหาขอ้ ดที แ่ี ฝงอยูใ่ นภาระงานต่างๆ ข้นั ที่ 5 ความสุขเหนอื การปรงุ แตง่ - ฝึกให้ผเู้ รยี นมีความคิดยดื หยุ่น ไม่ยดึ ตดิ - ฝึกการมสี ตริ ้ตู ัว - ฝกึ ให้ผเู้ รียนร้จู กั การใช้เหตผุ ลพิจารณาสิง่ ต่างๆ ตามความเปน็ จริง - ฝกึ ให้ผู้เรยี นให้รู้จกั การปลอ่ ยวาง (อเุ บกขา) การจัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนเกิดความสุขในการเรียนรู้จะต้องพัฒนาการ ยกระดบั ความสขุ ของผเู้ รยี นควบคไู่ ปกับกจิ กรรมการเรียนรู้ต่างๆ ต้ังแต่ความสุขข้ันท่ี 1 ความสุขจาการเสพวตั ถุ ความสุขข้ันท่ี 2 ความสุขจากการให้ ความสุขขั้นท่ี 3 ความสุข เกิดจาการดาเนินชีวิตถูกต้องสอดคล้องกับธรรมชาติ ความสุขขั้นที่ 4 ความสุขจาก ความสามารถในการปรุงแต่ง และความสุขขั้นที่ 5 ความสุขเหนือการปรุงแต่ง ซ่ึงโค้ช จะต้องมีความเชื่อมน่ั วา่ ความสขุ ท้ัง 5 ข้นั สามารถพฒั นาให้เกิดข้ึนกับผเู้ รยี นไดจ้ รงิ ความไว้วางใจ เป็นการมีความเชื่อม่ัน ศรัทธา และรู้สึกปลอดภัย ท่ีได้รับ จากโคช้ การสร้างความไว้วางใจของโค้ช เป็นทักษะท่ีสาคัญท่ีสุดในการท่ีจะเป็นโค้ชท่ีดี ยิ่งไปกว่าการมีความรู้ความสามารถ ในสิ่งที่โค้ช เพราะความไว้วางใจเป็นประตูใจของ ผเู้ รียน ว่าเขาจะรบั ฟังและปฏิบตั ติ ามคาช้ีแนะของโคช้ หรือไม่เพียงใด การสร้างความไว้วางใจ ทาได้ไม่ยากหากโค้ชมีใจให้กับผู้เรียน เมื่อมีใจ ท่ีจะโค้ชก็จะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมท่ีสามารถสร้างความไว้วางใจได้อย่างมีพลัง หากโค้ชได้แสดงพฤติกรรมท่ีแสดงถึงความรัก ความเมตตา และความปรารถนาดี ตอ่ ผูเ้ รียนแล้ว ยอ่ มสร้างความไวว้ างใจใหก้ ับผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เน่อื ง

142 บทท่ี 4 การสรา้ งความไว้วางใจ โคช้ จาเป็นจะต้องสร้างความไว้วางใจของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ทาครั้ง เดียวแล้วจบ เพราะความไว้วางใจเป็นปัจจัยหล่อเล้ียงให้กระบวนการโค้ชดาเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เปรียบเสมือนน้ามันหล่อลื่นในเครื่องยนต์ ท่จี ะต้องมเี พียงพอในทุกขณะทเี่ ครื่องยนต์ทางาน ความไวว้ างใจก็เชน่ เดียวกนั การสร้างความไว้วางใจสอดแทรกอยู่ในกิจกรรมและกระบวนการโค้ช อย่างต่อเนื่อง แสดงออกมาผ่านคาพูด การสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนการ ประพฤติและปฏิบัติอื่นๆ ข้ึนอยู่กับบริบทของการโค้ช เช่น การทาให้ดูเป็นตัวอย่าง ก็สามารถสร้างความไว้วางใจให้กับผู้เรียนได้ และการสร้างความไว้วางใจต้องมาจากใจ จงึ จะไดใ้ จผเู้ รียนในบรรยากาศของการเคารพศกั ด์ิศรคี วามเป็นมนษุ ย์ 4.2 จุดมุ่งหมายของการสรา้ งความไวว้ างใจ ความไว้วางใจเป็นพลังที่อยู่ในจิตใจของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองตามแนวทางและคาชี้แนะของโค้ชได้อย่างต่อเน่ือง จุดมุ่งหมายของ การสร้างความไว้วางใจท่ีสาคัญที่สุดคือ การทาให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นว่าจะได้รับ การดูแลจากโค้ชด้วยความรักความเมตตาเพื่อให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยผู้ที่มีความไว้วางใจต่อโค้ชจะแสดงพฤติกรรมให้เห็น 3 ด้าน ดังตอ่ ไปน้ี (Shaw. 1997) 1. การเปดิ เผย (openness) ข้อมลู ตา่ งๆ เช่น ข้อมูลเก่ียวกับความรู้ ความคิดเห็น อารมณ์ ความรสู้ กึ ทัศนคติ ปญั หาทคี่ ับข้องใจ ปัญหาทต่ี ้องการแก้ไข 2. การเคารพ (respect) และให้เกียรติซึ่งกันและกันอย่างเท่าเทียม การปฏบิ ัตติ อ่ กันดว้ ยความมไี มตรจี ิต มีสัมพันธภาพทด่ี ตี ่อกัน 3. ความสอดคล้องกนั (alignment) คือ การมีความคิดเห็นต่อส่ิงใด ส่ิงหน่ึงไปในทิศทางเดียวกันหรือแนวเดียวกัน แต่อาจจะไม่เหมือนกันท้ังหมด และการ ตดั สนิ ใจรว่ มกัน

บทที่ 4 การสร้างความไว้วางใจ 143 4.3 พลงั ของความไว้วางใจ ความไว้วางใจเป็นพลังท่อี ย่ใู นจติ ใจของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองตามแนวทางและคาชี้แนะของโค้ชได้อย่างต่อเน่ือง เมื่อผู้เรียน มีความไว้วางใจโค้ช ผู้เรียนจะมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงความคิดเห็น กล้าต้ัง คาถาม กล้าคิด ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีล้วนเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ เมื่อมีความไว้วางใจ แลว้ จะไม่มีความกลัว โดยความไว้วางใจเปน็ ปจั จัยสนับสนุนการเรียนรู้ในการโค้ช ส่วน ความกลวั เป็นปจั จัยทไี่ มส่ นับสนุนการเรยี นรู้ โค้ชทีด่ ีจะสรา้ งความไวว้ างใจ และไม่สร้าง ความกลัว เม่ือมีความไว้วางใจก็พร้อมที่จะทาตาม ดังนั้นความไว้วางใจจึงมีพลัง มหาศาลท่ีเปน็ โจทยท์ า้ ทายโค้ชที่จะสร้างให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนอยู่ตลอดเวลาเพราะความ ไว้วางใจอาจจะสูญหายไปได้ในระหว่างการโค้ช หากโค้ชละเลยการสร้างความไว้วางใจ เม่ือผเู้ รยี นมีความไว้วางใจใหก้ ับโคช้ จะเกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้หลาย ประการ ได้แก่ ใช้ความมุ่งมั่นพยายามมากขึ้น มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากขึ้น มีพัฒนาการการเรียนรู้ท่ีดีข้ึน มีความรักและความเมตตาต่อกันมากขึ้น ด้วยเหตุน้ี โค้ช จาเป็นต้องให้ความสาคัญกับพลังความไว้วางใจที่จะต้องดูแลให้มีอยู่ใน ผู้เรียนอยู่ ตลอดเวลา ผ่านการกระทาและการสอ่ื สารอย่างสรา้ งสรรค์ การท่ีโค้ชจะทาให้ความไว้วางใจเกิดข้ึนกับผู้เรียนได้น้ัน สิ่งสาคัญคือการ สรา้ งพลงั ความไว้วางใจให้เกิดข้ึนกับตนเองก่อน (self - trust) หมายความว่า ต้องเป็น คนท่ีไว้วางใจคนอื่นเสียก่อน ก่อนที่จะให้คนอ่ืนมาไว้วางใจตนเอง Shaw (1997) ได้ อธิบายไวว้ า่ โค้ชทจี่ ะทาใหค้ นอนื่ ไว้วางใจตนเอง จะต้องมีความไว้วางใจคนอ่ืนก่อน แต่ ทั้งนี้ท้ังนั้นก็จะต้องเริ่มจากความไว้วางใจตนเองเป็นอันดับแรก แล้วพลังของความ ไว้วางใจจะแผ่ขยายออกไปสู่คนรอบข้างที่อยู่ใกล้ชิด และบุคคลอื่นๆ ต่อไป ซ่ึงจาก แนวคิดของ Shaw ทาให้เห็นว่า ผู้สอนท่ีจะเป็นโค้ชที่สามารถสร้างความไว้วางใจให้กับ ผู้เรียนได้น้ัน จะต้องเป็นคนที่ไว้วางใจตนเอง ไว้วางใจเพ่ือนร่วมงาน ผู้บริหาร ผู้เรียน และบุคคลอื่นๆ เสียก่อน จึงจะได้รับความไว้วางใจจากผู้เรียนกลับคืนมา ดังแผนภาพ ต่อไปนี้

144 บทท่ี 4 การสรา้ งความไว้วางใจ ความไวว้ างใจบคุ คลรอบข้าง และผเู้ รยี น ความไวว้ างใจเพือ่ นร่วมงาน ความไว้วางใจ ตนเอง แผนภาพ 11 การแผข่ ยายของพลังความไวว้ างใจ 4.4 ความตอ้ งการของผูเ้ รยี นทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานของความไวว้ างใจ ผู้เรียนแต่ละคน แต่ละช่วงวัย มีธรรมชาติและความต้องการท่ีแตกต่างกัน ซึ่งโค้ชต้องศึกษาวิเคราะห์และตอบสนองเพื่อสร้างความไว้วางใจให้เกิดข้ึน โดยทั่วไป แล้วผูเ้ รียนทกุ ช่วงวยั มคี วามตอ้ งการดังนี้ ความต้องการความปลอดภัยท้ังทางร่างกายและจิตใจเป็นความต้องการ พ้ืนฐานที่จาเป็นสาหรับการพัฒนาไปสู่ความไว้วางใจ โดยท่ัวไปแล้วส่ิงที่โค้ชควรให้ ความสนใจใส่ใจ คือ ความต้องการด้านจิตใจ เพราะเป็นจิตใจเป็นเร่ืองที่สาคัญสาหรับ การโค้ช หากผู้เรียนมีความปลอดภัยด้านจิตใจแล้วการเรียนรู้และพัฒนาจะตามมา ส่วนความปลอดภัยทางด้านร่างกายนั้นส่วนมากมักเป็นเร่ืองสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการ โค้ชเป็นสาคญั

บทท่ี 4 การสร้างความไว้วางใจ 145 ความต้องการเคารพนับถือ จัดอยู่ในกลุ่มความต้องการด้านจิตใจท่ีผู้เรียน ทุกช่วงวัยมีความต้องการได้รับการเคารพนับถือจากโค้ช การเคารพนับถือนี้ หมายถึง การให้เกียรติและเคารพศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ของผู้เรียน การเปิดโอกาสให้คิด และตัดสินใจด้วยตนเอง มีโอกาสในการเลือก โดยโค้ชไม่ใช้วิธีการสั่งและควบคุมจน ผเู้ รยี นขาดเสรภี าพในการพัฒนาตนเอง ความต้องการได้รับการยอมรับในความสามารถ โค้ชที่ดีต้องยอมรับ ขีดความสามารถที่ผู้เรียนทาได้ แล้วค่อยๆ พัฒนาให้ดีข้ึน การให้การยอมรับน้ีจะเป็น การสร้างพลังความเช่ือม่ันในตนเองให้กับผู้เรียนว่าเขามีศักยภาพที่สามารถพัฒนา ตนเองได้ ท้ังยังเป็นการจูงใจและเสริมแรงการพัฒนาอีกด้วย การแสดงออกถึง การยอมรับในความสามารถน้ีทาได้หลายวิธี เช่น การให้คาชมเชย เป็นต้น อย่างไร ก็ตามการยอมรับความสามารถน้ีไม่ได้หมายความว่าหยุดพัฒนาเพียงเท่านี้แต่จะต้อง พฒั นาให้ดยี ่ิงข้นึ ไปอกี อย่างต่อเน่ือง ความต้องการของผู้เรียนประถมศึกษา โดยทั่วไปเป็นความต้องการ ดา้ นร่างกาย ความปลอดภยั ทางด้านจิตใจและการสร้างสรรคน์ วตั กรรมท่ีตนเองสนใจ ความต้องการของผเู้ รยี นระดับมธั ยมศึกษา โดยทั่วไปต้องการมีอิสระในการ เรียนรู้ การได้รับการยอมรับในความคิดและความสามารถ และการได้รับการยอมรับ จากเพศตรงขา้ ม และการสรา้ งสรรค์นวตั กรรมท่ีตนเองสนใจ ความต้องการของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา โดยทั่วไปต้องการใช้ศักยภาพ ของตนเองในการเรียนรู้ การเรียนรู้ท่ีตอบสนองการประสบความสาเร็จในชีวิต การให้ เกยี รติ การเคารพศักดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ย์ และการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมทตี่ นเองสนใจ การวิเคราะห์ให้พบความต้องการของผู้เรียนแต่ละคนจะทาให้โค้ช สามารถปฏบิ ตั ิตนตอบสนองผู้เรียนไดอ้ ย่างตรงจดุ ซ่งึ เป็นพ้ืนฐานที่นาไปสู่ความไว้วางใจ ทผ่ี เู้ รียนจะมใี หก้ บั โค้ช

146 บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 4.5 บคุ ลกิ ภาพของโคช้ ทเ่ี สริมสรา้ งความไวว้ างใจ บุคลิกภาพเป็นปัจจัยที่สาคัญเบื้องต้นของการสร้างความไว้วางใจ โค้ชท่ีมี บุคลิกภาพท่ีดีย่อมสร้างความไว้วางใจให้กับผู้เรียนได้อย่างรวดเร็ว บุคลิกภาพของโค้ช ทีเ่ สริมสร้างความไว้วางใจของผูเ้ รยี นมีดังนี้ การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย เพราะการแต่งกายเป็นสิ่งแรกที่ผู้เรียน จะประสบพบเจอจากโค้ช ที่สะท้อนถึงการให้เกียรติและการเคารพศักด์ิศรีของผู้เรียน อีกทั้งเป็นส่ิงท่ีสะท้อนถึงความคิดและจิตใจของโค้ชอีกด้วยว่าให้ความสาคัญกับผู้เรียน และการทาหน้าท่กี ารโค้ชเพียงใดซง่ึ ผู้เรียนรบั รู้ได้จากการสังเกตการแต่งกายของโคช้ การยิ้มแย้มแจ่มใส รอยย้ิมเป็นหน้าต่างของหัวใจที่โค้ชควรหม่ันเป็นคนที่ ย้ิมง่าย การย้ิมในบางคร้ังมีพลังมากว่าคาพูด การยิ้มเป็นการเปิดใจให้ผู้เรียนทราบว่า โค้ชกาลังมีความรู้สึกอย่างไร การยิ้มทาให้ผู้เรียนรู้สึกถึงความมั่นคงและปลอดภัย ทางด้านจิตใจ การแสดงออกถึงภาวะผู้นาทางวิชาการ (academic leadership) ของ โคช้ ทาให้ผเู้ รยี นมีความเชอ่ื ม่นั ในความรู้ความสามารถของโค้ช ว่าจะสามารถโค้ชเขาให้ ประสบความสาเร็จได้อย่างแท้จริง ซ่ึงภาวะผู้นาทางวิชาการนี้จะเป็นคาตอบสุดท้ายว่า ผู้เรียนจะมีความไว้วางใจโค้ชหรือไม่ ในบางคร้ังเราจะพบว่ามีโค้ชบางคนที่แต่งการ สุภาพเรียบร้อย ย้ิมแย้มแจ่มใส แต่ขาดภาวะผู้นาทางวิชาการ สุดท้ายก็ไม่สามารถโค้ช ให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จได้ เพราะไม่สามารถช้ีแนะผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาที่ดีขึ้น ได้ นอกจากน้ีการไม่มีภาวะผู้นาทางวิชาการยังส่งผลทาให้ผู้เรียนลดความไว้วางใจลง จน ใน ที่สุ ด ต้ อง เ ป็ น ฝ่า ย ขอยุ ติ กร ะบ ว น การ โ ค้ช แ ล ะแ ส ว ง ห า โค้ช คน ให ม่ท่ีส า มา ร ถ ตอบโจทยค์ วามต้องการได้ ความอ่อนน้อมถ่อมตนและเคารพผู้เรียนในฐานะท่ีเป็นบุคคลที่มีศักด์ิศรี ความเป็นมนุษย์ การเป็นโค้ชมิได้หมายความว่าจะมีสิทธิหรืออานาจเหนือผู้เรียน แต่อย่างใด ในทางกลับกันโค้ชควรวางใจ ให้ถูกต้องว่าตนเป็นผู้ท่ีจะมาเรียนรู้ร่วมกัน กับผู้เรียนในฐานะท่ีมีประสบการณ์สูงกว่า ที่สามารถให้ข้อคิด ข้อเสนอแนะ ข้อชี้แนะ

บทท่ี 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 147 แนวทางการแก้ไขปัญหา การวางแผนการพัฒนาสู่การประสบความสาเร็จ รวมท้ัง การแบง่ ปันประสบการณ์ท่มี ีคุณค่า มากกว่าการใชอ้ านาจควบคุมผู้เรยี น หากทาเช่นน้ัน นอกจากจะไมไ่ ด้รับความไว้วางใจแล้วยงั ทาให้การโคช้ ไมป่ ระสบความสาเรจ็ อกี ด้วย กลั ยาณมติ รธรรมทเ่ี สรมิ สรา้ งความไวว้ างใจของผู้เรยี น กัลยานมิตรธรรม 7 ประการ เป็นปัจจัยสาคัญท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความ ไว้วางใจต่อโค้ช โดยโค้ชที่มีกัลยาณมิตรธรรมท้ัง 7 ประการอยู่ในตนซ่ึงมีสาระสาคัญ ตามท่ีพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) ได้ระบุไว้ในหนังสือ พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม และแนวทางการปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างความไว้วางใจของผู้เรียน ดังตารางต่อไปน้ี ตาราง 9 การวเิ คราะห์หลกั ธรรมกลั ยาณมติ รทเ่ี สรมิ สรา้ งความไว้วางใจของผเู้ รียน หลกั ธรรมกัลยาณมติ ร แนวปฏิบตั เิ พื่อเสรมิ สรา้ งความไว้วางใจของผเู้ รยี น ปิโย : น่ารกั ในฐานเป็นที่ ยิม้ แย้ม แจ่มใส มีมารยาททางสังคม ทักทาย สบายใจและสนิทสนม ชวนให้ ไต่ถาม มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ แตง่ กายสภุ าพเรยี บร้อย อยากเขา้ ไปปรึกษา ไต่ถาม ควบคุมอารมณ์ไดด้ ี ไม่แสดงความโกรธ หงุดหงิด ครุ : นา่ เคารพ ในฐาน มีบคุ ลิกภาพทดี่ ี นา่ เล่อื มใส ใหเ้ กยี รติผ้เู รยี น ประพฤติสมควรแก่ฐานะ ปฏิบตั ติ นเหมาะสมกบั กาลเทศะ ให้เกดิ ความร้สู ึกอบอุ่นใจ ใหค้ วามรู้สึกอบอ่นุ และปลอดภยั แก่ผเู้ รียน เปน็ ทีพ่ ึ่งใจ และปลอดภยั ให้คาปรึกษาปัญหาตา่ งๆ อยา่ งจริงใจ ภาวนีโย : น่าเจรญิ ใจ หรือน่า แสวงหาความรู้และพัฒนาตนเองในดา้ นต่างๆ ยกยอ่ ง ในฐานทรงคุณ คอื อย่างสม่าเสมอ และนาความร้มู าแบ่งปันใหก้ ับ ความร้แู ละภมู ปิ ญั ญาแท้จริง ผูเ้ รยี นอย่างต่อเนอ่ื ง ทง้ั ที่เปน็ เรอื่ งวิชาการ ทั้งเปน็ ผู้ฝึกอบรมและ และเปน็ ความรู้เก่ียวกบั การดารงชวี ติ ปรบั ปรุงตนอย่เู สมอ พัฒนาตนเองและเปน็ ตัวแบบทางด้าน ควรเอาอย่าง ทาให้ระลึก คุณธรรมจริยธรรม และคา่ นิยมอนั ดีงาม และเอ่ยอา้ งด้วยซาบซึ้งภมู ใิ จ ตลอดจนการทาประโยชน์เพอ่ื ส่วนรวม

148 บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ ตาราง 9 การวิเคราะห์หลักธรรมกัลยาณมิตรที่เสริมสรา้ งความไว้วางใจของผู้เรียน (ตอ่ ) หลกั ธรรมกลั ยาณมติ ร แนวปฏิบตั ิเพ่อื เสริมสรา้ งความไวว้ างใจของผู้เรียน วตฺตา จ : รูจ้ กั พูดให้ไดผ้ ล อธบิ ายให้เหตผุ ลจนผู้เรียนเกิดการเรียนร้แู ละเข้าใจ รจู้ กั ชแ้ี จงให้เข้าใจ รู้วา่ เมื่อไร ใหค้ าแนะนา ใหค้ าปรกึ ษา ให้กาลังใจ ให้คาชีแ้ นะ ควรพดู อะไรอยา่ งไร คอยให้ ในการเรยี นรู้และการแกป้ ญั หาแกผ่ ู้เรียน คาแนะนาวา่ กลา่ วตักเตือน พดู ความจริงและถูกตอ้ งกับกาลเทศะ เป็นท่ีปรึกษาท่ีดี พูดสรา้ งแรงบันดาลใจในการเรยี นรู้ของผ้เู รียน วจนกฺขโม : อดทนตอ่ ถ้อยคา รบั ฟงั ผูเ้ รียนด้วยความตง้ั ใจ ใสใ่ จ ฟงั ให้ได้ยิน คอื พร้อมทจ่ี ะรบั ฟงั ไม่ดว่ นสรุป ตัดสนิ สิง่ ทไ่ี ดฟ้ ัง ฟงั ดว้ ยใจเปน็ กลาง คาปรกึ ษาซักถามคาเสนอแนะ รับฟงั ปญั หาของผู้เรียนในเร่อื งตา่ งๆ ตลอดจน วิพากษว์ ิจารณ์ อดทน ความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะของผูเ้ รยี น ฟังได้ไมเ่ บื่อ ไมฉ่ ุนเฉยี ว โดยไมแ่ สดงอารมณ์โกรธ หงดุ หงดิ คมฺภรี ญฺจ กถ กตฺตา : แถลง ใชเ้ ทคนคิ การอธิบายเรื่องทย่ี ากโดยยกตัวอยา่ งส่ิงที่ เรื่องลา้ ลกึ ได้ สามารถอธิบาย เขา้ ใจได้งา่ ย การเชื่อมโยงเรือ่ งท่ซี บั ซ้อนเข้ากบั เรือ่ งยงุ่ ยากซับซ้อน ใหเ้ ขา้ ใจ สิ่งท่ีอยรู่ อบตวั ในชีวิตประวัน แปลงสิ่งที่เป็น และใหเ้ รยี นรเู้ ร่ืองราวทีล่ ึกซึง้ นามธรรมซึง่ ยากต่อการเข้าใจให้เป็นรูปธรรม ยงิ่ ขึน้ ไป ที่เข้าใจง่ายและชดั เจน โน จฏฺฐาเน นโิ ยชเย : ไม่ชกั นา ชี้แนะแนวทางให้ผูเ้ รยี นใชค้ วามม่งุ มัน่ พยายาม ในอฐาน คือ ไมแ่ นะนาในเร่อื ง ในการเรยี นรู้ นาส่งิ ที่เปน็ ประโยชน์มาให้ผู้เรียน เหลวไหล หรือชกั จูงไปในทาง แนะนาให้ผูเ้ รยี นปฏิบัตติ นตามหลกั คุณธรรม เส่ือมเสีย จริยธรรม และค่านิยมอนั ดงี าม โค้ชที่มีกัลยาณมิตรธรรม 7 ประการ จะช่วยสร้างความไว้วางใจและดารง รักษาความไว้วางใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา ซึ่งโค้ชสามารถนามาปฏิบัติได้ตามบริบท ของการโคช้ ผเู้ รยี นท่มี ีความแตกต่างกนั

บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 149 4.6 การส่ือสารของโค้ชทเี่ สริมสร้างความไว้วางใจ การสื่อสารในการโค้ชเป็นกระบวนการส่ือสารความรู้ ความคิด และความรู้สึก จากโค้ชไปยังผู้เรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การส่ือสารด้วยภาษาที่มีพลัง บัวไม่ช้าน้าไม่ขุ่น ช่วยรักษา สัมพันธภาพระหว่างโค้ชและผู้เรียน ซ่ึงภาษาท่ีมีพลังมีลักษณะเป็นภาษาความรู้สึก ปนอยูด่ ว้ ย การส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ ช่วยสร้างความไว้วางใจ ต้องไม่มีการ เปรียบเทียบกับบุคคลอ่ืน เพราะการเปรียบเทียบจะทาให้ผู้เรียนรู้สึกด้อยคุณค่า และขาดทักษะและความสามารถ การสื่อสารโดยใช้พลังภาษาช่วยเสริมสร้างความ ไว้วางใจ ความเชื่อม่ันในตนเอง และความภาคภูมิใจของผู้เรียน ความไว้วางใจถูก ทาลายได้ หากสื่อสารไม่ถูกวิธี เช่น คากล่าวที่แสดงถึงความเหน่ือยหน่าย ท้อแท้ อารมณ์หงดุ หงิดของโค้ช เป็นต้น การสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้กระบวนการโค้ชดาเนินไปอย่าง ราบรื่น มสี มั พันธภาพที่ดีระหว่างโค้ชและผู้เรียน การสื่อสารท่ีเสริมสร้างความไว้วางใจ เป็นการส่ือสารด้วยความชัดเจน ตรงประเด็น มีความจริงใจ ความห่วงใย และความ ใสใ่ จแฝงอยใู่ นสารนน้ั 4.7 วธิ กี ารสรา้ งความไวว้ างใจ ความไว้วางใจสามารถสร้างได้ทุกเวลาท่ีทาการโค้ชและต้องทาอย่าง ต่อเนือ่ ง เมือ่ ทาการโค้ช ดังน้ี 1. รับรคู้ วามรสู้ กึ ของผเู้ รียน แล้วตอบสนองต่อความร้สู ึกนั้นทันที 2. แสดงออกถึงภาวะผู้นาทางวิชาการ ด้วยการปฏิบัติให้เห็น เป็นตัวอย่าง ก่อนทจี่ ะให้คาชีแ้ นะ เพราะการกระทามีพลังมากกว่าการพดู

150 บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ 3. นาประสบการณ์ของโค้ชมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เรียน ช่วยทา ให้เห็นวา่ โคช้ ได้มีประสบการณเ์ หลา่ นีม้ าก่อนแลว้ 4. ให้คาชแี้ นะแนวทางเม่ือผู้เรียนประสบปัญหา บางครั้งอาจจะต้อง ช่วยจดั การแกป้ ญั หาตามความจาเป็น 5. ให้กาลังใจ ให้การเสริมแรง เมื่อผู้เรียนต้องการกาลังใจในการ พฒั นาตนเอง 6. ให้ความช่วยเหลือในบางเรื่อง ที่อยู่นอกเหนือความสามารถของ ผู้เรียน ซึ่งการให้ความช่วยเหลือน้ันจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนาได้อย่าง ตอ่ เน่อื ง 7. ใหค้ าชืน่ ชม เม่ือผู้เรียนทาส่งิ ท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเอง 8. ให้คาปรึกษาอย่างทันท่วงที เม่ือผู้เรียนมีความต้องการ ขอ้ เสนอแนะแนวทางต่างๆ 9. แสดงความเป็นมิตร ด้วยการย้ิมแย้มแจ่มใส ทักทาย ไต่ถาม สารทุกขส์ ุกดิบโดยทั่วไป ไม่เข้าไปในเรือ่ งสว่ นตวั 10. งดเว้นการนาเรื่องราวของผู้เรียนไปกล่าวถึงหรือพูดคุยกับ บุคคลอื่น ซ่ึงเป็นจริยธรรมสาคัญของโค้ช โดยเฉพาะการกล่าวถึงข้อจากัดหรือส่ิงท่ี ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ข ยกเวน้ ในการกล่าวถงึ ในทปี่ ระชมุ ของทีมโค้ชเท่านั้น 11. ให้ความยุติธรรมกับผู้เรียนอย่างเท่าเทียมกัน ในกรณีท่ีโค้ช หนึ่งคนทาหน้าท่ีโค้ชผู้เรียนหลายคนในเวลาเดียวกัน จะต้องห้ามเลือกปฏิบัติ โดยเด็ดขาด เพราะการเลือกปฏิบัติเป็นการสร้างความไม่ยุติธรรมให้เกิดข้ึนระหว่าง ผ้เู รยี น อาจทาให้เกิดปัญหาร้ายแรงตามมา คอื การแตกความสามคั ครี ะหวา่ งผเู้ รียน สานักงาน ก.พ. (2554) เสนอแนวทางการสร้างความไว้วางใจไว้หลาย ประการซง่ึ สามารถนามาปรับประยุกต์ใช้ในการสร้างความไวว้ างใจของโค้ชดงั น้ี 1. รับฟังด้วยความตั้งใจ ฟงั อยา่ งเขา้ ใจ 2. สนทนาอย่างเปิดเผย จริงใจ 3. ให้ความเคารพความคิดของผู้อนื่

บทที่ 4 การสร้างความไว้วางใจ 151 4. เปดิ เผย โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ 5. แสดงความรบั ผดิ ชอบและกล่าวคาขอโทษ 6. ชื่นชมความสามารถของผูเ้ รยี น ชมเชยอยา่ งจรงิ ใจ 7. ให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั เพื่อการพฒั นาตอ่ ยอด 8. กล้าเผชิญหนา้ กบั ปัญหาและความท้าทาย นอกจากนี้ Markovic, McAtavey and Fischweicher (2014) ได้เสนอ รูปแบบการสร้างความไว้วางใจในการโค้ชท่ีพัฒนามาจากรูปแบบการสร้างความ ไว้วางใจในองค์กรของ Mayer (1995) ไว้อย่างน่าสนใจว่าจะต้องประกอบด้วยความรู้ ความสามารถ ความเมตตากรุณา และความซ่ือสัตย์ของโค้ชเอง ท่ีจะเป็นปัจจัยทาให้ เกิดความไว้วางใจดังแผนภาพต่อไปน้ี ความรู้ - ความเช่ียวชาญเฉพาะทาง ความสามารถของโคช้ - ทักษะการแกป้ ญั หา ความเมตตากรณุ า - คานึงถึงประโยชน์ที่ผู้เรยี นจะไดร้ บั ความไวว้ างใจ ของโคช้ - รักษาคาม่ันสญั ญา ของผู้เรยี น - ปฏิบัติสอดคล้องกบั บรบิ ททางวฒั นธรรม - ไม่ฉกฉวยโอกาสเพอ่ื ประโยชน์สว่ นตวั ความซอ่ื สัตย์ - ซอ่ื สตั ย์ต่อวิชาชพี ของตนเอง ของโคช้ - สะท้อนผลการปฏิบตั ขิ องผู้เรยี นตามจริง แผนภาพ 12 รูปแบบการสรา้ งความไว้วางใจในการโค้ช

152 บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ แนวคดิ เกี่ยวกบั ความไว้วางใจของ Stephen M.R. Covey Stephen M.R. Covey ได้กล่าวไว้ในหนังสือ The Speed of Trust: The One Thing That Changes Everything ว่า ความไว้วางใจ (Trust) สามารถ สร้างให้เกดิ ข้นึ ได้ พฒั นาใหม้ มี ากขึน้ ได้ ถกู ทาลายได้ และสามารถสร้างขึ้นใหม่อีกได้ ถ้า เรามีความรู้ว่าความไว้วางใจประกอบด้วยอะไรบ้าง Covey ได้เสนอไว้ว่า ความ ไว้วางใจ จะเกิดข้ึนได้จะต้องมีองค์ประกอบหลัก 2 ประการ ได้แก่ 1) บทบาทหรือ บุคลิกภาพท่ีแสดงออกมา (Character) และ 2) ความสามารถท่ีทาได้จริง (competence) โดยในส่วนของบทบาทหรือบุคลิกภาพท่ีแสดงออกมานั้นจะต้องมี รากฐานมาจากความคิดและเจตนาท่ีดีตามหลักคุณธรรมจริยธรรม ส่วนความสามารถ ท่ีทาได้จริงนั้นมีรากฐานมาจากความรู้และประสบการณ์การทางาน ตลอดจนการ ประสบความสาเรจ็ จนเปน็ ทยี่ อมรบั ของแต่ละคน นอกจากนี้ความไว้วางใจยังมีรากฐาน หรือแก่น (cores) ที่สาคัญ 4 ประการท่ีมีความเช่ือมโยงกัน 1) คุณธรรมจริยธรรม และคา่ นยิ มท่ีดงี ามที่อยูใ่ นจิตใจ (integrity) เป็นคุณลักษณะที่ดีที่อยู่ในตัวบุคคล เช่น ความซ่ือสัตย์ ความมีวินัย ความเสมอต้นเสมอปลาย ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความรับผิดชอบ ความกล้าหาญ เป็นต้น ซึ่งแก่นทางด้านคุณธรรมจริยธรรมน้ี เปรียบเสมือนรากของต้นไม้ที่เป็นจุดเริ่มต้นของการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตต่อไป 2) การมีเจตนาท่ีดี (intent) เป็นมิติทางด้านความคิดและจิตใจที่มีความสร้างสรรค์ คิดดี คิดในส่ิงที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม มีเจตจานงมุ่งมั่นที่จะประสบความสาเร็จ มีแรงบันดาลใจ มีการวางแผนและกาหนดเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ และมีการลงมือ ปฏบิ ัตเิ พื่อการบรรลุเป้าหมาย ซึ่งแก่นทางด้านการมีเจตนาที่ดีเปรียบเสมือนลาต้นของ ต้นไม้ 3) การมีความสามารถ (capabilities) เปรียบเสมือนก่ิงก้านของต้นไม้ซ่ึงเป็น ความสามารถในการนาความเก่ง (Talents) เจตคติ (Attitudes) ทักษะ (Skills) ความรู้ (Knowledge) และสไตล์ (Style) มาใช้ในการทางาน 4) ผลลัพธ์ (Results) คือ ผลผลิตของการใช้ความสามารถจนประสบความสาเร็จ ความสาเร็จคือผลลัพธ์ ท่เี ปรยี บเสมือนส่วนผลของต้นไม้ แสดงได้ดงั แผนภาพต่อไปนี้

บทท่ี 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 153 แผนภาพ 13 แนวความคดิ เก่ียวกับความไว้วางใจของ Stephen M.R. Covey ท่ีมา https://medepi.files.wordpress.com/2013/07/covey_speed-of- trust_tree.png สืบคน้ เมอ่ื 12 กันยายน 2558

154 บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ Covey ได้อธิบายไว้ว่าความไว้วางใจท่ีบุคคลหนึ่งจะมีให้กับอีกบุคคล หน่ึงหรือ relationship trust จะเกิดจากพฤติกรรม 13 ประการ จาแนกออกได้เป็น 3 กลมุ่ ดังต่อไปน้ี พฤตกิ รรมทมี่ บี ทบาทเป็นฐาน (Character – Based Behavior) 1. การพูดตรงและชัดเจน (talk straight) เป็นการส่ือสารโดย การพูดทีม่ ีความถูกตอ้ ง มคี วามชัดเจนท่ีไมต่ อ้ งตคี วามซ่งึ อาจเปน็ สาเหตุของความเข้าใจ ผิดในการส่ือสาร การพูดตรงยังหมายความรวมถึงการพูดท่ีแสดงเจตนาของตนเอง ออกไปยังผู้ฟังอย่างชัดเจน ตรงไปตรงมา พูดด้วยความซ่ือสัตย์จริงใจ พูดในสิ่งท่ีเป็น ประโยชน์ พูดในส่ิงที่สร้างสรรค์นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตามการพูดนี้ ยงั จะต้องคานึงถงึ ความเหมาะสมกบั กาลเวลา สถานที่ และบุคคลดว้ ย 2. การให้เกียรติและเคารพ (demonstrate respect) เป็น ปัจจัยสาคัญอีกประการหน่ึงที่ช่วยสร้างความไว้วางใจได้เป็นอย่างดี การให้เกียรติและ การเคารพน้ี หมายถึง การให้ความสาคัญกับบุคคลอ่ืนอย่างเท่าเทียมกันในฐานะท่ีเป็น บุคคลท่ีมีเกียรติและศักด์ิศรี นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการเคารพในฐานะท่ีเป็นบุคคลท่ีมี ความคิดและมีศักยภาพ อีกท้ังการให้ความเป็นมิตร ให้ความยุติธรรม การให้ความรัก และมีความปรารถนาดี การให้เกียรติและเคารพยังช่วยทาให้บุคคลเกิดความภาคภูมิใจ และความเชื่อม่ันในตนเองซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานสาคญั ของการพัฒนางานและการเรียนรู้ 3. การมีความโปร่งใส (create transparency) เป็นการ แสดงออกถึงความซ่ือสัตย์สุจริต เป็นธรรม ความถูกต้อง และความจริงที่สามารถ ตรวจสอบได้จากบุคคลท่เี กยี่ วขอ้ ง โดยการมีความโปร่งใสนี้เป็นส่ิงหน่ึงท่ีช่วยเสริมสร้าง บารมีทท่ี าใหเ้ กดิ ความไว้วางใจได้อย่างยัง่ ยืน โดยการคิด พูด และกระทาในส่ิงท่ีตรงกัน เปดิ เผย จริงใจและไม่มวี าระซอ่ นเร้น (hidden agenda) 4. การยอมรับผิด (right wrongs) เป็นการแสดงความ รับผิดชอบต่อการคิด การตัดสินใจ และการกระทาของตนเอง เป็นปัจจัยที่ทาให้เกิด ความไวว้ างใจอยา่ งหน่งึ การยอมรับผิดแสดงออกไดต้ ลอดเวลาด้วยตนเองโดยไม่ต้องรอ ให้ใครมาตาหนิติเตียน เช่น การกล่าวคาขอโทษทันทีเมื่อทาผิดพลาด การแก้ไข

บทที่ 4 การสร้างความไวว้ างใจ 155 ข้อผิดพลาดด้วยวิธีการต่างๆ ท่ีสามารถทาให้สถานการณ์ดีขึ้น หรือส่ิงท่ีผิดพลาดได้รับ การเยยี วยา เปน็ ต้น การยอมรบั ผิดเปน็ พฤติกรรมทส่ี ะท้อนถึงความมีใจกว้าง การไม่ยึด ตดิ กับความคดิ ของตนเอง อีกทั้งยงั เปน็ การรักษาสัมพนั ธภาพทดี่ รี ะหว่างกันอกี ดว้ ย 5. การซื่อสัตย์ต่อบุคคลอ่ืน (show loyalty) เป็นการให้เครดิต (credit) แก่บุคคลอ่ืนที่เป็นเจ้าของความคิด เจ้าของผลงาน หรือเจ้าของนวัตกรรม ตลอดจนการมคี วามรบั ผิดชอบต่อการพูดและการกระทาท่ีอ้างอิงมาจากบุคคลอ่ืนอย่าง ถูกต้อง ไม่แปลงสารมาเป็นของตนเอง ไม่ขโมยความคิดของบุคคลอ่ืน มาเป็นของ ตนเอง รวมท้ังการให้ความยุติธรรมต่อบุคคลอื่นด้วยการไม่พูดลับหลังในทางที่ไม่ดี (นินทา) ทาให้ผู้ที่ถูกกล่าวถึงไม่ได้รับความยุติธรรมเพราะไม่มีโอกาสอธิบายหรือช้ีแจง ขอ้ เทจ็ จริง พฤติกรรมท่มี คี วามสามารถเป็นฐาน (Competence – Based Behavior) 6. การทางานให้สาเร็จเห็นผล (deliver results) เป็นสิ่งท่ี สะท้อนถึงการนาความรู้ความสามารถมาใช้ในการทางานได้ประสบความสาเร็จ ซ่ึงการ ทางานสาเร็จน้ันทาให้ได้รับความไว้วางใจจากบุคคลอ่ืน เช่น เม่ือมีภารกิจสาคัญท่ีต้อง ทาให้สาเร็จแล้วความไว้วางใจจะถูกมอบให้กับคนท่ีเคยประสบความสาเร็จแล้วเป็น แม่งานหรือหัวหน้าในการปฏิบัติภารกิจนี้ เป็นต้น นอกจากนี้การทางานให้ประสบ ความสาเร็จยังสามารถช่วยสร้างความไว้วางใจจากบุคลากรใหม่ท่ีเพิ่งเข้ามาร่วมงาน อีกด้วย 7. การพัฒนาให้ดีข้ึน (get better) เป็นพฤติกรรมที่สะท้อนให้ เห็นถึงการไม่หยุดเรียนรู้และมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองโดยพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม เป็น พฤติกรรมช่วยสร้างความไว้วางใจได้เป็นอย่างดี เนื่องจากพฤติกรรมการปรับปรุงและ พัฒนาอย่างต่อเน่ืองทาให้มีความรู้ที่ทันสมัยและมีนวัตกรรม ซ่ึงอาจเป็นนวัตกรรมทาง ความคิด เทคนิควิธีการ ขั้นตอนการทางาน ซ่ึงจะทาให้บุคคลรอบข้างมีความไว้วางใจ ว่าสิ่งท่ีคิด พูด และกระทาน้ัน มีความถูกต้องเชื่อถือได้โดยเป็นผลมาจากการที่เรียนรู้ และพฒั นาตลอดเวลา

156 บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ 8. การเผชิญกับความจริง (confront reality) เป็นการใช้ ความรู้ ความคิด และทักษะต่างๆ ในการปฏิบัติงาน การแก้ไขปัญหา ตลอดจนการ สร้างสรรค์นวัตกรรมจนประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ (มีคุณภาพ รวดเร็ว และประหยัด) โดยไม่หลีกเลี่ยง เพิกเฉย หรือหนีปัญหา นอกจากน้ียังหมายรวมถึงการ ใช้ศักยภาพของบุคลากรหรือความเก่งของแต่ละคนมาเป็นพลังร่วม (synergy) ในการ แก้ปัญหาอีกดว้ ย 9. การชี้แจงเป้าหมายให้กระจ่าง (clarify expectations) เปน็ การเสรมิ สรา้ งการมวี ิสัยทัศน์ร่วมกัน (shared vision) และสร้างเป้าหมายที่ชัดเจน ร่วมกัน และสรา้ งข้อตกลงร่วมกันในการทีจ่ ะปฏิบตั ิงานให้บรรลเุ ป้าหมายดังกลา่ ว 10. ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ด้ ว ย ส า นึ ก รั บ ผิ ด ช อ บ ( practice accountability) เป็นการควบคุมและกากับตนเองและบุคลากรให้ปฏิบัติงานด้วย สานกึ ความรับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผู้นาท่ีจะสร้างความไว้วางใจจากบุคลากร ได้นนั้ จะต้องมีสานึกความรับผิดชอบในส่วนตน และสามารถกระตุ้นบุคลากรให้มีสานึก ความรบั ผดิ ชอบไปพร้อมกนั ด้วย พฤติกรรมที่มบี ทบาทและความสามารถเป็นฐาน (Character & Competence Behavior) 11. การฟัง (listen first) หมายถึงการฟังอย่างตั้งใจ การฟัง อย่างลึกซึ้ง ฟังให้ได้ยินเสียงท่ีอยู่ข้างใน (ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการ ที่ซ่อนอยู่ภายใน) การฟังทาให้เกิดความไว้วางใจได้โดยการตอบสนองส่ิงที่ได้ฟังน้ัน อย่างเหมาะสม เช่น การแสดงความเห็นอกเห็นใจ (empathy) การแสดงความห่วงใย ตลอดจนการให้กาลังใจ เป็นต้น ซ่ึงผู้ที่ฟังเป็นและเก็บความลับได้ดีจะสามารถสร้าง ความไว้วางใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 12. การรักษาสัจจะ (keep commitments) เป็นการปฏิบัติ ตามสิง่ ทไ่ี ดพ้ ดู หรือใหค้ ามนั่ สญั ญาไว้ ซึง่ การรักษาสจั จะเป็นวิธีการท่ีสามารถสร้างความ ไว้วางใจจากบุคคลอื่นได้รวดเร็วมากที่สุด เพราะการรักษาสัจจะทาให้เกิดความเชื่อถือ ได้ในตัวบุคคล อีกท้ังการปฏิบัติตามคามั่นสัญญายังเป็นการแสดงถึงการให้เกียรติ

บทที่ 4 การสร้างความไว้วางใจ 157 และเคารพบุคคลอ่ืนอีกด้วย บุคคลใดท่ีได้รับการปฏิบัติต่อตนเองตามคามั่นสัญญา ย่อมมอบความไวว้ างใจใหใ้ นระยะยาว 13. การรักษาและเพิม่ ความไว้วางใจ (extend trust) เป็นการ ปฏบิ ัตติ ามแนวทางพฤติกรรมการสร้างความไว้วางใจอย่างต่อเน่ืองซ่ึงนอกจากจะรักษา ความไว้วางใจไว้ได้แล้วยังเป็นการเพ่ิมระดับความไว้วางใจให้มากข้ึน และได้รับความ ไวว้ างใจจากบุคคลตา่ งๆ จานวนมากขนึ้ จากผลงานของ Covey ข้างต้นสามารถวิเคราะห์แนวปฏิบัติของโค้ชท่ี เสริมสรา้ งความไว้วางใจได้ดังต่อไปน้ี ตาราง 10 แนวปฏิบัติการโคช้ เพื่อเสริมสร้างความไวว้ างใจ พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบตั ิของโคช้ พฤติกรรมท่มี ีบทบาทเป็นฐาน การพูดตรงและชดั เจน - ชีแ้ นะแนวทางการพัฒนาผเู้ รยี น อย่างตรงไปตรงมาและชัดเจน - ให้ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นาตนเองของผเู้ รยี น อย่างสร้างสรรค์ - บอกเจตนาท่ีแทจ้ ริงของโค้ชไปยงั ผเู้ รยี น - สะท้อนจุดอ่อนของผู้เรียนด้วยความจริงใจ - สะท้อนจดุ แข็งที่ผเู้ รยี นควรพฒั นาตอ่ ยอด - กลา่ วคาพดู ต่อผเู้ รียนเหมาะสมกบั กาลเวลา และสถานที่ - ใชภ้ าษาทีช่ ดั เจน เขา้ ใจง่าย เหมาะกับผ้เู รียน - พูดกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเปลยี่ นแปลงตนเอง - พูดใหก้ าลังใจผเู้ รียนใช้ความพยายามไปสู่ เปา้ หมาย

158 บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ ตาราง 10 แนวปฏบิ ัติการโค้ชเพือ่ เสริมสรา้ งความไวว้ างใจ (ต่อ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏบิ ตั ขิ องโคช้ การให้เกยี รติและเคารพ - แสดงความคิดเห็นต่อกระบวนการเรยี นรู้ ความกา้ วหนา้ ทางการเรยี นรู้ และผลผลิต การเรียนรู้ของผู้เรยี นอย่างตรงไปตรงมา - ให้ความสาคญั กับความคิดของผ้เู รียนทกุ คน - เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้แสดงความคิดเหน็ และความเปน็ ตัวของตวั เอง - ใหค้ วามเอาใจใส่มิติด้านอารมณ์และความรสู้ กึ ของผู้เรยี นอยา่ งเท่าเทียมกัน - เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนได้แสดงศกั ยภาพของตนเอง - ยอมรับความคิดเหน็ ท่มี ปี ระโยชนข์ องผู้เรยี น - ใหโ้ อกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดแ้ สดงความคดิ เห็น แสดงความสามารถของตนเอง - แสดงความใสใ่ จกับความคดิ ของผู้เรยี น - ยอมรับแนวความคิดที่ถูกต้องของผูเ้ รียน - ให้ความสาคัญกับความเปน็ ตัวตนของผู้เรยี น - เอาใจผูเ้ รียนมาใส่ใจตนเองแสดงความเข้าใจ และความใส่ใจต่อความตอ้ งการของผู้เรียน - ให้ความเปน็ มิตรกับผเู้ รยี น - ใหค้ วามยตุ ธิ รรมกับผเู้ รียนทุกคน - ชมเชยผู้เรียนด้วยความจริงใจ - แสดงกริยามารยาททดี่ ีต่อผ้เู รยี น - - ไมท่ าให้ผู้เรยี นรสู้ กึ เสียหนา้ หรือเสียกาลังใจ

บทท่ี 4 การสร้างความไว้วางใจ 159 ตาราง 10 แนวปฏิบตั กิ ารโคช้ เพอื่ เสรมิ สรา้ งความไวว้ างใจ (ตอ่ ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบตั ิของโคช้ การมคี วามโปรง่ ใส - อธิบายใหเ้ หตุผลสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจตา่ งๆ ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ใจ การยอมรับผดิ - ปฏบิ ตั ติ อ่ ผู้เรยี นอยา่ งเท่าเทียมและเสมอภาคกนั - ใหค้ วามยุติธรรมในการประเมนิ ผเู้ รียนตาม มาตรฐานหรือข้อตกลงรว่ มกัน - ตัดสินใจในการโค้ชบนพ้ืนฐานของความถูกต้อง - เปดิ เผยขอ้ มลู การเรยี นร้แู ก่ผู้เรียนเฉพาะบคุ คล ตามความเป็นจริง - กล่าวคาขอโทษผเู้ รยี นทนั ทีทท่ี ราบว่ามีความ ผิดพลาด - แสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทาของตนเอง ทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ผูเ้ รียน - ปรบั ปรุงแกไ้ ขสง่ิ ที่ผดิ พลาดใหถ้ ูกตอ้ งและทาให้ ผู้เรยี นเห็นว่าส่งิ ทีผ่ ดิ พลาดได้รบั การแกไ้ ขแลว้ - แก้ไขกจิ กรรมการเรยี นรู้ทผ่ี ิดพลาดใหก้ ลบั มา ถกู ต้อง - แสดงความเสียใจต่อผ้เู รียนในสง่ิ ทโี่ ค้ช ทาผิดพลาด - ให้คามน่ั สญั ญาต่อผเู้ รยี นวา่ ความผิดพลาด จะไมเ่ กิดขึน้ อกี - ให้การเยียวยาผเู้ รยี นตอ่ ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนจาก ความผิดพลาด - ป้องกนั สาเหตทุ ี่ก่อใหเ้ กดิ ความผิดพลาด

160 บทท่ี 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ ตาราง 10 แนวปฏบิ ัตกิ ารโค้ชเพ่อื เสรมิ สรา้ งความไวว้ างใจ (ต่อ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบัตขิ องโค้ช การซือ่ สตั ยต์ อ่ บคุ คลอน่ื - กล่าวถึงแหลง่ ท่ีมาของขอ้ มูลต่างๆ ท่ีสอื่ สาร กับผเู้ รยี นใหผ้ ู้เรียนทราบ - อา้ งองิ เจา้ ของผลงานหรือเจา้ ของความคิด ให้ผเู้ รียนทราบอยา่ งถูกตอ้ ง - พดู กับผู้เรยี นในสง่ิ ทตี่ รงกบั ความเปน็ จรงิ หรือข้อเทจ็ จริงทเ่ี กิดขึน้ โดยไม่บดิ เบอื นขอ้ มูล - คิด พูด และกระทาตอ่ ผูเ้ รียนในส่งิ ทต่ี รงกัน - ไมน่ นิ ทาวา่ รา้ ย หรือไมก่ ลา่ วถงึ บุคคลอ่ืน ในทางท่ีไม่ดใี ห้ผูเ้ รยี นฟงั - ปฏิบัตติ ่อผเู้ รยี นด้วยใจปรารถนาดี ไม่มผี ลประโยชนอ์ ื่นใดแอบแฝง - ชแี้ นะผู้เรียนใหพ้ ัฒนาตนเองไปส่เู ป้าหมายท่ดี ี มีประโยชน์ต่อการดารงชวี ติ ในอนาคต - เลือกสรรสง่ิ ท่ีดีท่สี ุดมาให้ผเู้ รียนได้เรยี นรู้ - ไม่ทอดทง้ิ ผู้เรยี น เมื่อเขาไมป่ ระสบความสาเรจ็ ในการเรียนรู้ และให้การดแู ลเอาใจใส่ผู้เรียน ใหป้ ระสบความสาเรจ็ เต็มตามศักยภาพท่ีมี - พูดถงึ ผูเ้ รียนในแงม่ ุมของการเรยี นรูแ้ ละการ พัฒนาใหม้ คี ณุ ภาพมากข้ึน ไม่ตฉิ นิ นินทา ผเู้ รียนลบั หลงั - รับผิดชอบตอ่ ผลการเรียนร้แู ละคณุ ภาพของ ผู้เรยี นโดยการใหค้ วามช่วยเหลือจนผู้เรียน ประสบความสาเร็จ

บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 161 ตาราง 10 แนวปฏบิ ัติการโค้ชเพื่อเสรมิ สรา้ งความไวว้ างใจ (ต่อ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบตั ขิ องโค้ช พฤติกรรมท่ีมีความสามารถเป็นฐาน การทางานให้สาเร็จเหน็ ผล - ตรวจสอบผลการเรียนร้แู ละสะทอ้ นผลไปยงั ผูเ้ รยี นตรงตามกาหนดเวลา - แสดงให้ผูเ้ รียนเหน็ วา่ ผูส้ อนประสบความสาเรจ็ ในการโคช้ จนผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ - แสดงขอ้ มลู สารสนเทศทีส่ ะทอ้ นถึงการประสบ ความสาเรจ็ ในการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี นแต่ละคน - ยกตวั อย่างผู้เรยี นท่ปี ระสบความสาเร็จในการ เรยี นรู้ หรอื ผ้เู รียนท่มี ีคณุ ภาพจากการท่ีได้ใช้ ความมุ่งมั่นพยายามในการพัฒนาตนเอง การพฒั นาใหด้ ขี ึ้น - ปรับปรุงวธิ ีการโค้ชผเู้ รยี นให้สอดคล้องกบั ธรรมชาติและความต้องการรายบคุ คล - ปรบั ปรุงวธิ กี ารจดั การเรียนร้ใู ห้ทันสมัยอยู่เสมอ - ปรบั เปลี่ยนสื่อการเรียนรู้ให้มีความน่าสนใจ สอดคลอ้ งกับเนือ้ หาสาระอยูเ่ สมอ - ปรบั ปรุงและเปลย่ี นแปลงกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ และธรรมชาติ ของผู้เรียนอย่เู สมอ - พัฒนาวธิ กี ารใหข้ ้อมลู เพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ การใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั และการให้ข้อมลู เพอื่ การ เรียนรู้ตอ่ ยอดอยูเ่ สมอ - เปลย่ี นแปลงวธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ ที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน

162 บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ ตาราง 10 แนวปฏิบตั ิการโคช้ เพื่อเสรมิ สร้างความไวว้ างใจ (ตอ่ ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบัติของโคช้ การเผชิญกับความจรงิ - ยอมรับข้อจากัดหรือศักยภาพในการเรยี นรู้ ของผเู้ รียนและนามาพัฒนาวธิ ีการโคช้ - แกป้ ัญหาทางการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี นทีเ่ กดิ ขนึ้ ดว้ ยวธิ กี ารท่ีมีประสทิ ธิภาพ - นาความรู้ดา้ นตา่ งๆ มาใชใ้ นการออกแบบ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และกลวิธกี ารโค้ชผเู้ รยี น - ใช้ความพยายามในการโคช้ เพื่อให้ผูเ้ รยี น เกดิ การเรยี นรู้เต็มตามศักยภาพ - นาความร้ดู ้านตา่ งๆ มาพฒั นานวตั กรรม การเรียนรูท้ สี่ อดคล้องกับธรรมชาติของผเู้ รยี น - ไมเ่ พิกเฉยต่อปญั หาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น และร่วมกันหาแนวทางการแกไ้ ขกับผู้เรียน - ไม่หลีกเล่ยี งผเู้ รียนท่ีขอรับความชว่ ยเหลือ โดยอาสาใหค้ วามชว่ ยเหลือท้ังทางดา้ นวชิ าการ และด้านอื่นๆ ตามความเหมาะสม - เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นไดร้ ่วมแก้ไขปัญหาทางการ เรียนรขู้ องตนเอง - เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นไดช้ ว่ ยเหลือซ่ึงกันและกัน และแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ว่ มกันเพื่อนาไปส่กู าร แกป้ ญั หาทเี่ กิดขึ้น - แสวงหาแนวทางการปอ้ งกันปัญหาทางการ เรยี นรู้ท่อี าจจะเกิดขน้ึ ซ้าอีก - นาศกั ยภาพผูเ้ รยี นมาใชใ้ นการแกป้ ัญหารว่ มกนั

บทที่ 4 การสร้างความไว้วางใจ 163 ตาราง 10 แนวปฏบิ ัตกิ ารโค้ชเพอ่ื เสรมิ สร้างความไวว้ างใจ (ตอ่ ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏบิ ัตขิ องโค้ช การชี้แจงเป้าหมายให้กระจ่าง - ให้ข้อมูลเกีย่ วกับเป้าหมายของการเรียนรู้ แก่ผเู้ รียนทกุ ครั้งท่ที าการโค้ช - ให้ขอ้ มลู เกย่ี วกับเกณฑห์ รือมาตรฐานคณุ ภาพ ของผลงานทีผ่ ้เู รียนจะต้องปฏิบัตใิ ห้บรรลุ - ร่วมกนั กาหนดเป้าหมายการเรียนรกู้ บั ผูเ้ รียน - ให้ข้อมูลระดบั คุณภาพของผลงานหรือผลการ เรยี นรขู้ องผเู้ รียน และแนะนาใหท้ ราบถึงระดับ คุณภาพของผลงานหรอื ผลการเรียนรทู้ ีผ่ เู้ รยี น ควรพฒั นาต่อยอดไปใหถ้ งึ - เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นซักถามข้อสงสัยเก่ยี วกับ เปา้ หมายของการเรยี นรู้ - ให้ผู้เรยี นอธิบายเปา้ หมายของการเรียนรู้ของตน - ร่วมกบั ผเู้ รียนในการตรวจสอบการบรรลุ เป้าหมายการเรยี นร้เู ป็นระยะๆ - ใหข้ ้อมูลเกี่ยวกับขอบขา่ ยและแนวทาง การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ - ให้ขอ้ มูลเก่ยี วกบั เกณฑ์การใหค้ ะแนน (scoring rubrics) ผลงาน และเปดิ โอกาส ให้ผเู้ รยี นปรับเปลยี่ นเกณฑ์การใหค้ ะแนน ใหม้ ีความชดั เจนมากข้นึ - ยกตวั อย่างหรอื ใหค้ าช้แี จงเพม่ิ เติมเกยี่ วกับ ลักษณะของผลงานที่มีคณุ ภาพ ให้ผเู้ รยี น เหน็ ภาพอย่างเปน็ รปู ธรรม

164 บทท่ี 4 การสรา้ งความไว้วางใจ ตาราง 10 แนวปฏบิ ัติการโคช้ เพื่อเสริมสร้างความไวว้ างใจ (ตอ่ ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบัตขิ องโค้ช การปฏบิ ัตงิ านด้วยสานึกรับผดิ ชอบ - วางแผนการโค้ชผเู้ รียนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ - วเิ คราะหจ์ ุดเด่นและจุดท่ผี ู้เรยี นแต่ละคน จะต้องได้รบั การสง่ เสรมิ ต่อยอดและพฒั นา - ใหค้ วามเอาใจใส่ ชว่ ยเหลือผูเ้ รยี นให้เกิดการ เรยี นรู้อยา่ งเตม็ ความสามารถ - พฒั นาเครื่องมอื การประเมินผลการเรียนรู้ ทม่ี ีคณุ ภาพครอบคลมุ ท้ังด้านเน้อื หาสาระ กระบวนการเรียนรู้ สมรรถนะ และคุณลักษณะ - ประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผเู้ รียนรายบคุ คล ด้วยวธิ กี ารและเครอื่ งมอื ท่ีมีคณุ ภาพและมี ความยุติธรรมในการประเมิน - สะท้อนผลการประเมนิ ไปยังผู้เรยี นตามความ เป็นจริง และชีแ้ นะแนวทางการปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองให้แกผ่ ู้เรียน - ตดิ ตามความก้าวหน้าทางการเรียนรขู้ อง ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล - ปรับปรงุ และพฒั นาเนื้อหาสาระ กิจกรรม และสอื่ การเรยี นรใู้ ห้มคี วามทันสมัยตลอดเวลา - พฒั นาตนเองให้มคี วามรู้และทักษะเพ่มิ พูนข้ึน และนามาใชใ้ นการโค้ชผู้เรียนอย่างต่อเน่อื ง - กระตนุ้ ผเู้ รียนให้มีสานึกความรบั ผิดชอบตอ่ การ เรยี นรขู้ องตนเอง ม่งุ เนน้ การมีวินัยในตนเอง (self - discipline) เป็นสาคัญ

บทท่ี 4 การสร้างความไวว้ างใจ 165 ตาราง 10 แนวปฏิบัตกิ ารโคช้ เพื่อเสรมิ สรา้ งความไวว้ างใจ (ต่อ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบตั ขิ องโคช้ พฤตกิ รรมที่มบี ทบาทและความสามารถเป็นฐาน การฟงั - ตง้ั ใจฟังความคิดเหน็ หรือคาตอบของผู้เรยี น - ไม่พดู แทรกระหว่างที่ผู้เรยี นกาลังอธิบาย หรือตอบคาถามของโคช้ - ไม่ดว่ นตดั สินสงิ่ ที่ได้ฟัง ซักถามขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ หากเรื่องท่ีฟงั ยังมขี ้อมูลไม่เพียงพอ - ฟังให้จบโดยไม่แสดงอาการเบ่ือหนา่ ย - แสดงความคดิ เห็นท่ีสรา้ งสรรคเ์ กี่ยวกบั เร่ืองที่ฟัง - เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้แสดงความคดิ เห็น หรือตอบคาถามอย่างเต็มที่ - แสดงความเขา้ ใจในเร่ืองที่ฟัง เช่น พยักหน้า - แสดงความเห็นอกเห็นใจผ้เู รยี นในเรือ่ งที่กาลงั กังวลใจหรือไม่สบายใจ และช่วยหาทางออกทด่ี ี - ให้กาลงั ใจผู้เรยี นในการพูดใหจ้ บดว้ ยความม่ันใจ - ไม่นาเร่ืองราวของผู้เรยี นไปพูดตอ่ โดยไม่ไดร้ ับ อนญุ าตจากผเู้ รียน - แสดงความคิดเหน็ ต่อเร่อื งราวทฟี่ งั จากผู้เรยี น อยา่ งสร้างสรรค์ - แสดงความยนิ ดีหากเรื่องท่ีฟงั นน้ั เป็นเรื่องทีด่ ี และแสดงความเสียใจหากเปน็ เรอ่ื งท่ีไม่ดี - ไม่นาความลับหรือสิง่ ทผ่ี ู้เรียนไมม่ ั่นใจไปพูดต่อ กับบุคคลอนื่ เพราะทาใหผ้ ู้เรียนขาดความม่ันใจ มากยงิ่ ขึน้

166 บทท่ี 4 การสรา้ งความไว้วางใจ ตาราง 10 แนวปฏบิ ัตกิ ารโคช้ เพอื่ เสรมิ สรา้ งความไว้วางใจ (ต่อ) พฤติกรรมตามแนวของ Covey แนวการปฏิบตั ิของโคช้ การรักษาสจั จะ - ปฏิบตั ิตามสิ่งทีไ่ ด้ตกลงร่วมกันไวก้ บั ผ้เู รยี น เชน่ การจัดการเรียนรู้ตรงตามจุดประสงค์ การรักษาและเพ่ิมความไว้วางใจ การปฏิบัติกิจกรรมตามแผนท่กี าหนดไว้ - ตรงต่อเวลาตามท่ไี ด้นัดหมายไวก้ ับผู้เรียน - พูดและกระทาตอ่ ผเู้ รียนอย่างตรงกัน - รักษากฎกตกิ าต่างๆ ทไ่ี ดต้ กลงรว่ มกันกบั ผูเ้ รยี น อย่างตรงไปตรงมาและเท่าเทียมกนั - มอบหมายกิจกรรมการเรยี นรู้ตามทไี่ ด้ตกลงกนั ไวต้ ั้งแต่ต้น หากจะมีการเปลี่ยนแปลงต้อง ได้รับความรว่ มมอื จากผเู้ รยี นก่อน - ประเมินผลการเรยี นรตู้ ามเกณฑ์การประเมนิ ทไี่ ด้ตกลงกนั ไวล้ ่วงหนา้ - สะทอ้ นผลการประเมินและให้ความชว่ ยเหลือ ผูเ้ รยี นจนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ - ปฏบิ ัตติ ามแนวทางการสรา้ งความไว้วางใจ ตอ่ ผู้เรยี นทุกคนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ได้แก่ การพูดตรง และชดั เจน การใหเ้ กียรติและเคารพ การมคี วามโปรง่ ใส การยอมรับผดิ การซอ่ื สตั ยต์ ่อบคุ คลอน่ื การทางานให้สาเร็จ เหน็ ผล การพฒั นาให้ดีข้นึ การเผชิญกับ ความจริง การชี้แจงเป้าหมายใหก้ ระจา่ ง การปฏบิ ัตงิ านด้วยสานกึ รบั ผดิ ชอบ การฟงั และการรักษาสจั จะตามทกี่ ล่าวมา

บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ 167 4.8 ปัจจัยยดึ เหนย่ี วความไว้วางใจ การโค้ชเป็นส่ิงที่มากกว่าการบอกกล่าวให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองเท่านั้น ซึ่งใครๆ ก็สามารถกระทาได้ โดยไม่ต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญอะไร ซึ่งการกระทา ดังกล่าวจะสามารถโค้ชผู้เรียนได้เพียงชั่วคราวเท่าน้ัน เม่ือผู้เรียนนาส่ิงที่ได้รับการโค้ช มาวิเคราะห์ภายหลัง แล้วพบว่าเขาไม่ได้รับประโยชน์เท่าท่ีควรจากโค้ช เมื่อน้ันเขาจะ เดินจากโค้ชไปทันที ดังนัน้ โค้ชจะต้องทางานหนกั หลายประการ ซ่ึงเป็นปัจจัยยึดเหน่ียว ความไวว้ างใจดงั ต่อไปนี้ 1. การแสวงหาความรู้ในเร่ืองที่ทาการโค้ชอย่างต่อเนื่องเพราะ ความรู้ใหม่ๆ จะเป็นส่ิงท่ีส่งเสริมการมีภาวะผู้นาทางวิชาการของโค้ชและเม่ือโค้ช มีภาวะผู้นาทางวิชาการแลว้ ความไวว้ างใจของผเู้ รยี นจะตามมา 2. ศึกษาค้นคว้า วิจัย และสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆท่ีสามารถ นามาใช้ในการโค้ช ทาให้การโค้ชมีเทคนิค วิธีการท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ ผูเ้ รียน 3. ความอดทนของโค้ชในการให้คาแนะนาช่วยเหลือในสิ่งที่ผู้เรียน ต้องการ แมว้ า่ การใหค้ าแนะนาชว่ ยเหลือน้นั จะเปน็ เรื่องเดิม แต่จะต้องใช้เทคนิควิธีการ ที่แตกต่างจากเดิม ทาให้ผเู้ รยี นเหน็ ถงึ ความมงุ่ ม่ันพยายามในการโค้ชของโคช้ 4. ความสม่าเสมอในการโค้ช ท่ีโค้ชทาการโค้ชให้กับผู้เรียนอย่าง ตอ่ เนือ่ ง และผู้เรยี นมีพฒั นาการทดี่ ขี ึ้นอย่างเหน็ ได้ชัด 4.9 การจดั การความไว้วางใจ ค ว า ม ไ ว้ ว า ง ใ จ ข อ ง ผู้ เ รี ย น นั้ น ส า ม า ร ถ มี เ พิ่ ม ขึ้ น แ ล ะ ล ด ล ง ไ ด้ ต า ม ประสิทธิภาพในการโค้ช ซ่ึงโค้ชจะต้องมีทักษะในการจัดการกับความไว้วางใจ หากสามารถจดั การความไวว้ างใจได้ ย่อมส่งผลทาให้การโค้ชดาเนินการต่อไปได้อย่างดี

168 บทที่ 4 การสรา้ งความไว้วางใจ หากไม่สามารถจัดการความไว้วางใจได้ ก็ย่อมส่งผลเสียต่อการโค้ชได้เช่นเดียวกัน การจัดการความไว้วางใจ ไม่ใช่การหลอกลวงผู้เรียน แต่เป็นการทาให้ผู้เรียนมีความ เช่ือม่ันและศรัทธา ในตัวโค้ช พร้อมที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองไปพร้อมกับโค้ช ได้ตลอดเวลา เหตุผลท่ีต้องมีการจัดการความไว้วางใจ เน่ืองจากผู้เรียนอาจมีข้อสงสัย บางประการเกีย่ วกับเหตุผลในการปฏิบัติตามคาช้ีแนะของโค้ชซึ่งโค้ชย่อมมีจุดมุ่งหมาย ท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาที่ดีข้ึนแต่ผู้เรียนอาจมีคาถามอยู่ในใจว่าเพราะอะไร จงึ ตอ้ งปฏิบตั ิตามท่โี คช้ แนะนา หากผ้เู รียนมีความคดิ เหน็ แยง้ กับโค้ชและโคช้ ไม่สามารถ อธบิ ายช้ีแจงเหตผุ ลได้ ย่อมสง่ ผลกระทบตอ่ ความไวว้ างใจทผี่ เู้ รียนจะมใี ห้กบั โคช้ อย่างไรก็ตามการสร้างความไว้วางใจไม่ใช่การตามใจแต่โค้ชต้องอธิบาย ให้เหตุผลและชี้แจงประโยชน์ที่ผู้เรียนจะได้รับ จากการปฏิบัติตามคาแนะนา การตามใจผเู้ รียนไม่ใชว่ ิธีการท่ีถูกต้อง เพราะในท้ายที่สุดแล้วผู้เรียนจะไม่ได้เรียนรู้และ พฒั นาซ้ายงั เปน็ การทาลายโอกาสการพฒั นาอีกด้วย ความไว้วางใจจะถูกทาลายลงในทันที หากผู้เรียนทราบว่าโค้ชไม่มีความ จริงใจและความปรารถนาดีต่อเขา ดังนั้นการตามใจอาจสร้างความประทับใจ แบบฉาบฉวย แต่ไมผ่ ลเสยี ปรากฏขน้ึ โคช้ จะไม่สามารถสร้างความไว้วางใจได้อีกเลย วธิ กี ารจัดการความไว้วางใจของผู้เรียนมีดงั ต่อไปนี้ 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน หากพบว่า ผู้เรียนให้การยอมรับ ข้อเสนอแนะ คาชี้แนะ คาแนะนา ของโค้ช เป็นอย่างดี น่ันเป็นพฤติกรรม ท่ีสะท้อนให้ เห็นว่าผู้เรียนมีความไว้วางใจโค้ช เมื่อโค้ชสังเกตพบดังน้ีแล้ว ให้ดาเนินการโค้ชส่ิงที่ ยากและซับซ้อนต่อไปอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนพร้อมปฏิบัติงานท่ียากหรือซับซ้อน เพ่ือพฒั นาตนเองอยา่ งกา้ วกระโดด 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน หากพบว่า ผู้เรียนตั้งคาถามย้อนกลับ ในลักษณะต้องการเหตุผลจากโค้ช ว่าเพราะเหตุใดจึงต้องปฏิบัติอย่างนั้นอย่างนี้ แสดงว่า ผเู้ รียนเริ่มมขี อ้ สงสัยในข้อเสนอแนะคาชแี้ นะ คาแนะนาของโค้ช โค้ชต้องหยุด

บทท่ี 4 การสร้างความไวว้ างใจ 169 การโค้ชไว้ชั่วขณะ แล้วอธิบายให้เหตุผลเชิงวิชาการ สนับสนุนข้อเสนอแนะ คาชี้แนะ คาแนะนา ว่าหากผู้เรียนปฏิบัติตามแล้วจะเกิดผลอย่างไร และผลน้ันมีความ เช่ือมโยงกับเป้าหมายสูงสุดของผู้เรียนอย่างไร แล้วสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน ในระหว่างการอธิบายให้เหตุผลอยู่น้ัน หากพบว่าผู้เรียนเร่ิมให้การยอมรับเหตุผล ดงั กล่าวแลว้ จึงทาการโคช้ ตอ่ ไป หากยงั ไม่ยอมรับโค้ชก็จะต้องอธิบายให้เหตุผลเพ่ิมเติม โดยอาจใช้การยกตัวอย่างข้อเท็จจริงที่เกิดข้ึนในอดีต หรือตัวอย่างจากประสบการณ์ ตรงของโค้ช และตัวอย่างท่ีมีน้าหนักมากท่ีสุด คือ ตัวอย่างที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนเอง ซึ่งการยกตัวอย่างสนับสนุนการให้เหตุผลของโค้ช จะทาให้ผู้เรียนยอมรับเหตุผลของ โคช้ ไดเ้ ร็วขนึ้ และปราศจากความแคลงใจ ทาให้การโค้ชสามารถดาเนินตอ่ ไปได้ สรปุ สาระสาคัญที่นาเสนอในบทนี้ได้กล่าวถึง ความไว้วางใจซึ่งเป็นปัจจัยท่ี สาคัญท่ีสุดของการโค้ช เพราะเป็นเหตุปัจจัยเดียวท่ีทาให้ผู้เรียนพร้อมท่ีจะเรียนรู้และ พฒั นาตนเองตามคาช้ีแนะของโค้ช หากการโค้ชเป็นไปด้วยความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน โค้ชมคี วามไวว้ างใจผ้เู รียน ผู้เรียน มคี วามไวว้ างใจโคช้ โดยจุดมุง่ หมายท่สี าคัญท่ีสุดของ การสร้างความไว้วางใจ คือ การทาให้ผู้เรียนมีความเช่ือมั่นว่าจะได้รับการดูแลจากโค้ช ด้วยความรัก ความเมตตา เพ่ือให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างต่อเน่ือง เพราะ ความไว้วางใจเป็นพลังที่อยู่ในจิตใจของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองตามแนวทางและคาชี้แนะของโค้ชได้อย่างต่อเนื่อง เม่ือผู้เรียนมีความไว้วางใจ โค้ช ผู้เรียนจะมีความเช่ือมั่น ในตนเอง กล้าแสดงความคิดเห็น กล้าต้ังคาถาม กล้าคิด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ อีกทั้งผู้เรียนแต่ละคน แต่ละช่วงวัย มีธรรมชาติและความต้องการที่แตกต่างกัน ซ่ึงโค้ชต้องศึกษาวิเคราะห์และตอบสนอง เพื่อสร้างความไว้วางให้ให้เกิดขึ้น โดยปัจจัยท่ีเสริมสร้างความไว้วางใจมีหลายปัจจัย ซง่ึ บคุ ลิกภาพเป็นปัจจัยท่ีสาคัญเบื้องต้นของการสร้างความไว้วางใจ โค้ชท่ีมีบุคลิกภาพ ที่ดีย่อมสร้างความไว้วางใจให้กับผู้เรียน ได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งการส่ือสารในการโค้ช

170 บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ เป็นกระบวนการส่ือสารความรู้ ความคิด และความรู้สึก จากโค้ชไปยังผู้เรียน โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ีสิ่งสาคัญ อีกประการหนึง่ ที่โคช้ ควรตระหนักอยู่เสมอ คือ ความไว้วางใจ สามารถสร้างได้ทุกเวลา ท่ีทาการโค้ชและต้องทาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การโค้ชเป็นสิ่งที่มากกว่าการบอกกล่าวให้ผู้เรียน พัฒนาตนเองเทา่ น้นั โคช้ จะต้องทางานหนกั หลายประการซึ่งเปน็ ปจั จยั ยดึ เหนี่ยวความ ไว้วางใจไว้ได้ เพราะความไว้วางใจของผู้เรียน สามารถมีเพิ่มข้ึนและลดลงได้ตาม ประสิทธิภาพในการโค้ช หากสามารถจัดการความไว้วางใจได้ย่อมส่งผลทาให้การโค้ช ดาเนนิ การตอ่ ไปไดอ้ ย่างดี

บทที่ 4 การสร้างความไว้วางใจ 171 บรรณานกุ รม พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2557). พจนานกุ รมพทุ ธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งท่ี 22. อยุธยา: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . . (2557). พทุ ธธรรม ฉบับปรับขยาย. (พิมพค์ รั้งที่ 32). อยุธยา: มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . สานักงาน ก.พ. (2554). “การบรหิ ารทรัพยากรบุคคลบนความหลากหลาย ทักษะการ บริหารจดั การทีม ตนเอง และบคุ ลิกภาพ เพ่อื พัฒนาภาวะผู้นา” สืบค้นจาก http://www.apm.co.th/_data/download/ppt/00000458.pdf วันที่ 12 กันยายน 2558 Anderson, Lorin. W, & Krathwohl, David. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Abridged Edition, New York: Longman. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Costa, Arthur L. and Garmston, Robert J. (2002). Cognitive Coaching A Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher – Gordon Publishers, Inc. Covey, Stephen M.R. (2006). The Speed of Trust: The One Thing That Changes Everything. New York: SIMON & SCHUSTER. Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press. Markovic, J., McAtavey, J., and Fischweicher, P. (2014). “An Integrative Trust Model in the Coaching Context” American Journal Review. Vol.14(1-2) pp. 102 – 110.

172 บทที่ 4 การสรา้ งความไวว้ างใจ Marzano, Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory. Mayer, C.R., Davis H.J., &Schoorman, F.D. (1995). “An Integrative Model of Organization Trust” The Academy of Management Review. 20(3), 709 – 734. Shaw, R.B. (1997). Trust in the Balance. 2nded. San Francisco: Jossey-Bass. Sobel, Andrew and Panas, Jerold. (2012). Power Questions: Build Relationships, Win New Business, and Influence Others. New York: John Wiley & Sons, Incorporated. Sweeney, Diane. (2010). Student – Centered Coaching: A guide for K – 8 Coaches and Principals. California: Corwin Press.

บทที่ 5 การให้ขอ้ มลู เพ่อื กระตุ้นการเรยี นรู้ 173 บทท่ี 5 การใหข้ อ้ มูลเพอ่ื กระตุ้นการเรยี นรู้

174 บทที่ 5 การให้ขอ้ มูลเพือ่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ แรงจงู ใจภายใน (inner motivation) สรา้ งไดจ้ ากการ Feed – Up การ Feed – up ท่ีดี แรงจงู ใจชว่ ยสร้าง ในการเรยี นรู้

บทท่ี 5 การให้ขอ้ มูลเพือ่ กระตุน้ การเรยี นรู้ 175 บทนา การนาเสนอเนื้อหาสาระ เรอื่ งการใหข้ อ้ มูลเพ่อื กระตุน้ การเรียนรู้ (feed - up) มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดของการให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ จดุ มงุ่ หมายของการให้ข้อมลู เพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ การใช้คาถามเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ การใช้ส่ือเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ การใช้เร่ืองเล่าเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้การให้ผู้เรียนลง มือปฏิบัติ เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ ตัวชี้วัดการให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ โดยมี สาระสาคัญดังต่อไปน้ี 1. การให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ (feed - up) ของผู้เรียนเป็น การดาเนนิ การดว้ ยวิธกี ารต่างๆ เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ แรงจูงใจในการเรยี นรู้ มีวินัยในตนเอง (self - discipline) ทราบผลลัพธ์การเรียนรู้ และแนวทางการเรียนรู้ ซ่ึงสิ่งเหล่านี้ล้วน เปน็ ปจั จัยเกอ้ื หนนุ การเรียนรทู้ ม่ี ีประสิทธภิ าพ 2. จุดมุ่งหมายของการให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ คือ การสร้าง แรงจงู ใจภายในในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนาจากความ ต้องการของตนเอง อย่างไรก็ตามการสร้างแรงจูงใจภายในของผู้เรียนประถมศึกษา อาจจะตอ้ งใชแ้ รงจูงใจภายนอกมากระตนุ้ ก่อนแต่สดุ ท้ายจะต้องสรา้ งแรงจงู ใจภายในให้ เกดิ ขึ้น 3. การใหข้ อ้ มูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้คาถามเป็นการตั้งคาถาม ท่ีกระตนุ้ ความอยากรูข้ องผู้เรยี น มงุ่ เน้นให้เกิดแรงจูงใจและความต้องการในการเรียนรู้ เป็นสาคัญ 4. การให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ส่ือเป็นอีกวิธีการหน่ึงท่ี โค้ชสามารถเลือกใช้ได้ตามความสนใจของผู้เรียนและสัมพันธ์กับสาระสาคัญท่ีผู้เรียน จะต้องเรยี นรู้

176 บทที่ 5 การใหข้ ้อมูลเพ่อื กระตุ้นการเรยี นรู้ 5. การใช้เร่ืองเล่าเป็นอีกวิธีการหนึ่งท่ีใช้สาหรับการให้ข้อมูล เพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ที่โค้ชสามารถเลือกใช้ตามบริบทของการโค้ช การใช้เร่ืองเล่าท่ีมี ประสิทธภิ าพ สามารถกระตุ้นการเรียนรู้ การคิดขน้ั สูง และมิตดิ า้ นจิตใจได้เปน็ อยา่ งดี 6. การให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติเป็นอีกวิธี การหน่ึงท่ีใช้สาหรับ การกระตุ้นการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยโค้ชมีกิจกรรมที่ใช้เวลาไม่มากในการ กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นเกดิ แรงจูงใจและความตอ้ งการในการเรียนรู้ 7. การให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้สามารถทาได้หลายวิธีการ โค้ชอาจใช้วิธีการใดวิธีการหน่ึง หรือใช้หลายๆ วิธีร่วมกันก็ได้ แต่ยึดจุดมุ่งหมาย เก่ียวกับแรงจูงใจ แรงบนั ดาลใจในการเรียนรเู้ ป็นสาคัญ

5. การให้ขอ้ มลู บทท่ี 5 การใหข้ อ้ มลู เพ่อื กระตุ้นการเรยี นรู้ 177 เพื่อกระตุน้ การเรยี นรู้ 5.1 แนวคิดของการให้ขอ้ มลู เพื่อกระต้นุ การเรยี นรู้ 5.2 จุดมุง่ หมายของการให้ข้อมลู เพ่ือกระตุน้ การเรียนรู้ 5.3 การใช้คาถามเพ่อื กระตนุ้ การเรยี นรู้ 5.4 การใช้สอ่ื เพื่อกระตุ้นการเรยี นรู้ 5.5 การใช้เร่ืองเลา่ เพื่อกระตนุ้ การเรยี นรู้ 5.6 การให้ผเู้ รียนลงมอื ปฏิบตั เิ พอื่ กระตุ้นการเรยี นรู้ 5.7 กจิ กรรมการให้ข้อมลู เพอื่ กระตุ้นการเรยี นรู้

178 บทท่ี 5 การให้ข้อมลู เพอื่ กระตุ้นการเรยี นรู้ Feed – up เป็นปจั จยั ทาใหผ้ ู้เรยี น เกิดแรงจงู ใจภายใน ในการเรียนรู้

บทที่ 5 การใหข้ ้อมลู เพื่อกระตุ้นการเรยี นรู้ 179 5.1 แนวคิดของการใหข้ ้อมลู เพ่อื กระตุน้ การเรยี นรู้ การใหข้ ้อมูลในการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนแบง่ ได้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ การใหข้ ้อมลู เพอ่ื กระต้นุ การเรยี นรู้ (feed - up) การให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั (feedback) การใหข้ อ้ มูลเพ่ือการเรยี นรตู้ ่อยอด (feed - forward) ในบทนี้จะกล่าวถึงเฉพาะการให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ซ่ึง มี สาระสาคัญดังนี้ Feed – Up การให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ เป็นการให้ข้อมูลพื้นฐานของการ เรียนรู้ ได้แก่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ ภาระงาน (job and task) ตลอดจนวิธีการวัดและเกณฑ์การ ประเมินผล ท่ีผู้โค้ชต้องแจง้ ใหผ้ ู้เรยี นทราบกอ่ นท่ีจะเร่มิ การเรียนการสอน นอกจากนีผ้ โู้ คช้ ยังตอ้ งสรา้ งแรงจูงใจในการเรียนรู้โดยเน้นแรงจูงใจภายใน (inner motivation) ชแี้ จงให้ผู้เรียนเกดิ ความตระหนกั เห็นคุณคา่ ในสงิ่ ทจี่ ะเรียนรู้ การให้ข้อมูลกระตุ้นการเรียนรู้เป็นส่ิงท่ีสาคัญมากของกระบวนการจัดการ เรียนการสอน เพราะผู้เรียนได้ทราบข้อมูลท่ีสาคัญก่อนที่จะเร่ิมเรียน อีกท้ังยังมี แรงจงู ใจและอยากเรียนรู้ การให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ เป็นการดาเนินการด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ มีวินัยในตนเอง (self - discipline) ทราบ ผลลัพธ์การเรียนรู้ และแนวทางการเรียนรู้ ซ่ึงส่ิงเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเกื้อหนุนการ เรยี นรูท้ ี่มีประสิทธภิ าพ

180 บทที่ 5 การใหข้ อ้ มูลเพื่อกระตนุ้ การเรยี นรู้ การให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้เป็นขั้นตอนท่ีสาคัญที่ทาให้ผู้เรียนเกิด แรงจูงใจในการเรียนรู้ซ่ึงให้ความสาคัญกับแรงจูงใจภายใน (inner motivation) ที่ผู้เรียนเกิดความตระหนักและมีความต้องการในการเรียนรู้ด้วยความใฝ่เรียนรู้ ของตนเอง มากกว่าปัจจยั จากภายนอก การใหข้ อ้ มลู เพ่อื กระตุน้ การเรยี นรูเ้ ปน็ ทกั ษะสาคัญอกี ประการหนึ่งของโค้ช ท่ีจาเป็นต้องดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้ผู้เรียน ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมการพัฒนาตนเอง ทั้งใน ด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ แรงจูงใจภายในเป็นปัจจัยสาคัญที่ทา ให้ผู้เรียนรว่ มปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรยี นรู้ และกิจกรรมการพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง แรงจูงใจ (motivation) คือการลงทุนส่วนตัวของบุคคลที่อยู่ภายในจิตใจ คือ แรงบันดาลใจ (inspiration) หรือแรงปรารถนา (passion) กากับทิศทางและ สร้างความต่อเน่ืองการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นทรัพยากรส่วนตัว คือ ความสนใจ การจัดการเวลา การใช้ความพยายามของแต่ละคนจนประสบความสาเร็จ ซึ่งทฤษฎี แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ์ ของ David I. McClelland ได้อธิบายไว้ว่าสิ่งจูงใจที่ทาให้บุคคล ใช้ความพยายามในการทางานต่างๆ ให้ประสบความสาเร็จอย่างดีที่สุดตามท่ีได้กาหนด จุดมุ่งหมายไว้น้ันประกอบด้วย 1) ความต้องการความสาเร็จ 2) ความต้องการความ ผกู พนั และ 3) ความตอ้ งการพลังอานาจ ซงึ่ เมือ่ บุคคลประสบความสาเร็จในสิ่งใดแล้วก็ จะเป็นแรงกระตุ้นให้พัฒนาตนเองให้ก้าวหน้ามากยิ่งข้ึน โดยความต้องการท้ัง 3 ด้าน ดงั กลา่ ว มีสาระสาคัญดงั น้ี (McClelland. 1961) 1. ความต้องการความสาเร็จ (Need for Achievement) เป็น ความต้องการกระทาส่ิงต่างๆ อย่างเต็มความสามารถของตนเองเพ่ือการประสบ ความสาเร็จ บุคคลที่มีความต้องการใฝ่สัมฤทธิ์จะมีคุณลักษณะชอบทางานท่ีท้าทาย ความสามารถ มีความรับผิดชอบสูง วางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ ตลอดจน ตอ้ งการขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนางานจากบุคคลรอบข้าง

บทที่ 5 การใหข้ ้อมูลเพอื่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ 181 2. ความต้องการความผูกพัน (Need for Affiliation) เป็นความ ต้องการการยอมรบั นับถอื จากบคุ คลอ่ืน เปน็ ส่วนหนง่ึ ของสงั คมหรือกลุ่ม มีสัมพันธภาพ ที่ดีกับบุคคลอ่ืน บุคคลที่มีความต้องการความผูกพันจะมีคุณลักษณะของความร่วมมือ มากกว่าการแข่งขนั สร้างและรักษาสมั พนั ธภาพทด่ี กี บั บคุ คลอน่ื ไดด้ ี 3. ความต้องการอานาจ (Need for Power) เป็นความต้องการมี พลังอานาจหรืออิทธิพลเหนือบุคคลอ่ืน บุคคลท่ีมีความต้องการพลังอานาจสูงจะมี คุณลักษณะความเป็นผู้นา กล้าตัดสินใจ ต้องการได้รับการยอมรับหรือยกย่องจาก บุคคลอืน่ ชอบการแขง่ ขนั และเอาชนะ มีผลการวิจัยที่ใช้ทฤษฎีแรงจูงใจของ McClelland หลายผลงานที่ทาให้ เห็นว่าการใช้ทฤษฎีแรงจูงใจในด้านความต้องการความสาเร็จ สามารถพัฒนาการ เรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างดี เช่น ผลการวิจัยของ Moor, Grabsch และ Rotter ท่ีใช้ ทฤษฎีแรงจูงใจของ McClelland กับผู้เรียนในโครงการ Leadership Living Learning Community ท่ีมหาวิทยาลัย Taxas A&M ผลการวิจัยพบว่า จานวนผู้เรียน ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในการท่ีจะพัฒนาความรู้ความสามารถและความเป็นผู้นาของ ตนเองมีมากที่สุด รองลงมาคือแรงจูงใจด้านความผูกพัน และแรงจูงใจด้านความ ตอ้ งการอานาจ (Moor, Grabsch, and Rotter. 2010) การใชแ้ รงจูงใจสู่การลงมือทาเพ่ือบรรลุความคาดหวังเป้าหมายของผู้เรียน แต่ละคนมีหลายเป้าหมายในเวลาเดียวกัน เป้าหมายการเรียน เป้าหมายทางสังคม เปา้ หมายของผู้สอนกับผู้เรียนไม่ตรงกันผู้สอนพึงยึดเป้าหมายผู้เรียนเป็นหลักในการจัด กระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป้าหมายการเรียนรู้ท่ีดีนาไปสู่ผลการเรียนท่ีลึกซึ้ง แตกฉาน โค้ชควรให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้แก่ผู้เรียนเพ่ือให้เขาเกิดแรงจูงใจ ในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การมีวินัยในตนเอง การกาหนดเป้าหมายของตนเอง การควบคุมตนเอง และการกากับตนเอง การให้ขอ้ มูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้สามารถทาได้หลายวิธีการตามบริบท และเป้าหมายของการโค้ช การให้ข้อมูลเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้ผ้เู รียนมคี วามพร้อมในการเรยี นร้ดู า้ นตา่ งๆ ดงั แผนภาพต่อไปนี้

182 บทที่ 5 การใหข้ อ้ มลู เพื่อกระตุ้นการเรยี นรู้ การใหข้ ้อมูล แรงจงู ใจ ความพร้อม เพื่อกระตุ้น ภายใน ในการเรียนรู้ การเรียนรู้ มีวินัย ในตนเอง ทราบ ผลลพั ธ์ การเรยี นรู้ ทราบ แนวทาง การเรยี นรู้ แผนภาพ 14 การใหข้ อ้ มลู เพ่อื กระตุ้นการเรียนรู้ (feed - up)

บทที่ 5 การให้ขอ้ มูลเพ่อื กระต้นุ การเรยี นรู้ 183 5.2 จุดมงุ่ หมายของการให้ข้อมลู เพอื่ กระตนุ้ การเรียนรู้ จดุ มงุ่ หมายของการใหข้ อ้ มูลเพ่อื กระต้นุ การเรียนรมู้ ดี ังต่อไปน้ี 1. การสร้างแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยมุ่งให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้และพัฒนาจากความต้องการของตนเอง อย่างไรก็ตามการสร้างแรงจูงใจ ภ า ย ใ น ข อ ง ผู้ เ รี ย น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า อ า จ จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ แ ร ง จู ง ใ จ ภ า ย น อ ก ม า ก ร ะ ตุ้ น ก่ อ น แต่สดุ ทา้ ยจะต้องสรา้ งแรงจงู ใจภายในใหเ้ กิดขึ้น 2. กระตุ้นความต้องการและความสนใจในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ดา้ นต่างๆ เช่น ความรู้ ความประพฤติ ทกั ษะต่างๆ 3. กระตุ้นแรงบันดาลใจ (inspiration) ในการทีจ่ ะทากจิ กรรมการเรียนรู้ ให้ประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายท่กี าหนดไว้ 4. กระตุ้นการคิดข้ันสูงซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นต่อการเรียนรู้และการสร้างสรรค์ นวตั กรรมของผู้เรยี น 5. กระตุ้นวินัยในตนเอง (self - discipline) ประกอบด้วยการกาหนด เป้าหมายของตนเอง การกากับตนเองและการควบคุมตนเองซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญของ การประสบความสาเร็จในการเรยี นรู้ 6. สร้างบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ท้ังบรรยากาศทางกายภาพ บรรยากาศทางสังคม และบรรยากาศทางจติ วิทยา 7. สร้างความกระตือรือร้นท่ีจะปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้หรือกิจกรรม การพฒั นาตนเองต่างๆ ของผูเ้ รียน 8. ทาให้ผู้เรยี นทราบผลลพั ธ์การเรียนรู้และแนวทางการเรียนรู้ท่ีจะทาให้ บรรลจุ ุดมงุ่ หมาย

184 บทท่ี 5 การใหข้ อ้ มูลเพือ่ กระต้นุ การเรยี นรู้ 5.3 การใช้คาถามเพ่อื กระต้นุ การเรียนรู้ การ ให้ ข้อมู ลเ พ่ือกระตุ้น การ เรี ยน รู้โด ยใ ช้คา ถา มเ ป็นก าร ตั้ง ค าถ ามท่ี กระตุ้นความอยากรู้ของผู้เรียน มุ่งเน้นให้เกิดแรงจูงใจและความต้องการในการเรียนรู้ เปน็ สาคญั คาถามที่กระตุ้นการเรียนรู้ที่ดี สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ได้ โดยตัวคาถามทีม่ ีประสิทธภิ าพส่วนใหญ่มักจะเป็นคาถามท่ีกระตุ้นการคิดสร้างสรรค์ หรือการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ซ่ึงสามารถคิดได้อย่างกว้างขวาง ไม่มีขอบเขต จากัด ซง่ึ จะนาไปสกู่ ารเรียนรู้ตอ่ ไป ลักษณะของคาถามจะมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดให้ผู้เรียนคิดในส่ิงท่ี ไม่น่าจะเป็นไปได้ แต่ในความเป็นจริงแล้วสามารถเป็นไปได้ คาถามในลักษณะน้ี จะดึงดดู ความสนใจจากผู้เรียนได้เป็นอย่างดี การใช้คาถามเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ มุ่งกระตุ้นการคิดของผู้เรียนมากกว่า การได้คาตอบที่ถูกต้อง โค้ชต้องระมัดระวังว่าการตั้งคาถามในส่วนนี้ ไม่คาดหวังว่า ผู้เรียนจะต้องตอบให้ถูกต้อง แต่เน้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นของตนเองออกมาให้ มากท่ีสุดและเกิดความอยากรู้ นี่คือจุดมุ่งหมายของการตั้งคาถามเพื่อกระตุ้น การเรยี นรู้ แนวทางการต้ังคาถามเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ในบริบทของการจัดการเรียน การสอน โค้ชควรถามผู้เรียนท้ังชั้นเรียนโดยภาพรวมก่อนไม่ควรถามเฉพาะบุคคล เนือ่ งจากวัฒนธรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนส่วนใหญ่จะกลัวการถูกตั้งคาถาม เม่ือผู้เรียน มีความมนั่ ใจและใหค้ วามไว้วางใจโคช้ มากขึน้ แล้ว จงึ ถามคาถามผเู้ รียนรายบุคคล การถามในภาพรวมทุกคนช่วยสร้างบรรยากาศแห่งความปลอดภัยได้ดี อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนได้ใช้กระบวนการคิดหาคาตอบอีกด้วย ในบางครั้งหากการถามน้ัน เป็นการถามเฉพาะบุคคล จะมีผู้เรียนคนอื่นส่วนหนึ่ง ไม่ใช้ กระบวนการคดิ ของตนเองตอ่ คาถามนนั้ นับว่าเป็นการเสียโอกาสที่จะใช้คาถามกระตุ้น การเรียนรู้

บทท่ี 5 การใหข้ อ้ มูลเพอื่ กระตนุ้ การเรยี นรู้ 185 ตัวอย่างคาถามทใ่ี ช้สาหรับกระตุ้นการเรยี นรู้ในบริบทตา่ งๆ มดี งั ตอ่ ไปนี้ ตาราง 11 ตวั อย่างการใช้คาถามเพือ่ กระต้นุ การเรียนรู้ สาระสาคัญ ระดบั ตวั อย่างคาถาม คาไทยท่มี ีหลาย ป.3 นกั เรยี นคิดวา่ คาวา่ “กิน” ในสองประโยคน้ี ความหมาย มคี วามหมายเหมอื นหรือต่างกนั อย่างไร 1. ฉนั กนิ ข้าวก่อนมาโรงเรียน 2. คนทุจรติ โกงกนิ ชาติ ขนราก ม. 1 นกั เรยี นอยากรหู้ รือไม่วา่ ขนราก เหมอื น หรอื ต่างจากราก อย่างไร และเราจะมวี ิธีการ อย่างไรให้มองเห็นขนรากของพชื เลขยกกาลงั ม. 2 มเี ลข 3 อยู่ 2 ตัว นกั เรียนคดิ ว่าจะทาอย่างไร จงึ ได้คาตอบเท่ากบั 9 การมสี ติ ใช้ได้ นักเรียนคิดวา่ ความโลภ ความโกรธ อยกู่ ับปจั จบุ นั ทกุ ระดับ ความหลง เราควรกาจัดสง่ิ ใดก่อน จิตสาธารณะ ใชไ้ ด้ นกั เรยี นคดิ ว่านกั เรียนสามารถทาประโยชน์ ทุกระดับ ให้กับสงั คมในเรอ่ื งใดได้บา้ ง ความซอ่ื สัตย์ ใชไ้ ด้ นักเรียนคิดว่าโกงแล้วได้ประโยชนร์ ่วมกนั สจุ ริต ทุกระดับ เปน็ ความคดิ ท่ถี ูกต้องหรือไม่ การรับประทาน ใชไ้ ด้ นักเรยี นคิดวา่ สขุ ภาพทด่ี ีเร่ิมต้นจากอะไร อาหารสขุ ภาพ ทกุ ระดับ ไดบ้ า้ ง นักเรยี นคิดว่านักเรียนจะเรมิ่ ต้นสขุ ภาพดี ของตนเองอยา่ งไร การใช้ ใชไ้ ด้ นกั เรียนคดิ ว่า App Line ใชท้ าอะไรไดบ้ ้าง App Line ทุกระดับ และนกั เรยี นสามารถใช้ App Line ในการเรยี นรู้ ทาอะไรบ้าง

186 บทที่ 5 การใหข้ อ้ มูลเพื่อกระตุ้นการเรยี นรู้ ตาราง 11 ตวั อย่างการใชค้ าถามเพ่ือกระตนุ้ การเรียนรู้ (ตอ่ ) สาระสาคญั ระดบั ช้ัน ตัวอยา่ งคาถาม การวิจยั เพ่อื พัฒนา อุดมศึกษา นักศึกษาคิดวา่ การวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ การเรียนรู้ การเรียนรู้โดย ต้องทาเป็น 5 บท หรอื ไม่ เพราะเหตุใด ใช้ อุดมศึกษา นกั ศกึ ษาคิดวา่ การเรียนการสอนกบั การวจิ ัย วจิ ัยเป็นฐาน เป็นเรือ่ งเดยี วกนั หรือไม่ เพราะเหตใุ ด การโคช้ อดุ มศึกษา นักศึกษาคิดวา่ การโค้ชสามารถพัฒนาการรคู้ ิด เพื่อการรู้คิด ของผู้เรียนไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด การประเมิน ตามสภาพจริง อดุ มศึกษา นกั ศกึ ษาคิดว่าการจดั การเรยี นการสอนกับการ ประเมินตามสภาพจริงเป็นส่งิ เดยี วกนั หรือไม่ จากตัวอย่างการใช้คาถามกระตุ้นการเรียนรู้ข้างต้น จะพบว่าโค้ชสามารถ ถามคาถามอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับสาระสาคัญที่ต้องการกระตุ้นการเรียนรู้ได้หลากหลาย มาก อยา่ ลมื ว่า “คาถามทด่ี ี มคี ่ามากกว่าคาตอบท่ถี ูกต้อง” หมายความว่า โค้ชไม่ต้อง คาดหวังว่าทุกคาตอบจะต้องถูกต้อง แต่ให้คาดหวังว่าทุกคาถามจะต้องมีคาตอบ กลบั คืนมา จะถูกหรอื ผดิ ยงั ไมใ่ ช่เรอ่ื งสาคัญในการกระต้นุ การเรียนรู้นี้ ถ้าผู้เรียนตอบถูก ก็เปน็ ส่งิ ท่ีดี แต่ถ้าผู้เรียนตอบผิดก็จะเป็นโจทย์ให้โค้ชนาไปคิดต่อว่าจะใช้กลวิธีการโค้ช ต่อไปอยา่ งไรใหผ้ เู้ รียนมีความเข้าใจทถี่ ูกตอ้ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook