Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 8 ลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์

หน่วยที่ 8 ลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์

Published by neeno_ict, 2021-11-02 09:02:58

Description: หน่วยที่ 8 ลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

ลงมือทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ | หน้า 1 แนวทางการศึกษาชุดการเรียนรู้ การศกึ ษาเนือ้ หาสาระของหนว่ ยนี้ให้นักเรียนปฏิบตั ดิ ังน้ี 1. ศกึ ษาขอบขา่ ยเน้ือหา สาระสำคัญ และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2. ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 3. ศกึ ษาเน้ือหาสาระโดยละเอียดในแต่ละเร่ืองและทำกิจกรรม 4. ทำแบบทดสอบหลังเรยี น เพื่อตรวจสอบผลการเรยี นรู้ ถา้ ได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 80 ใหก้ ลับไปศึกษาใหม่ จนกวา่ จะได้คะแนนไม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ 80 5. ไมค่ วรเปิดดูเฉลยก่อนทำแบบทดสอบ

ลงมอื ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ | หนา้ 2 ขอบขา่ ยของเนือ้ หา สาระสำคญั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ➢ ขอบข่ายของเนื้อหา เรื่องท่ี 1 ลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องท่ี 2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ➢ สาระสำคญั 1. เมื่อนักเรียนจัดทำเค้าโครงงานวิทยาศาสตร์และได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึกษา ต่อไปกเ็ ป็นข้ันลงมือปฏิบัติงานตามขนั้ ตอนที่ระบุไว้ ในเค้า โครงงานวิทยาศาสตร์ที่เสนอ อาจารย์ที่ ปรกึ ษา ซ่งึ นกั เรยี นควรคำนึงถึงการเตรียมวัสดุอุปกรณแ์ ละสถานท่ีให้พร้อมก่อนลงมือ ทดลอง 2. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลควรมีมีสมุดสำหรบั บันทกึ กิจกรรมประจำวัน ปฏิบัตกิ ารทดลอง ดว้ ยความละเอียดรอบคอบ และบันทกึ ขอ้ มูลไวใ้ หเ้ ป็นระเบยี บและครบถว้ น ➢ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เม่อื ศึกษากจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ครงงานวทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ ผู้เรยี นสามารถ 1. ลงมือทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2. เก็บรวบรวมข้อมูลผลการทดลอง

ลงมอื ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ | หน้า 3 เรอื่ งที่ 1 การลงมือทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ -------------------------------------------------------------------------------------------------------- เมื่อนักเรียนเขียนเค้าโครงเรียบร้อยแล้วและนำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ให้ความเห็นชอบ การดำเนินการต่อไปเป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ในเค้า โครงงานซง่ึ นกั เรียน ควรคำนึงถึงเรอื่ งต่อ ไปนี้ 1. เตรียมวดั สอุ ปุ กรณ์และสถานทใ่ี หพ้ รอ้ มก่อนลงมอื ทดลอง 2. มีสมุดสำหรับบันทึกกิจกรรมประจำวันว่าได้ทำอะไร ไป ได้ผลอย่างไร มีปัญหา และ ขอ้ คดิ เหน็ อย่างไร 3. ปฏบิ ัตกิ ารทดลองดว้ ยความละเอียดรอบคอบ และบนั ทกึ ข้อมูลไว้ให้เป็นระเบียบ และ ครบถว้ น 4. คำนึงถงึ ความประหยดั และความปลอดภยั ในการทำงาน 5. พยายามทำตามแผนงานทว่ี างไว้ในตอนแรกแต่อาจเปล่ยี นแปลงหรือเพ่ิมเติมบ้าง หลงั จากท่ี ได้เร่ิมตน้ ทำงาน ไปแลว้ ถา้ คิดว่าจะทำใหผ้ ลงานดขี ึ้น 6. ควรปฏิบตั กิ ารทดลองซ้ำเพอื่ ใหไ้ ด้ข้อมูลทีเ่ ชอื่ ถอื ได้มากขน้ึ 7. ควรแบ่งงานเป็นสว่ นย่อยๆ และทำแตล่ ะส่วนใหส้ ำเร็จ ก่อนทำสว่ นอื่นต่อไป 8. ควรทำงานส่วนที่เป็นหลักสำคัญ ให้เสร็จก่อนแล้วจึงทำส่วนที่เป็นส่วนประกอบ หรือส่วน เสรมิ เพ่อื ตกแต่งโครงงาน 9. อยา่ ทำงานตอ่ เน่อื งจนเมอื่ ยลา้ จะทำใหข้ าดความระมัดระวงั 10. ถ้าเป็นโครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ควรคำนึงถึงความคงทนแข็งแรงและขนาด ท่เี หมาะสมของสงิ่ ประดษิ ฐ์น้ัน ความสำเร็จของการทำโครงงาน ไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าผลการทดลองที่ได้ตรงกับความ คาดหวังหรือไม่ แมผ้ ลการทดลองทีไ่ ด้จะไม่เป็นไปตามท่ีคาดหวงั ก็ถือว่ามคี วามสำเร็จในการ ทำโครงงานนน้ั เหมือนกัน ในกรณีที่ โครงงานของนักเรียนมีการใช้สัตว์ทดลอง นักเรียนควรต้องเรียนรู้ ธรรมชาติของสัตว์ ที่จะใช้เป็นสัตว์ทดลองอย่างดี และควรปฏิบัติการทดลองนั้นด้วยความ ระมัดระวัง ทั้งนี้เพื่อความ ปลอดภัยของผู้ทดลองและของสัตว์ทดลอง หากมีการนำ สัตว์ทดลองไปตั้งแสดงโครงงานด้วยก็จะต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เข้าชมด้วยโดย ทั่วๆ ไปข้อกำหนดเก่ียวกับการใชส้ ัตว์ทดลองหรอื แสดงใน การแสดงโครงงานมดี งั น้ี

ลงมอื ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ | หนา้ 4 ข้อกำหนดเก่ยี วกบั การใช้สัตว์มาทดลอง หรอื แสดงในการแสดงโครงงาน 1. สัตวท์ ีจ่ ะนำมาใชใ้ นการศึกษา หรอื ทดลองจะต้องได้รบั การดูแลอย่างดีทั้งในแง่การให้อาหาร ท่ีอยู่ และการทำความสะอาด 2. ในการทดลองทใี่ ชส้ ัตว์ท่ีมีกระดกู สันหลงั จะต้องกระทำเพยี งเท่าที่จะทำให้สัตว์เกิดอาการบางอย่าง ทส่ี ังเกตเหน็ ได้ชัดเท่านั้น หลังจากนั้นจะต้องบำรุงเลี้ยงดูให้สัตว์นัน้ ๆ กลบั มสี ภาพสมบูรณ์ดังเดิม ควรระมัดระวงั มิให้สัตว์ตัวใดตวั หน่ึงถูกทดลองจนถึงแกค่ วามตายเป็นอันขาด 3. การทดลองทุกชนิดทีอ่ าจทำให้สตั ว์ทม่ี ีกระดกู สันหลังไดร้ บั ความเจ็บปวดหรือทรมานควรจะกระทำ โดยใช้ยาสลบที่เหมาะสมและภายใต้การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดของอาจารย์หรือผู้รู้ทาง การแพทย์ 4. การทดลองกับสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังควรกระทำในกรณีที่ต้องการจะค้นคว้าหาความรู้ใหม่เทา่ นน้ั และตอ้ งมกี ารเขยี นโครงงานทดลองทง้ั หมด เพือ่ ขอความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาก่อน 5. กรงที่ใช้ขังสัตว์ต้องมีขนาดใหญ่พอสมควรกับสัตว์แต่ละชนิด ถ้าสัตว์ที่ใช้ทดลองเป็นหนูควรหา เหยื่อหรอื วัตถุอื่น ๆ ไว้ในกรงให้มันกดั หรือแทะเล่น ถ้ามีสิ่งประดิษฐ์ (เช่น ล้อถีบจักร) ให้มันออก กำลงั เล่นก็ยิ่งดี 6. ตู้เลี้ยงปลาควรใช้วัสดุกันรั่วและควรเตรียมเพื่อเหตุฉุกเฉิน เช่น ภาชนะ หรือวัสดุซับน้ำไว้ใกล้มือ เมื่อน้ำเกิดหกหรือตู้เกิดรั่วขึ้น ควรใช้เครื่องพ่นอากาศด้วย ถ้าจำนวนปลาทั้งหมดที่นำมาแสดงมี จำนวนมาก โดยทั่ว ๆ ไปปลาขนาด 2.5 เซนติเมตร จะต้องใช้น้ำประมาณ 3,800 ลูกบาศก์ เซนตเิ มตร 7. ควรจัดเตรียมสว่ นทเ่ี ปน็ พืน้ ทบ่ี นบกสำหรบั สัตวป์ ระเภทคร่ึงน้ำครึ่งบกไวด้ ว้ ยไมใ่ ช่ให้อยูแ่ ต่ในนำ้ 8. การขนย้ายสตั ว์เพื่อนำไปแสดง หรือนำไปทดลองต้องกระทำด้วยความระมัดระวงั เพอ่ื ป้องกันมิให้ เกดิ ปญั หาเร่อื งการเปลยี่ นแปลงสภาพแวดล้อม จนสตั วป์ รับตวั ไม่ทนั 9. จะตอ้ งวางมาตรการท่เี หมาะสม เพื่อปอ้ งกนั มใิ หเ้ กิดการยวั่ เยา้ หรือทารณุ สตั ว์ 10. สัตว์ทม่ี ีกระดกู สันหลังบางชนิด โดยเฉพาะประเภทดรุ า้ ยจะต้องถูกเลี้ยงไวใ้ นทเี่ ฉพาะ หรือในกรง ทแี่ ข็งแรง 11. โครงงานระดับนักเรียนไม่ควรใชส้ ัตว์ทดลองที่มีพษิ 12. สุนัข แมว หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ที่มีขนาดใหญ่ที่จะนำมาในงานจะต้องมีใบรับรอง สขุ ภาพจากสัตวแ์ พทย์ 13. อาหารสตั วค์ วรเก็บไวใ้ นราง หรือภาชนะสำหรบั ใส่อาหาร โดยเฉพาะเพ่ือป้องกนั เชื้อโรค แต่ท้ังน้ี ขึ้นอยู่กบั วัตถปุ ระสงค์ของแต่ละโครงงานและการอนมุ ัติตามความเหมาะสมเฉพาะกรณี 14. กรงสัตว์หรือที่เลี้ยงสัตว์จะต้องมีประตูปิดอย่างแข็งแรง เพื่อป้องกันมิให้สัตว์หลบหนีหรือเปิด โอกาสใหผ้ ูอ้ ื่นแอบปลอ่ ยใหส้ ัตวอ์ อกมาโดยมไิ ด้รับอนุญาต

ลงมอื ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ | หนา้ 5 เร่ืองที่ 2 การรวบรวมข้อมลู -------------------------------------------------------------------------------------------------------- การวบรวมข้อมูลการศึกษาทดลองเป็นขั้นตอนที่สำคัญ เพราะนักเรียนจะต้อง วางแผนออกแบบการบนั ทึกข้อมูลว่าจะเก็บขอ้ มูลอะไรบ้าง เก็บอย่างไร ใช้เวลานานแคไ่ หน แล้วนำขอ้ มลู จากการบันทกึ รายละเอยี ดมานำเสนอในรูปแบบทต่ี า่ งกัน อันประกอบด้วย ขอ้ มลู เชิงปริมาณ เช่น ตารางบนั ทกึ การเจริญเติบโตของตน้ ผกั คะน้า ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น พฤติกรรมของปลากัด จะเป็นการบรรยายลักษณะ พฤติกรรมที่ปรากฏขณะทดลอง หรืออาจจะนำเสนอข้อมูลลักษณะของภาพถ่าย เช่น การ สำรวจพรรณพชื หรืออาจ นำเสนอในรูปของส่ือคอมพิวเตอร์ วีดิทัศน์ ฯลฯ ตวั อยา่ งการบนั ทกึ ผลการทดลองทเ่ี ป็นขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ ผลการการทดลองที่ 1 เร่ือง การหมกั ฮอร์โมนผลไม้ ชนิด ลักษณะท่ัวไป สี กลน่ิ ผลไม้ที่สับตกตะกอนอยู่ สขี องน้ำขุ่นออกเหลือง มีกล่นิ คลา้ ย EM ที่นำมาผสม ฮอร์โมนกล้วย ดา้ นลา่ งของขวด และน้ำ สีของกลว้ ยเปน็ สขี าว อยเู่ หนอื ผลไม้ เหลือง ฮอร์โมน ผลไม้ทส่ี ับตกตะกอนอยู่ สีของนำ้ ขุน่ ออกเหลือง มีกลิน่ คลา้ ย EM มะละกอ ด้านลา่ งของขวด และน้ำ สขี องมะละกอมสี ี ทน่ี ำมาผสม อย่เู หนอื ผลไม้ เหลอื งส้ม ฮอร์โมนมะมว่ ง ผลไมท้ สี่ ับตกตะกอนอยู่ สขี องนำ้ ขนุ่ ออกเหลือง มีกลิน่ คลา้ ย EM ด้านลา่ งของขวด และน้ำ สีของมะม่วงมีสเี หลือง ที่นำมาผสม อยูเ่ หนอื ผลไม้ ฮอร์โมนผลไม้ ผลไม้ทีส่ บั ตกตะกอนอยู่ สีของน้ำขุ่นออกเหลือง มีกลิน่ คล้าย EM รวม ดา้ นล่างของขวด และน้ำ สขี องผลไม้เป็นไปตามสี ท่นี ำมาผสม อย่เู หนอื ผลไม้ ของผลไม้ชนดิ น้ันทีส่ ุก งอม

ลงมอื ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ | หนา้ 6 ตวั อย่างการบันทกึ ผลการทดลองที่เปน็ ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ ผลการทดลองที่ 2 การเจริญเตบิ โตของผักคะน้า ตารางท่ี 1 แสดงการเจริญเติบโตของต้นผกั คะน้าในสปั ดาห์ท่ี 1 ฮอร์โมนทีใ่ ช้ฉีด จำนวนใบ ความกวา้ ง ความยาวใบ ความสูง หรือพน่ (ใบ) (cm) (cm) (cm) 3 1.0 1.0 1.9 ฮอร์โมนกลว้ ย 2 1.0 1.0 1.8 ฮอร์โมนมะละกอ 2 1.0 0.9 1.8 ฮอร์โมนมะม่วง 3 1.0 1.0 2.0 ฮอรโ์ มนผลไม้รวม จากตารางที่ 1 พบว่า ต้นผักคะน้ามีความสูงมากที่สุดเมือฉีดพ่นด้วยฮอร์โมนผลไม้ รวม รองลงมา คอื ฮอรโ์ มนกล้วย สว่ นฮอร์โมนมะละกอ ฮอรโ์ มนมะม่วง มีความสงู เท่ากัน จำนวนใบของผักคะน้าที่ฉีดด้วยฮอร์โมนกล้วยและผล ไม้รวมเท่ากันแต่มีจำนวน มากกว่าฮอร์โมน มะละกอและฮอร์โมนมะม่วง ส่วนความกว้างของใบที่ฉีดพ่นด้วยฮอร์โมน ท้งั สี่ชนิดไม่แตกตา่ งกัน

ลงมอื ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ | หนา้ 7 บรรณานกุ รม ถวัลย์ มาศจรสั และมณี เรืองขำ. แนวการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน (Project) เพ่ือพัฒนาการเรยี นรูผ้ ู้เรียน. กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธารอักษร จำกัด, 2549. บรู ชัย ศิริมหาสาคร. การทำโครงงานวิทยาศาสตร.์ กรุงเทพมหานคร: บุ๊ค พอยท์, 2548. ประดิษฐ์ เหลา่ เนตร์. เทคนิคการสอนและการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร : บริษทั เซน็ เตอร์ ดีสคัฟเวอรี จำกดั , 2542. ภพ เลาหไพบลู ย.์ แนวการสอนวิทยาศาสตร.์ พมิ พ์ครง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช จำกัด, 2542. วมิ ลศรี สวุ รรณรัตน์. กระบวนการเรียนรูโ้ ครงงานวทิ ยาศาสตร์. สารปฏริ ูป. ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 15 (มิถุนายน), 2542. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. คู่มอื วัดผลประเมินผลวทิ ยาศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร : ซีเอ็ดยเู คชั่น, 2555. สำนกั งานคณะกรรมการการมัธยมศึกษาแหง่ ชาติ. การจดั การเรยี นรู้สูค่ วามเปน็ เลิศ ด้านวิทยาศาสตร.์ กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พก์ ารศาสนา, 2542.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook