Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 66_TQF3 ศิลปกรรมในพุทธศาสนา

66_TQF3 ศิลปกรรมในพุทธศาสนา

Published by พระสาคร ชยวุฑฺโฒ, 2023-08-07 03:54:45

Description: 66_TQF3 ศิลปกรรมในพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพทุ ธศาสนา | ๑ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย Mahachulalongkornrajavidyalaya University หลักสูตรพทุ ธศาสตรบณั ฑิต เอกสารประกอบการสอนรายวิชา หมวดวิชาเลอื กเสรี รหัส ๒๐๓ ๔๒๖ บรรจง โสดาดี มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตสุรินทร์

๒ | มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพุทธศาสนา รายละเอยี ดของรายวิชา ชือ่ สถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขต/คณะ/ภาควชิ า วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยท่วั ไป ๑. รหัสและช่อื รายวชิ า ๒๐๓ ๔๒๖ ศลิ ปกรรมในพระพทุ ธศาสนา Arts in Buddhism ๒. จำนวนหนว่ ยกติ ๓(๓-๐-๖) ๓. หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา หลกั สตู ร พทุ ธศาสตรบัณฑติ ประเภทของรายวิชา หมวดวิชาเลือกเสรี ๔. อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบรายวิชาและอาจารยผ์ สู้ อน อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวิชา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ รรจง โสดาดี อาจารยผ์ ้สู อน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์บรรจง โสดาดี ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปที เี่ รยี น ภาคการศึกษาท่ี ๑/๒๕๖๖ นสิ ิตชน้ั ปีที่ ๓ ๖. สถานที่เรียน มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์ ตำบลนอกเมือง อำเภอเมอื ง จังหวัดสุรนิ ทร์ ๗. วนั ทจี่ ดั ทำหรือปรับปรงุ รายละเอยี ดของรายวชิ าคร้ังล่าสดุ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖

มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพุทธศาสนา | ๓ หมวดที่ ๒ จดุ มุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จดุ มงุ่ หมายของรายวิชา ศึกษาแนวคิด หลักการ ความสำคัญของศิลปกรรมในด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ ความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนา ความสัมพันธ์เก่ียวกับวิถีชีวิตของสังคมไทยและแนว ทางการอนุรักษ์ศิลปกรรม ศึกษาภาคสนามเก่ียวกับโบราณสถาน และโบราณวัตถุทางพระพุทธศาสนาที่มี คุณคา่ ทางศิลปกรรมและวัฒนธรรม วัตถปุ ระสงค์ เมอ่ื ศึกษาเนื้อหาในวิชานแ้ี ล้ว ผู้เรียนสามารถ ๑) อธิบายแนวคิดของศิลปกรรมด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ได้ ๒) อธบิ ายหลักการของศลิ ปกรรมดา้ นสถาปัตยกรรม จติ รกรรม ประตมิ ากรรม นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ได้ ๓) อธบิ ายความสำคัญของศลิ ปกรรมดา้ นสถาปตั ยกรรม จติ รกรรม ประติมากรรม นาฏศลิ ป์ วรรณศิลปไ์ ด้ ๔) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพระพทุ ธศาสนากบั ศลิ ปกรรมได้ ๕) วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์เก่ียวกับวถิ ีชวี ติ ของสงั คมไทยและแนวทางการอนรุ ักษ์ศลิ ปกรรมได้ ๖) เกิดทักษะทางเกย่ี วกับโบราณสถาน และโบราณวตั ถุทางพระพุทธศาสนาท่มี ีคณุ คา่ ทาง ศิลปกรรมและวฒั นธรรม ๒. วตั ถปุ ระสงค์ในการพฒั นา/ปรบั ปรงุ รายวิชา ๑) เพอ่ื พฒั นาและปรับปรงุ หลกั สตู รใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน สกอ. ๒) เพอ่ื ใหม้ ีเนื้อหาสาระและความทันสมัยมากยงิ่ ข้ึน ๓) เพ่ือใหส้ อดคล้องกับความเปลยี่ นแปลงเกยี่ วกับกระบวนการเรียนการสอน ๔) เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละปรชั ญาการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัย

๔ | มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพุทธศาสนา หมวดท่ี ๓ ลกั ษณะและการดำเนนิ การ ๑. คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาแนวคดิ หลกั การ ความสำคญั ของศลิ ปกรรมในดา้ นสถาปัตยกรรม จติ รกรรม ประติมากรรม นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ ความสัมพันธ์กับพระพทุ ธศาสนา ความสมั พันธ์เกย่ี วกบั วถิ ีชีวิตของสงั คมไทยและแนว ทางการอนรุ กั ษศ์ ิลปกรรม ศกึ ษาภาคสนามเกยี่ วกบั โบราณสถาน และโบราณวัตถุทางพระพุทธศาสนาทม่ี ี คณุ ค่าทางศลิ ปกรรมและวัฒนธรรม ๒. จำนวนชว่ั โมงทีใ่ ช้ตอ่ ภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบตั /ิ งาน การศึกษาดว้ ย ๔๕ ช่ัวโมง ภาคสนาม/การฝึกงาน ตนเอง ตามความต้องการของ นิสติ เฉพาะราย ไม่มี ๖ ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ ๓. จำนวนช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ท่อี าจารย์ใหค้ ำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแกน่ ิสิตเป็นรายบุคคล ๓.๑ อาจารย์ประจำรายวชิ า ประกาศเวลาใหค้ ำปรึกษาผา่ นเว็บไซดค์ ณะ ๓.๒ อาจารยจ์ ดั เวลาใหค้ ำปรกึ ษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุม่ ตามความต้องการ ๑ ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ (เฉพาะรายที่ตอ้ งการ)

มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพทุ ธศาสนา | ๕ หมวดท่ี ๔ การพฒั นาการเรยี นรขู้ องนสิ ติ ๑. คุณธรรม จรยิ ธรรม การพัฒนาผเู้ รยี นให้มคี ุณธรรม จริยธรรมเพือ่ ใหส้ ามารถดำเนินชวี ติ รว่ มกับผอู้ นื่ ในสังคมอยา่ งราบรนื่ และเป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม โดยผู้สอนต้องพยายามสอดแทรกเรอื่ งที่เกี่ยวกบั คุณธรรมจริยธรรม เพ่ือใหน้ สิ ติ สามารถพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรมไปพร้อมกบั การศึกษาพุทธศิลป์ โดยมคี ณุ ธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติของ หลกั สตู ร ๑.๑ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมที่ต้องพัฒนา คณุ ธรรม จริยธรรมที่ตอ้ งพัฒนา ๕ ประการ ได้แก่ มีวินัยและความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ มคี วาม มุ่งม่นั ในการทำงานใหส้ ำเรจ็ ความมนี ้ำใจ มจี ติ อาสา จติ สาธารณะ เห็นประโยชน์สว่ นรวม และเห็นอกเห็นใจ ผอู้ ื่น มคี วามซ่ือสัตย์ กตัญญู มีศีลธรรม เห็นคุณค่าศิลปวฒั นธรรม และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ประพฤตติ นเป็น แบบอย่างทีด่ ตี ่อสังคม ชาติ ศาสนา ๑.๒ วิธกี ารสอน - บรรยายสอดแทรกหรือยกตัวอยา่ งใหเ้ กิดสำนึกและเห็นคุณคา่ คุณธรรม จริยธรรม ท้งั ๕ ประการ - กำหนดหลกั เกณฑ์ต่างๆ บนพน้ื ฐานของระเบยี บมหาวิทยาลยั เชน่ เรื่องเวลาเรียนในช้ันเรยี น การ ทำกจิ กรรม มอบหมายงาน - โน้มน้าวหรือสรา้ งสถานการณใ์ ห้ยอมรบั ความจริงของโลกและชีวิตในแงม่ ุมตา่ งๆ กระตุ้นเตอื นให้ ตระหนกั ในความซ่ือสัตยส์ จุ ริต ความเสยี สละ การทำงานกล่มุ และแบ่งภาระงานรับผิดชอบ ๑.๓ วิธีการประเมินผล - ใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรียน เวลาเรียน เวลาเขา้ รว่ มในกจิ กรรมเป็นไป ตามเกณฑท์ ี่กำหนด - ใช้การสงั เกตงานท่ีได้รับมอบหมายเรยี บร้อย ไม่คดั ลอกงานคนอ่ืน การทำงานกล่มุ ประพฤติ เรยี บร้อยดีงาม - ใชก้ ารสงั เกตจากการแสดงทรรศนะต่อโลกและชวี ติ ๒. ความรู้ ๒.๑ ความร้ทู ีต่ ้องได้รบั ความร้หู ลักท่ตี ้องได้รับ คอื มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั แนวคิด หลักการ ความสำคัญของศิลปกรรม ในดา้ นสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรมนาฏศิลป์ วรรณศิลป์ ความสมั พันธก์ บั พระพุทธศาสนา

๖ | มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพุทธศาสนา ความสัมพนั ธ์เกี่ยวกับวิถชี วี ิตของสงั คมไทยและแนวทางการอนรุ กั ษ์ศิลปกรรม ศกึ ษาภาคสนามเกย่ี วกบั โบราณสถาน และโบราณวตั ถุทางพระพุทธศาสนาท่ีมีคุณค่าทางศิลปกรรมและวัฒนธรรม ๒.๒ วธิ ีการสอน - บรรยายประกอบสื่อประสม อาจารย์และนิสิตร่วม วิเคราะห์ ถาม-ตอบ ในช้นั เรียน - แบง่ กลมุ่ ค้นควา้ ทำรายงานเอกสาร และสรปุ เป็นส่ือ PowerPoint นำเสนอหน้าชัน้ เรียน - ชมภาพยนตร์ แลว้ กำหนดประเด็นเสวนา แสดงทศั นะวิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ ๒.๓ วธิ ีการประเมนิ ผล - สอบกลางภาคและปลายภาคด้วยขอ้ สอบ - การเสนอรายงานกล่มุ การทำงานกลมุ่ และการนำเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น ๓. ทักษะทางปญั ญา ๓.๑ ทักษะทางปัญญาทีต่ ้องพฒั นา ทักษะทางปัญญาหลกั ท่ีต้องพฒั นา คอื เปน็ ผใู้ ฝร่ ู้ และมคี วามสามารถในการเรยี นรู้ตลอดชีวิต สามารถคดิ วเิ คราะห์อยา่ งเปน็ ระบบและมีเหตผุ ลอ้างอิงได้ ทกั ษะทางปญั ญารองที่ต้องพัฒนา คือ สามารถ ประยกุ ต์ความรแู้ ละแกป้ ัญหาได้อยา่ งเหมาะสม มีความมงุ่ ม่ัน ใฝร่ ู้ เพื่อการเรียนร้ตู ลอด และสามารถนำ ความรู้ไปเชือ่ มโยงกบั ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ได้ ๓.๒ วิธกี ารสอน - การอภิปราย เสวนากลมุ่ การสะท้อนความคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินคา่ ในแนวคิด หลกั การ ความสำคัญของศลิ ปกรรมในด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรมนาฏศลิ ป์ วรรณศิลป์ ความสมั พันธก์ ับพระพุทธศาสนา ความสมั พนั ธเ์ ก่ียวกับวิถชี ีวิตของสังคมไทยและแนวทางการอนุรักษ์ ศลิ ปกรรม ศึกษาภาคสนามเก่ียวกบั โบราณสถาน และโบราณวัตถุทางพระพทุ ธศาสนาท่ีมีคุณค่าทางศิลปกรรม และวัฒนธรรม ๓.๓ วิธีการประเมินผล - ผลการนำเสนอรายงายการคน้ ควา้ เอกสาร - สังเกตการการอภปิ ราย เสวนากลุม่ การสะทอ้ นความคิด ต่อประเด็นปญั หา ๔. ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ ๔.๑ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความสามารถในการรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบหลกั ท่ีต้องพัฒนา ไดแ้ ก่ มีความสามารถใน การทำงานเป็นทมี ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมองค์กร เป็นสมาชิกทีด่ ีของกลุ่มท้งั ในฐานะผู้นำและผู้ตาม และ

มคอ ๓ ศลิ ปกรรมในพระพุทธศาสนา | ๗ ตระหนกั ในคณุ คา่ ของศลิ ปะ วฒั นธรรม ศาสนา ประเพณี วรรณกรรม ทง้ั ของไทยและของประชาคมโลก ทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบรองที่ต้องพัฒนา ได้แก่ มีมนุษยสัมพนั ธ์ รู้จกั จัดการ อารมณ์ และยอมรบั ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล สว่ นทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ๔.๒ วธิ กี ารสอน - มอบหมายงานให้ศึกษาเป็นกลมุ่ ท้ังในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรียน - จดั กจิ กรรมกล่มุ ใหศ้ ึกษาค้นคว้า และวเิ คราะห์เกยี่ วกับประเด็นปัญหาจรยิ ธรรมทางสงั คม ร่วมกนั แสวงหาทางออกร่วมกัน ๔.๓ วิธีการประเมนิ ผล - การสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ท้งั ในหอ้ งเรยี น และนอกห้องเรยี น - ประเมนิ ตนเอง และเพอ่ื น ด้วยแบบฟอร์มท่กี ำหนด - สงั เกตการมีปฏิสัมพันธ์กบั อาจารยแ์ ละเพ่ือนร่วมห้อง ๕. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๑ ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ี ตอ้ งพัฒนา ทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตวั เลข การสือ่ สารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศท่ตี อ้ งพัฒนา ได้แก่ สามารถใช้ภาษาในการติดต่อส่ือความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลข ระบุ เทคนิคทางสถิติหรอื คณิตศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายได้ สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศใน การสื่อสาร ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และคัดเลือก และสามารถสรุปประเด็นและส่ือสารท้ังการเขียน การพูด รจู้ กั เลอื กและใชร้ ูปแบบการนำเสนอท่เี หมาะสมมปี ระสิทธิภาพ ๕.๒ วธิ ีการสอน - การอธบิ าย สนทนา ในช้ันเรยี นกระตุ้นการใช้ภาษาในการตดิ ตอ่ ส่อื ความหมาย - มอบหมายงาน หรือใช้แบบฝึกเป็นรายบุคคล เพอื่ ใหว้ เิ คราะห์เชงิ ตวั เลขฯลฯ - การทำโครงงานเปน็ งานกลุ่ม ในการคน้ ควา้ เน้ือหาทางพุทธศิลปะ โดยเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศเปน็ เคร่ืองมือสบื ค้นข้อมูล ๕๓. วิธกี ารประเมนิ ผล - สงั เกตพฤติกรรมการแสดงออกทางการฟงั พูด อา่ น เขยี น - ตรวจประเมนิ งานมอบหมายรายบคุ คล - ตรวจประเมนิ โครงงาน การนำเสนอโดยใชส้ ือ่ เทคโนโลยี

๘ | มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพุทธศาสนา หมวดท่ี ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑. แผนการสอน หัวข้อ/รายละเอยี ด กจิ กรรมการเรียน การ ผสู้ อน สัปดาหท์ ่ี สอน ส่อื ทใ่ี ช้ บทท่ี ๑ : พัฒนาการพทุ ธศาสนาในประเทศไทย -ฟั ง บ ร ร ย า ย / ตั ว อ ย่ า ง ๑. พศว. ๓-๑๐ : เถรวาทแบบอโศก ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส าร / ๒. พศว. ๗ -๑๐ : มหายานแบบจีน เพาเวอร์พอยท์/ภาพ/ดีวิ ๑-๒ ๓. พศว. ๑๑-๑๖ : เถรวาทแบบทวารวดี ทัศน์ ผศ.บรรจง ๔. พศว. ๑๓-๑๘ : มหายานแบบศรวี ิชยั โสดาดี - วเิ คราะห/์ วิพากษ์ ๕. พศว. ๑๕-๑๘ : มหายานแบบขอม -นิสิตทำแบบฝึกประจำ ๖. พศว. ๑๖ -? : เถรวาทแบบพุกาม บทในระบบ ๗. พศว. ๑๙ -๒๑ : เถรวาทแบบลงั กา MCU e-Testing บทที่ ๒ ประเภทของศลิ ปะ (16/07/65) ฟั งบรรยาย/ตัวอย่าง ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส าร / ๒.๑ ศิลปะ ? เพาเวอรพ์ อยท์/ภาพ/ดีวิ ๒.๒ จติ รกรรม ทศั น์ ๓ ๒.๓ ประติมากรรม - วเิ คราะห์/วพิ ากษ์ ๒.๔ สถาปัตยกรรม -ทำแบบฝึกประจำบทใน ๒.๕ วรรณกรรม ระบบ e-Testing ๒.๖ นาฏศิลป์

มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพทุ ธศาสนา | ๙ บทที่ ๓ พุทธจติ กรรม -ฟังบรรยาย/ตัวอย่าง ผศ.บรรจง ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส า ร / โสดาดี ๓.๑ หลกั การจติ กรรม เพาเวอรพ์ อยท์/ภาพ/ดีวิ ทัศน์ ๓๒ ลักษณะพทุ ธจิตกรรม - วเิ คราะห์/วพิ ากษ์ -ทำแบบฝึกประจำบทใน - แบบล้านช้าง ระบบ e-Testing - แบบล้านนา ๔ - แบบสุโขทยั - แบบอยธุ ยา - แบบรตั นโกสนิ ทร์ ๓.๓ คุณค่าแหง่ พทุ ธจิตกรรม - คณุ ค่าดา้ นศีล - คุณค่าดา้ นจติ - คณุ ค่าด้านปัญญา ๕-๖ บทท่ี ๔ พทุ ธสถาปัตยกรรม -ฟังบรรยาย/ตัวอย่าง ผศ.บรรจง ๗-๘ ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส า ร / โสดาดี ๔.๑ หลกั การสถาปตั ยกรรม เพาเวอรพ์ อยท์/ภาพ/ดีวิ ๔.๒ ลกั ษณะพทุ ธสถาปัตยกรรม ทัศน์ - วิเคราะห์/วิพากษ์ - แบบทวารวดี -ทำแบบฝึกประจำบทใน - แบบเขมร ระบบ e-Testing - แบบพกุ าม - แบบจามปา - แบบลา้ นช้าง - แบบลา้ นนา - แบบสุโขทัย - แบบอยธุ ยา - แบบรตั นโกสนิ ทร์ ๔.๓ คณุ ค่าแหง่ พทุ ธสถาปตั ยกรรม - คุณค่าด้านศลี - คุณคา่ ดา้ นจติ - คุณคา่ ดา้ นปญั ญา บทที่ ๕ พุทธปฏมิ ากรรม -ฟังบรรยาย/ตัวอย่าง ผศ.บรรจง ๕.๑ หลกั การปฏมิ ากรรม ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส า ร / โสดาดี ๕.๒ ลักษณะพุทธประติมากรรม (ทวารวดี / เขมร เพาเวอร์พอยท์/ภาพ/ดีวิ พกุ าม/ลา้ นชา้ ง/ล้านนา/สโุ ขทยั /อยุธยา/รัตนโกสินทร์) ทศั น์ ๕.๓ คณุ ค่าแหง่ พทุ ธปฏิมากรรม - คุณคา่ ด้านศลี - วิเคราะห์/วิพากษ์ -ทำแบบฝึกประจำบทใน

๑๐ | มคอ ๓ ศลิ ปกรรมในพระพทุ ธศาสนา - คณุ ค่าด้านจิต ระบบ e-Testing - คุณค่าดา้ นปัญญา ๑๑-๑๒ ๙-๑๐ บทที่ ๖ นาฏศิลป์ -ฟังบรรยาย/ตัวอย่าง ผศ.บรรจง ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส า ร / โสดาดี ๖.๑ หลกั การนาฏศลิ ป์ เพาเวอรพ์ อยท์/ภาพ/ดีวิ ๖.๒ ลกั ษณะพุทธนาฏศิลป์ ทศั น์ ๖.๓ คุณค่าแหง่ นาฏศลิ ป์ - วิเคราะห์/วพิ ากษ์ -ทำแบบฝึกประจำบทใน - คุณค่าด้านศลี ระบบ e-Testing - คณุ ค่าด้านจิต - คุณค่าดา้ นปญั ญา บทที่ ๗ วรรณศลิ ป์ -ฟังบรรยาย/ตัวอย่าง ผศ.บรรจง ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส า ร / โสดาดี ๗.๑ ความหมายวรรณศิลป์ เพาเวอรพ์ อยท์/ภาพ/ดีวิ ๗.๒ ประเภทวรรณศลิ ป์ ทศั น์ ๗.๓ พุทธวรรณศลิ ป์ - วิเคราะห์/วิพากษ์ ๗.๔ คุณค่าวรรณศิลป์ -ทำแบบฝึกประจำบทใน ระบบ e-Testing - คุณคา่ ดา้ นศีล - คุณค่าด้านจติ - คุณคา่ ด้านปัญญา บทท่ี ๘ ความสัมพันธ์เก่ียวกับวิถีชีวิตของสังคมไทย -นำนิสิตลงศึกษาศิลปะ ผศ.บรรจง ๑๓ – ๑๔ และแนวทางการอนรุ ักษ์ศลิ ปกรรม ท้ อ ง ถิ่ น ใ น พื้ น ที่ ที่ โสดาดี ๘.๑ ดา้ นสถาปัตยกรรม กำหนด - องค์ความรู้/ทฤษฎี (ประตูโขง กำแพงวัด - แ บ่ ง หั ว ข้ อ ศึ ก ษ า โครงสร้าทางกายภาพ พระธาตุ สถูป เจดีย์ มณฑป ค้นคว้า นำเสนอผลงาน พระปรางค์ พระอุโบสถ วิหาร ศาลา กุฏิ หอไตร หอ ระฆงั หอกลอง พระพทุ ธรูป โบราณวตั ถุ โบราณสถาน รายบุคคล ฯลฯ) -สถาปัตยกรรม : วัด…… ตำบล.... อำเภอ..... - แนวทางอนุรักษ์ -จิตกรรม : วัด……ตำบล - กระบวนการและวธิ ีการอนรุ กั ษ์ .... อำเภอ..... ๘.๒ ดา้ นจติ รกรรม - องค์ความรู้/ทฤษฎี (ภาพพุทธประวัติ/ภาพเทพ -ปฏิมากรรม : วัด…… พนม/ภาพพระโพธิสตั ว์บำเพญ็ บารมี ฯลฯ) ตำบล.... อำเภอ..... - แนวทางอนุรักษ์ -น า ฏ ศิ ล ป์ : วั ด …… - กระบวนการและวธิ กี ารอนรุ ักษ์ ตำบล.... อำเภอ..... ว ร ร ณ ศิ ล ป์ : วั ด …… ๘.๓ ด้านประติมากรรม

มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพทุ ธศาสนา | ๑๑ - องคค์ วามร/ู้ ทฤษฎี (ภาพปูนปนั้ /การแกะสลกั / ตำบล.... อำเภอ..... พระพทุ ธรูป ฯลฯ) -ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า 3 - แนวทางอนรุ กั ษ์ ประเด็น - กระบวนการและวธิ ีการอนรุ ักษ์ 1) สำรวจศลิ ปะในวัด... ๘.๔ ดา้ นนาฏศิลป์ 2 ) แ น ว ท า งอ นุ รัก ษ์ - องค์ความรู้/ทฤษฎี (เพลงส่งเสริมศีลธรรม/การ ศิลปะด้าน.....ของวัด... สวดมนต์พระสายเถรวาท/เสียงการสวดมนต์พระ ทิเบต /เสยี งระฆงั พระสายมหายาน) 3) กระบวนการ/วิธีการ - แนวทางอนุรักษ์ อ นุ รั ก ษ์ ศิ ล ป ะ ด้ า น ..... - กระบวนการและวิธกี ารอนรุ กั ษ์ ของวัด... ๘.๕ ด้านวรรณศลิ ป์ - องค์ความรู้/ทฤษฎี (จารึก/คัมภีร์โบราณ/ หนังสือธรรม/หนังสือผูก/หนังสือก้อม/หนังสือ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา) - แนวทางอนรุ ักษ์ - กระบวนการและวธิ ีการอนุรักษ์ บทท่ี ๙ โบราณวัตถุทางพระพุทธศาสนาท่ีมีคุณค่า -บ ร ร ย า ย / ตั ว อ ย่ า ง ทางศลิ ปกรรมและวัฒนธรรม ป ร ะ ก อ บ /เอ ก ส าร / ผศ.บรรจง ๙.๑ กลมุ่ อารยธรรมทวารวดี เพาเวอรพ์ อยท์/ภาพ/ดีวิ โสดาดี ๙.๒ กล่มุ อารยธรรมพกุ าม ทัศน์ ๑๕ ๙.๓ กลุ่มอารยธรรมขอม - ศึกษาภาคสนาม ๙.๔ กลุ่มอารยธรรมศรีวชิ ยั -นิสิตทำแบบฝึกประจำ ๙.๕ กลมุ่ อารยธรรมล้านนา บทในระบบ ๙.๖ กลุ่มอารยธรรมลา้ นชา้ ง MCU e-Learning and ๙.๗ กลมุ่ อารยธรรมล่มุ น้ำเจา้ พระยา e-Testing ๑๖ สอบปลายภาค ขอ้ สอบ กรรมการ ๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ที่ ผลการเรยี นรู้* วิธีการประเมนิ สปั ดาหท์ ปี่ ระเมนิ สัดส่วนของ ๑๕ การประเมนิ ผล ๑ ๑.๑, ๒.๑, ๓.๑ สอบปลายภาค ๗-๘ ๔๐% ๒ - การนำเสนอผลงานรายบุคคล ๑.๑, ๑.๖, ๑.๗, - การนำเสนอผลงารายกลมุ่ ๕๐%

๑๒ | มคอ ๓ ศิลปกรรมในพระพทุ ธศาสนา ๑๑-๑๒ ๑๐% ๑๓-๑๔ ๒.๑, ๒.๔-๒.๖, - กิจกรรมเสริมทกั ษะรายวิชา ๓.๒, ๔.๑- ตลอดภาคการศกึ ษา ๔.๖,๕.๓-๕.๔ การเขา้ ชัน้ เรยี น/ความรบั ผดิ ชอบ ๓ ๑.๑-๑.๗, ๓.๑ การมีส่วนรว่ ม อภปิ ราย เสนอความ คิดเห็นในชัน้ เรียน



๑๒ | มคอ ๓ ศลิ ปกรรมในพระพทุ ธศาสนา หมวดท่ี ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน Electronics ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคำแหง: หลกั ไทย หลักรัฐชาติไทย, <https://www.youtube.com/watch?v=cs7tAEi07Hg>, 31 สิงหาคม 2559. พชิ ญา สมุ่ จินดา, “พทุ ธปฏิมาในลทั ธิหีนยาน” ประติมากรรมในประเทศไทย, < https://www.youtube.com/watch?v=6vkA5wguNTQ>, 13 กุมภาพันธ์ 2561. .---------------., “พทุ ธประตมิ ากรรมแบบประโคนชยั กบั การวางรากฐานพุทธศาสนาลทั ธิตันตระ ยานในดนิ แดนท่ีราบสงู โคราช”1-2, คณะวิจติ รศลิ ป์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่, < https://www.youtube.com/watch?v=l0MranIbe5A>, 19 พฤศจกิ ายน 2559. พิริยะ ไกรฤกษ,์ ศลิ าจารึกพอ่ ขนุ รามคำแหง: หลกั ไทย หลกั รฐั ชาตไิ ทย, < https://www.youtube.com/watch?v=cs7tAEi07Hg>, 31 สิงหาคม 2559. เฟอื้ หรพิ ทิ กั ษ์ ครูใหญ่ในวงการศิลปะ, <https://www.youtube.com/watch?v=XMWuIb4VDFA>, 3 มนี าคม 2558. IC พทุ ธศิลปอ์ สี าน, <http://isan.tiewrussia.com/> ถวลั ย์ ดชั นี, พุทธศิลป,์ <https://www.youtube.com/watch?v=pUu4-_NATvg>, 4 พฤษภาคม 2563. นิธิ เอียวศรีวงศ,์ “อีสาน ลาว ขแมร์ ศึกษา ในกรอบประชาคมอาเซียน”, <https://www.youtube.com/watch?v=zcmwuCpEfsc>, 11 ธนั วาคม 2556. รุ่งโรจน์ ธรรมร่งุ เรือง, “ศิลปวัฒนธรรมทวารวดี”, < https://www.youtube.com/watch?v=5qvOF7ThurE>, 2 สงิ หาคม 2559. วรณัย พงศาชลากร, “พระชยั พุทธมหานาถ” พระพทุ ธปฏิมากรนาคปรก ...พลานุภาพแห่ง จกั รวรรดบิ ายน, <http://oknation.nationtv.tv/blog/voranai/2012/07/18/entry-1>. นธิ ิ เอยี วศรีวงศ,์ “อีสาน ลาว ขแมร์ ศึกษา ในกรอบประชาคมอาเซยี น”, <https://www.youtube.com/watch?v=zcmwuCpEfsc>, 11 ธันวาคม 2556. ศานติ ภักดคี ำ, ววิ ฒั นาการพระปรางคใ์ นศิลปะไทย, <https://www.youtube.com/watch?v=Rble_P0UW2U>, 2 มนี าคม 2561. ศานติ ภกั ดีคำและศศิธร โตวินสั , จารึกอยุธยา ทีพิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาตเิ จ้าสามพระยา, 20 ต.ค. 2561, <https://www.youtube.com/watch?v=BessEhxBcTY> ศรีศักร วัลลิโภดม, อดตี ในอนาคต(ตอนท2่ี 3) \"มณั ฑละแหง่ ทวารวด\"ี และ\"ศรีจนาศะทศ่ี รีทพ” <https://www.youtube.com/watch?v=uuifwcIz5cE>, 12 มีนาคม 2562. ศิลป์ พีระศรี, ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี บดิ าแห่งศิลปะสมัยใหมข่ องไทย, < https://www.youtube.com/watch?v=Md-3anz6LsY>, 2558.

มคอ ๓ ศลิ ปกรรมในพระพทุ ธศาสนา | ๑๓ ศลิ ปส์ โมสรเสวนา, \"จากพกุ ามมรดกโลกเชอื่ มเราสู่เสน้ ทางพุทธศาสนาอาเซียน\"< <https://www.youtube.com/watch?v=_Q88gqt9q2I>, 2 สิงหาคม 2562. สุภัทรดศิ ดิศกุล, ศิลปะในประเทศไทย, มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, พมิ พ์ครั้งทเ่ี ก้า 2534. สจุ ิตต์ วงษ์เทศ, หมอแคนหมอลำ ตน้ ทางสร้างสรรคว์ รรณกรรมนานาชาตพิ ันธุ์, <https://www.youtube.com/watch?v=poG5unJdJ4U>, 14 กันยายน 2561. สุเนตร ชตุ นิ ธรานนท์ & อ.วรี ะ ธรี ภัทร, คยุ เฟื่องเรอื่ งเขมร สงั เขปประวตั ิศาสตร์เขมรโบราณ, <https://www.youtube.com/watch?v=z3PS0i9ZuGY>, 23 มีนาคม 2561. อมรภัทร เสริมทรัพย์,“บทเพลง : พระพุทธเจ้า” <https://www.youtube.com/watch?v=DDIcMy5Rr4Q>

๑๔ | มคอ ๓ ศลิ ปกรรมในพระพทุ ธศาสนา หมวดท่ี ๗ การประเมินและปรบั ปรงุ การดำเนินการของรายวิชา ๑. กลยทุ ธ์การประเมินประสทิ ธผิ ลของรายวิชาโดยนสิ ติ การประเมนิ ประสทิ ธิผลในรายวชิ านี้ ทีจ่ ัดทำโดยนสิ ิต ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคดิ และความเห็นจากนสิ ิตไดด้ ังน้ี - การสนทนากลมุ่ ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสังเกตการณจ์ ากพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น - แบบประเมนิ ผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผสู้ อนได้จัดทำเป็นช่องทางการสอ่ื สารกับนิสิต ๒. กลยทุ ธ์การประเมนิ การสอน ในการเกบ็ ขอ้ มูลเพอื่ ประเมนิ การสอน ไดม้ ีกลยทุ ธ์ ดงั น้ี - การสงั เกตการณส์ อนของผรู้ ว่ มทมี การสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมนิ การเรียนรู้ ๓. การปรับปรงุ การสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ ในการปรบั ปรงุ การสอน ดงั น้ี - สัมมนาการจดั การเรยี นการสอน - การวิจยั ในและนอกชน้ั เรียน ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนสิ ิตในรายวชิ า ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวชิ า ไดจ้ าก การสอบถามนิสิต หรือการสุม่ ตรวจผลงานของนิสติ รวมถึงพจิ ารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลงั การออกผลการเรยี นรายวิชา มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวชิ าไดด้ งั นี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่ อาจารย์ประจำหลกั สูตร - มกี ารตงั้ คณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนร้ขู องนิสิต โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการใหค้ ะแนนสอบ และการใหค้ ะแนนพฤตกิ รรม ๕. การดำเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรบั ปรุงประสิทธผิ ลของรายวชิ า จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธป์ิ ระสิทธิผลรายวชิ า ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพ่อื ใหเ้ กดิ คณุ ภาพมากข้นึ ดังน้ี - ปรับปรงุ รายวิชาทกุ ๓ ปี หรอื ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔ - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพ่ือให้นิสิตมีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้น้ีกับปัญหาที่มาจาก งานวิจัยของอาจารย์หรืออตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook