Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore history2

history2

Published by manopsi.kk, 2018-05-09 02:28:04

Description: history2

Search

Read the Text Version

ความรู้ เร่อื งวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ เฮโรโดตัส Herodotus บิดาแห่งประวัติศาสตร์ ได้นาคาว่า ประวัติศาสตร์ history มาจากคาในภาษากรีกว่า historeo ทีแ่ ปลว่า การถกั ทอ มาเขียนเป็นชือ่ เร่อื งราวการทาสงครามระหว่างเปอร์เซียกับกรีก โดยใช้หลักฐานต่าง ๆ เป็นข้อมูล ในการเขียนเป็นเร่ืองราว ซึ่งคล้ายกับการถักทอผืนผ้าให้เป็นลวดลายที่ต้องการ เฮโรโดตัส Herodotus จึงเป็น นักประวัติศาสตร์คนแรก ที่นาหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ มาศกึ ษาเพือ่ เขียนเปน็ เรื่องราว อย่างไรก็ตาม การศกึ ษาเหตุการณ์ในอดีต อาจมีผู้สงสัยว่ามีทางเป็นไปได้หรือไม่และจะศึกษากันอย่างไร เนื่องจากเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ เป็นเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้วและ บางเหตุการณ์เกิดขึ้นมานานมาก จนสุดวิสัยที่คนปัจจุบันจะจาเร่ืองราวหรือศึกษาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ด้วยตนเอง นักประวัติศาสตร์ ได้อาศัยร่องรอยในอดีตเป็นข้อมูลในการอธิบายเรือ่ งราวต่าง ๆทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต รอ่ งรอยทีว่ า่ นเี้ รียกว่า หลกั ฐานประวัตศิ าสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์ มีปัญหาที่สาคัญอยู่ประการหนึ่ง คือ อดีตที่มีการฟื้นหรือจาลองขนึ้ มาใหม่นน้ั มีความถกู ต้องสมบูรณ์และเช่อื ถือได้เพียงใด รวมท้ังหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่นามาใช้ เป็นข้อมูลน้ัน มีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มีอยู่มากมายเกินกว่าที่จะศึกษาหรือจดจาได้หมด แต่หลักฐานที่ใช้เป็นข้อมูลอาจมีเพียงบางสว่ น ดังน้ัน วิธีการทางประวัติศาสตร์จึงมีความสาคัญเพื่อใช้เป็นแนวทางสาหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ หรือผู้ที่จะเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะได้นาไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลาเอียงและเกิดความน่าเช่อื ถือได้มากที่สุด ในการสบื ค้น ค้นคว้าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มีอยู่หลายวิธี เช่น จากหลักฐานทางวัตถุที่ขุดค้นพบ หลักฐานที่เป็นการบันทึกลายลักษณ์อักษร หลักฐานจากคาบอกเล่า ซึ่งการรวบรวมเร่ืองราวต่างๆทางประวตั ศิ าสตร์เหลา่ นี้ เรยี กว่า วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจากหลักฐานแล้วนามาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในอดีต ว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น หรือเหตุการณ์ในอดีตน้ันได้เกิดและคลี่คลายอย่างไร ซึ่งเป็นความมุ่งหมายที่สาคัญของการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์

ประเภทหลกั ฐานประวตั ิศาสตร์1. หลกั ฐานทีจ่ าแนกตามความสาคญั 1.1 หลกั ฐานช้ันตน้ 1.2 หลักฐานช้ันรอง2. หลกั ฐานที่ใช้อกั ษรเปน็ ตัวกาหนด 2.1 หลกั ฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 2.2 หลกั ฐานทีไ่ ม่เป็นลายลักษณ์อกั ษร3. หลักฐานทีก่ าหนดตามจุดหมายของการผลติ 3.1 หลักฐานที่มนษุ ย์ตงั้ ใจสร้างข้ึน 3.2 หลักฐานทีม่ ิได้เปน็ ผลผลิตทีม่ นุษย์สรา้ งหรอื ตั้งใจสร้าง1.1 หลักฐานชั้นตน้ primary sources หมายถึง คาบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรงได้แก่ บนั ทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงสิ่งก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถานโบราณวัตถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วิหาร พระพทุ ธรูป รปู ปั้น หม้อ ไห ฯลฯ1.2 หลกั ฐานชั้นรอง secondary sources หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรอื เรียบเรียงขนึ้ ภายหลังจากเกิดเหตุการณ์น้ันแล้ว โดยอาศัยคาบอกเล่า หรอื จากหลักฐานช้ันตน้ ต่างๆ ได้แก่ ตานาน วิทยานพิ นธ์ เปน็ ต้น2.1 หลกั ฐานทีเ่ ปน็ ลายลักษณ์อักษร written sources หมายถึง หลักฐานทีม่ ีการบันทึกเปน็ ลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ได้แก่ ศลิ าจารึกพงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนงั สือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทนี้จัดว่าเปน็ หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์2.2 หลกั ฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อกั ษร หมายถึง ส่งิ ทีม่ นุษย์สร้างข้ึนทั้งหมดที่ไม่เปน็ ลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สิง่ ก่อสร้าง โบราณสถานโบราณวตั ถุ ศิลปการแสดง คาบอกเล่า นาฏศลิ ป์ ตนตรี จติ รกรรม ฯลฯ3.1 หลกั ฐานที่มนษุ ย์ตง้ั ใจสร้างข้ึน artiface หลักฐานทีม่ นษุ ย์สรา้ งข้ึนเพื่อใช้ในการดารงชีวติ

3.2 หลกั ฐานทีม่ ิได้เปน็ ผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรอื ต้ังใจสร้าง วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรอ่ื งราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยทีค่ นในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีตเม่ือมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมดหรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชดั เจนเพือ่ ให้ผู้อน่ื ตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาค้นคว้าต่อไปได้ขนั้ ตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบดว้ ย 1. การกาหนดหวั ข้อเรื่องที่ต้องการศกึ ษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ทีไ่ หน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ใหค้ รบถ้วน ครอบคลมุ 3. ตรวจสอบความจริงจากหลกั ฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วธิ ีทางประวตั ศิ าสตร์ 4. วิเคราะหข์ ้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเทจ็ จริง 5. นาเสนอผลงานความรทู้ ี่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียงวิธีการทางประวตั ิศาสตรก์ บั วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ กับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน และมีบทส่วนแตกต่างกนั ดังน้ี 1. วิธีการทางประวัติศาสตร์มีการกาหนดประเด็นปัญหา เพื่อสืบค้นหาคาตอบ เช่นเดียวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการสร้างสมมติฐานขึ้นแล้วทดลองเพื่อตรว จสอบสมมติฐานน้ัน 2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ใชว้ ิธีการสร้างสถานการณ์ใหม่ หรือ ทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐานทีต่ ง้ั ข้ึน แตน่ กั ประวัติศาสตร์ไม่สามารถสร้างสถานการณ์ขึ้นใหม่ให้เหมือนกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในอดีตได้ เพราะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตจะเกิดขึ้นคร้ังเดียว มีลักษณะเฉพาะ และไม่สามารถสร้างซ้าได้อีก แต่นักประวัติศาสตร์จะรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานอย่างหลากหลาย ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของหลักฐาน จนกระทั่งได้ข้อมูลที่จะสร้างความม่ันใจว่าจะสามารถอธิบายและสรุปเป็นหลักการได้ ดังน้ันแม้นักประวัติศาสตร์จะมิได้เห็นเหตุการณ์นั้นโดยตรง แต่พยายามหาข้อมูลให้มากเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงให้ถูกต้องตามความเป็นจริงที่น่าเป็นไปได้ แต่นักวิทยาศาสตร์จะทดสอบหรือทดลองให้ได้ผลสรุปด้วยตนเอง

3. การนาเสนอผลงานของนักวิทยาศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ก็อาศัยหลักการความเป็นไปได้มาคาดคะเน และสรุปผลเช่นกัน แต่ผลสรุปทางวิทยาศาสตร์ จะสามารถนาไปทดลองซ้าๆ ก็จะได้ผลเชน่ น้ันทุกคร้ัง แต่ผลสรุปทางประวตั ศิ าสตร์ไม่สามารถนาไปทดลองได้ และมีความแตกต่างที่เป็น “มิติของเวลา” เชน่ เดียวกบั ศาสตร์ทางสังคมศาสตร์อน่ื ๆ ที่ไม่สามารถควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวแปรได้ท้ังหมด 4. ประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ไม่สามารถนิยามคาเฉพาะ เพราะความหมายจะไม่ชัดเจนตายตัวในทกุ กาลและเทศะ เช่น ประชาธิปไตยของท้องถิน่ หนึ่ง กับอีกท้องถิน่ หนึง่ จะมีนัยแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผู้ใช้หรือผู้นิยาม ซึ่งแตกต่างกับวิทยาศาสตร์ที่สามารถให้นิยามคาเฉพาะที่มีความหมายตายตัวไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา และสถานที่คณุ ค่าของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ ได้แก่ 1. วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการวิจัยเอกสารและหลักฐานอื่นๆ ที่เป็นร่องรอยจากอดีตอย่างกว้างขวาง เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ใหม่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาอย่างเป็นระบบ และมีเหตมุ ีผล 2. ขั้นตอนการวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์หรือการตรวจสอบความจริงจากข้อมูลและหลักฐาน ซึ่งเป็นขั้นตอนของการค้นหาความหมายที่ซุกซ่อนอยู่ในหลักฐานจะทาให้ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ระมัดระวัง และคิดพิจารณาข้อเท็จ และข้อจริงที่แฝงอยู่ในหลักฐานให้ชัดเจน 3. วิธีการทางประวตั ิศาสตร์เน้นการเข้าใจอดีต คือ การให้ผู้ศึกษาเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ต้องทาความเข้าใจยุคสมัยที่ตนศึกษา เพื่อให้เข้าถึงความคิดของผู้คนในยุคน้ัน โดยไม่นาความคิดของปัจจบุ นั ไปตัดสินอดตี อย่างไรก็ตาม เม่ือประวัติศาสตร์คือการสืบค้นอดีตของสังคมมนุษย์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ซึ่ง เป็นวิธีการในการสืบสวนและค้นคว้า จึงนับเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบหนง่ึ ที่มเี หตผุ ลประกอบผลสรปุ นนั่ เองแหลง่ อา้ งอิง: www.sainampeung.ac.th/chalengsak/units/unit4/chapter4/history/history_2.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook