ดา้ นที่ 1 ดา้ นการจัดการเรยี นการสอ1น 1.1-1.2
โรงเรียนศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน 2 กลุ่มสาระการงานพืน้ ฐานอาชพี และเทคโนโลยี >> ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 สาขางานช่างอตุ สาหกรรม 1. ชอ่ื วิชา : ง 32262 ชา่ งเดินสายไฟฟ้าในอาคาร 6 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ (120 ชวั่ โมงต่อปี) จานวน 3.0 หน่วยกติ คาอธิบายรายวชิ า (Course Description) ศึกษาชนิดของไฟฟ้า แหลง่ ท่มี าของไฟฟา้ กฎความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ านทางไฟฟา้ การปฐม พยาบาล วงจรไฟฟา้ แบบอนุกรม ขนาน แบบผสม ลักษณะและการใชง้ านของเครอ่ื งมือวัดทางไฟฟ้า เครื่องมอื ในงานไฟฟา้ อปุ กรณป์ ระกอบในการเดนิ สายไฟฟา้ หลอดไฟฟา้ ชนิดต่าง ๆ สายไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ สญั ลักษณ์ในงานไฟฟ้า การอ่านแบบไฟฟ้าและกฎการเดนิ สายไฟฟ้า ปฏิบัติการตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รม ขนาน แบบผสม ใช้งานเครอื่ งมือวัดทางไฟฟา้ เครื่องมือในงาน ไฟฟ้าไดป้ ลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน เลอื กใช้อปุ กรณ์ประกอบในการเดินสายไฟฟ้า หลอดไฟฟา้ ชนดิ ต่าง ๆ และสายไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ อา่ นแบบไฟฟา้ และ สญั ลักษณใ์ นงานไฟฟา้ ได้ เพ่อื ให้มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การประกอบอาชีพงานไฟฟ้า มีความชานาญในทักษะและ เทคนคิ อาชีพงานไฟฟา้ และมีเจตคตทิ ดี่ ีต่อการประกอบอาชีพทส่ี จุ ริต 2. ครผู ู้สอน สมนกึ แสนปวน 3. ห้องเรยี น โรงฝกึ งาน 4. วัตถปุ ระสงค์รายวิชา (Course Objective) 4.1. บอก ประวัติ ความเปนมาของไฟฟา้ ได้อย่างถูกต้อง 4.2. อธบิ ายโครงสรางของอะตอมไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 4.3. อธิบายการเกิดอเิ ลก็ ตรอนและการเคลื่อนท่ีของกระแสไฟฟา้ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 4.4. บอกแหล่งท่ีมาของไฟฟ้าไดอ้ ย่างถกู ต้อง 4.5. บอกชนิดของไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 4.6 อธบิ ายระบบส่งจ่ายไฟฟ้าได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 4.7. บอกลกั ษณะวสั ดุอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นงานติดตงั้ ไฟฟ้าภายในอาคารชนิดตา่ งๆได้ถูกต้อง 4.8 บอกคุณสมบตั ิและการนาไปใช้งานวสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใช้ในงานติดต้ังไฟฟา้ ภายในอาคารชนดิ ต่างๆได้ถูกต้อง 4.9 บอกลกั ษณะเครื่องมือท่ีใช้ในงานตดิ ต้งั ไฟฟ้าภายในอาคารชนดิ ตา่ งๆไดถ้ ูกต้อง 4.10. บอกคุณสมบัติของเครื่องมือทใี่ ช้ในงานติดต้งั ไฟฟ้าภายในอาคารชนดิ ต่างๆไดถ้ ูกต้อง 4.11. อธิบายวธิ กี ารใช้เครื่องมือที่ใช้ในงานตดิ ตงั้ ไฟฟ้าภายในอาคารชนิดตา่ งๆได้ถูกต้อง 4.12. บอกวิธีการเดนิ สายไฟฟา้ แบบเปดิ ไดถ้ ูกต้อง 4.13. อธิบายข้ันตอนการเดินสายไฟฟา้ แบบเปิดได้ถกู ต้อง 4.14 อธบิ ายเทคนิควิธกี ารเดินสายไฟฟ้าแบบเปิดได้ถกู ต้อง
3 4. วตั ถปุ ระสงคร์ ายวิชา (Course Objective) 4.15. สามารถเดินสายไฟฟ้าแบบสายเดยี่ วได้ถูกต้อง 4.16. สามารถเดินสายไฟฟ้าแบบสายคไู่ ด้ถูกต้อง 4.17. สามารถเดนิ สายไฟฟ้าตามสัญลักษณแ์ บบงานได้ถูกต้อง 4.18. สามารถตรวจสอบความปลอดภยั ของระบบไฟฟ้าภายในโรงเรียนไดถ้ ูกตอ้ งและปลอดภยั 4.19. สามารถออกแบบและเดินสายไฟฟ้าได้ถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน (Learning Activities) 1. บรรยายในชัน้ เรยี นและการซักถามระหวา่ งการบรรยาย บรรยายพร้อมสาธิต 2. ค้นควา้ เพิ่มเติมจากแหลง่ การเรยี นรู้นอกห้องเรียน (Internet/ห้องสมดุ ) 3. นักเรียนฝกึ ปฏิบัตงิ านจากกจิ กรรมการเรยี นรู้ประจาหนว่ ยเรยี น 6. เคา้ โครงวชิ าที่สอน (Course Contents) ครง้ั ที่ หนว่ ยเรียน เน้ือหา จานวนช่ัวโมง 4 1 1 ประวตั ิความเปนมาของไฟฟาและทฤษฎโี ครงสรางอะตอม 6 1.1 ประวัติ ความเปนมาของไฟฟ้า 6 1.2 โครงสรางของอะตอม 1.3 การเกิดอเิ ลก็ ตรอน 2-4 2 แหลงกาเนดิ ไฟฟา ชนดิ ไฟฟาระบบสงจายไฟฟา 2.1 แหลงกาเนิดไฟฟา 2.2 คณุ สมบัติกระแสไฟฟาที่ไหลในวงจร 2.3 ชนดิ ของไฟฟา 2.4 ระบบการสงจายไฟฟา 5-7 3 วัสดแุ ละอุปกรณ ไฟฟา 3.1 คัทเอาท cutout ) 3.2 คารทริดฟวส์ 3.3 ฟวส FUSE ) 3.4 สายไฟฟา 3.5 สวติ ซ SWITCH ) 3.6 หลอดไฟฟา 3.7 หลอดฟลูออเรสเซนต์ 3.8 สตารทเตอร STARTER ) 3.9 บัลลาทส BALLAST ) 3.10 เตารับเตาเสยี บ 3.11 ขั้วหลอดไฟฟ้า 3.12 ผาเทปพนั สายไฟ
4 ครัง้ ท่ี หน่วยเรยี น เนือ้ หา จานวนช่ัวโมง 5-7 3 6 วสั ดุและอุปกรณ ไฟฟา 6 3.13 เข็มขดั รัดสาย( CLIP ) 3.14 แปนไม้ 6 3.15 ตมุ หรอื ลกู ถวย 48 8-10 4 เคร่ืองมอื ชางไฟฟา 4.1 คอน( HAMMER ) 4.2 คมี 4.3 ไขควง( Scew Driver ) 4.4 มลั ตมิ เิ ตอร์ 4.5 มีดหรือคัทเตอร CUTTER ) 4.6 หัวแรงไฟฟา 4.7 เลือ่ ยรอปากไม้ 4.8 สวานไฟฟา 4.9 บดิ หลา 4.10 เหลก็ นาศูนย CENTER PUNCH ) 11-13 5 ความรูเ้ กยี่ วกับการเดินสายไฟฟา้ ในอาคาร 5.1 หลักการและข้ันตอนการเดนิ สายไฟฟา 5.2 วิธกี ารเดินสายไฟฟาในบาน 5.3 การใสตะปู 5.4 การวัดระยะ 5.5 การตอกเข็มขัดรดั สาย 5.6 การรดี สาย และการรัดสาย 5.7 การตีเสนบนผนงั เพ่ือเดนิ สาย 5.8 เทคนิคการเดนิ สายไฟฟ้า 14-37 6 ฝกึ ทักษะการเดนิ สายไฟฟ้า 6.1 กิจกรรม 1 : การเดินสายไฟแบบเสน้ เด่ยี ว 6.2 กิจกรรม 2 : การเดินสายไฟแบบเส้นคู่ 6.3 กิจกรรม 3 : การเดินสายวงจรพร้อมอปุ กรณ์ 38-60 7 งานไฟฟ้ากบั ชวี ติ ประจาวนั 44 7.1 กิจกรรม 4 : งานตรวจความปลอดภยั เก่ยี วกบั ไฟฟ้าในเรือนนอน 7.2 กิจกรรม 5 : งานเดนิ สายไฟฟ้าภาคสนาม (สถานท่จี ริง) สอบกลางภาคเรียน & สอบปลายภาคเรียน หน่วยเรียน 1-4 รวม 120 ชม.
5 7. สดั สว่ นการให้คะแนน 1. การมาเรียน 20 คะแนน 2. จิตพิสัย 20 คะแนน 3. ฝึกทกั ษะการเดินสายไฟฟา้ กิจกรรม 1 : การเดินสายไฟแบบเสน้ เดย่ี ว 10 คะแนน กิจกรรม 2 : การเดนิ สายไฟแบบเสน้ คู่ 20 คะแนน กิจกรรม 3 : การเดนิ สายวงจรพรอ้ มอปุ กรณ์ 30 คะแนน 4. งานช่างไฟฟ้ากับชวี ิตประจาวนั กิจกรรม 4 : งานตรวจความปลอดภัยเก่ียวกบั ไฟฟา้ ในหอพัก 20 คะแนน กจิ กรรม 5 : งานเดินสายไฟฟ้าภาคสนาม (สถานทีจ่ ริง) 40 คะแนน 5. บนั ทกึ การเรียนรู้ 10 คะแนน 6. ใบวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน 20 คะแนน 7. สอบกลางภาคเรยี น 20 คะแนน บทท่ี 1,2 8. สอบปลายภาคเรียน 40 คะแนน บทที่ 3,4 รวม 250 คะแนน 8. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 1. นักเรียนจะต้องมเี วลาเรียนอย่างน้อย 80 % จึงจะมีสทิ ธสิ์ อบปลายภาคเรยี น 2. ประเมินผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั รายภาคตามสภาพจรงิ และสอดคล้องกบั เน้ือหา 3. เกณฑ์การประเมนิ ระดับผลการเรียน ใชเ้ กณฑ์ดังนี้ 80 – 100 ดีเยย่ี ม ระดบั ผลการเรยี น 4 75 – 79 ดีมาก ระดับผลการเรยี น 3.5 70 – 74 ดี ระดบั ผลการเรยี น 3 65 – 69 ค่อนข้างดี ระดบั ผลการเรยี น 2.5 60 – 64 นา่ พอใจ ระดบั ผลการเรยี น 2 55 – 59 พอใช้ ระดับผลการเรียน 1.5 50 – 54 ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ตา่ ระดับผลการเรยี น 1 0 – 49 ตา่ กว่าเกณฑ์ ระดับผลการเรียน 0
6 หนวยเรียนที่ 1 ประวัตคิ วามเปนมาของไฟฟา 2500 ปก อ นครสิ ตส ักราช ชนพวกตวิ ตนั ที่อาศยั อยแู ถบฝง แซมแลนตของทะเลบอลตกิ ใน ปรัสเฃยี ตะวนั ออก ไดพบหนิ สเี หลอื งชนดิ หนง่ึ ซงึ่ เมือ่ ถูกแสงอาทติ ยก จ็ ะมปี ระกายคลายทอง คณุ สมบัติพิเศษเม่อื โยนลงกองไฟมนั จะลกุ สวา งและตดิ ไฟไดเ รยี กวา อาํ พัน ฃึ่งเกดิ จากการทับถม ของยางไมเ ปน เวลานานๆเมื่อนําแทงอาํ พันมาถูดวยขนสตั วจะเกดิ ประกายไฟข้นึ ได ทาลีส ( THALES ) นักวิทยาศาสตรช าวกรีก ไดค นพบไฟฟา ขึ้น โดยการนาํ แทงอาํ พนั ถู กับผาขนสตั ว แทง อําพันจะมอี าํ นาจดูดสง่ิ ของเบาๆได เขาจงึ ใหช อื่ อํานาจนว้ี าไฟฟา หรอื อเิ ลก็ ตรอน ( ELECTRON ) ดร. วลิ เลยี่ ม กิลเบิรต ( DR. WILLIAM GILBERT ) นักวิทยาศาสตร ชาวองั กฤษ ไดทํา การทดลองโดยการนําเอาแทง แกว และแทงยางสนมาถกู บั ผา แพรหรือผา ขนสัตวแลว นาํ มาดดู สงิ่ ของเบาๆปรากฏวา ไดผ ลเชน เดยี วกับผลของนายทาลีสจึงใหช ่อื ไฟฟา ทเี่ กดิ ขน้ึ วา อิเลก็ ตรกิ ซิต้ี ( ELECTRIC CITY ) เบนจามนิ แฟรงคลนิ ( BENJAMIN FRANKLIN ) นกั วทิ ยาศาสตรชาวอเมริกนั ไดคนพบไฟฟา ในอากาศขนึ้ โดยการทดลองชกั วา วซ่งึ มกี ญุ แจผูกติดอยกู ับสายปาน ในขณะเกิด พายฝุ นเขาพบวาเมอ่ื เอามือไปใกลกุญแจกป็ รากฎประกายไฟฟามายงั มอื เขาจากการทดลองนี้ทาํ ให เขาคน พบเกย่ี วกับปรากฎการณ ฟาแลบ ฟา รองและฟา ผานับตั้งแตนน้ั มาก็ประดษิ ฐส ายลอ ฟา ได เปนคนแรก
7 วอลตา ( VOLTA ) นักวิทยาศาสตรชาวอิตาเลียน ไดค น พบไฟฟา ท่เี กดิ ขนึ้ จากการทาํ ปฏิกิรยิ าทางเคมี โดยการนําเอาวัตถุตางกนั 2 ชนิดเชน ทองแดงกบั สงั กะสีจุม ในนาํ้ ยาเคมเี ชน กรด กํามะถัน โลหะ 2 ชนิดจะทําปฏิกริ ิยาทางเคมีทําใหเกดิ ไฟฟาขนึ้ ไดซ ่ึงตอมาภายหลงั ววิ ฒั นาการมา เปน แบตเตอรี่ ถานไฟฉาย ไมเคิล ฟาราเดย (MICHAEL FARADAY)นกั วิทยาศาสตรช าวอังกฤษไดคน พบไฟฟา ท่ี เกิดจากอํานาจแมเ หล็โดยนําขดลวดเคลอื่ นทีต่ ัดผานสนามแมเ หลก็ ทาํ ใหเ กิดไฟฟา เหน่ียวนาํ ข้ึนใน ขดลวด ตอมาภายหลังไดถ ูกนํามาประดษิ ฐเ ปนเคร่ืองกาํ เนิดไฟฟา
8 โทมัส อัลวา เอดิสัน ( THOMAS A.EDISON ) นกั วิทยาศาสตรช าวอเมรกิ ัน ไดป ระดิษฐ หลอดไฟฟา ขนึ้ เปนคนแรกและประดษิ ฐอ ปุ กรณไ ฟฟาอกี หลายอยา งเชน เครอ่ื งฉายภาพยนตร หบี เสยี งเคร่อื งขยายเสยี งจนไดรบั ฉายาวาเปน พอ มดแหงวงการอตุ สาหกรรม อะเล็กซานเดอร เกรแฮม เบลส(ALEXANDER G. BELL) นักวทิ ยาศาสตรช าวอิตาเลยี น ไดประดษิ ฐโ ทรศัพทข ้ึเปน คนแรก มารโ คนี ( MARCONI ) นกั วทิ ยาศาสตรช าวอิตาเลยี นไดคนพบการสง สญั ญาณวทิ ยุ เปนตน วลิ าส กมลลานนท, โครงงานไฟฟา อเิ ลก็ ทรอนิกส : 2 –3 หนา
9 โครงสรางของอะตอม ทุกสง่ิ ทกุ อยางท่มี ีอยูในโลกและทีส่ ามารถมองเห็นไดลว นเปนสสาร ( Matters ) คอื ส่ิงทีม่ ี ตัวตน มนี ้าํ หนักและตองการทอี่ ยู มันจะอยใู นรปู ของเหลว ของแข็ง และ กาซ ตวั อยางเชน เหลก็ กอนหิน ไม เปนสสารทีอ่ ยูในรูปของแขง็ น้าํ แอลกอฮอล นํา้ มนั เปน สสารที่อยใู นรปู ของเหลว สว นออกซิเจน ไฮโดรเจน คารบ อนไดออกไซด เปนสสารที่อยูในรูปของกาซ สสารท่ีมอี ยูจ ะเกดิ จากการรวมตวั ของ โมเลกลุ ( Molecule ) หลายๆพนั ลานโมเลกุลรวมตวั กนั เปน สสาร สว นโมเลกลุ เกดิ จากการรวมตัวของ อะตอม ( Atom) อนุภาคทเ่ี ลก็ ท่ีสดุ ของธาตุ หลายๆพนั ลา นอะตอม ภายในอะตอมนั้นประกอบดว ยสวนที่เปนแกนกลางหรอื อยใู จกลางเรียกวา นวิ เคลียส ( Neucleus )ภายในนวิ เคลยี สประกอบไปดว ย โปรตอน ( Proton ) ซึง่ มคี ณุ สมบตั ทิ างไฟฟา เปน ประจไุ ฟฟา บวก และ นวิ ตรอน ( Neutron ) จะไมม คี ณุ สมบตั ทิ างไฟฟา คอื เปนกลางทางไฟฟา อีก สว นหน่ึงคอื อเิ ลก็ ตรอน ( Electron ) เปนอนภุ าคเล็กๆทม่ี ีคุณสมบัตทิ างไฟฟา เปน ลบ ซง่ึ จะโคจร รอบๆนิวเคลยี สดว ยความเรว็ สงู และวงโคจรของมนั อาจมีเพียงวงเดยี วหรอื หลายวงก็ได จะมี ลกั ษณะคลายระบบสรุ ิยจักรวาลที่มดี วงอาทิตยเปนแกนกลางและมีดาวนพเคราะหโ คจรอยูร อบๆ ภาพท่ี 1 แสดงโครงสรางของอะตอม
10 การเกดิ อิเล็กตรอน อเิ ล็กตรอนที่เคลอ่ื นท่ีโคจรว่ิงรอบๆนสิ เคลียสจะว่ิงดวยความเร็วสูงจึงทาํ ใหอิเลก็ ตรอน สามารถที่จะเหวย่ี งตวั เองออกจากวงโคจรไดเสมอดว ยแรงหนีศนุ ยก ลางแตภายในนวิ เคลยี สซง่ึ มี ประจุไฟฟา บวกจะชว ยดงึ อเิ ล็กตรอนไมใหอ อกนอกวงโคจรไดง า ย แตถ ามีแรงจากภายนอกมา กระทาํ ใหหรือมากระทบอยางแรงจะทําใหอ เิ ลก็ ตรอนทโี่ คจรรอบๆนิวเคลยี สหลดุ ออกจากวงโคจร อเิ ล็กตรอนที่หลดุ ออกจากวงโคจรน้ีเรียกวา อเิ ลก็ ตรอนอิสระ ( Free Electron ) การทอี่ เิ ล็กตรอน เคลือ่ นที่ออกจากวงโคจรกจ็ ะทําใหอ ะตอมขาดอเิ ล็กตรอน และจะเหลอื โปรตรอนสวน โปรตรอนน้ันจะอยเู ดี่ยวๆไมไ ดจึงดึงเอาอิเล็กตรอนจากอะตอมถดั ไป และกเ็ กดิ การเคลอื่ นทีข่ อง อเิ ลก็ ตรอนจากอะตอมหนงึ่ ไปยงั อีกอะตอมหนง่ึ จึงสรปุ ไดวา กระแสไฟฟา คือ การเคลื่อนท่ขี องอเิ ลก็ ตรอนจากอะตอมหนึ่งไปยงั อะตอมหน่ึง ภาพท่ี 2 แสดงการเคลอื่ นท่ีของอเิ ล็กตรอนจากอะตอมหนึง่ ไปยงั อะตอมหน่งึ
11 หนว ยเรียนที่ 2 เร่ือง แหลง กําเนิดไฟฟา ชนิดไฟฟาระบบสง จา ยไฟฟา แหลง กาํ เนดิ ไฟฟา 1.ไฟฟาทีเ่ กดิ จากการขดั สี เกิดจากการท่นี าํ วตั ถุสองชนิดที่แตกตางกัน มาขัดสีกนั ทาํ ใหว ตั ถุชนิดหน่ึงเสยี อิเลก็ ตรอน ใหแกว ตั ถอุ ีกชนดิ หนึง่ ไฟฟา ทเ่ี กดิ จากการขดั สีนีเ้ รียกวา ไฟฟา สถติ วัตถทุ ีน่ ํามาขัดสีใหเกิดประจุ ไฟฟา ไดง า ย เชน แทงแกว แทงยางสน แทง อาํ พัน ผาไหม ผา ขนสัตว ผาแพร เปน ตน ภาพที่ 3 แสดงการขัดสีใหเกดิ ประจุไฟฟา 2. ไฟฟาทีเ่ กิดจากปฏกิ ริ ิยาทางเคมี เกิดจากการนาํ แทง ทองแดงกับแทงสงั กะสีจุม ลงในกรดกํามะถนั หรอื กรดซัลฟว รกิ ซ่ึงเปน สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต โลหะสองชนิดจะทาํ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมกี บั กรดกาํ มะถนั จะทาํ ใหเ กิดไฟฟา ขน้ึ ภาพท่ี 4 แสดงการเกดิ ไฟฟาจากการทาํ ปฏกิ ิริยาทางเคมี
12 3. ไฟฟาท่เี กดิ จากความรอน เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ นการทดลองนเี้ รยี กวา เทอรโ มคัปเปล ( THERMOCOUPLE )ซง่ึ ประกอบดว ยแผนทองแดง และแผนเหลก็ ยา้ํ หมุดใหตดิ แนนดว ยกนั ตรงปลายแทงโลหะทัง้ สองมี สายตอ ไปยงั เครอ่ื งมือวดั แรงดนั ไฟฟา หรอื โวลทมิเตอร เมือ่ ใชค วามรอ น เผา อิเล็กตรอนจะไหล ออกจากแผนทองแดง ผา นโวลทม เิ ตอรกลับไปยังแผนเหลก็ แลวไหลวนเวยี นเชนเดมิ ตราบที่ยังรอน อยู ภาพท่ี 5 แสดงไฟฟา ท่เี กดิ จากความรอน 4. ไฟฟาทเ่ี กดิ จากแสงสวาง เกิดจากสารทถี่ ูกแสงแดดแลว สารนสั้ ามารถทจ่ี ะปลอยอเิ ล็กตรอนไดเ ปน เวลาหลายสิบป อปุ กรณชนิดหนึ่งทีเ่ รียกวา โฟโตวอลเทอิกเซลลซง่ึ ประกอบดวยวตั ถุวางเปนชนั้ เมอื่ ถูกกบั แสง สวา ง อเิ ล็กตรอนท่เี กดิ ขนึ้ จะว่ิงจากดานบนไปสู โวลทมิเตอรแ ลว ไหลกลบั มายังชั้นลา ง เมอื่ ดูเข็ม มเิ ตอรจ ะเหน็ ไดช ดั เจนวา มกี ระแสไฟฟาเกิดขึน้ ภาพที่ 6 แสดงไฟฟาทีเ่ กดิ จากแสงสวาง
13 5.ไฟฟา ทเ่ี กดิ จากการเหน่ียวนําทางไฟฟา เกดิ จากการนําเอาแทงเหล็กเคล่ือนทผี่ า นขดลวดหรือ นําขดลวดเคล่ือนทผี่ า นสนามแมเ หลก็ จะเกิดแรงดนั ไฟฟาเหน่ยี วนาํ ขนึ้ ในขดลวด ภาพที่ 7 แสดงไฟฟาทเ่ี กดิ จากการเหนย่ี วนํา 6. ไฟฟาทีเ่ กดิ จากแรงกดดนั เมื่อเราพูดไปในไมโครโฟนคลืน่ ของแรงกดดนั ของพลังเสียงจะทาํ ใหแ ผน ไดอะแฟรม เคลือ่ นไหว ซงึ่ แผน ไดอะแฟรมจะไปทําใหขดลวดเคลือ่ นท่ตี ัดผา นสนามแมเหลก็ จึงทําใหเกิด พลงั งานไฟฟา และถกู สงไปตามสายไฟฟาจนถึงเครอื่ งรบั ภาพที่ 8 แสดงไฟฟาทเี่ กดิ จากแรงกดดัน
14 กระแสไฟฟาท่ไี หลในวงจรมคี ุณสมบตั ิดังตอ ไปนี้ 1. ทาํ ใหเ กดิ อํานาจแมเ หล็ก เชน แมเ หลก็ ไฟฟา กร่ิงไฟฟา 2. ทาํ ใหเกิดความรอน เชน เตารดี หมอ หงุ ขา วไฟฟา กาตม นํา้ 3. ทําใหเ กดิ แสงสวาง เชน หลอดไฟฟา 4. ทําใหเกดิ พลังงานกล หรือทางแมคแคนิคส เชน แรงหมนุ แรงดนั ไดแก พวกมอเตอรตางๆ 5. ทาํ ใหเกดิ การแยกธาตผุ สมธาตุ เชน การชุบทอง 6. ทําใหเกดิ รงั สตี า งๆ เชน รังสเี อก็ ซเรย เลเซอร 7. ทาํ ใหเกดิ เสียง เชน วิทยุ เทป เครอื่ งขยายเสยี ง 8. ทาํ ใหเ กดิ ภาพ เชน โทรทศั น วีดโี อ 9. ทาํ ใหเ กดิ ความเยน็ เชน แอร ตเู ยน็
15 ชนิดของไฟฟา ไฟฟา คือ พลงั งานรปู หนึง่ ทสี่ ามารถเปลี่ยนใหเปน พลงั งานรูปอ่นื ได เชนพลังงานแสง สวา งไดแก หลอดไฟฟา พลงั งานความรอ นไดแก เตารดี ไฟฟา หมอ หงุ ขาวไฟฟา พลงั งานกลไดแ ก มอเตอร สวานไฟฟา กบใสไม ไฟฟาสามารถแบงออกเปน 2 ชนิด คอื ไฟฟาสถิต กับไฟฟากระแส 1. ไฟฟาสถติ เปนไฟฟาทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาตเิ กดิ จากการเสยี ดสขี องวัตถุ 2 ชนิด การ เกิดปรากฎการณธรรมชาติ ฟาแลบ ฟา รอง ฟาผาฟาแลบ เกิดจากการถายเทอิเลก็ ตรอนในช้ัน บรรยากาศ จากกอ นเมฆ หนง่ึ ไปยังอกี กอนเมฆหนง่ึ ประจไุ ฟฟาลบเขาหาประจไุ ฟฟา บวกจะเกิด ประกายแสงออกมา ในขณะเดยี วกันก็เกดิ เสียงดงั ออกมาชัน้ บรรยากาศเกดิ การสน่ั สะเทือน ปรากฏ การทพ่ี บจึงเรยี กวา ฟา รอ ง 2. ไฟฟา กระแส เปน ไฟฟาทมี่ นษุ ยส รางขนึ้ มาเพือ่ ใชงานตามวัตถุประสงค ไฟฟา กระแส แบงออกเปน 2ชนิดคอื ไฟฟากระแสตรง ( DIRECT CURRENT ELECTRIC ) DC คือไฟฟา ทมี่ กี ารไหล ของกระแสไฟฟา ไปทิศทางเดียวกัน ตลอด มีขัว้ ของแหลง จายไฟฟา ออกมาอยางแนนอน ขัว้ บวก + ขว้ั - เชนแบตเตอรี่ ถา นไฟฉาย ไฟฟา กระสลบั ( ALTERNATING CURRENT ELECTRIC ) AC คือไฟฟา ทีม่ ีการ ไหลของกระแสไฟฟา เปลี่ยนทศิ ทางตลอดเวลา หรอื สลบั บวกลบอยตู ลอดเวลา เชนไฟฟาทใ่ี ชอยู ตามบานเรอื น มีแรงดันไฟฟา 220 - 240 VOLT 50 Hz มแี ตส ายไฟฟา กบั สายดิน
16 ระบบการสง จา ยไฟฟา ระบบไฟฟา ทก่ี ารไฟฟา สง จายไปยงั บา นเรือนทั่วไปน้ันเราเรยี กวา ระบบแรงดนั ต่ํา ซงึ แบงออกเปน 2 ระบบดว ยกนั ซ่งึ ในการใชง านนน้ั การไฟฟาจะพิจารณาใหเหมาะสมตามความ ตอ งการของผใู ชไฟฟาจะใชเ ปน ระบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส โดยพจิ ารณาจากปจจัยสําคญั 2 ประการคอื ปริมาณการใชไฟฟา ประเภทและจาํ นวนของเครือ่ งใชไ ฟฟา ทใ่ี ชภายในบาน ระบบไฟฟา 1 เฟส 2 สาย คอื ระบบไฟฟา ทม่ี สี าย 2 เสน คอื สายเสน ท่มี ไี ฟหนึ่งเสน เรียกวา สายเสนเฟสหรอื เสน ไฟ เขยี นแทนตัวอักษรวา L หรือ P และอกี เสนทีเ่ หลือไมม ีไฟเรยี กวา สายนวิ ตรอล ( Neutral ) หรอื สายศนู ยเ ขียนแทนดว ยอกั ษรยอ วา N ทดสอบไดโดยใชไขควงวดั ไฟ เม่อื ใชไ ขควงแตะ สายเสนเฟส หลอดไฟเรอื งแสงทีอ่ ยภู ายในไขควงจะติดแตเ มอื่ นาํ ไขควงมาแตะวดั สายนวิ ต รอล หลอดไฟเรืองแสงจะไมต ดิ ไฟฟา ทจ่ี ายไปตามบา นทอี่ ยอู าศัยทว่ั ไปเปนแบบ 1 เฟส แรงดนั ไฟฟา 220 โวลท ระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สาย คือเปน ระบบที่มสี ายไฟฟา 3 เสน และมสี ายนวิ ตรอล หรือสายดนิ เพ่ิมมาอีก 1 เสน จึง มสี ายรวม 4 เสนสามาร๔ตอ ใชงานในระบบ 1 เฟสไดโ ดยการตอ สายเฟสใดเฟสหนงึ่ และก็ตอ สายนวิ ตรอลอกี เสน หนง่ึ จะไดแ รงดนั ไฟฟา 220 โวลท และแรงดนั ระหวางสายเสน เฟส ดวยกนั จะมีคา 380 โวลท ระบบนจี้ ึงเรียกวา ระบบ 3 เฟส 4 สาย ระบบนีจ้ ึงเหมาะแกส ถานที่ ท่ใี ชไฟฟามากเชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย ( นายลอื ชัย ทองนิล. ชางไฟฟา ในบาน.2543 หนา 2 - 3 ) ภาพท่ี 9 รปู ระบบการสง จา ยไฟฟา 3 เฟส 4 สาย
17 ใบงานที่ 1 : งานส่ารวจแนวสายสง่ ไฟฟา้ แรงเคลือ่ นต่า (3เฟส 4 สาย) สถานที่ส่ารวจ ...จดุ ที.่ ......... แนวขอบเขต........................................................... ระยะเวลาด่าเนนิ งาน ..................................................... สมาชิกกลมุ่ 1. ................................................................................... ม...5...../......... 2. ................................................................................... ม...5...../......... 3. ................................................................................... ม...5...../......... 4. ................................................................................... ม...5...../......... 5. ................................................................................... ม...5...../......... 6. ................................................................................... ม...5...../......... 7. ................................................................................... ม...5...../......... 8. ................................................................................... ม...5...../......... กรอบการปฏบิ ตั ิงาน 1. ควรระบุระยะทาง ระหว่าง ช่วงเสาไฟฟ้าแต่ละต้น หรืออืน่ ๆ 2. สังเกตจานวนสายแต่ละช่วงเสา และระบุในงานให้ชัดเจน 3 สงั เกต และระบุ การจมั ไฟเพ่อื ใช้งานแตล่ ะสาย ชัดเจน 4 .ใช้ไม้บรรทดั หรือเสน้ ตรงในการ ออกแบบเสน้ สายไฟฟ้า
18 หนว ยเรยี นท่ี 3 เรื่อง วัสดุและอุปกรณไฟฟา คัทเอาท ( cutout ) คัทเอาท หรือ สะพานไฟฟา คอื อุปกรณไ ฟฟา ชนิดหน่ึงท่ีมหี นาท่ี สับหรือปลดวงจรไฟฟาจาก ภายนอกเขาสูบานภายใในคัทเอาทจ ะมีฟวสซ งึ่ มีหนา ท่ี ปอ งกันไมใ หก ระแสไฟฟา ไหลเกินกําหนด โครงสรางภายนอกจะทําจากกระเบ้ืองเคลอื บเซรามิค มีคุณสมบัติเปน ฉนวน ในการใชง านไมควร ตอ ทองแดงแทนฟว ส ภาพที่ 40 โครงสรางคัทเอาทภายใน คารท รดิ ฟว ส เปนอุปกรณไฟฟา ชนิดหนึ่งที่คอยปอ งกันไมใหก ระแสไฟฟาไหลเกินกําหนดเปนฟวสท ่ี บรรจุอยูในกระเบ้ือง ภายในบรรจุทราย ในกรณีท่ีฟว สขาดปุมท่ีอยูตรงปลายสุด ของกระบอกฟวส ดานในจะหลุดออกมาจะตองเปล่ยี นฟวสใหมจงึ จะใชงานตอไปได ภาพที่ 41 คาทรดิ ฟว ส
19 ฟวส ( FUSE ) ฟวส เปน อุปกรณไฟฟาชนิดหน่ึงซ่ึงตอไวใ นวงจรไฟฟาเพื่อปองกันไมใหกระแส ไฟฟา ไหลเขามาเกินพิกดั ของขนาดสายไฟเพราฟว สจ ะหลอมละลายตัดทางเดินของกระแส ไฟฟา ฟวสมหี ลายชนิดและหลายขนาดไดแก ฟว สเ สนลวด ฟวสกา มปู กระปุกฟว ส ขอ สําคัญหา ม นําทองแดงตอ แทนฟวส ฟว สเ สนลวด ฟว สกามปู กระปุกฟว ส ภาพที่ 42 ฟว สล ักษณะตา ง สายไฟฟา สายไฟฟาท่ีใชกันอยูภายในบา นน้ัน เปน สายไฟฟาท่ีใชก บั ไฟฟา แรงดันต่ํา คอื 220 V มี ลักษณะเปน สายไฟแกนคู หุมฉนวนมีลกั ษณะแบนภายในมีสายทองแดงหมุ ดวยฉนวน พีวีซีในแต ละเสน และผิวดานนอก สายประเภทน้ีจะผลิตออกมาเปนขด ขดละ 100 เมตร โดยขนาดท่ีใชก ันมี ขนาดหนา ตัดต้ังแต 0.5 -35 ตารางมิลลิเมตรการดูสายวามีขนาดที่ถูกตองหรือไมนั้น ก็ใหดูที่ เปลือกของสายไฟปกติจะระบุมาตรฐานการผลติ ขนาดสายอณุ หภูมิการใชง านและแรงดันไฟฟา สาํ หรับชนิดของสายอาจระบุเปนชอื่ VAF สาย พีวีซีคนู จี้ ะมีสายอยู 2 สดี วยกัน คือสดี ํา ใชเดินเปน สายเสน มีไฟ สีเทาใชเ ปนสายนิวตรอน ( สายดิน ) สายไฟฟาขนาด 2 × 1.5 SQ.MM ใชเ ดนิ หลอดไฟฟา , พัดลม สายไฟฟาขนาด 2 × 2.5 SQ.MM ใชเดินปลั๊ก ( เตา รบั ) สายไฟฟา ขนาด 2 × 4 SQ.MM ใชเดินสายเมนยอยภายในบาน สายไฟฟา ขนาด 2 × 6 SQ.MM ใชเ ดินสายเมนหลกั ภายในบา น
20 ภาพที่ 43 ตวั อยางรายละเอียดบนสายไฟฟา สวิตซ ( SWITCH ) คอื อุปกรณไฟฟา ชนิดหน่ึง ท่ที าํ หนาท่ีตดั ตอ วงจรไฟฟา เมื่อเราตอ งการ สว นใหญจ ะใช กับอุปกรณไฟฟาประเภทแสงสวา งภายในบานเรือน สวติ ซท างเดียวคือ สวติ ซทีเ่ ปด ปดไฟฟา ไดจ ดุ เดียว ภาพท่ี 44 รูปรา งลักษณะสวิทซท างเดียว
21 หลอดไฟฟา 220 V AC สวิตซ ภาพที่ 45 วงจรสวติ ซทางเดียว สวติ ซสองทางคอื สวติ ซทเี่ ปด ปด วงจรไฟฟา ได 2 จุด มักนิยมใชก ับบา น 2 ชั้น ภาพที่ 46 รปู รา งลักษณะสวิตซ 2 ทาง หลอดไฟฟา 220 V AC สวติ ซ 1 สวติ ซ 2 ภาพที่ 47 วงจรสวทิ ซ 2 ทาง การเลือกสวิตซท ่ีดใี ชงาน หนาสัมผสั ดี สปริงแข็ง ฉนวนทนทานไมแ ตกงาย
22 หลอดไฟฟา คืออปุ กรณไฟฟาชนิดหน่ีงท่ีใหแสงสวางในยามคํ่าคืนหลอดไฟฟา ท่ีนยิ มใชไดแ ก หลอดไฟธรรมดา ( INCANDESCENT ) คอื หลอดท่ีใชใสหลอดเปน ตัวเปลงแสง ลักษณะเปน กระเปาะแกวใส ภายในเปน สูญญากาศบรรจุกา ซเฉ่ือย, อารกอนคอยควบคุมความรอ นภายในหลอดแกว ใสหลอดทําจากโลหะ ทังสเตนมีอายุใชง านประมาณ 750 ชั่วโมง ขนาดกําลงั วัตตทีใ่ ชมดี งั น้ี 5 -7 w , 40 w , 60 w , 100 w และ 200 w ภาพที่ 48 หลอดไฟธรรมดา ( INCANDESCENT ) หลอดฟลอู อเรสเซนต คอื หลอดท่ีใชกา ชเปนตัวเปลงแสง บางทีเรียกวาหลอดเรืองแสง มรี ปู รางลกั ษณะเปน หลอดแกว ทรงกระบอกหรือทรงกลม โดยทั่วไปแลว หลอดชนิดนี้มักนิยมใชเ ปน รูปทรงกระบอก ยาว 1 ฟุต ( 10 w ) ยาว 2 ฟตุ ( 20 w ) ยาว 4 ฟตุ ( 40 w ) และชนิดขดเปนวงกลมก็มี 32 w ท่ี ปลายหลอดท้ังสองขางมีแกนขั้วหลอดย่ืนออกมาปด สนิทภายในมีใสหลอดท้ังสองขางหลอดดาน ในฉาบไวดวยสารเรืองแสงและบรรจุดวยไอปรอทท่ีชว ยใหอเิ ล็กตรอนภายในหลอดกระจายไดด ี ภาพที่ 49 หลอดฟลอู อเรสเซนต
23 สตารท เตอร ( STARTER ) คือ อุปกรณอ ยางหน่ึงท่ีเปนสวนหนึ่งของวงจรไฟฟา หลอดฟลอู อ เรสเซนตท ่ีชว ยสตารทวงจรใหทํางาน โดยมีคอนแทคคอยตัดตอ วงจร ภายในมีคอนเดนเซอรต อ ครอมเพือ่ ปองกันความถี่ไมใหไปรบกวนวงจรอ่ืน ภาพท่ี 50 รูปลักษณะของสตารท เตอร บลั ลาทส ( BALLAST ) คอื อปุ กรณไฟฟาอยา งหน่ึงท่ีมลี กั ษณะคลา ยกับหมอแปลงไฟฟา หนาท่ีเพิม่ แรงดันไฟฟา ในการจุดใสหลอดและคอยควบคุมการไหลของปรมิ าณของกระแสไฟฟา ไมใ หไ หลเกินวงจร ภาพที่ 51 รปู ลักษณะของบัลลาทส
24 เตา รับเตาเสียบ เปนอุปกรณไฟฟาชนิดหน่ึง ทใ่ี ชส ําหรบั ตอไฟฟา ไปใชง านตามสถานทต่ี า งๆ เตา รับมักจะใชงา นรว มกับเตาเสียบ เตา รับ นยิ มเรียกกนั วา ปล๊ักตัวเมีย เตาเสียบ นยิ มเรียกวา ปล๊ักตัวผู รูปเตารบั ชนิดตางๆ รปู เตา เสียบชนิดตางๆ ภาพที่ 52 แสดงเตารบั เตา เสียบชนดิ ตางๆ การเลือกปลก๊ั ทีด่ มี าใชง าน หนาสัมผสั แข็งตัวไมออนตัวฉนวนทนความรอนไมแ ตกงาย ข้วั หลอดไฟฟา คอื อุปกรณไ ฟฟาท่ีมีไวสมั ผัสกับข้ัวทีห่ ลอดไฟฟา เพื่อนํากระแสไฟฟาใหไ หลครบวงจรมี หลายชนิดดวยกัน เขี้ยวแบบแขวน เขี้ยวแบบติดฝาผนัง เกลียวแบบเเขวน เกลียวแบบติดฝาผนัง ภาพที่ 53 ข้ัวหลอดอินแคนเดสเซนต ( INCANDESCENT )
25 ภาพที่ 54 รปู ข้ัวหลอดฟลูออเรสเซนต ( FLUORESCENT ) ผาเทปพันสายไฟ คอื อุปกรณไ ฟฟาท่ีพนั สายไฟฟาหลังจากท่ีตอสายไฟฟา เรียบรอ ยแลว หรอื เอาไวพนั สาย ไฟฟาท่ีฉนวนหุมฉีกขาด เพือ่ ปองกันกระแสไฟฟา ร่ัวหรือลัดวงจร ฉนวนที่หุม มีชอ่ื วา พวี ีซี การ พนั ควรดึงเทปใหต ึงพอสมควร แตอยาดึงจนเทปยืดออกมาก การพันสายเทปรอบรอยตอ แบบหางเปย การพนั สายเทปรอบรอยตอแบบรับแรงดึง ภาพที่ 55 แสดงการใชผ าเทปพนั สายไฟฟา
26 เข็มขัดรัดสาย ( CLIP ) เข็มขัดรัดสายทําดว ยอลูมิเนียม มรี ูตรงกลาง 1 – 2 รู แลวแตล ะขนาดของสายซ่ึงมีขนาดเบอร ตา งๆ กนั ตั้งแตเ บอร 0 – 8 รตู รงกลางใชส ําหรับตอกยดึ ติดกับฝาผนังใหแ นน ระยะหา งระหวา งเข็ม ขัดรัดสาย โดเยทั่วไป 8 -12 ซม. หรือ 1หัวคอน ภาพที่ 56 รูปขนาดของเข็มขัดรัดสายเบอรต างๆ แปน ไม คอื วสั ดุอปุ กรณไฟฟาท่ีทําหนา ท่ียดึ ติดตั้งอุปกรณไฟฟา เชน สวทิ ซ ปล๊ัก หลอดไฟฟา มี ขนาด 4 x 4 นิว้ 4 x 6 น้วิ 4 x 8 นว้ิ 6 x 8 นวิ้ 8 x 12 นิ้ว เปนวสั ดุท่ที าํ มาจากฉนวนไฟฟา
27 ตุมหรือลูกถว ย คือ วัสดุอปุ กรณไ ฟฟา ท่ีใชสําหรับยดึ ติดสายไฟฟาภายนอกอาคาร ( สายเมน ) หรือภายใน โรงฝก งาน เพือ่ ยึดสายใหแ นน เชน ยดึ สายเมนจากเสาไฟฟา เขาไปยงั บาน ขอควรระวงั อยา นําลกู ถว ยท่ีแตกหรือชํารดุ มาใชงาน ภาพที่ 57 ตมุ หรือลกู ถวย
28 หนว ยเรียนท่ี 4 เรอื่ ง เครื่องมอื ชางไฟฟา 1. คอ น ( HAMMER ) คือเครือ่ งมือไฟฟา ทใ่ี ชตอกในงานเดินสายไฟฟา มี 2 ชนิดคอื คอนหงอน ทาํ ดว ยเหล็ก ดานหนา เรียบ หงอนดา นบนมไี วส าํ หรับถอนตะปู คอนเหลย่ี มเลก็ ใชตอกตะปใู น การเดินเข็มขัดรดั สาย หรอื ( ก๊ิป ) คอนหงอน คอ นเหล่ียมเลก็ ภาพที่ 25 แสดงคอนท่ใี ชเดนิ สายไฟฟา วธิ กี ารใชและการดูแลรกั ษา 1. อยาใชค อนหงอนงดั จนเกนิ กําลงั จะทําใหดามคอนหกั 2. รักษาหนา คอ นใหร าบเรยี บอยาใหโดนนาํ้ มัน 2. คีม เปน เครอ่ื งมอื ท่จี าํ เปน สาํ หรับการเดนิ สายไฟฟามาก ใชตัด จบั ดดั งอโคง และปอก สายไฟฟา คีมทใ่ี ชกบั งานไฟฟาโดยทวั่ ไป ดามทีใ่ ชจะหมุ ดว ยฉนวนจะชว ยใหผูปฏบิ ตั ิงานมีความ ปลอดภัยในการทาํ งาน
29 2.2 คีมปากจระเข หรือคมี ปากรวม คือเคร่อื งมือชางไฟฟา ทีม่ ลี ักษณะการนาํ ไป ใชง านไดห ลายอยา ง สามารถใชจ บั ชิ้นงาน และมฟี นสําหรับตดั ชิ้นงานอยภู ายในตวั เดยี ว ภาพท่ี 26 คมี ปากจระเข 2.3 คมี ปากนกแกว หรือคีมตดั คือเคร่อื งมือไฟฟาที่ใชส าํ หรบั ตัดสายไฟฟา มีรูปรา งปาก คมี มีลกั ษณะคลา ยปากนกแกว ดา มคมี จะหมุ ดว ยฉนวน ภาพที่ 27 คมี ปากนกแกว 2.4 คมี ปากจิ้งจกหรือคมี ปากยาว คอื เคร่ืองมอื ชา งไฟฟา ทใี่ ชส าํ หรับจบั ชิ้นงานทม่ี ี ขนาดเล็ก หรือในสวนทแ่ี คบที่คมี ปากจระเขไ มส ามารถทจี่ ะทํางานได ใชดดั โคง งอสาย ภาพที่ 28 คีมปากจง้ิ จกหรอื คมี ปากยาว
30 วิธีการใชแ ละการดูแลรกั ษา 1. ไมค วรใชค มี แทนคอ น 2.ไมค วรใหค มี โดนน้าํ หรอื เกบ็ ในท่ี ทมี่ คี วามช้นื 3.ไขควง ( Scew Driver )เปนเครอื่ งมือท่ีจําเปน อยางย่งิ ในงานไฟฟา เล็กๆ นอ ยๆภายใน บา น เชน ตอฟวสใ สสวติ ซ ใสด วงโคม ขนั ตะปเู กลียว ถอนตะปเู กลยี วออกจากทยี่ ดึ ไขควงมีหลาย ชนิดตามลักษณะการนาํ ไป ใชง าน ดา มหรอื กา นไขควงจะตองมีฉนวนหมุ เสมอ 3.1 ไขควงปากแบน (Scew Driver Standart ) คือไขควงทีม่ ีลกั ษณะปากแบนใชไ ขสกรูที่ มหี ัวสกรู ท่ีเปนลอ งเสน เดยี ว มีอยูหลายขนาดเวลาเลือกใชควรใชใ หห วั สกรูกบั ปลายไขควงมี ขนาดเหมาะสมกนั ดามจะหมุ ดว ยวัสดุทีเ่ ปน ฉนวน ภาพท่ี 29 ไขควงปากแบน 3.2 ไขควงปากแฉก (Scew Driver Fillip) คือไขควงท่มี ีลักษณะปากเปน แฉกส่แี ฉกใช ไขสกรูทม่ี ี หวั สกรู ทีเ่ ปนลอ งสี่แฉก มีอยหู ลายขนาดเวลาเลือกใชควรใชใหห ัวสกรกู บั ปลายไข ควงขนาด เหมาะสมกัน ดา มจะหมุ ดว ยวสั ดทุ ี่เปน ฉนวน ภาพท่ี 30 ไขควงปากแฉก ขอควรระวัง 1. ไมค วรใชไ ขควง ตอกแทนสกดั หรอื ตอกแทนคอน 2. ควรเลือกใชไ ขควงทีม่ ีปากลักษณะเดยี วกบั ชนดิ ของหวั สกรู 3.ใชไขควงทีม่ ีดา มเปนฉนวนในงานไฟฟา เทา น้ัน
31 4.เครือ่ งมือวดั ไฟฟา มัลตมิ เิ ตอร เปน เครอื่ งมอื วดั คา ทางไฟฟา ใชวัดคา แรงดนั ไฟฟา กระแสไฟฟา ความตานทานไฟฟา และอปุ กรณอิเล็กทรอนิกสมีทง้ั แบบเขม็ และแบบดจิ ิตอล สายวัด มี 2 เสน สายสแี ดง ขัว้ บวก สายสดี ําขว้ั ลบ กอ นท่ีจะทาํ การวดั ใหเ ล่อื นสแลคเตอรให ตรงกบั สง่ิ ท่ีจะวดั ภาพที่ 31 มลั ตมิ ิเตอรแบบเข็ม ภาพท่ี 32 มลั ติมิเตอรแ บบดจิ ติ อล ( ตัวเลข ) ขอ ควรระวงั 1. ศกึ ษาวิธกี ารใชเ ครือ่ งมอื ใหเ ขาใจกอ นนาํ ไปใช หากใชผ ดิ จะเกดิ การเสียหายจนทําให เคร่อื งพัง 2. หลังจากใชแ ลว ตอ งเก็บรกั ษาใหดอี ยา ใหตกหรอื กระแทกจะทําใหเครอื่ งเสียได
32 5.มีดหรอื คทั เตอร ( CUTTER ) เปนเครอื่ งมือชา งไฟฟา ทมี่ ีไวส ําหรบั ปอกสายไฟฟา ตดั ผา เทปขดู ฉนวนทาํ ความสะอาดสายไฟ ดามจะตอ งเปน ฉนวน ภาพที่ 33 มีดหรอื คัทเตอร ขอควรระวัง 1.การปอกสายไฟฟา ควรตะแคงมีดทาํ มุม 45 องศากบั สายไฟในลักษณะเดียวกนั กับการ เหลาดินสอ 2.อยา กดใบมดี ใหล ึกจนเกินไป เพราะใบมดี อาจตัดถูกลวดทองแดงภายในขาดหรือชํารดุ เสยี หายได 6.หวั แรง ไฟฟา คือเครอื่ งมือไฟฟาชนดิ หนงึ่ ทใ่ี ชบดั กรเี พอื่ เช่อื มประสานใหโ ลหะ 2 ชนดิ ตดิ กนั โดยใช ความรอนจากหัวแรงมีตะกวั่ เปนตวั ประสาน หวั แรงไฟฟา มี 2ชนดิ 6.1 หัวแรง แบบปน คอื หวั แรงทีม่ ีรูปรางลกั ษณะคลายปน หัวแรงแบบนี้จะมีความรอน สงู สวนใหญ จะใชก ับงานชางไฟฟา ในการตอ สายไฟฟา ปลายหัวแรงเม่อื ชาํ รุดสามารถถอดเปลีย่ น ได จาํ นวนวัตตท ม่ี ี เชน 120 วัตต 150 วตั ต ขอ ควรระวัง ไมควรกดสวทิ ซค า งไวเ พราะจะทาํ ให ความรอ นจากปลายหัวแรงรอ นมากขน้ึ จนทาํ ใหฉนวนพลาสติกทเี่ ปนโครงสรา งรอนและหลวม ละลายได ภาพที่ 34 หัวแรง ไฟฟา แบบปน
33 6.1หวั แรงแบบแช( ปากกา ) คอื หัวแรงทม่ี รี ปู รา งลกั ษณะเหมือนปากกา หวั แรงแบบนีจ้ ะ ใหความรอ นตาํ่ เหมาะกับงานอิเล็กทรอนกิ สท ่ัวๆไปเชน งานซอ มเครือ่ งรบั วิทยุ โทรทศั น ท่ปี ลายหวั แรง เมือ่ ชํารุดสามารถถอดเปลยี่ นใหมไ ด ภาพที่ 35 หัวแรง ไฟฟา แบบแช ขอ ควรระวงั 1. ตองรักษาปลายหัวแรงใหส ะอาดอยูเสมอ 2.เม่ือใชเสรจ็ แลว ทาํ ความสะอาดปลายหวั แรง แลวปลอ ยใหเ ยน็ ลง จึงเกบ็ เขาที่ (ไมควรเก็บเวลารอ น) เพราะจะทาํ ใหสายไฟปลั๊กเสียบชาํ รดุ เสยี หาย 7. เล่อื ยท่ีใชในงานไฟฟา มหี ลายชนิดดว ยกัน แลว แตก ารนาํ ไปใชงาน เล่ือยรอปากไมเปน รูปสเ่ี หลีย่ มผืนผามีฟน ละเอยี ดใชสําหรบั การบากแปนไมเ พ่อื ใหส ายไฟรอดเขาไปภายในแปน ไมได ภาพท่ี 36 เลอื่ ยรอปากไม ขอควรระวงั 1.อยา ปลอยใหเ ลอื่ ยเปย กนาํ้ 2.อยา วางเลอื่ ยใหถูกแดดรอนจดั 3.หลังจากใชง านทกุ คร้ังแลว ควรทําความสะอาดทุกครง้ั
34 7. สวาน คอื เครื่องมอื ชนิดหนงึ่ ท่เี ปลี่ยนจากพลงั งานไฟฟา เปน พลังงานกลมีไวเ จาะรู ในงานไฟฟา เจาะแปน ไม เจาะผนังปนู ยดึ อุปกรณไฟฟาใหต ิดกบั ฝาผนงั เชน พกุ ประกบั ลูกถว ย แปนไม ภาพท่ี 37 สวานไฟฟา ขอควรระวัง 1. เลือกสวานใหเ หมาะสมกบั งาน 2.ใสดอกสวา นใหแ นน กอนนาํ ไปใชง าน 3. เมื่อเลกิ ใชงานใหถ อดดอกสวา นออกจากตวั สวา น ทาํ ความสะอาด เกบ็ เขาทใ่ี ห เรียบรอย 9.บดิ หลา คือเครือ่ งมือไฟฟา ชนิดหนง่ึ ทีม่ ไี วเ จาะรูนําเพอื่ ที่จะใชส กรยู ดึ อุปกรณไฟฟา เขา กบั พื้นไมควรใชบิดหลา เจาะรูนาํ ใหเ ลก็ กวาขนาดของสกรูเพอ่ื สามารถขันสกรูใหงา ยขนึ้ ภาพที่ 38 บดิ หลา ขอควรระวงั 1. ไมค วรใชค อ นตอกบิดหลาเจาะรูแทนตะปู 2. ไมค วรนาํ บดิ หลามาใชก ับไมเ น้อื แขง็ หรอื คอนกรีต
35 10. เหล็กนําศูนย( CENTER PUNCH ) คือ เครื่องมอื ชา งไฟฟาชนดิ หนงึ่ ท่ีมีไว เดนิ สายไฟฟา บนพน้ื คอนกรีต จะใชเหล็กนําศนู ย ตอกผนงั คอนกรีตใหเ ปน รู วึง่ ชวยใหส ามารถตอก ตะปยู ดึ กป๊ิ ไดง า ยขึ้น ภาพที่ 39 เหลก็ นาํ ศนู ย ขอควรระวงั 1. ระวงั เศษปนู กระเดน็ เขา ตา 2. ระวงั ตอกเหล็กนาํ ศูนยแ ลว พลาดโดนมอื
36 หนว ยเรยี นท่ี 5 เร่ือง หลักการเดินสายไฟฟา หลักการและขั้นตอนการเดินสายไฟฟา เพอ่ื ใหน ักเรยี นรูแนวทางและสามารถปฏิบัตงิ านเกย่ี วกยั การเดนิ สายไฟฟา นกั เรียน ควรยดึ หลักการปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี 1. ความปลอดภัย ตอ งรูจักเลือกใชสายไฟฟาใหถกู ตองกบั ชนิดของอปุ กรณไฟฟา และรูจ ักวาง สายใหสวยงาม 2. ความประหยดั ตองกะระยะขนาดความยาวของสายไฟฟา ไดถกู ตอ ง จัดวางอุปกรณเ หมาะ สมทํางานไมราชา รจู กั เลอื กอุปกรณไ ฟฟาท่ีมีคุณภาพและราคาไมแ พงเกนิ ไป 3. ความถูกตอ งเปนระเบียบเรียบรอ ย ตอ งเดนิ สายไฟฟา ใหสวยงามเรยี บรอ ยไมโยงสายรุงรงั และเขาหวั สายไฟใหเ รยี บรอ ย 4. ความเหมาะสม ตองตดิ ตัง้ อปุ กรณไฟฟาใหเหมาะสมกับตําแหนง และตรงตอความตอ งการ ของ ผใู ช 5.เผอ่ื อนาคต ตอ งตดิ ตง้ั ขนาดสายไฟฟาใหม ีขนาดโตเผ่ืออนาคตจะตดิ ต้ังอุปกรณไ ฟฟา เพิ่มข้ึนจะ ไดไมเ กดิ อันตราย วธิ กี ารเดินสายไฟฟาในบา น 1. สาํ รวจชองทางการเดินสายไฟฟาอยา งละเอยี ด โดยเริม่ จากจดุ ทก่ี ระแสไฟฟา เขา บา นท่จี ดุ ใด และจะเดนิ สายไฟฟาตอไปอยางไร 2. สํารวจเคร่ืองใชไ ฟฟา วาจะตดิ ตง้ั ตรงไหนบาง 3. เขยี นแผนผังการเดินสายไฟฟา อยางละเอยี ดเพอ่ื ประกอบการเดนิ สายไฟฟา 4. ประมาณราคาสง่ิ ของและอปุ กรณไฟฟาทุกชนิดรวมท้งั สายทีใ่ ชดว ยทั้งหมด ( ณรงค ชศู รชี ัย และ บุญชู สนัน่ เสียง. งานชัง่ พ้ืนฐานสมบูรณแบบ. หนา 39 )
37 การเดินสายไฟฟาสามารถเดนิ สายได 2 วธิ ี 1. การเดินสายแบบเปด หมายถงึ การเดนิ สายไฟฟาไปตามฝาผนังหรือตามเพดาน โดยใช เขม็ ขัดรัดสายไฟเปนตวั ยดึ สายไฟ วิธีการใชเข็มขดั รดั สายมวี ธิ ีการและขอ ควรระวังดงั นี้ 1. หามใชเ ข็มขัดรัดสายกับสายไฟที่ไมม ฉี นวนหมุ เปน อนั ขาด 2. ใชต ะปูตอกยดึ ตรงกลางของเขม็ ขัดรดั สายกับผนังหรือเพดาน 3. ดึงสายไฟใหตรง วางสายไฟลงบนเข็มขดั รัดสายสอดปลายเข็มขดั เขา ที่รหู ัวเข็มขดั รดั สายบบี รัด สายไฟฟใหแ นน ทบุ ดวยคอ นเลก็ เบาๆใหส ายไฟและเขม็ ขดั รัดสายรัดแนน เรียบรอยสนทิ กับฝา ผนงั เข็มขัดรัดสาย ( CLIP ) เข็มขดั รดั สายหรอื กปิ๊ ใชร ัดสายไฟฟา ตามฝาผนังทําดว ยอลูมิเนียมบางๆ ที่มีรูสําหรับ ใสตะปู เข็มขัดรดั สายไฟฟา มีหลายขนาดดวยกันเชน เบอร ¾ , 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 ปกติการตอกเขม็ ขดั รดั สายใชร ะยะประมาณ 10 –12 ซม. หรือประมาณ 1 ชวงหวั คอน การเดินสาย ตดิ ฝาผนงั ไมจ ะใชต ะปยู ดึ ขนาด 3/8 นิ้ว แตถ า ตอกกับฝา จะตองใชขนาด ½ นวิ้ เปน อยางนอ ย ภาพที่ 70 เขม็ ขัดรดั สายขนาดตางๆ
38 การใสต ะปู เข็มขดั รัดสายจะมีอยู 2 ดา น ดา นหนง่ึ มีขอบเรยี บสว นอกี ดานหน่ึงจะมีขอบคม ซึ่งเกิดจาก การผลิต ใหห งายดานคมขึ้นเพราะจะทาํ ใหง ายตอการรีด ดงึ ตกแตง สายไฟใหส วยงามและแนน หนา นําตะปูใสลงไปในเขม็ ขดั รดั สาย พับหวั เขม็ ขัดใหท บั หวั ตะปู ท้ังนเี้ พอ่ื ใหง า ยในการจับตอก เม่ือตอกตะปไู ดร ะยะหนงึ่ แลว เปด หวั เข็มขดั รัดสายออก แลวทาํ การตอกตะปูจนมดิ เหมาะสม พบั ลกึ ไป พับนอยไป ภาพที่ 71 การใสตะปูและพับเข็มขดั รดั สาย การวัดระยะ เข็มขดั รัดสายจะมีสว นใหก ารเดินสายไฟสวยงามได ถา มรี ะยะทเี่ ทากันตลอดและเปย เสน ตรง ระยะของสายยังสําคัญมาในการรัดสายไมใ หห ลุดหลวมเคล่อื นทไี่ ด การตอกเขม็ ขัดรัดสายสาํ หรบั ผนังไมน น้ั ระยะหา งประมาณ 10 - 12 ซม ตึกท่ีฉาบปนู ระยะหางจะนอยลงมาประมาณ 8 - 10 ซม ระยะเขม็ ขัดรดั สายตรงชวงงอสายประมาณ 2 – 3 ซม ภาพท่ี 72 ระยะหางเข็มขดั รดั สายการเดนิ สายไฟฟา
39 การตอกเข็มขดั รัดสาย การตอกเข็มขดั รดั สายใชค อ นตอกท่ีเข็มขัดขนาด 200 กรมั ตอกเขม็ ขัดรัดสายตามระยะที่ ทําเครอื่ งหมายไว ใชม อื ทไี่ มไดจับคอ นจบั ปลายเข็มขัดรัดสายทย่ี ่นื ออกมา ใชคอนตอกตะปู ตอก พอตะปแู นน แลวเปดหวั เข็มขัดรัดสายออกแลว ตอกตะปจู นมดิ ถา เปนการเดนิ สายตามมมุ หรอื ขอบควรเดินใหช ดิ ทส่ี ดุ ไปตามมมุ หรอื ขอบน้ันเพ่อื ความ สวยงาม แตการตอกจะทําดวยความลําบากในขณะเปด หวั เข็มขดั รัดสายเพือ่ ตอกตอ จะตองหมนุ หางของเขม็ ขัดรดั สายเขาหาขอบหรือมุมเพื่องา ยในการรัดสาย ภาพที่ 73 การตเี ข็มขัดรัดสายตามขอบหรอื มมุ การตอกตะปุยดึ เขม็ ขัดรดั สาย หวั ตะปคู วรแนบพอดีกบั พนื้ ผนังหรอื เพดาน การเดนิ สาย จะแนบสนิท ไมโ กรงตวั และไมเ ปนอนั ตรายในการตอกไลสายตอ ไป ภาพที่ 74 ตวั อยางการตเี ข็มขดั รดั สายและการรัดสาย
40 การรีดสาย กอ นที่จะทําการเดนิ สายไฟนน้ั จะตองทจี่ ะรัดสายไฟที่จะเดนิ ใหเ รยี บเสยี กอ น หลงั จากที่ตอก เข็มขัดรดั สายแลว ก็นําสายที่รีดแลว มาเดนิ ตามเขม็ ขัดรดั สายรดั ทลี ะเข็มขัด ถาสายบดิ ใหใ ชห วั แม มือรดี ใหต รงหรอื ใชเ ศษผารีดใหต รง การรดั สาย รัดเข็มขัดใหแ นนแลว จึงพบั หวั เข็มขดั รัดสายตอจากน้ันใชมอื ดงึ สายใหต รงและตึงรัดเขม็ ขดั รดั สายตวั ตอไป ถา สายไมต รงใหใ ชม อื ดดั เบาๆและใชค อ นตอกไลส ายเบาๆ ทงั้ ดานบนสายและ ดานขางของสายพยายามดูสายท้ังดา นหนา และดานขา งใหแนบสนิทกบั พนื้ การเดนิ สายหลายเสน ดวยกันพยายามใหสายทง้ั หมดอยูชดิ กัน ( กรมวชิ าการ. คูม อื วิชาอาชพี หมวดชางอตุ สาหกรรม งานไฟฟา 1 . 2527 หนา 35 –37 ) ดา นหนา ดา นขาง สายคด สายโกง ภาพที่ 75 ตวั อยางการรัดสายคด และสายโกง
41 สายไฟฟา ทใี่ ชเดินสาย สายไฟฟาทีใ่ ชเ ดินน้ีเปน สายท่ีเราเรยี กตามชนิดของสายวา สาย VAF หมุ ฉนวน 2 ชนั้ คือ PVC / PVC ใชติดต้ังในอาคารทัว่ ไปท่ีใชแ รงดันไฟฟา ไมเ กิน 250 V ภายในมสี าย 2 เสน จะมสี ดี าํ และสีเทาโดยกาํ หนดใหส ดี าํ เปน สายมไี ฟ ( HOT LINE ) และสีเทาจะเปน สาย นวิ ตรอนหรือสาย ดิน ( NEUTRAL ) มอี ยดู วยกันหลายขนาด เลือกใชง านตามความเหมาะสมกบั งาน ขอ ควรระวงั การใชส ายจากมว นสาย ควรใชมอื ท้ังสองสอดเขา ที่กลางมวนแลว ทาํ การหมนุ มวน สายออก สายจะออกมาเปน แนวตรงไมบดิ ไปมา การตีเสนบนผนังเพอ่ื เดินสาย เชือกตเี สน มขี ายตามรา นคา ขายอปุ กรณไ ฟฟาท่วั ไป ทองตลาดเรียกวา บักเตา เชือกตเี สน นี้จะมว นอยูใ นลูกรอก เม่อื ดงึ ออกมาจะมฝี นุ สีแดงติดมาดว ย การตีเสน ใหย ึดปลายสายเขากบั ตัว ตะปู ดงึ เชือกใหต ึงแลว ใชมือดึงเชือกไปกระทบกบั ฝาผนงั อาคาร จะปรากฏเสน สแี ดงออกมาเปน แนว หมายเหตุ ผนงั คอนกรตี มกั มปี ญ หาเรอ่ื งการตอกตะปยู ดึ เข็มขัดรัดสาย แกไขไดโ ดยใชเหล็กนํา ศนู ยตอกนาํ ไปกอ นแลว จึงตอกเข็มขัดรดั สายเขาไป ( ลือชยั ทองนิล. คูม อื ชา งในบาน ชุด ชา งไฟฟาในบาน. 2543. ) ภาพท่ี 76 การตเี สน บนผนงั
42 เทคนิคการเดนิ สายไฟฟา 1. สายไฟฟา ที่ใชต องเปน สายทห่ี มุ ดว ยฉนวน ซึ่งสว นใหญจ ะเปนสายทใี่ ช โพลไี วนลิ คลอไรด ( PVC )เปน ฉนวน 2. เขม็ ขดั รดั สายตอ งไมทาํ ใฆเ ปลอื กนอกของสายชํารดุ 3. ระยะหา งของเขม็ ขดั รดั สายแตละตัว - ถาเปนไม 10 - 12 ซม - ถา เปนปูน 8 - 10 ซม 4. ระยะหางของสายกอ นถงึ อปุ กรณห รือเครอื่ งใชไ ฟฟา หรอื ชวงหกั ฉากประมาณ 2.5 - 3 ซม 5. การงอสายตองมรี ัศมีความโคง ไมนอ ยกวา 5 เทาของเสนผาศูนยกลางของเปลอื กนอกเพ่อื ปอ งกันเปลอื กนอกของสายชาํ รุด 6. เพื่อความสวยงามตาํ แหนง ของเขม็ ขดั รัดสายเมือ่ รดั สายควรอยตู รงกลางสาย ภาพท่ี 77 ตวั อยางการใชเขม็ ขดั รัดสายไฟฟา 7. การตอกตะปยู ดึ เข็มขดั รัดสายควรหนั หวั ของเข็มขัดรัดสายออกจากผนงั 8. การตอกตะปยู ดึ เขม็ ขดั รดั สายท่ชี ิดมุมควรใชเหลก็ สง ชว ย 9. ปลายสายทีเ่ ดนิ เขา ตลบั แยกสายหรอื แปนรองรับอปุ กรณไ ฟฟา ตางๆควรปอกไวลว งหนา กอ นการเดนิ สายควรใหฉนวนดา นนอกเหลือเลยเขาไปในตลับแยกสายหรดื แปนรองรบั อุปกรณ ประมาณ 1 ซม และเหลอื ปลายสายทจี่ ะเขาอปุ กรณป ระมาณ 10 – 15 ซม 10. ภายในสาย PVC จะมตี ัวนาํ อยู 2 เสนเสน หนงึ่ ฉนวนมีสดี าํ อีกเสนหนงึ่ ฉนวนมสี ายสีเทา 11. เพอ่ื ใหงายตอการตอวงจรตลอดจนการตรวจซอ มวงจร สายสดี ําจะเปน สายที่มีไฟ ( HOT LINE ) สายสีเทาจะเปน สายดิน ( NEUTRAL )
43 12. การคลส่ี ายออกจากมว นควรใชวิธีการคลายสายออกทลี ะรอบไมควรใชว ิธดี งึ สายออกจากขด เพราะจะทําใหส ายบิดงอ ยากในการท่จี ะรดี สายใหต รงและเปน ระเบยี บ 13. ในกรณที ่ีเดนิ สายไมตรงหรอื คดงอไมควรใชคอ นแตงสายโดยตรง ควรใชไมที่มีดานขางตรง วางทาบขา งๆสายท่เี ดนิ ไวแ ลว จึงใชค อ นตอกลงไปทด่ี านขา งของไมอกี ทีหน่งึ ภาพที่ 78 การใชไ มท าบเพอื่ ใหสายไฟทีเ่ ดนิ ตรง 14. กอ นตอไฟฟาเขา ไปในวงจรควรเชค็ วงจรใหแ นช ดั วาถูกตอ งเสียกอ น
36 ใบงานที่ 5 : การเดินสายวงจรพรอ้ 4ม4อปุ กรณ์ แบบฝึกทกั ษะที่ 1 8 36 20 10 45 45 คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนเขียนวงจรเพื่อการปฏิบัติจริง ได้แก่ สาย VAF อปุ กรณ์ในวงจร และ โคมไฟ ตามความเข้าใจของ นักเรียนและสามารถอธบิ ายวงจรจากการเขียนได้ ชือ่ สมาชิก : 1.............................ชั้น..../... 2............................ชน้ั ..../...
45 ใบงานที่ 5: การเดินสายวงจรพรอ้ มอปุ กรณ์ แบบฝึกทักษะที่ 2 36 36 45 4 445 8 คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนเขียนวงจรเพือ่ การปฏิบตั ิจริง ได้แก่ สาย VAF อปุ กรณ์ในวงจร และ โคมไฟ ตามความเข้าใจของ นกั เรียนและสามารถอธบิ ายวงจรจากการเขียนได้ ชือ่ สมาชิก : 1.............................ชั้น..../... 2............................ชัน้ ..../...
46 ใบงานที่ 5: การเดินสายวงจรพร้อมอุปกรณ์ แบบฝึกทักษะที่ 3 36 36 45 44 10 20 45 คาชี้แจง : ใหน้ ักเรียนเขียนวงจรเพื่อการปฏิบัติจริง ได้แก่ สาย VAF อุปกรณ์ในวงจร และ โคมไฟ ตามความเข้าใจของ นักเรียนและสามารถอธบิ ายวงจรจากการเขียนได้ ชื่อสมาชิก : 1.............................ชน้ั ..../... 2............................ชน้ั ..../...
47 ใบงานที่ 5: การเดินสายวงจรพรอ้ มอปุ กรณ์ แบบฝึกทักษะที่ 4 36 36 45 4 10 20 45 คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเขียนวงจรเพือ่ การปฏิบัติจริง ได้แก่ สาย VAF อปุ กรณ์ในวงจร และ โคมไฟ ตามความเข้าใจของ นกั เรียนและสามารถอธบิ ายวงจรจากการเขียนได้ ชือ่ สมาชิก : 1.............................ชั้น..../... 2............................ช้นั ..../...
36 ใบงานที่ 5 : การเดินสายวงจรพร้อม4อ8ปุ กรณ์ แบบฝึกทักษะที่ 5 6 36 20 8 45 4 45 คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเขียนวงจรเพื่อการปฏิบัติจริง ได้แก่ สาย VAF อปุ กรณ์ในวงจร และ โคมไฟ ตามความเข้าใจของ นกั เรียนและสามารถอธบิ ายวงจรจากการเขียนได้ ชื่อสมาชิก : 1.............................ช้ัน..../... 2............................ชน้ั ..../...
36 49 45 ใบงานที่ 5 : การเดินสายวงจรพร้อมอุปกรณ์ แบบฝึกทักษะที่ 6 36 6 8 20 คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเขียนวงจรเพื่อการปฏิบตั ิจริง ได้แก่ สาย VAF อปุ กรณ์ในวงจร และ โคมไฟ ตามความเข้าใจของ นกั เรียนและสามารถอธบิ ายวงจรจากการเขียนได้ ชือ่ สมาชิก : 1.............................ชัน้ ..../... 2............................ชน้ั ..../...
36 50 45 ใบงานที่ 5 : การเดินสายวงจรพรอ้ มอปุ กรณ์ แบบฝึกทักษะที่ 7 36 6 20 คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนเขียนวงจรเพื่อการปฏิบัติจริง ได้แก่ สาย VAF อปุ กรณ์ในวงจร และ โคมไฟ ตามความเข้าใจของ นักเรียนและสามารถอธบิ ายวงจรจากการเขียนได้ ชื่อสมาชิก : 1.............................ชัน้ ..../... 2............................ชัน้ ..../...
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120