Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานครูเพ็ญ.pdf-แปลง

งานครูเพ็ญ.pdf-แปลง

Published by chutikarn25647, 2020-07-30 08:16:06

Description: งานครูเพ็ญ.pdf-แปลง

Search

Read the Text Version

พระพทุ ธศาสนา นางสาว ชุติกาญจน์ อ่ิมเขียว ม.4/1 เลขท่ี2

ลกั ษณะประชาธิปไตย ในพระพุทธศาสนา 1. พระพทุ ธศาสนามีพระธรรมวินยั เป็นธรรมนูญ(กฎหมายสูงสุดพระธรรม) คือ คาสอนท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง พระวนิ ยั คือ คาสงั่ อนั เป็นขอ้ ปฏิบตั ิท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ิข้ึนเม่ือรวมกนั เรียกวา่ พระธรรมวนิ ยั ซ่ึงมีความสาคญั ขนาดที่พระพทุ ธเจา้ ทรงมอบใหเ้ ป็นพระศาสดาแทนพระองค์ ก่อนท่ีพระองคจ์ ะปรินิพพานเพียงเลก็ นอ้ ย 2. มีการกาหนดลกั ษณะของศาสนาไวเ้ รียบร้อย ไมป่ ลอ่ ยใหเ้ ป็นไปตามยถากรรม ลกั ษณะของพระพุทธศาสนาคือสายกลาง ไมซ่ า้ ยสุด ไมข่ วาสุด ทางสายกลางน้ีเป็นครรลอง อาจปฏิบตั ิค่อนขา้ งเคร่งครัดกไ็ ด้ โดยใชส้ ิทธิในการแสวงหาอดิเรกลาภตามที่ทรงอนุญาตไว้ ในสมยั ต่อมา เรียกแนวกลางๆ ของพระพุทธศาสนาวา่ วภิ ชั ชวาที คือศาสนาที่กล่าวจาแนกแจกแจง ตามความเป็นจริงบางอยา่ งกล่าวยนื ยนั โดยส่วนเดียวได้ บางอยา่ งกลา่ วจาแนกแจกแจงเป็นกรณี ๆ ไป 3. พระพุทธศาสนา มีความเสมอภาค ภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั บุคคลที่เป็นวรรณะกษตั ริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู รมาแตเ่ ดิม รวมท้งั คนวรรณะต่ากวา่ น้นั เช่นพวกจณั ฑาล พวกปุกกุสะคนเก็บขยะ และพวกทาส เมื่อเขา้ มาอปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งถูกตอ้ งแลว้ มีความเท่าเทียมกนั คือปฏิบตั ิตามสิกขาบทเท่ากนั และเคารพกนั ตามลาดบั อาวโุ ส คือผอู้ ปุ สมบทภายหลงั เคารพผอู้ ปุ สมบทก่อน

ลกั ษณะประชาธิปไตย ในพระพทุ ธศาสนา 4. พระภิกษใุ นพระพุทธศาสนา มีสิทธิ เสรีภาพ ภายใตพ้ ระธรรมวินยั เช่นในฐานะภิกษเุ จา้ ถิ่น จะมีสิทธิไดร้ ับของแจกก่อนภิกษุอาคนั ตุกะ ภิกษุท่ีจาพรรษาอยดู่ ว้ ยกนั มีสิทธิไดร้ ับของแจกตามลาดบั พรรษา มีสิทธิรับกฐิน และไดร้ ับอานิสงส์กฐินในการแสวงหาจีวรตลอด 4 เดือนฤดูหนาวเท่าเทียมกนั นอกจากน้นั ยงั มีเสรีภาพที่จะเดินทางไปไหนมาไหนได้ จะอยจู่ าพรรษาวดั ใดก็ไดเ้ ลือกปฏิบตั ิกรรมฐานขอ้ ใด ถือธุดงควตั รขอ้ ใดก็ไดท้ ้งั สิ้น 5. มีการแบง่ อานาจ พระเถระผใู้ หญ่ทาหนา้ ที่บริหารปกครองหมู่คณะ การบญั ญตั ิพระวนิ ยั พระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ิเอง เช่นมีภิกษผุ ทู้ าผิดมาสอบสวนแลว้ จึงทรงบญั ญตั ิพระวนิ ยั ส่วนการตดั สินคดีตามพระวินยั ทรงบญั ญตั ิแลว้ เป็นหนา้ ที่ของพระวนิ ยั ธรรมซ่ึงเทา่ กบั ศาล 6. พระพทุ ธศาสนามีหลกั เสียงขา้ งมาก ใชเ้ สียงขา้ งมาก เป็นเกณฑต์ ดั สิน เรียกวา่ วธิ ีเยภุยยสิกา การตดั สินโดยใชเ้ สียงขา้ งมาก ฝ่ายใดไดร้ ับเสียงขา้ งมากสนบั สนุน ฝ่ ายน้นั เป็นฝ่ ายชนะคดี

หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั วิทยาศาสตร์ กระบวนการวิทยาศาสตร์ กระบวนการพทุ ธศาสตร์ 1.ต้งั ปัญหาใหช้ ดั 1.ทกุ ข-์ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ 2.ต้งั คาถามชวั่ คราวเพอ่ื ตอบบททดส 2.หาคาตอบจากลทั ธิ อบ 3.ลองปฏิบตั ิโยคะ 3.รวบรวมขอ้ มลู 4.รวบรวมผดิ การปฏิบตั ิ 4.วิเคราะหข์ อ้ มลู 5.ผิดกเ็ ปล่ียน ถูกกด็ าเนินถึงจุดหมาย 5.ถา้ คาตอบชว่ั คราวถกู ต้งั ทฤษฎีไว้ 6.เผยแผแ่ ก่ชาวโลก 6.นาไปประยกุ ตแ์ กป้ ัญหา

หลกั การของพระพทุ ธศาสนา กบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ 1. ม่งุ เขา้ ใจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ -หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ มุ่งเขา้ ใจปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกิดข้นึ ตอ้ งการรู้วา่ อะไรเป็นสาเหตุ อะไรเป็นผลที่ตามมา - หลกั การพระพทุ ธศาสนามุ่งเขา้ ใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่นเดียวกนั แตต่ า่ งตรงที่ พระพุทธศาสนาเนน้ เป็นพเิ ศษเกี่ยวกบั วิถีชีวติ ของมนุษย์ จุดหมายปลายทางของพระพุทธศาสนาคอื สอนใหค้ นเป็นคนดีข้ึน พฒั นาข้ึน สมบรู ณ์ข้ึน 2. ตอ้ งการเรียนรู้กฎธรรมชาติ -หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ตอ้ งการเรียนรู้กฎธรรมชาติและหาทางควบคุมธรรมชาติ เนน้ การควบคุมธรรมชาติภายนอกมุง่ แกป้ ัญหาภายนอกวิทยาศาสตร์ 3. ยอมรับโลกแห่งสสาร สสาร หมายถึง ธรรมชาติและสรรพส่ิงท้งั หลายที่มีอยจู่ ริง รวมท้งั ปรากฏการณ์และความเป็นจริงตามภาวะวิสัย ซ่ึงสรรพสิ่งเหลา่ น้ีมีอยตู่ า่ งหากจากตวั เรา เป็นอิสระจากตวั เรา และเป็นส่ิงท่ีสะทอ้ นข้ึนในจิตสานึกของคนเราเมื่อไดส้ ัมผสั มนั อนั ทาใหไ้ ดร้ ับรู้ถึงความมีอยขู่ องสิ่งน้นั ๆ สสารมีคุณลกั ษณะ 3 ประการคอื 1.เคล่ือนไหว อยเู่ สมอ 2. เปล่ียนแปลง อยเู่ สมอ 3.การเคล่ือนไหวและการเปลี่ยนแปลง อยา่ งมีกฎเกณฑท์ ี่เรียกกนั วา่ กฎแห่งธรรมชาติ 4.ม่งุ ความจริงมาตีแผ่ -วทิ ยาศาสตร์น้นั แสวงหาความรู้จากธรรมชาติและจากกฎธรรมชาติท่ีมีอยภู่ ายนอกตวั มนุษย์ ไม่ไดส้ นใจเรื่องศีลธรรม เร่ืองความดีความชวั่ สนใจเพียงคน้ ควา้ เอาความจริงมาตีแผ่ วิทยาศาสตร์จึงมีท้งั คณุ อนนั ตแ์ ละมีโทษมหนั ต์ กระบวนการผลิตทางวทิ ยาศาสตร์ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม -คาสอนทางพระพทุ ธศาสนาน้นั เนน้ เรื่องศีลธรรม ความดีความชว่ั มุ่งใหม้ นุษยม์ ีความสุข อนั สูงสุดคือนิพพาน ฉะน้นั กระบวนการปฏิบตั ิธรรมในพุทธศาสนาจึงส่งเสริมใหม้ นุษยอ์ นุรักษธ์ รรมชาติ อนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม

การคิดตามนยั พระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์ วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ วธิ ีการแกป้ ัญหาแบบอริยสัจ 1.การกาหนดปัญหา 1.ข้นั กาหนดทกุ ข์ 2.การต้งั สมมติฐาน 2.ข้นั สืบสาวสมทุ ยั 3.การสงั เกตและการทดลอง 3.ข้นั นิโรธ 4.การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 4.ข้นั มรรคข้นั ที่ 1 5.การสรุปผล 5.ข้นั มรรคข้นั ท่ี 2 6.ข้นั มรรคข้นั ที่ 3

การคิดตามนยั พระพุทธศาสนา 1. ข้นั กาหนดรู้ทกุ ข์ การกาหนดรู้ทุกขห์ รือการกาหนดปัญหาวา่ คืออะไร มีขอบเขตของปัญหาแคไ่ หน ห ขอ้ สาคญั คือ อยา่ หลบปัญหาหรือคิดวา่ ปัญหาจะหมดไปเองโดยท่ีเราไม่ตอ้ งทาอะไร ในธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร มีตวั อยา่ งการกาหนดรู้ทุกขต์ ามแนวทางของพุทธพจนท์ ่ีวา่ “เกิดเป็นทกุ ข์ แก่เป็นทกุ ข์ ตายเป็นทกุ ข…์ ปรารถนาส่ิงใดไมไ่ ดส้ ิ่งน้นั เป็นทกุ ข”์ 2.ข้นั สืบสาวสมทุ ยั เหตขุ องทุกขห์ รือสาเหตุของปัญหา แลว้ กาจดั ใหห้ มดไป ตวั อยา่ งสาเหตขุ องปัญหาท่ีพระพุทธเจา้ แสดงไวค้ ือ ตณั หา ไดแ้ ก่ กามตณั หา ภวตณั หา และวภิ วตณั หา 3.ข้นั นิโรธ ไดแ้ ก่ความดบั ทุกข์ หรือสภาพที่ไร้ปัญหา ซ่ึงทาใหส้ าเร็จเป็นจริงข้ึนมา ในข้นั น้ีตอ้ งต้งั สมมติฐานวา่ สภาพไร้ปัญหาน้นั คืออะไร เขา้ ถึงไดห้ รือไม่ โดยวธิ ีใด 4.ข้นั เจริญมรรค ทางดบั ทกุ ข์ หรือวธิ ีแกป้ ัญหา 4.1มรรคข้นั ท่ี 1 เป็นการแสวงหาและทดลองใชว้ ิธีการต่าง ๆ เพื่อคน้ หาวิธีการที่เหมาะสมท่ีสุด 4.2มรรคข้นั ที่ 2 เป็นการวเิ คราะห์ผลการสังเกตและทดลองท่ีไดป้ ฏิบตั ิมาแลว้ เลือกเฉพาะวธิ ีการที่เหมาะสมท่ีสุด 4.3มรรคข้นั ท่ี 3 เป็นการสรุปผลของการสังเกตและทดลอง เพ่อื ใหไ้ ดค้ วามจริงเกี่ยวกบั เรื่องน้นั

การคิดตามนยั พระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์ 1.การกาหนดปัญหาใหถ้ ูกตอ้ ง ในข้นั น้ีนกั วิทยาศาสตร์กาหนดขอบเขตของปัญหาใหช้ ดั เจนวา่ ปัญหาอยตู่ รงไหน ปัญหาน้นั น่าจะมีสาเหตมุ าจากอะไร 2.การต้งั สมมติฐาน นกั วทิ ยาศาสตร์ใชข้ อ้ มลู เทา่ ท่ีมีอยใู่ นขณะน้นั เป็นฐานในการต้งั สมมติฐานเพื่อใชอ้ ธิบายถึงสาเหตุของปั ญหาและเสนอคาตอบหรือทางออกสาหรับปัญหาน้นั 3.การสังเกตและการทดลอง เป็นข้นั ตอนสาคญั ท่ีสุดของการศึกษาหาความจริงทางวิทยาศาสตร์ การสังเกตเป็นการรวบรวมขอ้ มูลมาเป็นเครื่องมือสนบั สนุนทฤษฎีท่ีอธิบายปรากฏการณ์ 4.การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสงั เกตและทดลองมีจานวนมาก นกั วทิ ยาศาสตร์ตอ้ งพิจารณาแยกแยะขอ้ มลู เหล่าน้นั พร้อมจดั ระเบียบขอ้ มลู เขา้ เป็นหมวดหมู่และหาค วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ 5.การสรุปผล ในการสรุปผลของการศึกษาคน้ ควา้ นกั วิทยาศาสตร์อาจใชภ้ าษาธรรมดาเขียนกฎหรือหลกั การทาง วิทยาศาสตร์ออกมา บางคร้ังนกั วิทยาศาสตร์จาเป็นตอ้ งสรุปผลดว้ ยคณิตศาสตร์

พระพุทธศาสนาเป็ นศาสตร์ แห่งการศึกษา คาวา่ “การศึกษา” มาจากคาวา่ “สิกขา” โดยทวั่ ไปหมายถึง “กระบวนการเรียน “ “การฝึกอบรม” “การคน้ ควา้ ” “การพฒั นาการ” และ “การรู้แจง้ เห็นจริงในสิ่งท้งั ปวง” จะเห็นไดว้ า่ การศึกษาในพระพทุ ธศาสนามีหลายระดบั ต้งั แต่ระดบั ต่าสุดถึงระดบั สูงสุด 1. การศึกษาระดบั โลกิยะ มีความมงุ่ หมายเพ่อื ดารงชีวติ ในทางโลก 2. การศึกษาระดบั โลกตุ ระ มีความมงุ่ หมายเพอื่ ดารงชีวิตเหนือกระแสโลก ดา้ นศีล ดา้ นสติปัญญา พระพทุ ธศาสนาสอน ใหค้ นพฒั นาอย4ู่ อยา่ ง ดา้ นร่างกาย ดา้ นจิตใจ

ไตรสิกขา 1. สีลสิกขา การฝึกศึกษาในดา้ นความประพฤติทางกาย วาจา และอาชีพ ใหม้ ีชีวิตสุจริตและเก้ือกลู 2. จิตตสิกขา การฝึกศึกษาดา้ นสมาธิ หรือพฒั นาจิตใจใหเ้ จริญได้ 3. ปัญญาสิกขา การฝึกศึกษาในปัญญาสูงข้ึนไป ใหร้ ู้คิดเขา้ ใจมองเห็นตามเป็นจริง ความสัมพนั ธ์ของไตรสิกขา

- (ศีล -> สมาธิ) เมื่อประพฤติดี มีความสัมพนั ธง์ ดงาม ไดท้ าประโยชนอ์ ยา่ งนอ้ ยดาเนินชีวติ โดยสุจริต มนั่ ใจในความบริสุทธ์ิของ ตน ไม่ตอ้ งกลวั ต่อการลงโทษ ไมส่ ะดุง้ ระแวงตอ่ การประทุษร้ายของคูเ่ วร ไม่หวาดหวน่ั เสียวใจตอ่ เสียงตาหนิหรือความรู้สึก ไม่ยอมรับของสังคม และไม่มีความฟ้งุ ซ่านวนุ่ วายใจ -(สมาธิ -> ปัญญา) ยงิ่ จิตไม่ฟุ้งซ่าน สงบ อยกู่ บั ตวั ไร้ส่ิงข่นุ มวั สดใส มุ่งไปอยา่ งแน่วแน่เท่าใด การรับรู้ การคิดพนิ ิจพจิ ารณามอง เห็นและเขา้ ใจสิ่งตา่ งๆกย้ ่งิ ชดั เจน ตรงตามจริง แลน่ คลอ่ ง เป็ นผลดีในทางปัญญามากข้ึนเท่าน้ นั ไตรสิกขาน้ี เม่ือนามาแสดงเป็นคาสอนในภาคปฏิบตั ิทว่ั ไป ไดป้ รากฏในหลกั ที่เรียกวา่ โอวาทปาฏิโมกข์ คือ 1.สพพปาปสส อกรณ การไม่ทาความชว่ั ท้งั ปวง ( ศีล ) 2. กุสลสสูปสมปทา การบาเพญ็ ความดีใหเ้ พยี บพร้อม (สมาธิ ) 3.สจิตตปริโยทปน การทาจิตของตนใหผ้ อ่ งใส (ปัญญา )

เรียนรู้ตามหลกั โดยทวั่ ไป ที่พระพุทธเจา้ ทรงตรัสไว้ 1. การฟัง หมายถึงการต้งั ใจศึกษาเลา่ เรียนในหอ้ งเรียน 2. การจาได้ หมายถึงการใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ เพ่ือใหจ้ าได้ 3. การสาธยาย หมายถึงการทอ่ ง การทบทวนความจาบอ่ ย ๆ 4. การเพง่ พนิ ิจดว้ ยใจ หมายถึงการต้งั ใจจินตนาการถงึ ความรู้น้นั ไวเ้ สมอ 5. การแทงทะลดุ ว้ ยความเห็น หมายถงึ การเขา้ ถึงความรู้อยา่ งถูกตอ้ ง เป็น ความรู้อยา่ งแทจ้ ริง ไมใ่ ช่ติดอยแู่ ตเ่ พียงความจาเทา่ น้นั แตเ่ ป็นความรู้ความจาที่สามารถนามาประพฤติปฏิบตั ิได้

พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธ์ของเ หตุปัจจยั และวิธีการแกป้ ัญหา ล หลกั ของเหตุปัจจยั หรือหลกั ความเป็นเหตเุ ป็นผล ซ่ึงเป็นหลกั ของเหตุปัจจยั ที่อิงอาศยั ซ่ึงกนั และกนั ท่ีเรียกวา่ \"กฎปฏิจจสมปุ บาท\" คาวา่ \"เหตปุ ัจจยั \" พุทธศาสนาถือวา่ ส่ิงท่ีทาใหผ้ ลเกิดข้ึนไม่ใช่เหตุอยา่ งเดียว ตอ้ งมีปัจจยั ต่าง ๆ ดว้ ยเมื่อมีปัจจยั หลายปัจจยั ผลก็เกิดข้ึน ความสมั พนั ธ์ของเหตุปัจจยั หรือหลกั ปฏิจจสมุปบาท แสดงใหเ้ ห็นอาการของสิ่งท้งั หลายสัมพนั ธเ์ น่ืองอาศยั เป็นเหตุปัจจยั ต่อกนั อยา่ งเป็นก ระแส ในภาวะที่เป็นกระแสน้ี ขยายความหมายออกไปใหเ้ ห็นแงต่ ่าง ๆ ไดค้ ือ - สิ่งท้งั หลายมีความสัมพนั ธต์ อ่ เนื่องอาศยั เป็นปัจจยั แก่กนั - สิ่งท้งั หลายมีอยโู่ ดยความสมั พนั ธ์กนั - สิ่งท้งั หลายมีอยดู่ ว้ ยอาศยั ปัจจยั - ส่ิงท้งั หลายไม่มีความคงที่อยอู่ ยา่ งเดิมแมแ้ ตข่ ณะเดียว (มีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ไม่อยนู่ ิ่ง - สิ่งท้งั หลายไม่มีอยโู่ ดยตวั ของมนั เอง คือ ไมม่ ีตวั ตนท่ีแทจ้ ริงของมนั - สิ่งท้งั หลายไมม่ ีมูลการณ์ หรือตน้ กาเนิดเดิมสุด แตม่ ีความสมั พนั ธแ์ บบวฏั จกั ร หมนุ วนจนไมท่ ราบวา่ อะไรเป็นตน้ กาเนิดท่ีแทจ้ ริง

พระพุทธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธ์ของเ หตปุ ัจจยั และวิธีการแกป้ ัญหา หลกั คาสอน 2 เร่ือง คือ ปฏิจจสมุปบาท และอริยสัจ 4 ปฏิจจสมปุ บาท คือ การท่ีส่ิงท้งั หลายอาศยั ซ่ึงกนั และกนั เกิดข้ึน เป็นกฎธรรมชาติท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ กฏอิทปั ปัจจยตา ซ่ึงก็คือ กฎแห่งความเป็นเหตเุ ป็นผลของกนั และกนั นนั่ เอง กฏปฏิจจสมุปบาท(องคป์ ระกอบของชีวิต) คือ กฏแห่งเหตุผลท่ีวา่ ถา้ สิ่งน้ีมี ส่ิงน้นั กม็ ี ถา้ ส่ิงน้ีดบั สิ่งน้นั กด้ บั ปฏิจจสมุปบาทมีองคป์ ระกอบ 12 ประการ คือ

พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธ์ของเ หตุปัจจยั และวิธีการแกป้ ัญหา 1) อวชิ ชา คือ ความไม่รู้จริงของชีวติ ไม่รู้แจง้ ในอริยสจั 4 ไม่รู้เท่าทนั ตามสภาพที่เป็ นจริง 2) สงั ขาร คือ ความคิดปรุงแตง่ หรือเจตนาท้งั ที่เป็นกุศลและอกุศล 3) วญิ ญาณ คือ ความรับรู้ตอ่ อารมณ์ต่างๆ เช่น เห็น ไดย้ นิ ไดก้ ล่ิน รู้รส รู้สัมผสั 4) นามรูป คือ ความมีอยใู่ นรูปธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่ กายกบั จิต 5) สฬายตนะ คือ ตา หู จมกู ลิน้ กาย และใจ 6) ผสั สะ คือ การถกู ตอ้ งสมั ผสั หรือการกระทบ 7) เวทนา คือ ความรู้สึกวา่ เป็นสุข ทกุ ข์ หรืออเุ บกขา 8) ตณั หา คือ ความทะเยอทะยานอยากหรือความตอ้ งการในส่ิงที่อานวยความสุขเวทนา และความดิ้นรนหลีกหนีในส่ิงที่ก่อทุกขเวทนา 9) อปุ าทาน คือ ความยดึ มนั่ ถือมน่ั ในตวั ตน 10) ภพ คือ พฤติกรรมที่แสดงออกเพอ่ื สนองอปุ าทานน้นั ๆ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าและใหเ้ ป้นไปตามความยดึ มนั่ ถือมนั่ 11) ชาติ คือ ความเกิด ความตระหนกั ในตวั ตน ตระหนกั ในพฤติกรรมของตน 12) ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนสั อุปายาสะ คือ ความแก่ ความตาย ความโศกเศร้า ความคร่าครวญ ความไมส่ บายกาย ความไม่สบายใจ และความคบั แคน้ ใจหรือความกลดั กลมุ่ ใจ

พระพุทธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธข์ องเ หตปุ ัจจยั และวิธีการแกป้ ัญหา อริยสัจ หมายถึง หลกั ความจริงอนั ประเสริฐหรือหลกั ความจริงที่ทาใหผ้ เู้ ขา้ ถึงเป็นผู้ ประเสริฐ มี 4 ประการ คือ 1. ทกุ ข์ คือ การเกิดปัญหา หรือรู้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือรู้วา่ ปัญหาท่ีเกิดข้นึ คืออะไร 2. สมทุ ยั คือ การสืบหาสาเหตุของปัญหา 3. นิโรธ คือ กาหนดแนวทางหรือวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาที่เกิดจากสาเหตตุ า่ ง ๆ เหลา่ น้นั 4. มรรค คือ ปฏิบตั ิตามวธิ ีการใหถ้ ึงการแกไ้ ขปัญหา หรือวิธีการดบั ปัญหาได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook