Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5

การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5

Published by The nextgen evaluation, 2022-04-01 02:02:00

Description: การโค้ชเพื่อการรู้คิด พิมพ์ครั้งที่ 5

Search

Read the Text Version

การโค้ชเพอื่ การรูค้ ดิ (Cognitive Coaching) พิมพค์ ร้ังที่ 5 (ฉบบั ปรับปรงุ ) รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พฒั ผ

การโค้ชเพอื่ การร้คู ดิ (Cognitive Coaching) พมิ พค์ ร้ังที่ 5 (ฉบบั ปรบั ปรุง) รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล

การโค้ชเพ่ือการรู้คิด (Cognitive Coaching) รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษใ์ หญ่ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล พิมพ์คร้ังที่ 5 (ฉบับปรบั ปรุง) ตลุ าคม 2558 จานวน 500 เลม่ ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของสานกั หอสมุดแหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่, ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล. การโค้ชเพอื่ การร้คู ิด (Cognitive Coaching). – กรงุ เทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพมิ พ,์ 2558. 375 หน้า. 1. การเรียนรู.้ I. ชือ่ เร่อื ง ISBN 978-616-348-814-5 ราคา 350 บาท สงวนลิขสทิ ธ์ิเนื้อหาและภาพประกอบ ตามพระราชบญั ญัติลขิ สิทธิ์ พิมพท์ ี่ บรษิ ัท จรัลสนทิ วงศก์ ารพมิ พ์ จากัด 233 ซอยเพชรเกษม 102/2 แขวงบางแคเหนอื เขตบางแค กรงุ เทพมหานคร 10160 โทรศพั ท์ 02-809-2281-3 แฟกซ์ 02-809-2284 www.fast-book.com e-mail: [email protected]

คานา หนังสือ “การโค้ชเพ่ือการรู้คิด (Cognitive Coaching)” เล่มนี้ได้เขียนขึ้น จากการสังเคราะห์เอกสาร ตารา ประสบการณ์การโค้ช และประสบการณ์การทาวิจัย ของผู้เขียนจานวนหลายเรื่อง ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2552 จนถึงปัจจุบัน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ ผู้สอนท้ังในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษา ได้ใช้ศึกษาและเรียนรู้ นวัตกรรมการโค้ชเพ่ือการรู้คิด และนาไปใช้พัฒนาทักษะการรู้คิด (cognitive skills) ของผเู้ รียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง การโค้ชเพอ่ื การรคู้ ิด (cognitive coaching) เป็นบทบาทของผู้สอนยุคใหม่ ที่พัฒนาการมาจากการสอน (teaching) และการเป็นผู้เอ้ืออานวยความสะดวกในการ เรียนรู้ (facilitator) มีองค์ประกอบสาคัญได้แก่ การให้ข้อมูลเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ การตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน การใช้พลังคาถาม การให้ข้อมูลย้อนกลับอย่าง สร้างสรรค์ และการให้ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ต่อยอด ซ่ึงแต่ละองค์ประกอบมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันและเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาทักษะการรู้คิดของผู้เรียน ในปัจจุบัน ดังนั้นการโค้ชจึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้สอนทุกคนควรเรียนรู้ ฝึกฝน และ นาไปโค้ชผเู้ รียนอยา่ งต่อเน่ือง ขอขอบคุณคณะครูทุกท่านท่ี มีส่วนร่ว มในการวิจัยของผู้เขียน และผู้สอนทุกท่านที่ได้นาหนังสือเล่มน้ีไปใช้จริงในพื้นที่และให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีเป็น ประโยชน์ในการปรับปรงุ และพัฒนาหนังสือใหม้ ีความสมบูรณม์ ากข้ึน ผู้เขียนห วังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับครู อาจาร ย์ และผทู้ ส่ี นใจได้มากพอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล

คานยิ ม หนังสือ การโค้ชเพื่อการรู้คิด (Cognitive Coaching) เล่มน้ี เป็นหนังสือที่ ได้นาเสนอเน้ือหาสาระที่มีความสาคัญและน่าสนใจ เหมาะสาหรับครูยุคใหม่ ท่ีจะทา หน้าท่เี ปน็ โค้ชให้ผู้เรียนเกิดการคิดไม่ว่าจะเป็น soft skills และ hard skills ของผู้โค้ช การใช้พลังคาถาม (power questions) และหัวข้ออื่นๆ ซ่ึงครูสามารถนาไปใช้ได้อย่าง หลากหลาย ขอเสนอแนะให้ครูและผู้สนใจทางการศึกษาได้อ่านและทาความเข้าใจ เกีย่ วกบั การโคช้ เพื่อการรูค้ ิด แล้วนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีการคิดข้ันสูง ซ่ึงเป็น ทักษะการเรยี นรู้ของผู้เรียนในอนาคตต่อไป ดร.ศรีสมร พุ่มสะอาด อดีตที่ปรึกษาด้านกระบวนการเรียนรู้ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานกระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบัญ หนา้ 1 บทที่ 3 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรู้ยุคใหม่ 7 บทนา 9 1.1 ธรรมชาติของการเรยี นรสู้ ูก่ ารโค้ช 14 1.2 ปัจจัยการเรยี นรู้ในมมุ มองพระพุทธศาสนา 15 18 พฒั นามาสู่บทบาทของโคช้ 21 1.3 ชีวิตกบั การเรยี นรูส้ ่จู ุดเน้นของการโคช้ 28 1.4 The Four Pillars of Education สู่เป้าหมายของการโคช้ 29 1.5 วงจรการเรียนรู้ส่กู ารพัฒนาการโคช้ 31 1.6 บทบาทของโคช้ กับปริมาณการเรียนรู้ 1.7 ตวั ชวี้ ดั การโคช้ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ 35 สรุป 37 บรรณานุกรม 41 54 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอื่ การรคู้ ดิ 64 บทนา 68 2.1 แนวคิดหลักการโค้ชเพอื่ การรู้คดิ 70 2.2 Soft skills และ Hard skills ของการโคช้ เพื่อการรคู้ ดิ 80 2.3 กลไกของการโคช้ เพื่อการรคู้ ิด 81 2.4 กระบวนการโค้ชเพ่อื การรู้คิด 2.5 ธรรมชาตขิ องผู้เรยี นท่โี คช้ ควรรู้ สรุป บรรณานุกรม

สารบัญ หนา้ 83 บทที่ 85 3 การรู้คดิ 89 93 บทนา 95 3.1 สาระสาคญั ของการรคู้ ดิ 99 3.2 ทกั ษะการร้คู ดิ 101 103 3.2.1 การรับรู้ 104 3.2.2 ความสนใจ 110 3.2.3 การจา 113 3.2.4 ภาษา 128 3.2.5 การคิด 131 3.3 การคิดขนั้ สูง 3.4 การโค้ชเพ่ือการร้คู ดิ บนฐานทฤษฎกี ารเรียนรกู้ ลุม่ การร้คู ิด 133 สรปุ 135 บรรณานุกรม 139 142 4 การสร้างความไวว้ างใจ 143 บทนา 144 4.1 แนวคิดของการสร้างความไวว้ างใจ 146 4.2 จุดมงุ่ หมายของการสร้างความไวว้ างใจ 149 4.3 พลังของความไวว้ างใจ 149 4.4 ความตอ้ งการของผู้เรยี นท่ีเปน็ พ้ืนฐานของความไว้วางใจ 4.5 บุคลกิ ภาพของโค้ชท่เี สรมิ สร้างความไวว้ างใจ 4.6 การสื่อสารของโค้ชทเ่ี สรมิ สรา้ งความไว้วางใจ 4.7 วิธีการสร้างความไวว้ างใจ

สารบญั หนา้ 167 บทท่ี 167 4.8 ปัจจยั ยดึ เหน่ยี วความไว้วางใจ 169 4.9 การจัดการความไว้วางใจ 171 สรุป บรรณานุกรม 173 175 5 การให้ขอ้ มลู เพอื่ กระตุ้นการเรยี นรู้ 179 บทนา 183 5.1 แนวคดิ ของการให้ขอ้ มลู เพ่อื กระตุน้ การเรียนรู้ 184 5.2 จดุ มุ่งหมายของการใหข้ ้อมูลเพอ่ื กระตนุ้ การเรยี นรู้ 187 5.3 การใช้คาถามเพือ่ กระตุ้นการเรียนรู้ 193 5.4 การใชส้ ่ือเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ 195 5.5 การใชเ้ ร่อื งเลา่ เพอ่ื กระตุ้นการเรยี นรู้ 200 5.6 การใหผ้ ู้เรยี นลงมือปฏบิ ัติเพือ่ กระตุ้นการเรียนรู้ 201 5.7 กจิ กรรมการใหข้ ้อมลู เพือ่ กระตุ้นการเรียนรู้ 203 สรปุ บรรณานกุ รม 205 207 6 การตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รียน 211 บทนา 211 6.1 แนวคิดของการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรยี น 212 6.2 จุดม่งุ หมายของการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน 213 6.3 ประโยชน์ของการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรยี น 6.4 ชว่ งเวลาของการตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ รียน

สารบญั หน้า 215 บทที่ 222 6.5 วธิ ีการตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรียน 225 6.6 แนวทางการช่วยเหลอื ผู้เรยี นหลงั การตรวจสอบความเขา้ ใจ 227 สรุป บรรณานกุ รม 229 231 7 พลงั คาถาม 235 บทนา 236 7.1 แนวคิดของพลังคาถาม 236 7.2 ความสาคัญของพลงั คาถาม 259 7.3 พลังคาถามเพ่ือพฒั นาผูเ้ รยี น 261 7.4 ระบบการใช้พลงั คาถาม 262 7.5 กลยุทธก์ ารใชพ้ ลังคาถาม 264 7.6 กลยุทธก์ ารตอบสนองคาตอบของผู้เรียน 265 สรปุ บรรณานุกรม 267 269 8 การให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั อย่างสรา้ งสรรค์ 273 บทนา 273 8.1 แนวคดิ ของการให้ข้อมูลย้อนกลับอยา่ งสร้างสรรค์ 273 8.2 ความสาคญั ของการให้ข้อมูลยอ้ นกลับอย่างสร้างสรรค์ 8.3 การให้ขอ้ มลู ย้อนกลบั อยา่ งสรา้ งสรรค์โดยการกลา่ วคาพดู 276 8.4 การให้ขอ้ มลู ย้อนกลับอยา่ งสร้างสรรคโ์ ดยการสะท้อนคิด 281 และถอดบทเรยี น 8.5 การส่ือสารเชิงบวกเพมิ่ พลังการให้ข้อมูลย้อนกลบั

สารบญั บทท่ี หนา้ 8.6 ทักษะการช่นื ชมและเห็นคุณคา่ 283 สรุป 285 บรรณานกุ รม 287 9 การใหข้ อ้ มลู เพ่อื การเรยี นรูต้ อ่ ยอด 289 บทนา 291 9.1 แนวคดิ ของการให้ข้อมูลเพื่อการเรียนรตู้ ่อยอด 295 9.2 ความสาคัญของการให้ขอ้ มูลเพอ่ื การเรียนรู้ต่อยอด 297 9.3 วิธกี ารใหข้ ้อมูลเพ่อื การเรียนรูต้ อ่ ยอด 298 9.4 กจิ กรรมการเรียนรู้ตอ่ ยอดทเี่ สริมสร้างการคดิ ข้นั สูง 302 9.5 ตัวอย่างการโค้ชเพอ่ื การร้คู ิดจากประสบการณ์และการวิจัย 305 สรุป 316 บรรณานุกรม 317 10 การประเมนิ ผลการโค้ช 319 บทนา 321 10.1 สามแนวทางการประเมนิ ผลการโค้ช 325 10.2 การประเมนิ ผลการโค้ชทเ่ี สรมิ พลงั ตามสภาพจริง 327 10.3 เครอ่ื งมือการประเมนิ ผลการโคช้ จากผลการวิจยั 333 10.4 การสะทอ้ นผลการประเมินท่ีมีประสิทธภิ าพ 350 สรปุ 351 บรรณานกุ รม 353 355 ดรรชนีคาสาคญั

บญั ชตี าราง ตาราง หนา้ 1 บทบาท teacher , facilitator และ cognitive coaching 47 2 การวเิ คราะห์ความแตกต่างของการโค้ช การจดั การเรียนรู้ และการประเมิน 51 3 ตัวอยา่ งคาถามจาแนกตามระดับการคดิ เร่ือง สารเสพตดิ 67 4 แนวการโคช้ จาแนกตามลักษณะเดน่ ของ Generation Z 71 5 แนวการโคช้ จาแนกตามลกั ษณะเด่นของ Generation Alpha 72 6 แนวการโค้ชจาแนกตามจริตของผเู้ รียน 74 7 แนวการโค้ชจาแนกตามรปู แบบการเรยี นรู้ของผู้เรียน 75 8 กิจกรรมทเี่ สริมสรา้ งการเรยี นรอู้ ยา่ งมีความสุข 140 9 การวเิ คราะห์หลักธรรมกลั ยาณมติ รท่ีเสริมสร้างความไวว้ างใจ ของผู้เรยี น 147 10 แนวปฏบิ ตั ิการโคช้ เพอ่ื เสริมสรา้ งความไว้วางใจ 157 11 ตัวอยา่ งการใช้คาถามเพื่อกระตุ้นการเรยี นรู้ 185 12 จดุ เน้นท่แี ตกต่างกนั ของการตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี น ก่อนการเรยี นรู้ ระหวา่ งการเรียนรู้ และหลงั การเรียนรู้ 214 13 พฤติกรรมบง่ ชก้ี ารติดตามบทเรียนไดท้ ัน และการติดตาม บทเรยี นไม่ทัน 215 14 จดุ เนน้ ของการตรวจสอบผลงานของผู้เรียนในแต่ละข้ันตอน ของกระบวนการเรียนรู้ 218 15 แนวทางการเลือกใชว้ ิธกี ารช่วยเหลอื ผูเ้ รียน 223 16 วิธีการช่วยเหลอื ผ้เู รยี นตามระดับความสามารถของผู้เรยี น 224 17 คากริยาท่ีใช้ในการต้ังคาถามตามลาดับข้นั การรู้คิด 237 18 ตวั อยา่ งการใชพ้ ลังคาถามเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะของผู้เรียน 240

บญั ชตี าราง ตาราง หนา้ 19 การใหข้ ้อมูลย้อนกลบั ดว้ ยการพดู แบบใหม่ 274 20 จดุ เนน้ ของการ Feed – up, Checking for understanding, 301 Feedback, Feed – forward ใน Process, Progress และ Product ของการเรยี นรู้ 302 21 ตวั อยา่ งกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ่อยอดด้วยตนเองเพ่อื เสรมิ สรา้ ง 329 การคดิ ขน้ั สงู 22 วิธีการประเมนิ ท่ีมีประสิทธิภาพ

บญั ชแี ผนภาพ แผนภาพ หนา้ 1 ปัจจยั ที่ทาใหเ้ กิดการเรยี นรแู้ ละผลของการเรียนรู้ ในมุมมองพระพุทธศาสนา 12 2 วงจรการเรยี นรู้สกู่ ารพฒั นาการโค้ช 20 3 บทบาทของโคช้ กับปริมาณการเรียนรู้ 22 4 Leader as a Cognitive Coaching 49 5 จรณทักษะ (soft skills) ของการโค้ชเพ่อื การรคู้ ิด 57 6 Hard skills ของการโคช้ เพ่ือการรู้คิด 62 7 องคป์ ระกอบของการโคช้ เพ่ือการรคู้ ิด 64 8 ความสัมพันธ์ของทักษะการร้คู ิด 94 9 การให้ความสนใจในขณะอา่ นหนังสอื 99 10 การสง่ สารสอ่ื ประสาทระหวา่ งเซลลป์ ระสาทเซลล์หนง่ึ ไปยงั อีกเซลล์หนง่ึ 104 11 การแผข่ ยายของพลงั ความไว้วางใจ 144 12 รูปแบบการสรา้ งความไวว้ างใจในการโคช้ 151 13 แนวความคดิ เกย่ี วกับความไว้วางใจของ Stephen M.R. Covey 153 14 การให้ข้อมลู เพ่ือกระตุ้นการเรยี นรู้ (feed - up) 182 15 การใช้สอ่ื ภาพไอศกรีมโคนในการกระตุ้นการเรียนรู้ 188 16 การใช้สื่อภาพถุงชาในการกระตนุ้ การเรยี นรู้ 189 17 การใช้สื่อทเี่ ป็นของจรงิ ตะกร้า 3 ใบในการกระตุ้นการเรียนรู้ 190 18 การใช้สือ่ ทเ่ี ป็นภาพถ่ายจากสถานท่จี รงิ ในการกระต้นุ การเรยี นรู้ 191 19 ภาพพุทธประวตั ติ อนพระเทวทตั ใหป้ ลอ่ ยช้างนาฬาครี ี 195 20 ลาดับข้ันการรู้คิดของ Bloom กับ Anderson and Krathwohl 237 21 ระบบการใช้พลงั คาถาม 260

บญั ชีแผนภาพ แผนภาพ หนา้ 22 กระบวนการสะท้อนคิดของ Mental Model 277 23 ความสมั พันธ์ของการให้ข้อมูล 3 แบบ และการตรวจสอบความ เข้าใจ กับชว่ งเวลาของการเรียนรู้ 296 24 รปู แบบการประเมนิ ผลการเรียนร้ทู ่เี สรมิ พลงั ตามสภาพจรงิ 328

บทที่ 1 กระบวนทศั น์การโคช้ ในการเรยี นร้ยู ุคใหม่ 1 บทท่ี 1 กระบวนทัศนก์ ารโค้ช ในการเรยี นรู้ยคุ ใหม่

2 บทท่ี 1 กระบวนทศั น์การโคช้ ในการเรียนร้ยู ุคใหม่ การโคช้ สามารถทาไดท้ ุกเวลาและสถานท่ี โดยผสู้ อนยุคใหมเ่ ปลี่ยนบทบาท จากผู้ถ่ายทอดความรู้ ผู้เออ้ื อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ โคช้มาเปน็

บทท่ี 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรู้ยคุ ใหม่ 3 บทนา การนาเสนอเน้ือหาสาระ เร่ือง กระบวนทัศน์การโค้ชในการเรียนรู้ ยุคใหม่ มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการเรียนรู้สู่การโค้ช ปัจจัย ท่ที าใหเ้ กิดการเรยี นรู้ในมมุ มองทางพระพุทธศาสนาพัฒนามาสู่บทบาทของโค้ช ชีวิตกับ การเรียนรู้สู่จุดเน้นของการโค้ช The Four Pillars of Learning สู่เป้าหมายของการ โค้ช วงจรการเรียนรู้สู่การพัฒนาการโค้ช บทบาทการโค้ชกับปริมาณการเรียนรู้ และ ตัวชวี้ ัดการโค้ชทมี่ ีประสิทธภิ าพ โดยมีสาระสาคญั ดังต่อไปนี้ 1. การโค้ชสามารถทาได้ทุกเวลาและสถานที่ โดยผู้สอนยุคใหม่ เปลยี่ นบทบาทจากผู้ถ่ายทอดความรู้ ผู้เอ้อื อานวยความสะดวกในการเรียนรู้มาเป็นโค้ช เพ่ือให้ผู้เรียนทุกคนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 2. การเรียนรู้น้ันเป็นสิง่ มคี วามละเอียดอ่อน การที่จะพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ในเรื่องใดนั้น โค้ชจะต้องสร้างทั้งปัจจัย จากภายนอก (ปรโตโฆสะ) คือ กัลยาณมิตร รวมทั้งส่ิงแวดล้อมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ และปัจจัยภายในคือการกระตุ้น ให้ผูเ้ รียนใช้กระบวนการคิดอยา่ งถกู วธิ ี (โยนโิ สมนสิการ) ควบคูก่ ัน 3. โค้ชจะต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตสามารถ ดารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพบนพ้ืนฐานของการเรียนรู้ (ชีวิต คือ การเรียนรู้) การทะนุ ถนอมชีวิตของตนเองด้วยความไม่ประมาทให้มีชีวิตอยู่อย่างมีศักยภาพ เพื่อเรียนรู้สิ่ง ต่างๆ สรา้ งสรรค์และทาประโยชนใ์ หก้ ับสงั คมส่วนร่วม (ชีวิตเพื่อการเรียนรู้) และมีชีวิต ท่ีดงี าม เปน็ แบบอย่างที่ดีให้กับคนรนุ่ หลัง (ชวี ิตแห่งการเรยี นรู)้ 4. โค้ชควรใช้ส่ีเสาหลักทางการศึกษาเป็นจุดมุ่งหมายของการโค้ช ท่ีจะทาให้ผู้เรียนมีกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ภาษาและวัฒนธรรม ความเป็นมนษุ ย์ที่สมบูรณ์

4 บทที่ 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรยี นรู้ยุคใหม่ 5. โคช้ ทม่ี ีศักยภาพจะใช้วงจรการเรียนรู้สู่การพัฒนา 4 ข้ันตอนได้แก่ การวางแผน การปฏิบัติการโค้ช การประเมินผลการโค้ชและการถอดบทเรียน เปน็ วงจรการโค้ชผเู้ รยี นให้เกิดการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 6. มิติใหม่แห่งการเรียนรู้ ผู้สอนมีบทบาทเป็นโค้ชการรู้คิดท่ีคอย ช้ีแนะ (guide) ใช้พลังคาถาม (question) สะท้อนคิด(reflection) เพ่ือให้ผู้เรียนเกิด การเรยี นรู้และพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 7. ตัวช้ีวัดการโค้ชจะต้องเลือกและปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบท ต่างๆ หัวใจสาคัญของการโค้ชท่ีแตกต่างจากการสอนโดยท่ัวไป คือ การทาให้ผู้เรียน เกดิ การเรยี นรูแ้ ละพฒั นาด้วยวิธกี ารโคช้ ท่แี ตกต่างกันระหว่างผเู้ รียนแตล่ ะบคุ คล

บทท่ี 1 กระบวนทัศน์การโคช้ ในการเรยี นรูย้ คุ ใหม่ 5 1.1 ธรรมชาตขิ องการเรียนรสู้ กู่ ารโคช้ 1. กระบวนทศั น์การโคช้ 1.2 ปจั จัยที่ทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ ในการเรียนรูย้ ุคใหม่ ในมมุ มองทางพระพทุ ธศาสนา พัฒนามาส่บู ทบาทของโค้ช 1.3 ชวี ติ กับการเรยี นร้สู จู่ ุดเนน้ ของการโค้ช 1.4 The Four Pillars of Learning สเู่ ปา้ หมายของการโค้ช 1.5 วงจรการเรยี นรูส้ กู่ ารพัฒนาการโคช้ 1.6 บทบาทของโค้ชกบั ปริมาณการเรยี นรู้ 1.7 ตัวช้ีวัดการโค้ชท่ีมปี ระสิทธิภาพ

6 บทท่ี 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรียนรู้ยุคใหม่ การโคช้ เพอื่ การร้คู ดิ เป็นบทบาทใหม่ของผสู้ อน ทป่ี ฏบิ ัติต่อผู้เรียน Generation Z และ Generation Alpha

บทท่ี 1 กระบวนทัศน์การโค้ชในการเรยี นร้ยู ุคใหม่ 7 1.1 ธรรมชาตขิ องการเรยี นรู้ส่กู ารโค้ช “การเรยี นรเู้ กดิ ขน้ึ ได้ทกุ เวลาและสถานที่ ผเู้ รยี นทุกคนสามารถเรยี นรู้ได้ แตใ่ ชว้ ิธกี ารและเวลาในการเรียนรูแ้ ตกต่างกัน” การเรียนรู้ เป็นผลที่เกิดจากการใช้กระบวนการรู้คิด (cognitive process) ท่เี กิดข้นึ ในสมองของบุคคล เพอ่ื สร้างความหมายของข้อมูลสารสนเทศ และ สิ่งเร้าต่างๆ ท่ีรับเข้ามาทางประสาทสัมผัสเกิดเป็นความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติ ความรู้สึกและพฤติกรรมต่างๆ (Anderson & Krathwohl. 2001, Mayer. 2003, Oxford University. 2005) ผลของการเรียนรู้ที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ มีองค์ประกอบ 5 ประการ ได้แก่ 1) การมีความเช่ือหรือความศรัทธาท่ีถูกต้อง 2) การมีความประพฤติดีและมี จริยธรรม 3) การมีวิธีการเรียนรู้ 4) การเสียสละและทาประโยชน์เพ่ือส่วนรวม เอื้อเฟือ้ เผือ่ แผ่ มีน้าใจชว่ ยเหลอื และพร้อมทจ่ี ะรับฟัง และ 5) มีความรอบรู้ มีกระบวน การคิด มเี หตุผล (พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตโต. 2557) การเรียนรู้เกิดข้ึนได้ในหลายลักษณะ เช่น การเรียนรู้จากบุคคลอ่ืน การเรียนร้ดู ว้ ยการคิดพจิ ารณา การไตรต่ รอง การทบทวนประสบการณ์ การเรียนรู้ด้วย การลงมือปฏิบัติ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซ่ึงการเรียนรู้น้ันสามารถเกิดข้ึน ไดท้ ุกเวลาและสถานท่ี ส่ิงท่ีทุกคนควรเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา 3 ด้านประกอบด้วย 1) ข้อปฏิบัติ เกี่ยวกับความประพฤติท่ีถูกต้องดีงาม 2) ข้อปฏิบัติเก่ียวกับการพัฒนาจิตใจ ที่นาไปสู่ การมีคณุ ธรรมจริยธรรม และ 3) ข้อปฏบิ ตั ิเกยี่ วกับการพัฒนาความคิดและปัญญา พื้นฐานการเรียนรู้ที่สาคัญและจาเป็นสาหรับผู้เรียนระดับประถมศึกษา ได้แก่ การอ่าน (reading) การเขียน (writing) และเลขคณิต (arithmetic) เรียกว่า

8 บทท่ี 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรู้ยุคใหม่ three R’s หรอื 3R’s นาเสนอโดย Sir William Curtis ซ่ึงเป็นทักษะพ้ืนฐานท่ีจะต้อง ไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะเพ่ือเป็นเครือ่ งมือสาหรับการเรยี นรู้และการดารงชีวติ การเรียนรู้ เป็นเคร่ืองมือสาคัญของบุคคลทุกคนในการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพื่อนามาใช้ในการทางานและการดารงชีวิตอย่างมี คุณภาพและคุณคา่ ซึ่งการเรยี นรเู้ ป็นปัจจยั ท่ีสาคัญทส่ี ุดของการพัฒนาตลอดชีวิต การพัฒนาบุคคลให้มีกระบวนการเรียนรู้ เป็นภารกิจที่สาคัญของทุกคน ในสังคม พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีหน้าท่ีพัฒนาบุตรหลานให้มีกระบวนการเรียนรู้ ครู อาจารย์ มีหน้าที่พัฒนาผู้เรียนให้มีกระบวนการเรียนรู้ ผู้ใหญ่มีหน้าที่เป็นตัวแบบ บุคคลแห่งการเรยี นรู้ ตลอดจนส่อื ต่างๆ มีหน้าท่ีสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนกับ ทุกคนในสังคม กระบวนการเรียนรู้เป็นศักยภาพท่ีมีอยู่ในทุกคน ไม่ว่าเด็ก ผู้ใหญ่ รวมท้ัง ผู้สูงอายุ ที่จะต้องนามาใช้ในสถานการณ์ต่างๆ จนทาให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง ซงึ่ จาเป็นตอ้ งได้รับการพัฒนามาต้งั แต่แรกเกดิ และในทุกชว่ งวัย การโค้ชสามารถทาได้ทุกเวลาและสถานที่ โดยผู้สอนยุคใหม่เปลี่ยนบทบาท จากผู้ถ่ายทอดความรู้ ผเู้ อ้อื อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ มาเป็นโค้ช เพื่อให้ผู้เรียน ทุกคนสามารถเรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ

บทที่ 1 กระบวนทัศนก์ ารโค้ชในการเรยี นรยู้ คุ ใหม่ 9 1.2 ปจั จัยการเรยี นรู้ในมมุ มองทางพระพุทธศาสนา พัฒนามาสู่บทบาทของโค้ช การท่ีบุคคลจะเกิดการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ ได้น้ันมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ (พระพรหมคณุ าภรณ.์ 2557) 1) ปรโตโฆสะ 2) โยนิโสมนสกิ าร 1. ปรโตโฆสะ คือ เสียงจากผู้อ่ืน หรือการชักจูงจากภายนอก คือ การรับ ฟังคาแนะนาส่ังสอน เล่าเรียน หาความรู้ สนทนาซักถาม ฟังคาบอกเล่าชักจูงของผู้อ่ืน โดยเฉพาะการสดับสทั ธรรมจากท่านผู้เป็นกลั ยาณมิตร 2. โยสิโสมนสกิ าร คอื การใช้ความคดิ ถกู วธิ ี ความรู้จกั คิด คิดเป็น คือ ทา ในใจโดยแยบคาย มองส่ิงท้ังหลายด้วยความคิดพิจารณา รู้จักสืบสาวหาเหตุผล แยกแยะส่ิงน้ันๆ ปัญหาน้ันๆ ออก ให้เห็นตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุ ปัจจยั ข้อธรรม 2 อย่างน้ี เรียกได้อีกอย่างว่า “องค์ประกอบของการศึกษา” หรือ “บุพภาคของการศึกษา” ส่วนปัจจัยที่ทาให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ คือ ความเห็นที่ผิด ประกอบด้วย 1) ปรโตโฆสะ และ 2) อโยนิโสมนสิการ (อโยนิโสมนสิการ คือ การคิดท่ี ไมถ่ กู ต้องซงึ่ นาไปส่คู วามตกตา่ และความเส่ือม) (พระพรหมคุณาภรณ.์ 2557) ปัญญา คือ ความรู้ความเข้าใจท่ีชัดเจนในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งท่ีสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วยปัญญาที่เกิดจากการคิด ปัญญา ท่ีเกิดจากการสดับตรับฟังและปัญญาท่ีเกิดจากการปฏิบัติ ดังนี้ (พระพรหมคุณาภรณ์. 2557)

10 บทท่ี 1 กระบวนทัศน์การโคช้ ในการเรยี นรยู้ ุคใหม่ 1. จินตามยปัญญา คือ ปัญญาเกิดการคิดพิจารณาเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง อยา่ งมีเหตุผล หลักการ ข้อเท็จจริง ข้อมูลสารสนเทศ ด้วยวิธีคิดที่หลากหลายหรือการ คดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร 2. สุตมยปัญญา คือ ปัญญาเกิดจากการสดับตรับฟัง การเล่าเรียน จากบคุ คลอนื่ หรอื จากสอ่ื เป็นปัญญาท่ีเกดิ จากบุคคลภายนอกหรือปรโตโฆสะ 3. ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาท่ีเกิดจากการปฏิบัติจริงด้วยตนเอง จากการทีไ่ ดค้ ดิ ไดฟ้ ังจากบุคคลอน่ื แล้วตรวจสอบทบทวนตนเองอยตู่ ลอดเวลา ดังนั้นกระบวนการเรียนรู้ท่ีนาไปสู่การเรียนรู้หรือปัญญาน้ันสามารถใช้ วธิ ีการต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ 1. การใช้กระบวนการคิดเพือ่ นาไปสู่การเรียนรู้ มุ่งให้ความสาคัญกับ กระบวนการคิดขั้นสูง เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การคดิ สร้างสรรค์ เป็นตน้ 2. การใช้กระบวนการเรียนรู้จากบุคคลอื่น เช่น พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ผูม้ ปี ระสบการณ์ การศกึ ษาจากหนังสือ ตารา เปน็ ตน้ 3. การลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง จนเกิดประสบการณ์และการ เรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิ อย่างไรก็ตามเมื่อวิเคราะห์ให้ลึกซ้ึงแล้วจะพบว่ากระบวนการเรียนรู้ทั้ง 3 แนวทาง ไม่สามารถแยกเป็นอิสระจากกันได้โดยเด็ดขาด แต่มีความอาศัยเก้ือกูลกัน ขน้ึ อยกู่ ับจดุ เนน้ ของกระบวนการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะคร้ัง กลา่ วคือ หากใช้กระบวนการคิดเป็นหลักก็จะต้องใช้กระบวนการเรียนรู้จากบุคคล อื่นและกระบวนการเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั ิ มาเป็นปจั จยั เก้อื หนนุ

บทท่ี 1 กระบวนทัศน์การโคช้ ในการเรยี นรู้ยุคใหม่ 11 หากใช้กระบวนการเรียนรู้จากบุคคลอื่นเป็นหลักก็จะต้องใช้กระบวนการ คิดและกระบวนการเรยี นรจู้ ากการปฏิบตั ิ มาเปน็ ปัจจัยเก้ือหนุน หากใชก้ ระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติเป็นหลกั กจ็ ะต้องใชก้ ระบวนการ คิดและกระบวนการเรียนรจู้ ากบุคคลอืน่ มาเป็นปัจจัยสนับสนุน วิธีการเรียนรู้ของนักปราชญ์ท่ีทาให้เกิดปัญญาหรือการเรียนรู้ เป็นภูมิ ปัญญาของคนไทยที่มีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนา เรียกโดยรวมว่า “พาหุสัจจะ” หรือ “หัวใจนักปราชญ์” แปลว่า ความเป็นผู้ได้สดับมาก หมายถึง การได้ศึกษาเล่า เรียนมาก การมีความรู้ประสบการณ์มาก เรียกว่าเป็น “พหูสูต” พหุสัจจะ เกิดจาก การศึกษาและการศกึ ษาที่ดเี กดิ จากการศึกษา 4 ลักษณะดงั น้ี (พระธรรมกิตติวงศ์ (ทอง ดี สุรเตโช). 2548) 1. สุ มาจากคาวา่ “สุตะ” คอื การฟังเปน็ ฟงั แล้วเกิดการเรียนรู้ 2. จิ มาจากคาว่า “จินตะ” คอื การคดิ เปน็ คิดแล้วเกิดการเรียนรู้ 3. ปุ มาจากคาว่า “ปุจฉา” คอื การต้งั คาถามเป็น ถามแลว้ เกิดการเรียนรู้ 4. ลิ มาจากคาวา่ “ลิขิต” คือ การเขยี นเป็น หรือการจดบนั ทกึ ทช่ี ่วยทาให้เกิดการเรยี นรู้ ผเู้ รียนจาเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาศักยภาพในการฟงั การคิด การตั้งคาถาม และการเขียนจดบันทึกอย่างต่อเน่ือง เพราะส่ิงนี้เป็นเคร่ืองมือสาหรับการเรียนรู้สิ่ง ต่างๆ ทกุ อย่างในอนาคตเม่อื ผู้เรียนเติบโตข้นึ เปน็ ผ้ใู หญ่ ผลการเรียนรู้ที่เกิดจากกัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการ มีหลายประการ ที่สาคัญ ได้แก่ มีความเช่ือท่ีถูกต้อง มีความประพฤติท่ีดี มีจริยธรรม มีวิธีการเรียนรู้ เรียนรู้ตลอดเวลา เสียสละ เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม รอบรู้ มีเหตุผล มกี ระบวนการคดิ แสดงไดด้ งั แผนภาพต่อไปน้ี

12 บทท่ี 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรยู้ ุคใหม่ มคี วามเช่อื ประพฤตดิ ี มจี ริยธรรม ท่ถี กู ต้อง มวี ิธี การเรยี นรู้ กัลยาณมติ ร เรยี นรู้ ตลอดเวลา การเรยี นรู้ เสยี สละ โยนโิ สมนสิการ เอ้ือเฟอ้ื เผือ่ แผ่ มีกระบวน มีเหตผุ ล ทาประโยชน์ การคดิ เพอ่ื ส่วนรวม รอบรู้ แผนภาพ 1 ปจั จยั ท่ที าใหเ้ กิดการเรยี นรแู้ ละผลของการเรียนรู้ในมมุ มองพระพทุ ธศาสนา จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า เร่ืองการเรียนรู้นั้นเป็นส่ิงมีความละเอียดอ่อน การที่จะพัฒนา ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเร่ืองใดนั้น การโค้ชจะต้องสร้างทั้งปัจจัย จากภายนอก (ปรโตโฆสะ) คือกัลยาณมิตร รวมทั้งส่ิงแวดล้อมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ และปัจจัยภายในคือการกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดอย่างถูกวิธี (โยนิโส มนสกิ าร) ควบคกู่ ัน ดงั นี้

บทท่ี 1 กระบวนทศั น์การโค้ชในการเรยี นรู้ยุคใหม่ 13 1. โค้ชมีบุคลิกภาพท่ีทาให้ผู้เรียนมีความสบายใจและรู้สึกสนิทสนม ชวนให้ผูเ้ รียนอยากเรยี นรู้ ไมห่ วาดกลัว 2. โคช้ มคี วามประพฤติที่นา่ เคารพ ทป่ี ระพฤติตนตามสมควรแก่ฐานะ และทาให้ผู้เรียนมีความรู้สึกอบอนุ่ ใจเมอ่ื อยู่ใกล้ครู 3. โค้ชดารงตนเป็นที่เจริญใจ หรือควรค่าแก่การเคารพยกย่อง ในฐานะทเี่ ป็นบุคคลท่มี ีความรูแ้ ละภูมิปญั ญาแทจ้ รงิ 4. โค้ชต้องสามารถอธิบายขยายรายละเอียด แสดงเหตุผลให้ผู้เรียน เกดิ ความรู้ความเข้าใจทีช่ ดั เจน 5. โคช้ มคี วามอดทนตอ่ การปฏิบัตหิ นา้ ที่ตลอดจนอดทนต่อพฤติกรรม และคาพูดที่มากระทบจิตใจ รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอรวมทั้งคาวิพากษ์วิจารณ์ ของผเู้ รียน 6. โค้ชความสามารถในการอธิบายเนื้อหาสาระที่มีความซับซ้อน ให้เข้าใจได้งา่ ย 7. โค้ชไม่ชักนาผู้เรียนให้ปฏิบัติงานหรือกิจกรรมท่ีไม่เป็นประโยชน์ รวมทั้งไม่ชกั ชวน ยุยงให้ผูเ้ รยี นไปทาในเรือ่ งเหลวไหล และไม่ชกั จงู ไปในทางเสือ่ มเสยี 8. โค้ชกระตุ้นการคิด เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดข้ันสูง เช่น การคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ สร้างสรรค์ แก้ปัญหา คดิ ทางบวก คิดอย่าง มีวิจารณญาณ เปน็ ตน้ 9. โค้ชต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดด้วย วิธีการท่ีหลากหลายการเรียนรู้จากบุคคลอื่น หรือภูมิปัญญา และลงมือปฏิบัติการ เรียนร้ดู ว้ ยตนเอง

14 บทท่ี 1 กระบวนทัศน์การโคช้ ในการเรียนรยู้ ุคใหม่ 1.3 ชวี ติ กับการเรยี นรู้สจู่ ดุ เน้นของการโคช้ ชีวิตกับการเรียนรู้เป็นสิ่งท่ีเก่ียวข้องกันเสมอ เม่ือมีชีวิตก็มีการเรียนรู้ เรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต เรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง เรียนรู้เพื่อ ประโยชน์ต่อผู้อ่ืนและสังคมส่วนรวม มีคาสาคัญ คือ ชีวิตคือการเรียนรู้ (Life as Learning) ชีวิตเพอ่ื การเรยี นรู้ (Life for Learning) และชีวิตแห่งการเรียนรู้ (Life of Learning) มีสาระสาคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี ชีวติ คือการเรียนรู้ (Life as Learning) คือ การดารงชีวิตอยู่บนพ้ืนฐานของการเรียนรู้ เป็นการปฏิบัติ กิจการหน้าท่ีต่างๆ อย่างมีสติรู้เท่าทัน และมีปัญญา ท่ีมีการวางแผนการดาเนินชีวิต การจัดการชีวิต และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเน่ือง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ และการคดิ เป็นเครือ่ งมอื ของการเรยี นรู้ ชวี ติ เพื่อการเรียนรู้ (Life for Learning) คือ การดารงชีวิตอยู่เพ่ือการเรียนรู้ในสิ่งท่ีจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม โดยไม่ละความมุ่งมั่น ใช้ความพยายาม ใช้ความอดทน ใช้สติและปัญญา ในการศกึ ษาคน้ ควา้ พฒั นาองค์ความรู้ นวตั กรรม เพ่ือประโยชน์ของผู้อื่นและประโยชน์ ของส่วนรวมอยา่ งต่อเน่อื ง ไม่หยุดอยกู่ ับที่ ชีวิตแห่งการเรยี นรู้ (Life of Learning) คือ การมีชีวิตที่มีคุณภาพ เจริญงอกงาม อันเป็นผลมาจากการ ปฏบิ ตั กิ ิจการหน้าทต่ี ่างๆ อย่างมีสติรเู้ ท่าทนั และมีปัญญา มกี ารวางแผนการดาเนินชีวิต การจดั การชวี ิต และการพัฒนาคุณภาพชวี ติ อยา่ งต่อเนื่อง (Life as Learning) และการ ทาประโยชน์ต่อผู้อ่ืนและส่วนรวม (Life for Learning) ชีวิตแห่งการเรียนรู้น้ีนับว่าเป็น จุดสูงสุดของการเรียนรู้ เป็นการดาเนินชีวิตที่ดีงาม จนกระทั่งเป็นตัวแบบ (role model) ของการดาเนนิ ชวี ิตให้กับบุคคลอื่นไดด้ าเนนิ รอยตาม

บทที่ 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรยู้ คุ ใหม่ 15 การจดั การศึกษาควรใหค้ วามสาคัญกบั การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นอันดับแรก เพราะการเรียนรู้เท่านั้นท่ีจะเป็นเครื่องมือสาหรับการดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี คุณภาพ ไม่ว่าสังคมจะมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร และแม้ชีวิตจะต้องประสบกับสิ่งใดๆ หากมีการเรียนรยู้ ่อมมีชีวิตต่อไปไดอ้ ย่างดี โคช้ จะต้องพฒั นาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถดารงชีวิต ได้อย่างมีคุณภาพบนพ้ืนฐานของการเรียนรู้ (ชีวิต คือ การเรียนรู้) การทะนุถนอมชีวิต ของตนเองด้วยความไม่ประมาท ให้มีชีวิตอยู่อย่างมีศักยภาพ เพื่อเรียนรู้ส่ิงต่างๆ สร้างสรรค์และทาประโยชน์ให้กับสังคมส่วนร่วม (ชีวิตเพื่อการเรียนรู้) และมีชีวิตที่ดี งาม เป็นแบบอยา่ งทีด่ ีให้กบั คนรนุ่ หลงั (ชีวติ แหง่ การเรยี นร)ู้ 1.4 The Four Pillars of Education สเู่ ปา้ หมายของการโคช้ องคก์ ารสหประชาติ (UNESCO) ได้ระบุหลักการพื้นฐานของการเรียนรู้ตลอด ชีวิต ที่เสนอไว้ในรายงานเร่ือง Learning: The Treasure Within ต่อองค์การ การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เมื่อ ค.ศ. 1995 ไว้ 4 ประการ มีช่ือเรียกว่า The Four Pillars of Education หรือสี่เสาหลักทาง การศึกษา ได้แก่ 1) การเรียนเพ่ือรู้ (Learning to know) 2) การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติ ได้จริง (Learning to do) 3) การเรียนรู้เพ่ือชีวิต (Learning to be) และ 4) การ เรยี นรู้เพือ่ การอยู่รว่ มกนั (Learning to live together) ดังนี้ (UNESCO. 1996) 1. การเรียนเพ่ือรู้ (Learning to know) เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนา กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้และวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้สามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต กระบวนการเรียนรู้เน้นการฝึกสติ สมาธิ ความจา ความคดิ ผสมผสานกบั สภาพจริงและประสบการณใ์ นการปฏิบัติ

16 บทที่ 1 กระบวนทศั น์การโคช้ ในการเรยี นรยู้ คุ ใหม่ 2. การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง (Learning to do) เป็นการเรียนรู้ ท่ีมุ่งพัฒนาความสามารถและความชานาญรวมท้ังสมรรถนะทางด้านวิชาชีพ สามารถ ปฏิบัติงานเป็นหมู่คณะ ปรับประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานและอาชีพได้อย่าง เหมาะสม กระบวนการเรียนการสอนบูรณาการระหว่างความรู้ภาคทฤษฎีและการฝึก ปฏบิ ตั งิ านท่เี นน้ ประสบการณต์ า่ งๆ ทางสงั คม 3. การเรียนรู้เพ่ือชีวิต (Learning to be) เป็นการเรียนรู้ที่มุ่ง พัฒนาผู้เรยี นทุกด้านทั้งจิตใจและร่างกาย สติปัญญา ให้ความสาคัญกับจินตนาการและ ความคดิ สร้างสรรค์ ภาษาและวฒั นธรรม เพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความ รับผิดชอบต่อสังคมส่ิงแวดล้อม ศีลธรรม สามารถปรับตัวและปรับปรุงบุคลิกภาพ ของตน เขา้ ใจตนเองและผ้อู ่นื 4. การเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกัน (Learning to live together) เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนสามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรม ได้อย่างมีความสุข มีความตระหนักในการพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน การแก้ปัญหา การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี มีความเคารพสิทธิ และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ และเข้าใจความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือของแต่ละบุคคล ในสังคม กระบวนการเรียนรู้ ที่เอ้ือต่อการเรียนเพ่ือรู้ (Learning to know) การ เรียนรู้เพ่ือปฏิบัติ ได้จริง (Learning to do) การเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning to be) และการเรียนรู้เพื่อการอยู่ร่วมกัน (Learning to live together) ดังกล่าวควรมี ลกั ษณะดังต่อไปนี้ 1. การเรียนรู้เชิงรุก (active learning) เป็นการเรียนรู้ท่ีผู้เรียน มีบทบาทในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้และตอบสนองกิจกรรมอย่างกระตือรือร้น (active response) จากการท่ีได้ปฏิบัติกิจกรรมที่อยู่ในความสนใจ และรับผิดชอบ ในการเรียนรขู้ องตนเอง

บทท่ี 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรยี นรู้ยุคใหม่ 17 2. การเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติกิจกรรม (activity – based learning) เป็นการใชก้ ิจกรรมตา่ งๆ กระตนุ้ การเรยี นรู้ใหก้ บั ผเู้ รยี น ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ กิจกรรมด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ และการแลกเปล่ียน เรยี นรู้ 3. การเรียนรู้เพื่อการเปล่ียนแปลง (transformative learning) ที่มุ่งเน้น การเปล่ียนแปลงจากภายใน (inner) หรือเปล่ียนท่ีระบบคิด วิธีคิด กระบวนการคิด ให้ผู้เรียนเกิดตระหนักรู้ว่าการเรียนรู้เป็นส่ิงท่ีสาคัญ ในฐานะที่เป็น เครื่องมือสาหรับการพัฒนาตนเองให้เป็นคนที่มีคุณภาพ มีศักยภาพ เพ่ือทาประโยชน์ ต่อส่วนรวม 4. การสร้างความตระหนักรู้ในตนเองท่ีแท้จริง (actualizing tendency) ของผูเ้ รยี นจนค้นพบแนวทางและวิธกี ารพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทา ได้โดยการให้ผู้เรียนตรวจสอบและประเมินตนเอง (self - assessment) รวมทั้งการ ถอดบทเรียน (lesson - learned) ซ่งึ เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการเรยี นรู้ตลอดชีวติ การเรียนรู้ในโลกยุคใหม่แตกต่างจากเดิมอย่างส้ินเชิง ผู้เรียนต้องเป็นผู้ท่ี ลงมือปฏิบัติการเรี ยนรู้ด้ว ยตนเองอย่างกระตือรือร้นใช้กระบว นการเรียนรู้ แล ะ กระบวนการคิดอย่างต่อเนื่อง สามารถวางแผนและพัฒนาตนเ อง โค้ชจะลด การบรรยาย แต่ขยายพื้นที่แห่งการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เปิดโอกาสการเรียนรู้ให้ผู้เรียน โดยโค้ชทาหน้าที่กระตุ้นการเรียนรู้ (learning coach) คอยช้ีแนะแนวทาง ส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนในทุกวิถีทางให้เกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ ตลอดจนโค้ชต้อง เรียนรู้ไปพร้อมกับผู้เรียน (teacher as learner) และตระหนักอยู่เสมอว่า ผู้เรียน ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ โค้ชจะต้องแสดงภาวะผู้นาเชิงวิชาการ (academic leadership) ท่ีเปี่ยมด้วยบารมีทางวิชาการ (academic charisma แปลว่า คุณงามความดที างวิชาการท่ีไดส้ ั่งสมมา) มีคุณธรรมจริยธรรม ความเช่ียวชาญ ในการจัดการเรียนรู้ สามารถสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียน เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในท่สี ดุ

18 บทท่ี 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรยู้ ุคใหม่ โค้ชควรใช้ส่ีเสาหลักทางการศึกษาท้ัง 4 ประการเป็นจุดมุ่งหมายของ การโค้ช ในการท่ีจะทาให้ผู้เรียนมีกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ การแสวงหา ความรู้ มีความสามารถ สมรรถนะ ปรับประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงาน และอาชีพได้ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ภาษาและวัฒนธรรม ความเป็น มนุษย์ ท่ีสมบูรณ์ รับผิดชอบต่อสังคมส่ิงแวดล้อม มีศีลธรรม ตลอดจนดารงชีวิตอยู่ รว่ มกบั ผูอ้ ืน่ ในสังคมพหุวฒั นธรรมได้อย่างมีความสุข แก้ปัญหาการจัดการความขัดแย้ง ด้วยสันติวิธี เคารพสิทธิ และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ เคารพความหลากหลายทางด้าน วัฒนธรรม ประเพณี ความเชอ่ื ของแต่ละบคุ คล 1.5 วงจรการเรียนรสู้ กู่ ารพัฒนาการโค้ช ก า ร เ รี ย น รู้ เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร น า ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ท่ี ใ ด ไ ร้ ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ นั้ น ไม่มกี ารพัฒนาและการเรยี นรู้น้นั จะต้องเปน็ การเรียนรู้ทเี่ ปน็ ระบบและต่อเนื่องซ่ึงจะทา ใหผ้ ู้ทเ่ี รยี นรู้ไดส้ ่ังสมประสบการณ์และค่อยๆ พัฒนาขน้ึ เปน็ ภมู ิปัญญา (wisdom) วงจรการเรียนร้สู ่กู ารพฒั นา คอื กระบวนการเรียนรทู้ ่ที าใหเ้ กดิ องค์ความรู้ ทส่ี ัง่ สมไปเร่อื ยๆ ไมม่ จี ดุ สนิ้ สดุ จนเปน็ ภูมปิ ญั ญาและนวัตกรรม ดังนี้ ข้ันท่ี 1 การวางแผนการเรียนรู้ (Plan) เป็นการกาหนดจุดมุ่งหมาย ของการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ รวมทั้งวิธีการตรวจสอบผลการเรียนรู้ การเรียนรู้ในท่ีนี้หมายความรวมถึงการเรียนรู้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ ในระบบ การเรียนรู้นอกระบบ และการเรียนรู้ตามอัธยาศัย นาไปสู่การเป็นบุคคล แห่งการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ขั้นที่ 2 การปฏิบัติการเรียนรู้ (Do) เป็นการเรียนรู้ตามขั้นตอนและ วธิ ีการอยา่ งเป็นระบบ ภายใตก้ ารใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ การคิดเชิง ประเมิน คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ การปฏิบัติการเรียนรู้ทาได้ทั้งการ

บทท่ี 1 กระบวนทัศน์การโค้ชในการเรยี นรู้ยคุ ใหม่ 19 เรียนรู้ด้วยตนเองหรือการเรียนรู้จากบุคคลอ่ืน การเรียนรู้จากส่ือและเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ โดยมีการประเมินในลักษณะ formative assessment เพ่ือการ ปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการเรยี นรใู้ หม้ ปี ระสิทธภิ าพอยา่ งต่อเน่ือง ขน้ั ที่ 3การตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Check) เป็นการประเมิน ในลักษณะ summative assessment เพื่อลงสรุปว่าการเรียนรู้บรรลุจุดมุ่งหมาย หรือไม่อย่างไร จุดเน้นของการประเมิน คือ การประเมินตนเอง (self - assessment) ซง่ึ ผลการตรวจสอบจะนาไปสกู่ ารเรียนรู้และพัฒนาตอ่ ไป ขั้นท่ี 4 การถอดบทเรียน (lesson - learned) เป็นการทบทวน กระบวนการและผลของการเรียนรู้ ว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด มีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อ ความสาเร็จ ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคคืออะไร ได้เรียนรู้อะไรบ้าง และมีประเด็นท่ีจะต้อง ปรับปรุงแกไ้ ขในการเรยี นรคู้ ร้ังต่อไปอยา่ งไร โค้ชท่ีมีศักยภาพจะใช้วงจรการเรียนรู้สู่การพัฒนาท้ัง 4 ขั้นตอน เป็นวงจร การปฏบิ ตั ิการโค้ชใหก้ บั ผู้เรียนในทุกๆ เรอ่ื ง ดังนี้ การวางแผนการโคช้ (Plan) แผนช่วยทาให้การโคช้ มเี ป้าหมายและวิธีการ ท่ีชัดเจน ตรงประเด็นท่ีผู้เรียนต้องการได้รับการโค้ช เป็นปัจจัยท่ีทาให้การโค้ช มีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล การปฏิบัติการโค้ช (Do)โดยเทคนิควิธีการต่างๆ นับว่าเป็นช่วงเวลาที่โค้ช จะไดเ้ รียนรรู้ ว่ มไปกับผเู้ รียน ได้เรยี นรเู้ ทคนคิ วธิ กี ารโคช้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง การประเมินผลการโค้ช (Check) คือ เป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผลของการโค้ชเพ่ือนาไปส่กู ารถอดบทเรยี นเปน็ องค์ความรู้

20 บทท่ี 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรยู้ คุ ใหม่ การถอดบทเรียนการโค้ช (Lesson – learned for coaching) คือ การ สงั เคราะหค์ วามรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้จากการโค้ช เป็นองค์ความรู้ที่มีรากฐานมาจาก การปฏบิ ตั ิจริงซึ่งนาไปสูก่ ารสร้างสรรค์นวตั กรรมการโค้ชต่อไป วงจรการปฏบิ ตั ิการโค้ชแสดงไดด้ ังแผนภาพต่อไปน้ี ถอดบทเรียน ปฏิบตั ิ (Lesson - learned) (Do) ประเมินผลการโคช้ (Check) ประเมินผลการโคช้ วางแผน (Check) (Plan) ถอดบทเรียน ปฏบิ ตั ิการโค้ช (Lesson - learned) (Do) วางแผนการโคช้ (Plan) แผนภาพ 2 วงจรการเรียนร้สู ู่การพฒั นาการโคช้

บทที่ 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรยี นร้ยู ุคใหม่ 21 1.6 บทบาทของโคช้ กับปริมาณการเรียนรู้ การเรียนรู้ยุคใหม่ ผู้สอนได้เปลี่ยนบทบาทจากการการสอน (teaching) และบทบาทการเป็นผู้เอื้ออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ (facilitator) มาเป็น โคช้ การรคู้ ดิ (cognitive coaching) ซ่ึงเป็นบทบาทของผู้สอนที่ทาให้ผู้เรียนสามารถ เรยี นรดู้ ้วยตนเอง (self - learning) ทาให้เกิดการเรียนรู้ได้มาก ตรงกันข้ามกับบทบาท การสอนทผี่ ูเ้ รียนต้องปฏิบัติตามคาสั่ง ตลอดจนการเรียนรู้ตามแนวทางท่ีผู้สอนกาหนด เท่านน้ั คาวา่ “โค้ช” ในหนังสือเลม่ นี้ หมายถึง ผู้สอนทาหน้าที่โค้ชผู้เรียนให้เกิดการ เรียนรู้และพฒั นาตนเองทกุ ด้านอยา่ งตอ่ เน่อื งโดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานที่ มิติใหม่แห่งการเรียนรู้ โค้ชมีบทบาทเป็นผู้โค้ชการรู้คิดที่คอยช้ีแนะ (guide) ใช้พลังคาถาม (power questions) สะท้อนคิด (reflection) เพ่ือให้ ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้ในตนเอง เข้าใจตนเอง ตลอดจนตรวจสอบ ประเมินตนเอง กาหนดเป้าหมายการพัฒนาตนเอง วางแผนการพัฒนาและดาเนินการพัฒนาอย่าง ต่อเน่ือง ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติการเรียนรู้ด้วยตนเองภายใต้กระบวนการเรียนรู้ สาระ การเรยี นรู้และทส่ี าคญั คือกระบวนการคดิ บทบาทของโค้ชในลักษณะต่างๆ มีอิทธิพลและส่งผลต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียน โค้ชท่ีแสดงบทบาทเป็นโค้ชการรู้คิดจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากเพราะ ผเู้ รยี นมีโอกาสได้คดิ และตัดสนิ ใจด้วยตนเอง มากกว่าการรอรับคาส่ังจากโค้ชเพียงอย่าง เดียวซ่ึงทาให้ผู้เรียนไม่ต้องคิด กลายเป็นการบ่มเพาะนิสัยไม่อยากคิด ขี้เกียจคิด และ คดิ ไมเ่ ปน็ ในทส่ี ดุ ด้วยเหตุน้ีโค้ชควรตระหนักและปฏิบัติบทบาทที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ โดยการ โค้ชการรู้คิดซึ่งเป็นพื้นท่ีท่ีไม่มากแต่มีความสาคัญ เปิดพ้ืนที่การเรียนรู้ด้วยตนเองของ ผู้เรียนให้มากข้ึน ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของตนเองให้ได้มาก ที่สุด เพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่สังคมในอนาคตท่ีมีความซับซ้อน มีความหลากหลาย เป็นพหุสังคม มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซ่ึงปัจจัยที่จะทาให้พวกเขาเจริญเติบโต

22 บทที่ 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรียนรยู้ ุคใหม่ และดารงชวี ิตไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ คอื ศักยภาพในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองท่ีต้องฝึกฝนและ พฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง จากที่กล่าวถึงบทบาทของโค้ชและบทบาทของผู้เรียนท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ ข้างต้น สามารถแสดงไดด้ ังแผนภาพต่อไปน้ี เกดิ การเรยี นรู้น้อย ถ่ายทอดความรู้ ปฏบิ ตั ิ ตามคาสงั่ เออื้ อานวยความสะดวก เรียนรตู้ ามแนวทาง ในการเรียนรู้ ทผ่ี สู้ อนกาหนด ช้ีแนะ เรยี นรู้และพัฒนา ใชพ้ ลังคาถาม ดว้ ยตนเอง ให้ผเู้ รยี นสะทอ้ นคิด เกดิ การเรยี นรมู้ าก บทบาทโค้ช บทบาทผเู้ รยี น แผนภาพ 3 บทบาทของโค้ชกบั ปรมิ าณการเรียนรู้

บทที่ 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรยี นร้ยู คุ ใหม่ 23 การเรียนรู้ยุคใหม่จากการใส่ใจของผู้โค้ช “สอนใหจ้ า ทาให้ดู อยู่ให้เหน็ เย็นสมั ผสั ได้” แนวคดิ เก่ยี วกับการเรยี นรู้ทเ่ี อ้ือต่อการโคช้ 1. เปา้ หมายการจดั การเรยี นรู้ที่ชดั เจน 2. ตอบสนองธรรมชาติของผู้เรยี นเป็นสาคญั 3. เน้นผลทเี่ กิดจากการเรียนร้ขู องผ้เู รียน 4. มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้ 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ 6. การประเมินผลการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง “การเรียนรู้” ไมจ่ ากัดอยู่เฉพาะหอ้ งสเ่ี หลยี่ ม การเรยี นรมู้ ีอยู่รอบตวั เกดิ ที่ชมุ ชนหรอื ท่บี า้ น สามารถนาไปปรับใช้กบั ชวี ิตได้จรงิ

24 บทที่ 1 กระบวนทัศน์การโคช้ ในการเรยี นรยู้ คุ ใหม่ จดุ เน้นการเรียนรู้ เน้นการเรียนรู้รากเหง้า รู้เท่าทันโลกาภิวัฒน์การเรียนรู้ จากความจา แล้วทาอะไรไม่ได้ การเรียนรู้จักตัวเอง พัฒนาภายใน เจริญสติ การอยู่ รว่ มกบั ธรรมชาติ ยอมรบั ความแตกตา่ งความหลากหลายในพหวุ ฒั นธรรม ลักษณะการจัดห้องเรียนจะเปล่ียนเป็น Learning Innovative Center: LIC ท่ีตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรียนบางคร้ังจะเข้าไปเรียนในพื้นท่ีเพ่ือหา ข้อเท็จจริงและความรู้ในพื้นท่ีหรือใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทท่ี าให้เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม “เรียนรู้ที่บ้าน ทาการบ้านที่โรงเรียน” (Flipped Classroom) ผู้เรียน ไม่ต้องการให้ผู้โค้ชอยู่ในชั้นเรียนเพ่ือบอกความรู้ เพราะสามารถเข้าถึงความรู้ได้ด้วย ตนเอง ส่ิงที่ผู้เรียนต้องการ คือ การแลกเปล่ียนกับผู้โค้ช เวลาติดขัดและต้องการความ ชว่ ยเหลือ เพื่อเสรมิ สร้างทกั ษะการคิด และทักษะทางสังคม การเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่น (flexibility learning) เป็นวิธีการเรียนรู้ ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ตอบโจทย์ผู้เรียนเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม หรือการแก้ไขปัญหา ของสังคม ในลักษณะต่างๆ เช่น การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน (Project – Based Learning) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัย เป็นฐาน (Research – Based Learning) การเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem – Based Learning) การเรียนรตู้ ามสภาพจริงในพืน้ ท่ี เป็นความจรงิ ความรู้ ทีม่ าจากพื้นท่ีสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของความเปน็ ไทย สอดคลอ้ งกบั วัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิ ัญญา คณุ ลกั ษณะ ความเกรงใจ การเคารพอาวโุ ส ความเปน็ กลั ยาณมิตรแบบเครอื ญาติ

บทที่ 1 กระบวนทัศนก์ ารโค้ชในการเรยี นร้ยู คุ ใหม่ 25 เทคนคิ การปรบั (modify) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การโค้ชที่ดีสามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนรายบุคคลได้ ทุกคน สามารถเรียนรู้ได้เมื่อได้รับการโค้ชด้วยเทคนิควิธีการที่เหมาะสม เทคนิค การปรับ (modify) ใหก้ ารโค้ชเหมาะสมกบั ผเู้ รียนมีดังตอ่ ไปน้ี 1. การเพ่ิม (add) สาระสาคัญในส่ิงท่ีเป็นความรู้ใหม่และจาเป็นต่อผู้เรียน เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้ทเ่ี ปน็ ปจั จุบนั กา้ วทันกับการเปลี่ยนแปลงของสงั คม 2. การลด (subtract) สาระสาคญั (concept)ทผ่ี ู้เรียนรูแ้ ลว้ รวมทั้งกิจกรรม ทไี่ มจ่ าเป็นออก เพอื่ เป็นการประหยดั เวลาในการเรยี นรู้ 3. การบรู ณาการ (integration) ผสมผสานสาระสาคัญกิจกรรมการเรียนรู้ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ร ะ ห ว่ า ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร และชว่ ยเหลอื ผู้เรียนแต่ละบคุ คล 4. การหลอมรวม (infuse) ผสมผสานในส่ิงที่ใกล้เคียงกันให้มีความชัดเจน และลดเวลาการทากิจกรรมรวมทงั้ การประเมนิ ทีซ่ ้าซ้อน การเรียนรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรม ทาให้เกิดนวัตกรรมการสร้างสรรค์ และเกิด ประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม ตลอดจนสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมที่มีความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา ความเชื่อและค่านิยม ได้อย่างมีคุณภาพ และมีความสุขซ่ึงการเรยี นรู้ในสังคมพหวุ ัฒนธรรมมีลักษณะดังต่อไปน้ี 1. การเรียนแบบ Multi - Disciplinary Team ที่ผู้เรียนได้เรียนรู้กับ บุคคลอื่นอย่างหลากหลาย เช่น เรียนกับบุคคลที่มีช่วงวัยต่างกัน มีแนวคิด วิธีการ ทางานท่ีแตกตา่ งกนั แต่เรียนรรู้ ่วมกนั ได้ 2. การเรียนรู้ท่ีจะฟังจากคนอื่น ฟังเร่ืองราวท่ีเราไม่เชื่อจากบุคคลอ่ืน นวัตกรรมจะเกิดข้ึน การฟังเป็นการเปิดโอกาสการเรียนรู้ส่ิงใหม่ให้กับตนเอง การฟัง อยา่ งสงบ ไมด่ ว่ นสรปุ ไม่ด่วนตดั สนิ คนอ่ืน

26 บทที่ 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรยี นรยู้ ุคใหม่ 3. การมีโครงการทาร่วมกัน (project work) สร้างความหลากหลายทาง ความคดิ นามารว่ มกันแก้ปัญหาท่ีซับซอ้ นของโลกปจั จุบันและอนาคต 4. การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ด้วยกระบวนการสนุ ทรียสนทนา การแลกเปล่ียน เรียนรู้จะสร้างคุณลักษณะความเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ทาให้ปฏิบัติต่อกัน ด้วยความรักและเมตตา การเสริมพลังการเรยี นรู้ให้กบั ผูเ้ รียน การเสริมพลัง (empowerment) คือ กระบวนการปรับเปล่ียน ความรู้สึกของผู้เรียน ให้เกิดความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง (self - confidence) ทศั นคตทิ ม่ี ตี อ่ ตนเองและต่อส่งิ ทีเ่ รียนรู้ซึ่งเปน็ ปจั จยั เอ้ือต่อการประสบความสาเร็จ การเสริมพลัง เกี่ยวข้องกับการทาให้ศักยภาพที่แฝงอยู่ภายในตัวผู้เรียน ปรากฏออกมาเป็นความจริง และการทาให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย ด้วยการให้ผู้เรียน ได้เข้ามามีส่วนร่วมกับความสาเร็จและเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่รบั ผดิ ชอบ นอกจากน้ีการเสริมพลังยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ในการกระทาสิ่งต่างๆ และสามารถพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของตนเอง ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง การเสริมพลงั มอี งคป์ ระกอบที่สาคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) การเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและสารสนเทศ 2) การมีเสรีภาพในการเลือกที่จะปฏิบัติสิ่งต่างๆ 3) การมีส่วน รว่ มในการคิดและการตัดสนิ ใจ 4) ความรบั ผิดชอบรว่ มตอ่ ผลลพั ธ์ วธิ ีการเสรมิ พลังมดี ังต่อไปน้ี 1. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความสามารถในการปฏิบัติงาน และความคดิ เหน็ ตลอดจนการตดั สินใจและการมสี ว่ นรว่ มต่างๆ ในการเรียนรู้

บทท่ี 1 กระบวนทศั นก์ ารโค้ชในการเรยี นรู้ยคุ ใหม่ 27 2. เสรมิ สร้างให้ผู้เรยี นเกดิ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซง่ึ กันและกัน 3. ให้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ ทม่ี คี วามจาเป็นต่อการเรยี นรู้อย่างเหมาะสม 4. เสริมสร้างและสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะและกระบวนการในการ ทางานเป็นกลุ่ม 5. ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศท่ีจาเป็น ต่อการเรียนรู้ไดอ้ ย่างรวดเร็ว 6. ให้ข้อมูลย้อนกลับการปฏิบัติงานของผู้เรียนเพื่อเป็นข้อมูล สารสนเทศ สาหรับการปรบั ปรงุ และพฒั นาการ 7. สร้างบรรยากาศแหง่ ความไว้วางใจซงึ่ กันและกัน 8. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสในการเลือกและกาหนดวิธีการ ปฏิบัตงิ านภายในขอบเขตความรบั ผิดชอบของตนเองโดยอิสระ 9. ให้ความช่วยเหลือและบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นซ่ึงเป็นอุปสรรค ต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รียน 10. เสริมสร้างและสนับสนุนผู้เรียนให้มีความกล้าหาญในการคิดและ ตัดสนิ ใจอย่างมเี หตุผล และกล้าเผชิญปัญหาที่ท้าทายความคดิ และความสามารถ แนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผ่าน กระบวนการโค้ช 1. มีความเข้าใจวา่ ผเู้ รยี นมีวธิ กี ารเรียนรู้ทแ่ี ตกตา่ งกนั การจัดการเรียนรู้ต้องมี ความหลากหลายรูปแบบ เช่น รูปแบบการเรียนรู้ด้วยการดู รูปแบบการเรียนรู้ด้วยการ ฟัง รูปแบบการเรียนรู้ด้วยการสัมผัส นอกจากน้ียังมีจริตในการเรียนรู้ ท้ัง 6 แบบ ดังนั้นผโู้ คช้ ควรใช้วิธีการจัดการเรียนรู้เพยี งวธิ กี ารเดยี วกบั ผู้เรยี นทง้ั ชน้ั เรยี น 2. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในวิธีการท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละบุคคล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ไม่จาเป็นต้อง

28 บทที่ 1 กระบวนทัศน์การโคช้ ในการเรียนรยู้ ุคใหม่ ปฏิบัติเหมือนกันท้ังชั้นเรียน ช่วยทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่ตน เองชอบ และถนัด เช่น ผู้เรียนท่ีชอบ การอ่าน ควรได้รับโอกาสให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง สรปุ ความรู้ นาเสนอ และแลกเปล่ียนเรียนรกู้ บั เพือ่ นๆ 3. การสื่อสารกับผู้เรียนด้วยความเคารพในความแตกต่างของรูปแบบการ เรียนรู้ วิธีคิดและยอมรับลักษณะเฉพาะของแต่ละคน ด้วยการเปิดใจรับฟัง ฟังโดยไม่ ตัดสินหรือด่วนสรุป เคารพผู้เรียนในฐานะที่มีศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ การสื่อสารด้วย ภาษาท่เี ปน็ ระดับเดียวกนั ไม่ใช้อานาจส่ังการแตใ่ ช้การสรา้ งความรว่ มมือจากผเู้ รียน 1.7 ตัวชี้วัดการโคช้ ท่มี ีประสิทธภิ าพ การโค้ชที่มีประสิทธิภาพเป็นการโค้ชที่ทาไปเพื่อพัฒนากระบวนการคิด และกระบวนการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น มตี วั ช้ีวดั ดังต่อไปน้ี 1. สรา้ งความเช่ือมนั่ ในตนเองให้กับผู้เรยี น 2. สรา้ งแรงจูงใจภายในใหก้ ับผู้เรียน 3. เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นไดล้ งมือปฏิบตั ิด้วยตนเอง 4. กระตุ้นให้ผูเ้ รยี นเรยี นรู้สงิ่ ท่ใี กล้ตัว สอดคล้องกบั ชีวิต 5. เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมไปสู่การเรยี นรสู้ ิง่ ใหม่ 6. กระตนุ้ ให้ผเู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการคดิ และตดั สินใจ 7. แนะนาใหผ้ ู้เรยี นนาความรู้ไปสู่การใชป้ ระโยชน์ 8. สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนสร้างสรรค์องค์ความร้แู ละนวตั กรรม 9. จดั ให้ผเู้ รียนไดป้ ระเมินผลการเรียนรูข้ องตนเอง 10. กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นสะท้อนคดิ ในสิง่ ท่ีได้เรยี นรู้

บทท่ี 1 กระบวนทศั น์การโคช้ ในการเรยี นรู้ยคุ ใหม่ 29 ตวั ชีว้ ดั ดงั กล่าวข้างตน้ เป็นสิง่ ท่โี ค้ชควรใหค้ วามสาคญั ในการดาเนินการโค้ช เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง ซึ่งจะต้องเลือกใช้และปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบท ต่างๆ ที่เก่ียวข้อง โดยเฉพาะบริบทด้านผู้เรียนแต่ละคนซึ่งมีความแตกต่างกัน เช่น ความถนัด แรงจูงใจ วุฒิภาวะ ความถนัดทางการเรียน ความมุ่งมั่น ความอดทน รูปแบบการคดิ เปน็ ต้น สรปุ สาระสาคัญท่ีนาเสนอในบทนี้ ได้กล่าวถึงการเรียนรู้ในกระบวนทัศน์ใหม่ ท่ีมงุ่ เน้นการโค้ชซง่ึ สามารถทาได้ทุกเวลาและสถานท่ี โดยผู้สอนยุคใหม่เปล่ียนบทบาท จากผถู้ ่ายทอดความรู้ ผู้เอื้ออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ มาเปน็ โค้ช เพ่ือให้ผู้เรียน ทกุ คนสามารถเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ โดยท่ีการเรียนรู้น้ันเป็นส่ิง มีความละเอียดอ่อน การท่ีจะพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเร่ืองใดน้ัน โค้ชจะต้อง สร้างท้ังปัจจัย จากภายนอก คือ กัลยาณมิตร รวมทั้งสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ และปัจจัยภายในคือ โยนิโสมนสิการ หรือการคิดอย่างถูกวิธี หรือควบคู่กัน ซึ่งโค้ช จะต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถดารงชีวิตได้อย่างมี คุณภาพบนพ้ืนฐานของการเรียนรู้ (ชีวิต คือ การเรียนรู้) การทะนุถนอมชีวิตของ ตนเองดว้ ยความไม่ประมาทใหม้ ีชีวติ อยู่อย่างมีศักยภาพ เพ่ือเรียนรู้สิ่งต่างๆ สร้างสรรค์ และทาประโยชน์ให้กับสังคมส่วนร่วม (ชีวิตเพ่ือการเรียนรู้) และมีชีวิตท่ีดีงาม เป็น แบบอย่างท่ีดีให้กับคนรุ่นหลัง (ชีวิตแห่งการเรียนรู้) โดยโค้ชควรใช้สี่เสาหลักทาง การศึกษา เป็นจุดม่งุ หมายของการโค้ชทจี่ ะทาใหผ้ ูเ้ รียนมีกระบวนการคิด กระบวนการ เรียนรู้ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ภาษาและวัฒนธรรมความเป็นมนุษย์ ท่ีสมบูรณ์ โดยโคช้ ทีม่ ีศักยภาพจะใช้วงจรการเรียนรู้สู่การพัฒนา 4 ข้ันตอนในการโค้ช ได้แก่ การวางแผน การปฏิบัติการโค้ช การประเมินผลการโค้ช และการถอดบทเรียน เป็นวงจรการโค้ชผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ส่วนวิธีการโค้ชจะเน้นท่ี

30 บทท่ี 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรยี นรยู้ ุคใหม่ การชี้แนะ (guide) ใช้พลังคาถาม (power questions) สะท้อนคิด(reflection) เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง โดยตัวชี้วัดการโค้ชน้ัน เป็นแนวทางการโค้ชท่ีสามารถปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทต่างๆ หัวใจสาคัญของการ โค้ชที่แตกต่างจากการสอนโดยท่ัวไป คือ การทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนา ดว้ ยตนเอง โดยใช้วธิ กี ารโคช้ ทแ่ี ตกต่างกนั ระหว่างผู้เรียนแตล่ ะบคุ คล

บทที่ 1 กระบวนทัศนก์ ารโค้ชในการเรยี นรู้ยุคใหม่ 31 บรรณานุกรม พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สรุ เตโช). (2548). พจนานกุ รมเพ่อื การศึกษาพุทธศาสน์ ชดุ คาวัด. กรุงเทพฯ: วดั ราชโอรสาราม. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โต). (2557). พุทธธรรม ฉบบั ปรบั ขยาย. (พิมพ์ครงั้ ที่ 32). อยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . ราชบัณฑติ ยสถาน. (2555). พจนานกุ รมศัพท์ศึกษาศาสตร์ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. กรงุ เทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน. วชิ ยั วงษใ์ หญ่ และมารุต พฒั ผล. (2558). จากหลกั สูตรแกนกลางส่หู ลกั สตู ร สถานศึกษา: กระบวนทศั นใ์ หม่การพัฒนา. (พิมพ์คร้ังที่ 7). กรุงเทพฯ: จรลั สนิทวงศ์การพิมพ์ จากดั . Ambrose, Susan A. and other. (2010). How Learning Works: 7 Research – Based Principles for Smart Teaching. San Francisco: Jossey – Bass. Anderson, Lorin. W, & Krathwohl, David. R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. Abridged Edition, New York: Longman. Beers, Sue Z. (2011). Teaching 21st Century Skills. Alexandria, Virginia: Association of Supervision and Curriculum Development. Bennett, Christine. (2010). Comprehensive Multicultural Education: Theory and Practice. 7thed. New Jersey: Pearson. Benson, David J. (2008). The Standards – Based Teaching / Learning Cycle. Colorado: The Colorado Department of Education.

32 บทที่ 1 กระบวนทัศนก์ ารโคช้ ในการเรียนรยู้ คุ ใหม่ Bloom, B.S., (Ed.) (1956). Taxonomy of Educational Objectives: The Classification of Educational Goals: Handbook I, Cognitive Domain. New York: Longmans. Clarke, John H. (2013). Personalized Learning: Student – Designed Pathways to High School. California: Corwin Press. Gardner, Howard. (2007). Five Minds for The Future. Boston: Harvard Business School Press. Gordon, Ronald D. (2011). Actualizing: Mindsets and Methods for Becoming and Being. Bloomington: Universe, Inc. Krathwohl, David R., Bloom, Benjamin S., and Masia, Bertram B. (1956). Taxonomy of Educational Objectives: The Classification of Educational Domain. New York: David McKay Company, Inc. Mayer, R. (2007). Learning and Instruction. 2nded. New Jersey: Pearson Education, Inc. Mezirow, Jack. and Taylor, Edward W. (2009). Transformative Learning in Practice: Insights from Community, Workplace, and Higher Education. San Francisco: Jossey – Bass. North Central Regional Educational Laboratory and the Metiri Group. (2003). enGage 21st Century Skills: Literacy in The Digital Age. Illinois: NCREL. Oxford University. (2005). Oxford Advance Learner’s Dictionary. 7thed. New York: Oxford University Press. Pearson. (2012). The Learning Curve: Lesson in Country Performance in Education. London: Pearson Company. Robinson, S. Ken. (2011). Out of Our Minds Learning to Be Creative. West Sussex: Capstone Publishing.

บทท่ี 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรยี นร้ยู ุคใหม่ 33 Rose, David H. and Meyer, Anne. (2002). Teaching Every Student in the Digital Age: Universal Design for Learning. Alexandria, Virginia: Association of Supervision and Curriculum Development. Serim, Ferdi. (2012). Digital Learning: Strengthening and Assessing 21st Century Skills. San Francisco: Jossey – Bass. Simpson, Elizabeth Jane. (1970). The Classification of Educational Objectives, Psychomotor Domain. Washington D.C.: Department of Health, Education, and Welfare. Sweeney, Diane. (2010). Student – Centered Coaching: A guide for K – 8 Coaches and Principals. California: Corwin Press. Timbs, J. Limbird. (1825). The Mirror of Literature Amusement and Instruction. Vol 5, January – June. Trilling, Bernie and Fadel, Charles. (2009). 21st Century Skills: Learning for Life in Our Times. San Francisco: Jossey – Bass. pp.52 from www.21stcenturyskills.org) UNESCO. (1996). Learning: The Treasure Within Report to UNESCO of The International Commission On Education for The Twenty – First Century. France: UNESCO. Vickery, Anitra. (2014). Developing Active Learning in The Primary Classroom. Los Angeles: SAGE Publication.

34 บทท่ี 1 กระบวนทศั นก์ ารโคช้ ในการเรียนรยู้ ุคใหม่ หวั ใจสาคัญของการโค้ชที่แตกตา่ งจากการสอน โดยทั่วไป คอื การทาให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ และพัฒนาด้วยตนเอง โดยใช้วิธกี ารโค้ช ทีแ่ ตกตา่ งกนั ระหว่างผู้เรยี นแต่ละบุคคล

บทท่ี 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพอ่ื การร้คู ิด 35 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโคช้ เพอื่ การรคู้ ิด

36 บทที่ 2 สาระสาคญั ของการโค้ชเพื่อการรคู้ ดิ โค้ชที่ดตี อ้ งทาให้ผเู้ รยี นพงึ่ ตนเองได้ โดยใช้ระดบั และความเข้มข้นของการโค้ช ตามระดับความสามารถของผเู้ รยี น เช่น การสาธิตใหด้ เู ปน็ ตัวอยา่ งหลายๆ ครง้ั การใหผ้ ู้เรียนทาใหด้ ู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook