Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารสำหรับดาวน์โหลดตะกร้อ

เอกสารสำหรับดาวน์โหลดตะกร้อ

Published by tiang010541, 2020-10-29 05:46:50

Description: เอกสารสำหรับดาวน์โหลดตะกร้อ

Keywords: ตะกร้อ

Search

Read the Text Version

คำนำ

คู่มือผู้ตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อเล่มนี้ กรมพลศึกษาจัดทำขึ้นเพ่ือเผยแพร่ความรู้ ด้านการตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อ ให้มีความทันสมัย มีมาตรฐานสูงขึ้น สอดคล้องกับการจัดการ แขง่ ขนั กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ในปจั จบุ นั และมอบใหแ้ กผ่ ตู้ ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ และผทู้ ส่ี นใจทว่ั ไป ได้ใช้เป็นคู่มือในการตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อ การดำเนินการได้รับความร่วมมือจาก สมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทยและผู้เช่ียวชาญด้านกีฬาเซปักตะกร้อมาเป็นวิทยากร และร่วมจดั ทำต้นฉบบั กรมพลศึกษาขอขอบคุณสมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทยและผู้เช่ียวชาญทุกท่าน ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำคู่มือผู้ตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อ จนสำเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อ และผู้ที่สนใจทั่วไปได้ศึกษา ค้นคว้า และนำไปใช้ในการพัฒนาการตัดสินและการจัดการแข่งขัน กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ใหม้ มี าตรฐานสงู ขนึ้ สนองตอ่ นโยบายและแผนพฒั นาการกฬี าของชาตติ อ่ ไป กรมพลศึกษา มนี าคม 2555



SEPAK TAKRAW สารบัญ หนา้ คำนำ สารบัญ หลกั สูตรการฝึกอบรมผตู้ ดั สนิ กฬี าเซปักตะกรอ้ 1 ตารางการฝกึ อบรมผ้ตู ดั สินกฬี าเซปกั ตะกร้อ 16 ประวตั ิกีฬาตะกร้อ (TAKRAW) 17 ประวัติกฬี าเซปกั ตะกรอ้ (SEPAK TAKRAW) 18 คุณสมบตั ขิ องผตู้ ดั สินกีฬาเซปักตะกร้อ 21 จรรยาบรรณการเปน็ ผู้ตดั สนิ กฬี าทีด่ ี 22 จรรยาบรรณของผตู้ ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ 25 กรรมการผชู้ ข้ี าด (Official Referee) 26 ผ้ตู ัดสินกีฬา (Match Referee) 27 ผูช้ ่วยผ้ตู ดั สินกฬี า (Assistant Referee) 29 กรรมการประจำสนาม (Court Referee) 30 ผู้ตดั สนิ กำกบั เส้น (Line Referee) 31 เจา้ หน้าที่ผปู้ ระกาศการแข่งขันกีฬาเซปกั ตะกร้อ 32 กติกาเซปกั ตะกร้อของสหพนั ธเ์ ซปกั ตะกรอ้ นานาชาติ (ISTAF) 34 แนวปฏิบัตแิ ละการใช้กตกิ าเซปักตะกร้อของสหพันธ์เซปกั ตะกร้อนานาชาติ (ISTAF) 47 แนวปฏบิ ัติ การใชค้ ำพดู สัญญาณมอื ในการตัดสนิ กฬี าเซปักตะกร้อ 59 การบนั ทกึ ใบบนั ทกึ คะแนน 65 ภาคผนวก 66



ห ลักสูตรการฝึกอบรม ผู้ตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อ ระยะเวลาดำเนินการ : จำนวน 5 วัน (ไมน่ อ้ ยกว่า 30 ชั่วโมง) เนื้อหาหลกั สตู ร ลำดบั กิจกรรม บรรยาย อภิปราย ฝกึ ปฏิบตั ิ สเื่อทนควโัตนกโลรรยมี ปรทะดเสมอนิ บผล จชำว่ั นโมวนง ที่ เนือ้ หา สาธิต 1 Pre test ความรู้ กฎ กตกิ า - - - - Pre test 1 การตัดสนิ กีฬาเซปกั ตะกรอ้ 2 ประวัตกิ ีฬาตะกร้อและกฬี าเซปกั ตะกร้อ ✓ ✓ - Power Point, VCD - 1.30 ววิ ฒั นาการ กฎ กตกิ าการตดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 3 คุณสมบัตแิ ละจรรยาบรรณ ✓ - - Power Point, VCD - 2 ของผู้ตดั สนิ กีฬาเซปักตะกรอ้ ที่ดี 4 หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของกรรมการผชู้ ข้ี าด ✓ - - Power Point, VCD - 1.30 ผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สนิ กฬี า ผตู้ ดั สนิ กำกบั เสน้ และกรรมการประจำสนาม 5 หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ ✓ - - Power Point, VCD - 1 ของเจ้าหนา้ ท่ีเทคนิคการแข่งขัน 6 กติกาขอ้ ท่ี 1-4 ✓ ✓ - Power Point, VCD - 1 7 กตกิ าขอ้ ท่ี 5-8 ✓ ✓ - Power Point, VCD - 1.30 8 กติกาข้อที่ 9-13 ✓ ✓ - Power Point, VCD - 2 9 กตกิ าข้อท่ี 14-18 ✓ ✓ - Power Point, VCD - 1.30 10 สัญญาณมอื ในการตัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ ✓ - ✓ Power Point, VCD - 1 11 เอกสารและอปุ กรณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การตดั สนิ ✓ - ✓ Power Point - 2.30 กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 12 แนวปฏิบตั ิ การใชค้ ำพูดในการตดั สนิ ✓ - ✓ Power Point, VCD - 3.30 กีฬาเซปักตะกรอ้ 13 ฝกึ ปฏิบตั ิการตัดสิน ✓ ✓ ✓ Power Point, VCD - 3.30 14 ฝึกปฏิบัติการตดั สนิ (ต่อ) ✓ ✓ ✓ Power Point, VCD - 3.30 15 ฝึกปฏบิ ตั ิการตัดสนิ (ตอ่ ) ✓ ✓ ✓ Power Point, VCD - 3.30 16 อภปิ ราย ซกั ถาม Post test ✓ ✓ - VCD Post test 2 รวม 35 ค่มู อื ผู้ตดั สินกีฬาเซปักตะกรอ้ 1

ร ายละเอยี ดประกอบหลกั สตู รการฝึกอบรม ผู้ตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อ หวั ขอ้ เนอ้ื หา ทดสอบกอ่ นการเขา้ รบั การฝกึ อบรมผ้ตู ดั สินกฬี าเซปักตะกรอ้ ระยะเวลา ทฤษฎี 1 ชัว่ โมง ขอบขา่ ยเนื้อหา ทดสอบความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั กฎ กตกิ า ระเบยี บการแขง่ ขนั และการปฏบิ ตั หิ นา้ ท ่ี เป็นผู้ตดั สินกฬี า เน้ือหา แบบทดสอบปรนยั 60 ข้อ กิจกรรมการเรยี น ทดสอบภาคทฤษฎี (Pre test) สอื่ และอปุ กรณก์ ารฝึกอบรม แบบทดสอบปรนัย 60 ข้อ 2 ค่มู ือผูต้ ดั สินกฬี าเซปักตะกรอ้

หวั ข้อเนอื้ หา ประวตั ิกีฬาตะกรอ้ และกีฬาเซปกั ตะกร้อ วิวัฒนาการ กฎ กติกาการตดั สินกีฬาเซปกั ตะกรอ้ ระยะเวลา ทฤษฎี 1.30 ชว่ั โมง ขอบข่ายเนื้อหา ศึกษาประวัติและววิ ัฒนาการของกฎ กติกาการตัดสินกฬี าเซปักตะกร้อ เนื้อหา 1. ประวัตกิ ีฬาตะกร้อ / เซปกั ตะกร้อ 2. ววิ ฒั นาการ กฎ กตกิ าการตัดสินกฬี าเซปกั ตะกรอ้ ก จิ กรรมการเรียน 1. บรรยาย 2. อธบิ าย 3. ซกั ถาม 4. ตอบคำถาม ส อื่ และอปุ กรณ์การฝกึ อบรม 1. VCD 2. รปู ภาพ 3. Power point ค่มู อื ผตู้ ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 3

หวั ข้อเนือ้ หา คุณสมบตั ิและจรรยาบรรณของผู้ตัดสินกฬี าเซปกั ตะกร้อท่ีด ี ระยะเวลา ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ขอบข่ายเนือ้ หา ศึกษาคุณสมบัติของผู้ตัดสินกีฬาที่ดี คุณลักษณะเบ้ืองต้นของผู้ตัดสินกีฬา จรรยาบรรณของผู้ตัดสินกีฬา และการปฏิบัติตน ก่อน ระหว่าง หลัง การปฏบิ ตั หิ น้าทผี่ ูต้ ัดสนิ กฬี า เนอ้ื หา 1. คณุ สมบัตขิ องผู้ตดั สนิ กฬี าเซปักตะกรอ้ 2. คุณลักษณะเบ้อื งต้นของผู้ทจ่ี ะมาเป็นผตู้ ดั สนิ กีฬา 3. การปฏิบัตติ น กอ่ น ระหว่าง และหลังปฏิบัติหน้าที่ผู้ตัดสินกีฬา 4. จรรยาบรรณของผู้ตัดสนิ กีฬาเซปักตะกร้อ กจิ กรรมการเรยี น 1. บรรยาย 2. อธิบาย 3. ซกั ถาม 4. ตอบคำถาม สอ่ื และอุปกรณก์ ารฝึกอบรม 1. รูปภาพ 2. Power point 4 คมู่ ือผตู้ ัดสินกีฬาเซปกั ตะกรอ้

หวั ขอ้ เนอื้ หา หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของกรรมการผชู้ ข้ี าด ผตู้ ดั สนิ กฬี า ผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สนิ กฬี า ผตู้ ัดสนิ กำกับเส้น และกรรมการประจำสนาม ระยะเวลา ทฤษฎี 1.30 ช่ัวโมง ขอบขา่ ยเน้อื หา ศึกษาหน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของกรรมการผชู้ ้ขี าด ผตู้ ดั สนิ กฬี า ผู้ชว่ ยผตู้ ัดสินกีฬา ผู้ตัดสนิ กำกบั เส้น และกรรมการประจำสนาม เนอ้ื หา 1. หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของกรรมการผู้ชข้ี าด (Official Referee) 2. หน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของผู้ตดั สินกฬี า (Match Referee) 3. หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของผชู้ ่วยผ้ตู ดั สนิ กีฬา (Assistant Referee) 4. หน้าที่และความรับผิดชอบของผตู้ ดั สนิ กำกับเส้น (Line Referee) 5. หน้าทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของกรรมการประจำสนาม (Court Referee) กจิ กรรมการเรยี น 1. บรรยาย 2. อธบิ าย 3. ซักถาม 4. ตอบคำถาม ส่ือและอปุ กรณ์การฝึกอบรม 1. VCD 2. รูปภาพ 3. Power point คู่มอื ผู้ตัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ 5

หัวขอ้ เนื้อหา หน้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบของเจ้าหน้าทเี่ ทคนิคการแขง่ ขนั ระยะเวลา ทฤษฎี 1 ช่ัวโมง ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ศกึ ษาคณุ สมบัตแิ ละหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบของเจา้ หน้าทเ่ี ทคนิคการแข่งขนั เนือ้ หา 1. หนา้ ที่และความรับผิดชอบของเจา้ หนา้ ท่ผี ู้ประกาศ 2. หน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบของเจา้ หน้าทท่ี ะเบยี น กจิ กรรมการเรียน 1. บรรยาย 2. อธิบาย 3. ซักถาม 4. ตอบคำถาม สอ่ื และอุปกรณก์ ารฝกึ อบรม 1. Power point 6 คมู่ ือผ้ตู ัดสนิ กีฬาเซปกั ตะกรอ้

หวั ขอ้ เนอ้ื หา กติกาเซปักตะกร้อ ขอ้ ที่ 1-4 7 ระยะเวลา ทฤษฎี 1 ชวั่ โมง ขอบข่ายเนอ้ื หา ศกึ ษากตกิ าเซปกั ตะกร้อ ขอ้ ที่ 1-4 เน้ือหา 1. กตกิ าข้อที่ 1 (สนามแข่งขนั ) 2. กติกาข้อที่ 2 (เสา) 3. กติกาข้อท่ี 3 (ตาขา่ ย) 4. กติกาข้อท่ี 4 (ลกู ตะกรอ้ ) กจิ กรรมการเรยี น 1. บรรยาย 2. อธิบาย 3. ซกั ถาม 4. ตอบคำถาม สอื่ และอุปกรณ์การฝึกอบรม 1. VCD 2. รูปภาพ 3. Power point ค่มู อื ผูต้ ัดสินกฬี าเซปักตะกร้อ

หัวขอ้ เน้อื หา กตกิ าเซปกั ตะกรอ้ ข้อที่ 5-8 ระยะเวลา ทฤษฎี 1.30 ชั่วโมง ขอบข่ายเนื้อหา ศกึ ษากตกิ าเซปักตะกร้อ ขอ้ ท่ี 5-8 เน้ือหา 1. กติกาข้อที่ 5 (ผเู้ ลน่ ) 2. กตกิ าข้อท่ี 6 (เคร่อื งแตง่ กายของผเู้ ล่น) 3. กตกิ าข้อที่ 7 (การเปล่ยี นตวั ผูเ้ ลน่ ) 4. กติกาขอ้ ท่ี 8 (การเส่ยี งและการอบอ่นุ ร่างกาย) กิจกรรมการเรียน 1. บรรยาย 2. อธิบาย 3. ซกั ถาม 4. ตอบคำถาม สื่อและอุปกรณ์การฝึกอบรม 1. VCD 2. รูปภาพ 3. Power point 8 คู่มอื ผตู้ ัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้

หัวขอ้ เนื้อหา กตกิ าเซปกั ตะกร้อ ข้อท่ี 9-13 ระยะเวลา ทฤษฎี 2 ช่วั โมง ขอบขา่ ยเน้อื หา ศกึ ษากติกาเซปกั ตะกร้อ ข้อท่ี 9-13 เน้ือหา 1. กติกาขอ้ ท่ี 9 (ตำแหน่งผเู้ ลน่ ในระหวา่ งการส่งลูก) 2. กติกาข้อที่ 10 (การเริม่ เลน่ และการส่งลกู ) 3. กติกาข้อที่ 11 (การผดิ กตกิ า) 4. กตกิ าขอ้ ที่ 12 (การนบั คะแนน) 5. กตกิ าข้อที่ 13 (การขอเวลานอก) กิจกรรมการเรยี น 1. บรรยาย 2. อธิบาย 3. ซกั ถาม 4. ตอบคำถาม ส่ือและอปุ กรณก์ ารฝึกอบรม 1. VCD 2. รปู ภาพ 3. Power point คู่มือผตู้ ดั สินกีฬาเซปักตะกรอ้ 9

หัวขอ้ เนอ้ื หา กติกาเซปกั ตะกรอ้ ขอ้ ท่ี 14-18 ระยะเวลา ทฤษฎี 1.30 ช่ัวโมง ขอบข่ายเน้อื หา ศกึ ษากติกาเซปักตะกรอ้ ขอ้ ท่ี 14-18 เนอ้ื หา 1. กติกาขอ้ ท่ี 14 (การหยุดการแข่งขันชว่ั คราว) 2. กติกาข้อท่ี 15 (วนิ ัยและมารยาทในการแขง่ ขนั ) 3. กตกิ าขอ้ ที่ 16 (การลงโทษ) 4. กตกิ าข้อท่ี 17 (ความผิดของเจ้าหนา้ ทที่ มี ) 5. กตกิ าขอ้ ที่ 18 (บททั่วไป) กิจกรรมการเรยี น 1. บรรยาย 2. อธบิ าย 3. ซักถาม 4. ตอบคำถาม สือ่ และอุปกรณก์ ารฝกึ อบรม 1. VCD 2. รปู ภาพ 3. Power point 10 คู่มือผตู้ ดั สินกีฬาเซปักตะกร้อ

หวั ขอ้ เนอื้ หา สญั ญาณมือในการตัดสินกีฬาเซปักตะกรอ้ ระยะเวลา ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ 1 ชั่วโมง ขอบข่ายเน้ือหา ศกึ ษาสญั ญาณมือของผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สินในการตดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ เน้ือหา สัญญาณมือในการตัดสินกีฬาเซปกั ตะกรอ้ กจิ กรรมการเรยี น 1. อธิบาย 2. สาธติ ส่อื และอปุ กรณ์การฝกึ อบรม 1. VCD 2. รูปภาพ 3. Power point คู่มือผู้ตัดสินกฬี าเซปักตะกรอ้ 11

หัวขอ้ เนอื้ หา เอกสารและอุปกรณท์ ีเ่ ก่ยี วข้องกบั การตดั สินกีฬาเซปักตะกร้อ ระยะเวลา ทฤษฎีและปฏิบตั ิ 2.30 ชวั่ โมง ขอบขา่ ยเนื้อหา ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิ ใบสง่ รายชอื่ นกั กฬี าทมี เดย่ี ว ทมี ชดุ ใบบนั ทกึ คะแนนทมี เดย่ี ว ทีมชดุ ใบเปลยี่ นตวั นักกฬี า ใบจัดกิจกรรมผตู้ ัดสนิ ทีมเดย่ี ว ทีมชดุ ใบรายงานผล ทมี เดี่ยว ทีมชดุ และอุปกรณท์ ่เี กยี่ วขอ้ งกบั การตัดสินกีฬาเซปักตะกรอ้ เนือ้ หา 1. ใบส่งรายช่ือทมี เด่ยี ว ทีมชดุ 2. ใบบันทกึ คะแนนทีมเดย่ี ว ทีมชุด 3. ใบเปลีย่ นตวั นักกีฬา 4. ใบจดั กจิ กรรมผู้ตัดสิน 5. ใบรายงานผลทมี เด่ียว ทีมชุด 6. อุปกรณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกับการตัดสิน กิจกรรมการเรียน 1. บรรยาย 2. อธิบาย 3. ซกั ถาม 4. ตอบคำถาม สอ่ื และอุปกรณก์ ารฝกึ อบรม 1. ใบสง่ รายชื่อ ใบบันทกึ คะแนน ใบเปลยี่ นตัว ใบจัดกรรมการผตู้ ดั สนิ 2. Power point 3. เหรยี ญเส่ียง บัตรเหลอื ง บัตรแดง 12 คู่มอื ผูต้ ัดสินกฬี าเซปักตะกรอ้

หัวข้อเนื้อหา แนวปฏิบัติ การใช้คำพดู ในการตัดสินกีฬาเซปกั ตะกรอ้ ระยะเวลา ทฤษฎแี ละปฏิบตั ิ 3.30 ช่วั โมง ขอบข่ายเนือ้ หา ศกึ ษาข้ันตอนและแนวปฏิบตั ใิ นการตดั สินกีฬาเซปักตะกรอ้ เน้ือหา ขน้ั ตอนและแนวปฏบิ ัตใิ นการตดั สินกีฬาเซปักตะกรอ้ กจิ กรรมการเรยี น 1. อธบิ าย 2. สาธิต 3. ซกั ถาม 4. ตอบคำถาม ส่ือและอุปกรณก์ ารฝกึ อบรม 1. VCD 2. รูปภาพ 3. Power point ค่มู อื ผู้ตดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 13

หวั ขอ้ เนือ้ หา ฝกึ ปฏบิ ตั ิการตัดสินกีฬาเซปักตะกรอ้ ระยะเวลา ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ 10.30 ชวั่ โมง ขอบขา่ ยเนอื้ หา ศกึ ษาและปฏิบตั ิเก่ยี วกับการฝึกปฏบิ ตั ิการตดั สินกีฬาเซปกั ตะกร้อ การปฏิบตั หิ น้าท่ีของเจา้ หน้าท่เี ทคนคิ การแขง่ ขนั เน้ือหา 1. ลำดับขน้ั ตอนในการตดั สิน 2. คำพูดทเ่ี กยี่ วข้องในการตัดสนิ กจิ กรรมการเรยี น 1. ฝกึ ปฏบิ ตั ิการตดั สิน 2. ประเมนิ การตดั สิน 3. อภปิ รายและแนะนำการตัดสิน สื่อและอปุ กรณ์การฝึกอบรม 1. ใบสง่ รายช่ือ 2. แบบประเมินการตดั สิน 3. สนามแขง่ ขนั ลูกตะกร้อ 14 คมู่ อื ผูต้ ัดสินกฬี าเซปกั ตะกรอ้

หัวขอ้ เนอ้ื หา อภปิ ราย ซักถามปัญหา ทดสอบหลังเขา้ รับการฝึกอบรม ผู้ตัดสนิ กีฬาเซปักตะกร้อ (Post test) ระยะเวลา ทฤษฎี 2 ช่ัวโมง ขอบข่ายเนือ้ หา เปิดโอกาสให้ผู้รับการฝึกอบรมผู้ตัดสินกีฬาเซปักตะกร้อ ได้ซักถามปัญหา เกี่ยวกับกติกา ขั้นตอนในการตัดสิน การปฏิบัติในการตัดสิน และทดสอบ ความรู้หลังจากเขา้ รบั การฝกึ อบรม (Post test) เนื้อหา 1. ซักถามปัญหาเก่ียวกับกตกิ าการแขง่ ขัน ขน้ั ตอนการตดั สนิ การปฏบิ ัติในการตัดสนิ 2. แบบทดสอบปรนยั 60 ขอ้ กิจกรรมการเรียน 1. อภปิ ราย ซกั ถามปญั หารว่ มกนั 2. ดู VCD 3. ทดสอบหลงั การฝกึ อบรม (Post test) สอ่ื และอปุ กรณ์การฝกึ อบรม แบบทดสอบปรนยั 60 ขอ้ ค่มู ือผ้ตู ัดสินกีฬาเซปกั ตะกรอ้ 15

เวลา พกั 12.00-13.00 น. ตารางการฝกึ อบรมผู้ตดั สินกีฬาเซปกั ตะกร้อ วันท ่ี 16 คมู่ ือผตู้ ัดสินกีฬาเซปักตะกรอ้ 1 08.30-09.30 น. 09.30-10.30 น. 10.30-12.00 น. 13.00-15.00 น. 15.00-16.30 น พธิ เี ปดิ Pre test ความรู้ ประวตั กิ ฬี าตะกรอ้ คณุ สมบตั แิ ละจรรยาบรรณ หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ กฎ กตกิ าการตดั สนิ ววิ ฒั นาการ กฎ กตกิ า ของผตู้ ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ของกรรมการผชู้ ข้ี าด ผตู้ ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สนิ ผตู้ ดั สนิ กำกบั เสน้ การตดั สนิ ทด่ี ี และกรรมการประจำสนาม กฬี าเซปกั ตะกรอ้ หนา้ ทแี่ ละ ความรบั ผดิ ชอบ 2 ของเจา้ หนา้ ทเี่ ทคนคิ กตกิ าขอ้ ท่ี 1-4 กตกิ าขอ้ ท่ี 5-8 กตกิ าขอ้ ท่ี 9-13 กตกิ าขอ้ ท่ี 14-18 การแขง่ ขนั สญั ญาณมอื เอกสารและอปุ กรณท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง แนวปฏบิ ตั ิ การใชค้ ำพดู ในการตดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 3 ในการตดั สนิ กฬี า กบั การตดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ เซปกั ตะกรอ้ 4 ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารตดั สนิ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารตดั สนิ (ตอ่ ) 5 ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารตดั สนิ (ตอ่ ) อภปิ ราย ซกั ถาม พธิ ปี ดิ Post test

ป ระวัติกีฬาตะกร้อ (TAKRAW) คำว่า “ตะกร้อ” ตามพจนานุกรม หมายถึง ของเล่นชนิดหนึ่งที่สานด้วยหวาย สำหรบั เตะเลน่ ตามพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2542 ให้คำนยิ ามไวว้ า่ ลกู กลม สานด้วยหวายเป็นตาๆ สำหรับเตะ ต้นกำเนิดตะกร้อเกิดขึ้นเม่ือใด สมัยใด ไม่สามารถบอกได้แน่นอน เพราะไม่ได้มี การจดบันทึกไว้ อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ พงศาวดารและจดหมายเหตุต่างๆ พอจะวเิ คราะหไ์ ดว้ า่ ตะกรอ้ มมี าในประเทศไทยเปน็ เวลาชา้ นานแลว้ ในขณะเดยี วกนั หลายประเทศ ต่างก็เข้าใจว่า ตะกร้อเกิดข้ึนในประเทศของตนและได้แผ่อิทธิพลเข้าไปในประเทศข้างเคียง มีผู้รู้ บางท่านกลา่ ววา่ ตะกรอ้ เริ่มมมี าในสมัยกรุงศรอี ยุธยาตอนปลาย ตะกร้อทำด้วยหวายใช้เล่นกันในประเทศพม่า ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และท่ีน่าสนใจ คอื พวกไดยัค บอร์เนียว มีตะกรอ้ หวายเล่น วิธีเลน่ แบบเดียวกบั ไทย การเรียกช่ือของประเทศตา่ งๆ มีดังน้ ี • พม่า สานด้วยหวาย เป็นแบบหลวมโปร่ง น้ำหนักเบา ขนาดเท่ารูตะกร้อของไทย เรยี กว่า ชินลง (CHING LOONG) • ลาว สานดว้ ยหวายเสน้ เลก็ มรี ถู ยี่ บิ นำ้ หนกั เบาขนาดเทา่ ลกู ตะกรอ้ ของไทย เรยี กวา่ กะตอ้ (KATOR) • มาเลเซีย สิงคโปร์ บรไู น สานด้วยหวาย มีสองหรอื สามชั้น ไม่มรี ู ลกู เลก็ อยู่ข้างใน น้ำหนักเบา มคี วามยืดหยนุ่ น้อย ขนาดเลก็ กวา่ ลกู ตะกร้อของไทย เรียกวา่ รากา (RAGA) • อินโดนเี ซยี เรียกวา่ ราโก (RAGO) • ฟิลิปปนิ ส์ เรียกว่า ซปี า้ (SIPA) • สาธารณรัฐประชาชนจีน นำเอาขี้เถ้ามาป้ันเป็นก้อนกลมๆ แล้วห่อด้วยสำลีหรือผ้านุ่ม นำขนหางไกฟ่ า้ มาปกั ลกั ษณะคลา้ ยหัวหอมทม่ี ใี บอยู่ เรียกว่า แตกโก (T’EK K’AU) • สาธารณรฐั เกาหลี นำเอาดนิ หรอื ขี้เถา้ หอ่ ด้วยสำลีหรอื ผา้ นมุ่ นำขนหางไก่ฟา้ มาปัก ลกั ษณะคลา้ ยหัวหอมท่มี ีใบอยู่ คำเรียก เอามาจากภาษาจีน • ไทย สานด้วยหวายเป็นตาๆ ลักษณะลูกทรงกลม เรียกว่า ตะกร้อ (TAKRAW) คนไทยนยิ มเลน่ ตะกรอ้ วง ตะกรอ้ ลอดหว่ ง และตะกร้อขา้ มตาขา่ ย (แบบไทย) ค่มู ือผ้ตู ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 17

ป ระวัติกีฬาเซปักตะกร้อ (SEPAK TAKRAW) เซปักตะกร้อ สันนิษฐานว่าไม่ได้เป็นกีฬาดั้งเดิมของไทยอย่างแน่นอน เพราะคนไทย นยิ มเลน่ เฉพาะตะกรอ้ วง ตะกรอ้ ลอดหว่ ง และตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ย (แบบไทย) เทา่ นน้ั สว่ นประเทศ มาเลเซยี สงิ คโปร์ เรม่ิ มกี ารเลน่ ตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ยในตอนปลายสงครามโลกครง้ั ที่ 2 หรอื ประมาณ ปี พ.ศ. 2488 โดยประเทศมาเลเซยี ไดป้ ระกาศยนื ยนั วา่ ตะกรอ้ เปน็ กีฬาของประเทศมาลายเู ดิม เรยี กว่า เซปกั รากา (SEPAK RAGA) เซปักตะกรอ้ มปี ระวตั ิความเปน็ มา ดงั นี ้ พ.ศ. 2502 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) คร้ังที่ 1 ข้ึนท่ีกรุงเทพมหานคร ได้มีการสาธิตการเตะตะกร้อวง และตะกร้อพลิกแพลงร่วมกับนักกีฬา ตะกรอ้ พมา่ พ.ศ. 2504 ประเทศพม่าเป็นเจ้าภาพจัดกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) คร้ังที่ 2 ขน้ึ ทีก่ รงุ ยา่ งกุ้ง นกั กีฬาตะกรอ้ ไทยไดไ้ ปรว่ มสาธติ การเตะตะกร้อวง ตะกร้อลอดห่วง และตะกร้อ ขา้ มตาข่าย พ.ศ. 2508 ประมาณเดือนเมษายน สมาคมกีฬาไทยในพระราชูปถัมภ์ ได้จัดงาน เทศกาลกฬี าไทย ณ ท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร ครัง้ นน้ั สมาคมกีฬาตะกรอ้ จากเมืองปีนัง ประเทศมาเลเซยี ไดน้ ำวธิ กี ารเลน่ ตะกรอ้ ของมาเลเซยี คอื “เซปกั รากา จารงิ ” (SEPAK RAGA JARING) มาเผยแพรเ่ พอ่ื เชอ่ื มสมั พนั ธไมตรี และแลกเปลยี่ นศลิ ปวฒั นธรรมระหวา่ งประเทศไทยกบั มาเลเซยี โดยจัดให้มีการสาธิตกีฬาของท้ังสองประเทศ ใช้วิธีเล่นตามกติกาของประเทศมาเลเซีย 1 วัน และเล่นตามกติกาของประเทศไทย 1 วัน กตกิ าของไทย ตะกรอ้ ไทยใชก้ ติกาการแขง่ ขนั แบบเสิรฟ์ ขา้ มตาข่ายคล้ายกับกีฬาแบดมนิ ตนั มีสาระสำคญั ดังน ี้ 1. สนามแขง่ ขันและตาขา่ ยคลา้ ยกนั กบั กฬี าแบดมนิ ตนั (ความยาวสนามสั้นกวา่ ) 2. จำนวนผูเ้ ลน่ และคะแนนการแขง่ ขนั • การเล่น 3 คน แตล่ ะเซ็ทจบเกมท่ี 21 คะแนน (แขง่ ขัน 2 ใน 3 เซท็ ) • การเลน่ 2 คน แตล่ ะเซท็ จบเกมที่ 15 คะแนน (แข่งขัน 2 ใน 3 เซ็ท) • การเล่น 1 คน แต่ละเซท็ จบเกมท่ี 11 คะแนน (แขง่ ขัน 2 ใน 3 เซ็ท) 3. ผเู้ ลน่ แตล่ ะคน แตล่ ะทมี สามารถเล่นไดไ้ ม่เกนิ 2 ครง้ั (2 จงั หวะ) 18 คมู่ ือผ้ตู ัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้

4. ผู้เล่นแต่ละคน แต่ละทีม ช่วยกันไม่ได้ หากผู้ใดถูกลูกตะกร้อในจังหวะแรก ผ้นู นั้ ต้องเลน่ ลูกใหข้ ้ามตาข่ายตอ่ ไป 5. การเสิรฟ์ แตล่ ะคนตอ้ งโยนและเตะดว้ ยตนเองตามลำดบั กบั มอื เรยี กวา่ มือ 1 มือ 2 และมอื 3 มลี ูกสนั้ -ลกู ยาว กติกาของมาเลเซีย เล่นแบบข้ามตาข่าย เรียกว่า เซปัก รากา จาริง ดัดแปลงการเล่น มาจากกีฬาวอลเลย์บอล โดยมีนักกีฬาฝ่ายละ 3 คน แต่ละคนสามารถเล่นลูกตะกร้อได้ไม่เกิน คนละ 3 ครั้ง/จังหวะ และสามารถช่วยกันได้ ต้องให้ลูกตะกร้อข้ามตาข่าย แต่ละเซ็ทจบเกมท่ ี 15 คะแนน แข่งขัน 2 ใน 3 เซ็ท เช่นเดียวกัน การสาธติ กฬี าตะกรอ้ ระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซยี วนั แรก เลน่ กติกาของประเทศไทย ปรากฏวา่ ประเทศไทยชนะด้วยคะแนน 21 ตอ่ 0 วนั ทส่ี อง เลน่ กตกิ าของประเทศมาเลเซยี ปรากฏวา่ ประเทศมาเลเซยี ชนะดว้ ยคะแนน 15 ตอ่ 1 จากผลของการสาธิต จึงได้มีการประชุมพิจารณาร่วมกัน กำหนดกติกาการเล่นกีฬา ตะกรอ้ ข้ึนใหม่ เพ่ือนำเสนอเข้าแขง่ ขันในกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) คร้งั ท่ี 3 ดงั น้ ี • วิธีการเลน่ และรปู แบบของสนาม ให้ถือเอารปู แบบของประเทศมาเลเซยี • อุปกรณ์การแข่งขัน (ลูกตะกร้อ-เน็ต) และขนาดความสูงของเน็ตให้ถือเอารูปแบบ ของประเทศไทย • ให้ตงั้ ชอื่ ว่า “เซปัก-ตะกรอ้ ” เป็นภาษาของ 2 ชาติรวมกนั กล่าวคือคำวา่ “เซปัก” เปน็ ภาษามาเลเซยี แปลวา่ “เตะ” คำว่า “ตะกรอ้ ” เป็นภาษาไทย หมายถงึ “ลกู บอล” พ.ศ. 2508 เดือนธันวาคม ประเทศมาเลเซียเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) ครงั้ ที่ 3 ณ กรงุ กวั ลาลมั เปอร์ ไดบ้ รรจกุ ฬี าเซปกั ตะกรอ้ ชายทมี ชดุ ชงิ 1 เหรยี ญทอง เป็นครัง้ แรก มปี ระเทศเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั 4 ประเทศ คอื ไทย มาเลเซีย สงิ คโปร์ และลาว พ.ศ. 2520 ประเทศมาเลเซียเปน็ เจ้าภาพจัดการแขง่ ขนั กีฬาแหลมทอง (SEAP GAMES) ครั้งที่ 9 และได้เปล่ียนช่ือเป็นกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครั้งท่ี 9 โดยมีประเทศอินโดนีเซีย บรูไน ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เพ่ิมเข้ามา พ.ศ. 2526 กีฬาตะกร้อ เป็นกีฬาชนิดหน่ึงในสมาคมกีฬาไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ์ ต่อมาได้ก่อต้ังสมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทย เม่ือวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2526 โดยมี พันเอกจารกึ อารีราชการัณย์ เปน็ นายกสมาคมคนแรกจนถึงปัจจบุ นั พ.ศ. 2533 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ (ASIAN GAMES) ครั้งท่ี 11 ณ กรุงปักกิ่ง ได้บรรจุกีฬาเซปักตะกร้อชายทีมชุดและทีมเดี่ยว เป็นคร้ังแรก นอกจากนี้ยังได้เปล่ียนลูกตะกร้อหวาย (Rattan Ball) มาเป็นลูกตะกร้อพลาสติก (Synthetic Ball) เป็นครง้ั แรกอีกดว้ ย คู่มือผู้ตัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ 19

พ.ศ. 2540 ประเทศอินโดนีเซียเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครั้งที่ 19 ณ กรุงจากาตาร์ ได้บรรจุกีฬาเซปักตะกร้อหญิงทีมชุดและทีมเด่ียวอีก 2 เหรียญทอง เปน็ ครง้ั แรกรวมเป็น 4 เหรยี ญทอง พ.ศ. 2541 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ (ASIAN GAMES) ครั้งที่ 13 ณ กรุงเทพมหานคร ได้เพ่ิมกีฬาตะกร้อวง (Takraw Circle) ชายและหญิง อกี 2 เหรียญทองเปน็ ครง้ั แรก รวมเปน็ 6 เหรียญทอง พ.ศ. 2546 ประเทศเวียดนามเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครั้งท่ี 22 ณ กรุงฮานอย นอกจากกีฬาเซปักตะกร้อชิง 6 เหรียญทองแล้ว ยังได้บรรจุกีฬาที่มี การเล่นแบบเดียวกบั กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ทีเ่ รียกว่า กีฬาเตะลกู ขนไก่ (Shuttle Cock) เปน็ ครัง้ แรก พ.ศ. 2548 ประเทศฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ (SEA GAMES) ครง้ั ท่ี 23 ณ กรุงมนลิ า ได้จดั ใหม้ กี ารแขง่ ขันกีฬาเซปกั ตะกรอ้ ประเภทคู่ (Double) และตะกรอ้ ลอดห่วงสากล (Hoop Sepak Takraw) เปน็ ครงั้ แรก พ.ศ. 2549 ประเทศกาตารเ์ ปน็ เจา้ ภาพจดั การแขง่ ขนั กฬี าเอเชย่ี นเกมส์ (ASIAN GAMES) ครงั้ ท่ี 15 “โดฮาเกมส”์ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั กฬี าเซปกั ตะกรอ้ คู่ (Double Sepak Takraw) เปน็ ครง้ั แรก การจดั แขง่ ขนั กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ในการแขง่ ขนั ระดบั นานาชาติ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ ไดบ้ รรจเุ ขา้ ในการแขง่ ขนั ระดบั นานาชาตไิ ดแ้ ก่ กฬี าแหลมทอง กฬี าซเี กมส์ และกฬี าเอเชย่ี นเกมส์ ดงั น ี้ กีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 3 ปี พ.ศ. 2508 ประเทศมาเลเซีย กฬี าแหลมทอง ครง้ั ที่ 4 ปี พ.ศ. 2510 ประเทศไทย กฬี าแหลมทอง ครง้ั ที่ 5 ปี พ.ศ. 2512 ประเทศพมา่ (ไมม่ ีการแขง่ ขัน) กีฬาแหลมทอง ครง้ั ที่ 6 ปี พ.ศ. 2514 ประเทศมาเลเซีย กีฬาแหลมทอง ครง้ั ที่ 7 ปี พ.ศ. 2516 ประเทศสิงคโปร์ กีฬาแหลมทอง คร้งั ที่ 8 ปี พ.ศ. 2518 ประเทศไทย กีฬาแหลมทอง ครง้ั ที่ 9 ปี พ.ศ. 2520 ประเทศมาเลเซยี กีฬาซีเกมส์ ครง้ั ท่ี 10 ปี พ.ศ. 2522 ประเทศอินโดนเี ซยี กีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 11 ปี พ.ศ. 2524 ประเทศฟิลปิ ปนิ ส ์ กีฬาซเี กมส ์ ครงั้ ที่ 12 ปี พ.ศ. 2526 ประเทศสิงคโปร ์ กีฬาซเี กมส ์ ครั้งท่ี 13 ปี พ.ศ. 2528 ประเทศไทย กีฬาซเี กมส ์ ครงั้ ท่ี 14 ปี พ.ศ. 2530 ประเทศอินโดนีเซยี 20 คู่มือผู้ตดั สินกฬี าเซปักตะกร้อ

กีฬาซีเกมส ์ ครง้ั ที่ 15 ปี พ.ศ. 2532 ประเทศมาเลเซยี กฬี าซเี กมส ์ ครั้งท่ี 16 ปี พ.ศ. 2534 ประเทศฟิลิปปนิ ส ์ กฬี าซีเกมส์ ครั้งท่ี 17 ปี พ.ศ. 2536 ประเทศสิงคโปร ์ กฬี าซีเกมส์ คร้ังท่ี 18 ปี พ.ศ. 2538 ประเทศไทย กีฬาซเี กมส ์ ครั้งท่ี 19 ปี พ.ศ. 2540 ประเทศอนิ โดนีเซยี กฬี าซีเกมส์ ครั้งที่ 20 ปี พ.ศ. 2542 ประเทศบรไู น กฬี าซีเกมส์ ครง้ั ที่ 21 ปี พ.ศ. 2544 ประเทศมาเลเซยี กฬี าซเี กมส์ ครัง้ ที่ 22 ปี พ.ศ. 2546 ประเทศเวียดนาม กีฬาซเี กมส์ ครง้ั ท่ี 23 ปี พ.ศ. 2548 ประเทศฟลิ ิปปินส ์ กฬี าซีเกมส์ ครง้ั ท่ี 24 ปี พ.ศ. 2550 ประเทศไทย กีฬาซเี กมส์ ครั้งท่ี 25 ปี พ.ศ. 2552 ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว กีฬาซเี กมส์ ครั้งที่ 26 ปี พ.ศ. 2554 ประเทศอนิ โดนเี ซีย กฬี าเอเชย่ี นเกมส์ ครง้ั ที่ 11 ปี พ.ศ. 2533 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน กีฬาเอเชี่ยนเกมส ์ ครั้งที่ 12 ปี พ.ศ. 2537 ประเทศญป่ี ุ่น กีฬาเอเชย่ี นเกมส์ คร้งั ท่ี 13 ปี พ.ศ. 2541 ประเทศไทย กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 14 ปี พ.ศ. 2545 ประเทศสาธารณรฐั เกาหล ี กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 15 ปี พ.ศ. 2549 ประเทศกาตาร ์ กฬี าเอเชย่ี นเกมส์ ครงั้ ที่ 16 ปี พ.ศ. 2553 ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจนี ค่มู อื ผ้ตู ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกรอ้ 21

คุ ณสมบัตขิ องผตู้ ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ 1. บคุ ลกิ ดี แต่งกายดี เป็นทนี่ ับถอื ของผพู้ บเห็น 2. ตรงต่อเวลา 3. รา่ งกายแขง็ แรงและมคี วามพรอ้ มอยูเ่ สมอ 4. รอบรู้ เขา้ ใจในกตกิ าการแข่งขนั เปน็ อย่างด ี 5. สายตาดี มกี ารสังเกต และมศี ิลปะของการเปน็ ผู้ตัดสินกฬี า “แมน่ กติกา สายตาดี มีความยุติธรรม นำศลิ ปะมาใช้ในการตดั สิน” 6. มีจิตวิทยา มีความเข้าใจธรรมชาติของผเู้ ล่น และมีความยืดหยุ่น เมื่อไรควรเอาจริง เข้มงวด อดกล้ัน เพกิ เฉย หรือมองขา้ มการกระทำบางอยา่ ง 7. หมั่นหาประสบการณ์ ดูการแข่งขัน วิธีการเล่นของทีม และผู้เล่นแต่ละคน (ดเู ทคนคิ และแทคตกิ ) 8. อารมณ์มน่ั คง อดทน อดกลั้น มีสมาธิ ควบคุมสติตนเองไดท้ ุกสถานการณ์ 9. มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ท่ดี ี ใชค้ ำพูดเหมาะสม สุภาพอ่อนโยน 10. ยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู ื่น 11. หม่ันศึกษากติกาและติดตามการเคลื่อนไหวของวงการกีฬาเซปักตะกร้อท้ังในประเทศ และต่างประเทศ 12. เขา้ ร่วมสมั มนาผตู้ ดั สนิ กฬี าทกุ คร้ัง 13. มคี วามยุติธรรม 14. มคี วามเชอื่ มั่นในตนเอง มีความกล้าหาญ มกี ารตัดสินใจทดี่ ี และสามารถแก้ปัญหา เฉพาะหนา้ ไดท้ กุ สถานการณ์ “ผตู้ ัดสนิ กีฬายอ่ มไมโ่ ง”่ 15. อุปกรณก์ ารตดั สินต้องใช้ชนดิ ท่ดี ีมปี ระสิทธภิ าพ ได้แก่ นกหวดี และนาฬกิ าจบั เวลา 16. มีความรูค้ วามสามารถในการทำใบบนั ทึกคะแนน 17. สงั เกตความแตกตา่ งชนดิ ของแบบฟอรม์ ในระหว่างการแขง่ ขัน 18. ยอมรับการวิเคราะห์ ติชม ในการตัดสินของตนเองจากกรรมการเทคนิค หรอื ประธานผูต้ ดั สิน และนำไปแก้ไขปรับปรงุ ให้ดขี ้ึน 22 คู่มอื ผตู้ ดั สินกีฬาเซปกั ตะกรอ้

จ รรยาบรรณ การเป็นผูต้ ดั สนิ กีฬาทด่ี ี ความหมาย จรรยา - ความประพฤต ิ - แบบมาตรฐานความประพฤติอนั พงึ กระทำในการประกอบอาชพี บรรณ - หนงั สอื จรรยาบรรณ ประมวลความประพฤตสิ ำหรับผู้ประกอบอาชีพตา่ งๆ วเิ คราะหต์ ามคำศพั ทอ์ าจกลา่ วไดว้ า่ จรรยาบรรณ “มลี กั ษณะเฉพาะในแตล่ ะสาขาอาชพี ” ความหมายอย่างกวา้ งๆ พอประมวล ได้ดงั น้ ี จรรยาบรรณ คือ การจัดมาตรฐานความประพฤติสำหรับผู้ประกอบอาชีพใดอาชีพหน่ึง ยึดถือเป็นหลักประพฤติปฏิบัติในการประกอบอาชีพเพื่อให้เกิดผลดี เป็นที่น่าเช่ือถือ ยกย่อง สรรเสรญิ และเกิดศรัทธาแก่ผู้ประสบพบเหน็ หรอื ผู้คนโดยท่วั ไป สถาบันการศึกษาที่ผลิตบุคลากรไปประกอบอาชีพในแต่ละสาขา ต่างให้ความสำคัญ ในเรอ่ื งดงั กลา่ ว จงึ จดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนเกยี่ วกบั จรรยาบรรณสำหรบั อาชพี เชน่ จรรยาบรรณแพทย์ จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณพลศกึ ษา เป็นต้น ค ุณประโยชน์ของจรรยาบรรณ 1. นำประมวลมาตรฐานความประพฤติท่ียึดถือ เป็นหลักปฏิบัติในภารกิจการตัดสินกีฬา 2. การปฏิบตั หิ น้าทบ่ี งั เกดิ ผลด ี 3. ได้รบั ความเชือ่ ถือ ยกย่องสรรเสรญิ และเปน็ ทีศ่ รัทธาแก่ผู้คนท่วั ไป จ รรยาบรรณการเปน็ ผู้ตัดสนิ กฬี าทีด่ ีในเชิงปฏิบัติการ • คุณลักษณะเบือ้ งตน้ ของผู้ตดั สินกฬี า • การเปน็ ผ้ตู ดั สนิ กีฬา • การปฏบิ ัติตนเมื่อขน้ึ ทะเบยี นเปน็ ผตู้ ัดสนิ กีฬา • การปฏบิ ัติตนเมือ่ ได้รบั เชญิ เข้ารว่ มตัดสนิ กฬี า คมู่ อื ผตู้ ัดสินกฬี าเซปกั ตะกร้อ 23

• การปฏบิ ตั ิตนในวันทำการตัดสนิ กีฬา กอ่ นการแข่งขนั ระหว่างการแขง่ ขนั เมือ่ ส้นิ สุดการแข่งขัน คณุ ลกั ษณะเบือ้ งต้นของผ้ตู ัดสินกฬี า 1. มคี วามรกั และศรัทธาต่อการเปน็ ผตู้ ดั สนิ กฬี า 2. มคี วามร้แู ละประสบการณเ์ กี่ยวกบั เทคนิคการเลน่ 3. มีความเขา้ ใจในปรัชญาหรืออุดมการณ์ หรือหลกั การของกีฬานน้ั ๆ 4. มคี วามตง้ั ใจอย่างแรงกล้าทจี่ ะเป็นผูต้ ดั สนิ กีฬา 5. มีความเคารพและเช่ือมน่ั ในสถาบนั ผตู้ ดั สินกฬี า มเี กยี รติและศักดิ์ศรี จนมิอาจให้ผ้อู ืน่ หรอื แม้แต่ตนเองลบหลแู่ ละทำลายได้ การเปน็ ผู้ตัดสนิ กฬี า 1. ผ่านการฝกึ อบรมหลักสูตรการเป็นผู้ตดั สนิ กีฬาจากองค์กรกฬี าท่เี กี่ยวข้อง 2. ผา่ นการทดสอบตามเกณฑ์ขององค์กรกีฬาทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 3. ได้รับประกาศนยี บัตรและตราผู้ตัดสินกฬี าขององค์กรกฬี าทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 4. ได้รับการจดทะเบียนขนึ้ บัญชผี ตู้ ัดสินกฬี าขององค์กรกีฬาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 5. ไดร้ บั มอบหมายใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทผ่ี ตู้ ดั สนิ กฬี าทไี่ ดข้ นึ้ บญั ชไี วจ้ ากองคก์ รกฬี าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การปฏบิ ัติตนเมอื่ ขนึ้ ทะเบียนเปน็ ผูต้ ดั สนิ กีฬา 1. สรา้ งความพรอ้ มแก่ร่างกาย (ออกกำลงั กายเปน็ ประจำ) 2. สรา้ งความพร้อมทางด้านความร้เู ก่ียวกับกตกิ า (ศึกษา ตีความ) 3. สรา้ งความพรอ้ มด้านนำกตกิ าไปใช้ (สร้างสถานการณส์ มมุต)ิ 4. เตรียมความพรอ้ มเก่ียวกับชดุ ตดั สนิ อุปกรณ์การตดั สนิ 5. ติดตามข่าวสารความเคลือ่ นไหวเกีย่ วกบั การแข่งขนั กฬี าตลอดเวลา 24 คมู่ ือผู้ตดั สินกฬี าเซปักตะกร้อ

การปฏบิ ตั ติ นเมือ่ ไดร้ บั เชญิ เขา้ รว่ มตดั สนิ กฬี า 1. ศึกษากำหนดการและโปรแกรมการแข่งขนั อย่างละเอียด 2. เข้ารายงานตัวต่อประธานผู้ตัดสิน และร่วมปฏิบัติงานภายใต้การกำกับดูแล ของคณะกรรมการผู้ตัดสิน เชน่ รว่ มประชุมหรอื อบรมก่อนการปฏบิ ัติหน้าที่ ฯลฯ การปฏบิ ัตติ นในวันทำการตดั สนิ กีฬา ก่อนการแขง่ ขัน 1. ถึงสนามแขง่ ขันกอ่ นเวลาอย่างน้อย 1 ช่วั โมง 2. รายงานตวั ต่อประธานผตู้ ัดสิน 3. เข้าหอ้ งพกั ผ้ตู ัดสนิ เปลยี่ นเครื่องแตง่ กายชุดตดั สิน เตรียมอุปกรณก์ ารตดั สนิ 4. เตรยี มความพร้อมด้านจติ ใจ ทำสมาธิ ทบทวนกติกาและข้อปฏบิ ตั ิตา่ งๆ 5. เตรียมความพรอ้ มดา้ นร่างกาย งดเวน้ การสบู บหุ รแี่ ละดมื่ เคร่อื งมนึ เมา/สารกระตุ้น ระหวา่ งการแขง่ ขัน 1. ควบคุมการแขง่ ขนั ใหด้ ำเนนิ ไปตามกตกิ าอย่างเครง่ ครัดทกุ ระยะตลอดการแขง่ ขนั 2. ตัง้ ใจปฏิบัติหนา้ ที่อยา่ งจริงจงั ทันเกม รูท้ นั นักกฬี า 3. มีความเช่อื มั่นในตนเอง กลา้ ตดั สินใจในเหตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งเฉยี บพลัน 4. ไมต่ กอย่ภู ายใต้อิทธพิ ลของผู้ชม นักกฬี า หรอื ผู้อนื่ 5. ตั้งอยู่ในความยุตธิ รรมและใหค้ วามเสมอภาคแก่นกั กฬี าท้ังสองฝ่าย 6. ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีด้วยความซื่อสตั ยส์ ุจริต (ไมร่ บั สินบน) 7. มีน้ำอดน้ำทน มีความม่ันคงทางจิตใจและอารมณ์ ไม่แสดงความย่อท้อภายใต ้ สถานการณ์ท่กี ดดนั 8. หาโอกาสส่งเสริมและสร้างสรรค์ให้นักกีฬาได้แสดงความมีน้ำใจนักกีฬาต่อกัน และตอ่ ผูต้ ัดสินเพอื่ สรา้ งภาพพจนท์ ีด่ ีงามแกผ่ ู้ชมทว่ั ไป เมอื่ สน้ิ สดุ การแขง่ ขนั 1. ให้นักกีฬาทัง้ สองฝา่ ยจบั มือกนั ขออภยั ซ่ึงกันและกัน 2. ผู้ตดั สินจับมือกบั นักกีฬาด้วยเชน่ กนั 3. กลับเข้าหอ้ งพกั ทำความสะอาดรา่ งกายและเปลย่ี นเคร่ืองแตง่ กาย 4. จัดทำรายงานผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ตี อ่ ประธานผ้ตู ดั สนิ 5. ไม่ใหข้ ่าวเกย่ี วกับการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีการตัดสนิ ของตนกับผู้สอื่ ขา่ ว 6. ไมว่ พิ ากษ์วจิ ารณก์ ารปฏิบตั หิ นา้ ทีข่ องผตู้ ัดสินคนอนื่ ๆ คมู่ ือผู้ตัดสินกฬี าเซปักตะกร้อ 25

จ รรยาบรรณของผูต้ ดั สนิ กีฬาเซปักตะกร้อ 1. รักและศรัทธาในสถาบนั ผูต้ ดั สนิ กีฬา ถอื ว่าเป็นสถาบันทรงเกียรต ิ 2. ตงั้ ใจจริงท่ีจะเข้ามาเป็นผ้ตู ดั สนิ กฬี า 3. อุทิศตนเพ่อื เสริมสร้างเกียรตภิ ูมิแกส่ ถาบนั ผ้ตู ัดสินกีฬา 4. ไมก่ ระทำการใดทเี่ ปน็ การลบหล่แู ละทำลายสถาบนั ผตู้ ัดสนิ กฬี า 5. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามกระบวนการและระเบยี บแบบแผนของการเปน็ ผตู้ ดั สนิ กฬี า 6. ศกึ ษา ใฝห่ าความรู้ เพ่ือพฒั นาความสามารถในการตัดสนิ กฬี าเปน็ นจิ 7. แสดงความรบั ผดิ ชอบเมอื่ ไดร้ บั มอบหมายให้ตัดสินกฬี า 8. มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติหนา้ ที่ 9. รู้จกั การวางตวั การแต่งกาย มีท่วงที กิรยิ าวาจาเหมาะสมกบั กาลเทศะ 10. แสดงคารวะธรรมตอ่ ผมู้ พี ระคณุ ทใ่ี หก้ ารอบรมสง่ั สอน ประธานผตู้ ดั สนิ และผตู้ ดั สนิ รนุ่ พ ่ี 11. ไมเ่ สพเครื่องมึนเมา สารกระตุน้ หรอื สูบบุหร่ีก่อนปฏิบตั ิหน้าที่ 12. สรา้ งความพร้อมด้านรา่ งกายและจิตใจกอ่ นปฏบิ ตั หิ น้าท่ที ุกคร้ัง 13. มคี วามซ่ือสัตยส์ จุ รติ ในขณะปฏิบัติหน้าที่ตัดสินกฬี า 14. ให้ความยตุ ิธรรมแกน่ กั กฬี าท้ังสองฝา่ ย 15. ไม่ตกอย่ภู ายใตอ้ ิทธพิ ลใดๆ ในขณะตัดสนิ กฬี า 16. ไม่แสดงความท้อแทใ้ นสถานการณท์ ีก่ ดดัน ควบคุมอารมณไ์ ด ้ 17. แสดงความเช่อื ม่นั ตนเอง กลา้ ตดั สินใจเฉียบพลนั 18. แสดงออกและสร้างสรรค์ความมีน้ำใจนกั กีฬาแกน่ กั กีฬา 19. ไมใ่ ห้ข่าวเก่ยี วกับการปฏบิ ัตหิ น้าทกี่ ารตดั สินกีฬาของตน 20. ไมว่ พิ ากษว์ ิจารณก์ ารปฏบิ ตั ิหนา้ ทข่ี องผู้ตดั สินคนอ่นื 26 คมู่ อื ผตู้ ดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ

ก รรมการผู้ชี้ขาด (Official Referee) ผู้ท่ีทำหน้าที่ตัดสินปัญหาใดๆ อันเป็นข้อขัดแย้งของนักกีฬาหรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง โดยอาศัย ตามขอ้ กำหนดของกตกิ าการแข่งขัน และหากไมม่ รี ะบุไว้ในกตกิ าการแข่งขนั กส็ ามารถใช้ดลุ ยพนิ จิ ของตนเองแกไ้ ขปญั หาดังกล่าว และถือเปน็ ท่สี ิน้ สดุ หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของกรรมการผู้ชขี้ าดกีฬาเซปกั ตะกร้อ (Official Referee’s Duties and Responsibilities) • ควบคุมการดำเนินการจัดการแข่งขันให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกติกาการแข่งขัน ด้วยความบริสุทธิ์ ยตุ ธิ รรม • จัดผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน และผู้ตัดสินกำกับเส้น ในการปฏิบัติหน้าท่ีแต่ละคร้ัง หรอื แตล่ ะค ู่ • สำรวจความพรอ้ มของอปุ กรณ์เทคนคิ ต่างๆ • ประชุม แนะนำ ให้ข้อคิด และอื่นๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน ผตู้ ดั สนิ กำกบั เสน้ และเจ้าหนา้ ทที่ ่เี ก่ียวข้อง • หยุดเกมการแข่งขัน เม่ือมีเหตุการณ์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในระหว่างการแข่งขัน จนไม่สามารถดำเนินการแข่งขนั ตอ่ ไปได ้ • แก้ไขปัญหาต่างๆ โดยอาศัยตามข้อกำหนด กติกาการแข่งขัน ระเบียบการแข่งขัน และใช้ดลุ ยพินิจของตนเองด้วยความเป็นธรรม • บนั ทกึ หลกั ฐานและจดั เกบ็ เอกสารต่างๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การปฏิบตั หิ น้าท่ ี • สรปุ ผลการแขง่ ขนั และเสนอรายงานต่อประธานกรรมการจัดการแขง่ ขนั คมู่ อื ผู้ตดั สินกีฬาเซปักตะกร้อ 27

ผู้ ตดั สนิ กีฬา (Match Referee) หน้าทแี่ ละความรบั ผิดชอบของผูต้ ดั สนิ กีฬาเซปกั ตะกร้อ (Match Referee’s Duties and Responsibilities) 1. สำรวจความพรอ้ มของเครอ่ื งแต่งกายและอุปกรณก์ ารตัดสนิ กอ่ นมาปฏบิ ัตหิ นา้ ท ่ี 2. ปฏิบัติหนา้ ท่ดี ้วยความหนักแนน่ ยตุ ิธรรม โดยยึด • กติกาการแขง่ ขัน • ระเบียบการแขง่ ขนั • แนวปฏบิ ัตแิ ละขั้นตอนการตัดสนิ 3. รายงานตัวตอ่ หัวหน้าผตู้ ดั สนิ ณ สนามแขง่ ขนั ก่อนเวลาแขง่ ขนั 60 นาท ี 4. ตรวจสภาพตาขา่ ย ตะกรอ้ และสนามแขง่ ขนั ใหอ้ ยใู่ นสภาพทพ่ี รอ้ มใชใ้ นการแขง่ ขนั 5. รอรบั มอบหมายการปฏบิ ตั หิ น้าทจี่ ากหวั หน้าผู้ตดั สิน 6. ปฏิบัติหน้าท่ีในการเสี่ยง เพื่อตัดสินว่าทีมใดเป็นฝ่ายเสิร์ฟ ทีมใดเป็นฝ่ายเลือกแดน โดยนำลกู ตะกร้อ 2 ลกู และใบบนั ทกึ คะแนนลงไปดว้ ย 7. ควบคุมการวอรม์ ของนักกฬี า โดยให้ทมี ท่ชี นะการเสีย่ งเป็นทีมวอรม์ กอ่ น 8. ประกาศชือ่ เกมการแขง่ ขนั และหมายเลขทั้งสองทีมในการแขง่ ขนั (ประเภททีมชุด) สำหรบั ประเภททมี เดี่ยวไม่ตอ้ งประกาศหมายเลขผู้เลน่ อีก 9. ประกาศผลการเสยี่ ง บอกชือ่ ทมี ทเี่ ปน็ ฝ่ายเสิร์ฟกอ่ น 10. ประกาศเตอื นนกั กฬี าใหพ้ ร้อม และเรม่ิ การแขง่ ขนั 11. ควบคุมการแข่งขนั ให้ดำเนินไปด้วยความเรียบรอ้ ย จนส้ินสุดการแข่งขนั 12. ในระหวา่ งการแข่งขัน ใหป้ ระกาศส้ันๆ เสยี งดงั ดว้ ยคำต่างๆ ดังน้ี หยดุ (STOP) อีกแต้มเดยี วเกม (GAME POINT/MATCH POINT) ผู้ตดั สินกำกับเส้น (LINE REFEREE) ชนะ (WIN) ผู้ชว่ ยผตู้ ดั สิน (ASSISTANT REFEREE) เซ็ทท่ี 1 (FIRST SET) สง่ ลูก (SERVE) เซ็ทที่ 2 (SECOND SET) ตาขา่ ย (NET) เซท็ ไทเบรก (TIE BREAK SET) เสยี (FAULT) สง่ ใหม่ (LET) ออก (OUT) เปล่ยี นแดน (CHANGE SIDE) ดี (IN) เวลานอก (TIMEOUT) ไดแ้ ต้ม (POINT) ดวิ สค์ ไู่ มเ่ กนิ 17 คะแนน (SETTING UP TO 17 POINTS) 13. ประกาศขานแต้มก่อนเสริ ์ฟทุกคร้ัง 14. ประกาศขอเวลานอกในแตล่ ะเซท็ ทีท่ มี ขอเวลานอก 15. ประกาศเมอ่ื มกี ารเปลี่ยนตัวนักกีฬา 16. ประกาศสรปุ ผลเมอื่ สนิ้ สุดการแข่งขนั ในค่ทู ่ีตดั สนิ และใหน้ กั กฬี าสัมผสั มือ 28 คูม่ อื ผ้ตู ัดสินกีฬาเซปกั ตะกรอ้

ผู้ ชว่ ยผูต้ ดั สนิ กฬี า (Assistant Referee) หน้าที่ความรับผดิ ชอบของผูช้ ่วยผู้ตดั สนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ (Assistant Referee’s Duties and Responsibilities) 1. สำรวจความพรอ้ มของเคร่อื งแตง่ กายและอุปกรณ์การตดั สนิ กอ่ นมาปฏิบัติหน้าที่ 2. รายงานตวั ตอ่ หวั หน้าผู้ตดั สนิ ณ สนามแขง่ ขัน ก่อนเวลาแขง่ ขนั 60 นาที 3. รอรับมอบหมายการปฏิบตั ิหนา้ ท่จี ากหัวหน้าผตู้ ดั สนิ 4. นำผูต้ ดั สนิ กำกบั เส้นลงสนาม (ตามลกั ษณะของสนาม) เมอื่ ทีมทส่ี องทำการวอรม์ ได้ ประมาณ 1 นาท ี 5. ขณะปฏบิ ัติหนา้ ท่ี ควรยนื ในลกั ษณะท่เี ขม้ แขง็ และเตรียมพรอ้ ม 6. ทำหน้าท่ีช่วยเหลือผู้ตัดสินในบริเวณเส้นกลางตาข่าย โดยให้สัญญาณมือ ดังน ้ี • ล้ำเส้นกลาง ใช้มือข้างใดข้างหน่ึงชี้ไปที่เส้นกลาง มืออีกข้างหนึ่งชี้ไปทางด้าน ฝา่ ยไดเ้ สริ ฟ์ • ถูกตาข่าย ใช้มือข้างใดข้างหน่ึงช้ีไปท่ีตาข่าย มืออีกข้างหน่ึงช้ีไปทางด้าน ฝา่ ยไดเ้ สริ ฟ์ 7. ทำหน้าท่ีช่วยเหลือผู้ตัดสินเก่ียวกับการทำผิดกติกาของผู้เล่น โดยเฉพาะจุดบอด ทีผ่ ูต้ ดั สนิ มองไมเ่ หน็ • ลูกอ้อม ใชม้ อื ท้ังสองขา้ งมาแตะประสานเหนอื ศรี ษะ • ลูกถูกแขน ให้ยกมือข้างใดข้างหน่ึง มืออีกข้างหนึ่งแตะท่ีแขน แล้วจึงให้ สญั ญาณมือไปยงั แดนเสิรฟ์ • ลูกออก ใหผ้ ายมอื ท้ังสองข้างออกไปขา้ งลำตัว • ลูกดี ให้ชี้มือข้างใดข้างหนึ่งลงไปในแดนท่ีลูกดี มืออีกข้างหนึ่งช้ีไปทาง ดา้ นฝา่ ยได้เสิรฟ์ • ผ้เู ล่น เลน่ ลูกเกิน 3 ครงั้ ให้ชมู ือแสดงนวิ้ 4 นิว้ เหนือศีรษะ 8. ขณะปฏิบตั ิหน้าท่ีควรใหส้ มั พันธ์กบั ผตู้ ัดสินในการใหส้ ัญญาณเมือ่ ถกู ถาม 9. เกบ็ ลกู ตะกรอ้ เมอ่ื เสรจ็ สน้ิ การแขง่ ขนั นำผตู้ ดั สนิ กำกบั เสน้ ออกจากสนามตามผตู้ ดั สนิ 10. นำลูกตะกร้อไปวางท่ีโตะ๊ กรรมการจดั การแข่งขัน 11. พกั ผอ่ นในท่ที ี่กรรมการจัดการแข่งขันจัดไวใ้ ห ้ คมู่ ือผตู้ ดั สินกฬี าเซปักตะกรอ้ 29

ก รรมการประจำสนาม (Court Referee) หน้าท่แี ละความรบั ผิดชอบของเจ้าหน้าที่ประจำสนามกีฬาเซปกั ตะกร้อ (Court Referee’s Duties and Responsibilities) 1. สำรวจความพร้อมของเคร่ืองแตง่ กายและอุปกรณก์ ารตดั สินกอ่ นมาปฏบิ ตั ิหน้าท่ี 2. รายงานตวั ต่อหวั หน้าผู้ตัดสนิ ณ สนามแข่งขัน ก่อนเวลาแข่งขัน 60 นาท ี 3. ตรวจสอบความพร้อมของสนามก่อนการแข่งขนั 4. นำนักกีฬาลงสนาม พร้อมด้วยเหรียญสำหรับเสี่ยง แผ่นรองใบบันทึกคะแนน และลกู ตะกรอ้ จำนวน 2 ลูก 5. เปน็ ผู้ทำการเส่ยี ง เพื่อไดท้ ีมท่ีเลือกเสริ ์ฟหรอื เลอื กแดน 6. ควบคุมการอบอุ่นร่างกายให้สอดคล้องกับกติกาและระเบียบการแข่งขัน (ทีมท่ีชนะตามข้อ 3 ได้สิทธิ์อบอุ่นร่างกายก่อน ในเวลา 2 นาที หลังจากน้ัน ตามดว้ ยอีกทีม อนุญาตให้ 5 คน อย่ใู นสนามขณะอบอุ่นรา่ งกาย) 7. จดบันทึกในขณะที่กำลงั ทำการแขง่ ขัน และทำใบบันทึกคะแนน 8. ควบคมุ ดแู ลในระหว่างเวลานอกและหยดุ พักระหวา่ งการแข่งขนั 9. ตรวจและอนญุ าตในกรณีการเปลีย่ นตวั นกั กีฬา 10. ควบคมุ สถานการณ์ ในกรณมี อี บุ ตั เิ หตเุ กดิ ขน้ึ หรอื การบาดเจบ็ อยา่ งแรงของนกั กฬี า 11. ให้คำแนะนำ ดูแล การแข่งขันให้เป็นไปตามกติกาและระเบียบการแข่งขัน (ตงั้ แต่เร่ิมจนสน้ิ สุดการแข่งขนั ) 12. จัดทำสรปุ ผลการแข่งขนั ในใบบันทกึ คะแนน ก่อนสง่ ใหห้ วั หนา้ ผู้ตัดสนิ 13. เข้าพักผอ่ นในทท่ี คี่ ณะกรรมการจัดการแขง่ ขันจดั ให้ 30 คมู่ ือผูต้ ดั สินกฬี าเซปกั ตะกรอ้

ผู้ ตดั สนิ กำกับเส้น (Line Referee) หนา้ ท่ีและความรับผิดชอบของผูต้ ดั สินกำกบั เสน้ กีฬาเซปักตะกรอ้ (Line Referee’s Duties and Responsibilities) 1. สำรวจความพรอ้ มของเครอ่ื งแตง่ กาย และพกั ผ่อนให้เพยี งพอ 2. รายงานตวั ตอ่ หวั หนา้ ผ้ตู ัดสินกำกบั เสน้ ก่อนการแข่งขัน 60 นาที 3. การลงสนาม • เดนิ ตามผตู้ ดั สนิ ผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สนิ ยนื ดา้ นขวามอื ของเกา้ อผ้ี ตู้ ดั สนิ หรอื คณะผตู้ ดั สนิ • หลังจากผู้ประกาศประจำสนามประกาศรายช่ือคณะกรรมการผู้ตัดสินแล้ว ให้ไปประจำตำแหนง่ ทางขวามอื ของผูต้ ัดสินและผชู้ ว่ ยผตู้ ัดสิน • เวลาลงสนาม เดนิ ตามผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สนิ ไปประจำตำแหนง่ โดยยนื รอจนกวา่ ผตู้ ดั สนิ จะข้นึ น่งั บนเกา้ อ้ี จงึ จะนัง่ ลงได ้ 4. มีความรูเ้ ก่ยี วกบั หน้าที่และความรับผดิ ชอบของผู้ตดั สินกำกับเสน้ 5. ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่อี ยา่ งตง้ั ใจและเครง่ ครดั 6. รักษาหนา้ ทีอ่ ยา่ งตงั้ ใจและเครง่ ครดั 7. แต่งกายสุภาพเรียบรอ้ ยเหมาะสม 8. ไม่สูบบหุ รี่ รับประทานอาหาร ดื่มน้ำ พดู เชียร์ หรอื โหฝ่ ่ายใด 9. การให้สัญญาณมือ ขณะปฏิบัติหน้าท่ีควรทำด้วยความม่ันใจ และให้สัญญาณมือ เมือ่ ผู้ตดั สนิ ถามเท่านัน้ โดยใหส้ ญั ญาณมอื ดงั น้ ี • ลูกดี ให้ชมี้ อื ข้างหนงึ่ ลงไปในสนาม • ลูกออก ให้งอแขนท้งั สองขา้ งหนั ฝ่ามอื เขา้ และขนานกบั ลำตวั 10. ขณะแขง่ ขนั นกั กฬี าไลเ่ ลน่ ลกู ใกลต้ วั ผตู้ ดั สนิ กำกบั เสน้ ใหผ้ ตู้ ดั สนิ กำกบั เสน้ เคลอื่ นท ี่ โดยไมก่ ีดขวางการเล่นของนกั กฬี า 11. เม่ือการแข่งขันเสร็จส้ินลง ให้เดินเข้าไปยืนข้างหน้าผู้ตัดสินหรือผู้ช่วยผู้ตัดสิน เพอ่ื รบั การเคารพจากนกั กฬี า และออกจากสนามโดยมผี ตู้ ดั สนิ และผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สนิ นำออก 12. เข้าพักผ่อนในท่ีที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันจดั ให้ คมู่ อื ผ้ตู ัดสนิ กีฬาเซปกั ตะกรอ้ 31

เ จ้าหนา้ ที่ผ้ปู ระกาศการแข่งขันกฬี าเซปักตะกร้อ เจ้าหน้าที่ผู้ประกาศการแข่งขันกีฬาเซปักตะกร้อ เป็นเจ้าหน้าที่เทคนิคการแข่งขันฝ่ายหนึ่ง ซ่ึงมีความสำคัญและจำเป็นต้องมีในการแข่งขันแต่ละคร้ัง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ประกาศ และประชาสัมพันธ์การแข่งขันให้ดำเนินไปอย่างเรียบร้อย การประกาศในการจัดการแข่งขันกีฬา เซปกั ตะกรอ้ มีดงั น้ ี ขั้นตอนการประกาศของผู้ประกาศ ประเภททมี เด่ียว สวัสดีครับ/สวัสดีค่ะ ท่านผู้ชมทุกท่าน การแข่งขันกีฬาเซปักตะกร้อ...(.ช...ื่อ..ก..า..ร..แ..ข..ง่..ข..นั...)... ประจำวนั ท…่ี …เดอื น………พ.ศ.……ประกาศตารางการแขง่ ขนั ประจำวนั ใหผ้ ชู้ มทราบ “ตารางการแขง่ ขนั กีฬาเซปักตะกร้อประจำวันท่ี……เดือน…………พ.ศ.……… เป็นการแข่งขันประเภท ทีมเดี่ยว รอบ……… เรม่ิ ทำการแขง่ ขนั คู่แรก ในเวลา………น. ประกาศทมี แข่งขนั ตามตารางการแขง่ ขนั ” ข้ันตอนการประกาศในสนามแขง่ ขัน 1. ในสนามท่ี……ต่อไปเป็นการแข่งขันกีฬาเซปักตะกร้อ………………………ประเภททีมเดี่ยว ระหวา่ ง ทีม………...…….……กบั ทมี ………......………….(คณะผู้ตดั สินนำนกั กีฬาทัง้ สองทมี ลงสนาม) 2. หลังจากคณะผู้ตัดสินนำนักกีฬาทั้งสองทีมลงสนาม โดยนักกีฬายืนที่เส้นหลัง คณะผูต้ ดั สินยนื ดา้ นขวามอื ของเกา้ อี้ผู้ตัดสนิ 3. หลังจากนักกีฬาทีมที่ 2 ส้ินสุดการอบอุ่นร่างกาย นักกีฬาและเจ้าหน้าที่ทีมท้ังสอง ยืนท่ีเส้นหลัง คณะผู้ตัดสินยืนด้านขวามือของเก้าอี้ผู้ตัดสิน จึงประกาศ ในสนามที่............ ต่อไปเป็นการแข่งขันระหว่างทีม...................กับทีม.....................และประกาศรายชื่อนักกีฬาและ เจ้าหน้าที่ทีมทั้งสองทีม และรายชื่อคณะผู้ตัดสิน (โดยเรียงลำดับจาก ผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน ผู้ตัดสินกำกับเส้น 2 คน และกรรมการประจำสนาม) หมายเหตุ การประกาศช่ือ ถ้าเป็นพลเรือนไม่ต้องประกาศคำนำหน้าชื่อ ถ้าเป็นทหาร ตำรวจ ควรประกาศยศด้วย การประกาศรายช่ือนักกีฬาและเจ้าหน้าทีม ผู้ประกาศต้องตรวจสอบรายชื่อ ให้ถกู ต้องก่อนเพอื่ ปอ้ งกนั การประกาศผิด 4. ภายหลงั จากการแขง่ ขนั ในแตล่ ะคเู่ สรจ็ สน้ิ ลง ใหป้ ระกาศสรปุ ผลการแขง่ ขนั “สรปุ ผลการแขง่ ขนั ในสนามท.ี่ ....ทมี ..........ชนะทมี ........ 2 : 0 เซท็ หรอื 2 : 1 เซท็ ” เมอ่ื การแขง่ ขนั คสู่ ดุ ทา้ ยเสรจ็ สนิ้ ลง ควรประกาศตารางการแขง่ ขนั ประจำวนั ตอ่ ไป ใหผ้ ชู้ มทราบ 32 คมู่ อื ผตู้ ัดสนิ กฬี าเซปักตะกร้อ

ขนั้ ตอนการประกาศของผู้ประกาศ ประเภททมี ชุด สวัสดีครับ/สวัสดีค่ะ ท่านผู้ชมทุกท่าน การแข่งขันกีฬาเซปักตะกร้อ....(.ช..อื่..ก...า..ร..แ..ข..ง่..ข..นั...).... ประจำวนั ท…ี่ …เดอื น………พ.ศ.……ประกาศตารางการแขง่ ขนั ประจำวนั ใหผ้ ชู้ มทราบ “ตารางการแขง่ ขนั เซปักตะกร้อประจำวันท่ี……เดือน…………พ.ศ.……… เป็นการแข่งขันประเภท ทีมชุด รอบ……… เร่มิ ทำการแข่งขนั คแู่ รก ในเวลา………น. ประกาศทีมแข่งขนั ตามตารางการแข่งขัน” ขั้นตอนการประกาศในสนามแข่งขัน 1. ในสนามที่……ต่อไปเป็นการแขง่ ขนั กีฬาเซปกั ตะกร้อ…………….............………………… ประเภททีมชดุ (เดย่ี ว) ระหวา่ ง ทมี ……………………….........……กบั ทีม……………………..........………… (คณะผตู้ ัดสินนำนักกีฬาท้งั สองทมี ลงสนาม) 2. หลังจากคณะผู้ตัดสินนำนักกีฬาท้ังสองทีมลงสนาม โดยนักกีฬายืนท่ีเส้นหลัง คณะผู้ตัดสิน ยนื ดา้ นขวามอื ของเกา้ อี้ผู้ตัดสนิ ประกาศรายช่ือนักกฬี าทมี ……………....................(.ต..า..ม...ใ.บ...ส..่ง..ร..า..ย..ช...ื่อ…) ให้ประกาศ ทมี ก ข ค (ตวั อยา่ ง) ทมี (ก/ข/ค) หมายเลข………………………ช่ือ……………………………… ผู้เล่นสำรอง หมายเลข………ช่อื …………………………… ผฝู้ กึ สอน………………………… ผู้จดั การทมี …………………… หมายเหตุ การประกาศช่ือ ถ้าเป็นพลเรือน ไม่ต้องประกาศคำนำหน้าช่ือ ถ้าเป็นทหาร ตำรวจ ควรประกาศยศดว้ ย การประกาศรายชอื่ นกั กฬี าและเจา้ หนา้ ทที่ มี ผปู้ ระกาศตอ้ งตรวจสอบรายชอื่ ให้ถูกต้องกอ่ นเพ่อื ปอ้ งกนั การประกาศผิด 3. ประกาศรายชือ่ นักกีฬาทีมคแู่ ข่งขนั (ตามตัวอย่างในขอ้ ท่ี 2) 4. ประกาศ “นกั กีฬาท้ังสองทีมสมั ผัสมือ” 5. หลังจากนักกีฬาทีมที่ 2 สิ้นสุดการอบอุ่นร่างกาย คณะผู้ตัดสินยืนด้านขวามือของ เก้าอี้ผู้ตัดสิน จึงประกาศ ในสนามท่ี…......… ต่อไปเป็นการแข่งขันในทีม (ก., ข., ค.,) ระหว่าง ทีม………..................กบั ทมี …….............................……… ประกาศรายชือ่ นกั กฬี าทล่ี งแขง่ ขันทัง้ สองทมี และรายชือ่ คณะผ้ตู ัดสิน (โดยเรยี งลำดับ จากผตู้ ดั สิน ผูช้ ่วยผู้ตัดสนิ ผู้ตัดสินกำกบั เส้น 2 คน และกรรมการประจำสนาม) 6. ภายหลังจากการแข่งขันในแตล่ ะคเู่ สร็จสน้ิ ลง ให้ประกาศสรปุ ผลการแขง่ ขัน “สรปุ ผลการแขง่ ขนั ในสนามท…ี่ ……ทมี ……………ชนะทมี ………… 2 : 0 ทมี หรอื 2 : 1 ทมี ” เม่ือการแข่งขันคู่สุดท้ายเสร็จสิ้นลง ควรประกาศตารางการแข่งขันประจำวันต่อไป ให้ผูช้ มทราบ คูม่ อื ผู้ตัดสนิ กีฬาเซปักตะกรอ้ 33

ก ติกาเซปักตะกรอ้ ของสหพนั ธ ์ เซปักตะกรอ้ นานาชาติ (ISTAF) ข้อ 1 สนามแข่งขัน (The Court) 1.1 สนาม พ้นื ทข่ี องสนามมคี วามยาว 13.40 เมตร และกวา้ ง 6.10 เมตร จะตอ้ งไมม่ ี สิ่งกดี ขวางใดๆ วัดจากพน้ื สนามสูงขนึ้ ไป 8 เมตร (พ้ืนสนามไมค่ วรเป็นหญ้าหรือสนามทราย) 1.2 เส้นสนาม ขนาดของเส้นสนามทุกเส้นท่ีเป็นขอบเขตของสนามต้องไม่กว้างกว่า 4 เซนตเิ มตร ใหต้ เี สน้ จากขอบนอกเขา้ มาในสนาม และถอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของพนื้ ทสี่ นามแขง่ ขนั ดว้ ย เสน้ เขตสนามทุกเส้นต้องหา่ งจากส่ิงกดี ขวางอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร 1.3 เส้นกลาง มีขนาดความกว้างของเส้น 2 เซนติเมตร โดยจะแบ่งพื้นท่ีของสนาม ออกเปน็ ด้านซา้ ยและขวาเทา่ ๆ กนั “The Quarter Circle” 0.40 m .9 m radius 6.10 m Service Circle 3.05 m h1.i5gh2 m .30 m 2.45 m radius 1/2 court = 6.7 m 13.40 m 1.4 เส้นเสี้ยววงกลม ที่มุมสนามของแต่ละด้านตรงเส้นกลาง ให้จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ก่ึงกลางของเส้นกลางตัดกับเส้นขอบนอกของเส้นข้าง เขียนเส้นเสี้ยววงกลมทั้งสองด้าน รศั มี 90 เซนติเมตร ใหต้ ีเสน้ ขนาดความกวา้ ง 4 เซนติเมตร นอกเขตรัศมี 90 เซนตเิ มตร 1.5 วงกลมเสิร์ฟ ให้มีรัศมี 30 เซนติเมตร โดยวัดจากขอบด้านนอกของเส้นหลัง เข้าไปในสนามยาว 2.45 เมตร และวัดจากเส้นข้างเข้าไปในสนามยาว 3.05 เมตร ให้ตรงจุดตัด จากเส้นหลัง และเส้นข้างเป็นจุดศูนย์กลาง ให้เขียนเส้นวงกลมขนาดความกว้าง 4 เซนติเมตร นอกเขตรศั มี 30 เซนตเิ มตร 34 คมู่ ือผ้ตู ดั สินกฬี าเซปกั ตะกร้อ

ขอ้ 2 เสา (The Post) 2.1 เสามคี วามสูง 1.55 เมตร สำหรับผ้ชู าย และ 1.45 เมตร สำหรับผู้หญงิ เสาใหต้ ้งั อยู่ อย่างม่ันคงพอที่จะทำให้ตาข่ายตึงได้ โดยเสาจะต้องทำจากวัตถุที่มีความแข็งแกร่ง และรัศม ี ไมเ่ กิน 4 เซนตเิ มตร 2.2 ตำแหน่งของเสา ให้ต้ังหรือวางไว้อย่างม่ันคงนอกสนามตรงกับแนวเส้นกลาง หา่ งจากเสน้ ขา้ ง 30 เซนติเมตร ข้อ 3 ตาข่าย (The Net) 3.1 ตาข่ายให้ทำด้วยเชือกอย่างดหี รอื ไนลอ่ น มีรูตาขา่ ยกว้าง 6-8 เซนตเิ มตร 3.2 ตาขา่ ย เมอื่ ขงึ ตงึ อยเู่ หนอื เสน้ กลาง มขี นาดความกวา้ งของผนื ตาขา่ ย 70 เซนตเิ มตร และความยาวไมน่ ้อยกวา่ 6.10 เมตร 3.3 แถบข้างตาข่าย ตรงปลายท้ังสองด้านของตาข่ายให้มีแถบ ขนาดกว้าง 5 เซนติเมตร ติดตงั้ อยู่เหนือแนวเส้นข้างและถอื เปน็ สว่ นหนึ่งของตาขา่ ย 3.4 ตาข่ายให้มีแถบขนาดกว้าง 5 เซนติเมตร ทั้งด้านบนและด้านล่าง โดยมีเชือก ธรรมดาหรือไนล่อนอยา่ งดีรอ้ ยผ่านแถบ สามารถขึงตาข่ายให้ตงึ เสมอระดับความสงู ของหวั เสาได้ 3.5 ความสงู ของตาขา่ ย วดั จากพน้ื ถงึ ขอบบนของตาขา่ ยกง่ึ กลางสนาม มคี วามสงู 1.52 เมตร สำหรับผู้ชาย และ 1.42 เมตร สำหรับผู้หญิง ในขณะที่บริเวณหัวเสามีความสูง 1.55 เมตร สำหรบั ผ้ชู าย และ 1.45 เมตร สำหรับผูห้ ญงิ 6.10 m 5 cm 6-8 cm ญช 11..5422mm 70 cm ญช 11..5455mm คมู่ อื ผตู้ ดั สินกฬี าเซปักตะกร้อ 35

ข ้อ 4 ลูกตะกรอ้ (The Takraw Ball) 4.1 ลกู ตะกรอ้ แตเ่ ดมิ ทำดว้ ยหวาย มีลกั ษณะเป็นลูกทรงกลม ปจั จุบันทำด้วยใยสงั เคราะห์ถกั สานเปน็ ชั้นเดยี ว 4.2 ลกู ตะกร้อท่ไี มไ่ ด้เคลือบด้วยยางสงั เคราะห์ ต้องมลี กั ษณะดังน ี้ 4.2.1 มี 12 รู 4.2.2 มีจุดตัดไขว้ 20 จดุ 4.2.3 มีขนาดเส้นรอบวง 41-43 เซนติเมตร สำหรบั ผชู้ าย และ 42-44 เซนตเิ มตร สำหรับผูห้ ญงิ 4.2.4 มนี ้ำหนกั อยรู่ ะหวา่ ง 170-180 กรมั สำหรับผชู้ าย และ 150-160 กรัม สำหรบั ผูห้ ญงิ 4.3 ลูกตะกร้ออาจมีสีเดียวหรือหลายสี หรือใช้สีสะท้อนแสงก็ได้ แต่จะต้องไม่เป็นสี ท่ที ำให้ความสามารถของผูเ้ ล่นลดลง 4.4 ลูกตะกร้ออาจทำด้วยยางสังเคราะห์หรือเคลือบด้วยวัสดุนุ่มท่ีมีความคงทน เพื่อให้มีความอ่อนนุ่มต่อการกระทบกับร่างกายของผู้เล่น ลักษณะของวัสดุและวิธีการผลิต ลูกตะกร้อหรือการเคลือบลูกตะกร้อด้วยยาง หรือวัสดุที่อ่อนนุ่ม ต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน จากสหพนั ธเ์ ซปกั ตะกร้อนานาชาติ (ISTAF) กอ่ นการใชใ้ นการแข่งขนั 4.5 รายการแข่งขันระดับโลก นานาชาติ และการแข่งขันระดับภูมิภาคที่ได้รับรอง จากสหพันธ์เซปักตะกร้อนานาชาติ (ISTAF) รวมทั้งในการแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ เวิลด์เกมส ์ กีฬาเครือจักรภพ เอเช่ียนเกมส์ และซีเกมส์ ต้องใช้ลูกตะกร้อท่ีได้รับการรับรองจากสหพันธ์ เซปักตะกร้อนานาชาติ (ISTAF) 36 คู่มือผตู้ ดั สินกีฬาเซปกั ตะกร้อ

ข้อ 5 ผเู้ ลน่ (The Players) 5.1 การแขง่ ขนั มี 2 ทมี ประกอบดว้ ยผ้เู ล่นฝ่ายละ 3 คน 5.2 ผู้เล่นคนหน่ึงในสามคนจะเป็นผู้เสิร์ฟและอยู่ด้านหลัง เรียกว่า “เตกองหรือผู้เสิร์ฟ” (Tekong Server) 5.3 ผู้เล่นอีกสองคนอยู่ด้านหน้า โดยคนหน่ึงจะอยู่ด้านซ้ายและอีกคนจะอยู่ด้านขวา คนที่อยู่ด้านซ้ายเรียกว่า “หน้าซ้าย” (Left Inside) และคนที่อยู่ด้านขวา เรียกว่า “หน้าขวา” (Right Inside) หนา้ ซา้ ย หนา้ ขวา ผเู้ สริ ฟ์ ผเู้ สริ ฟ์ หนา้ ซา้ ย หนา้ ขวา คูม่ อื ผตู้ ดั สินกฬี าเซปักตะกรอ้ 37

5.4 ประเภททมี ชดุ 5.4.1 แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นอย่างน้อย 9 คน และไม่เกิน 12 คน (3 ทีม ผู้เล่นทีมละ 3 คน สำรอง 3 คน) ผู้เล่นแต่ละคนต้องลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน ทุกคร้ัง แต่ละทีมจะมีผู้เล่นท่ีลงทะเบียนเป็นผู้เล่นสำรอง ได้ไม่เกิน 3 คน และอนุญาตให้ ผ้เู ลน่ สำรองเปล่ยี นตวั ลงแขง่ ขันได้เพียงทมี ใดทมี หนง่ึ เท่าน้ัน 5.4.2 ก่อนการแข่งขัน แต่ละทีมต้องมีผู้เล่นที่ขึ้นทะเบียนอย่างน้อย 9 คน พร้อมทีจ่ ะลงแขง่ ขนั ในสนามแข่งขัน 5.4.3 ทีมใดที่มีผู้เล่นน้อยกว่า 9 คน จะไม่อนุญาตให้เข้าแข่งขันและถือว่า ถกู ปรับใหเ้ ปน็ แพ้ในการแขง่ ขนั 5.5 ประเภททีมเดยี่ ว 5.5.1 แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นอย่างน้อย 3 คน และไม่เกิน 5 คน (1 ทมี มผี เู้ ลน่ 3 คน สำรอง 2 คน) ผูเ้ ลน่ ทกุ คนตอ้ งลงทะเบียนเพือ่ เข้ารว่ มการแขง่ ขันทุกครง้ั 5.5.2 ก่อนการแข่งขัน แต่ละทีมต้องมีผู้เล่นท่ีข้ึนทะเบียนอย่างน้อย 3 คน พรอ้ มทจี่ ะลงแข่งขนั ในสนามแขง่ ขนั 5.5.3 ในระหว่างการแข่งขัน ทีมใดมีผู้เล่นน้อยกว่า 3 คน ในสนามแข่งขัน จะไมอ่ นุญาตให้ทำการแข่งขันและถูกปรบั เปน็ ฝา่ ยแพใ้ นการแขง่ ขนั ข อ้ 6 เครื่องแตง่ กายของผู้เลน่ (Player’s Attire) 6.1 อุปกรณ์ท่ีผู้เล่นใช้ต้องเหมาะสมกับการเล่นเซปักตะกร้อ อุปกรณ์ใดที่ออกแบบ เพื่อเพิ่มหรือลดความเร็วของลูกตะกร้อ เพิ่มความสูงของผู้เล่นหรือการเคล่ือนไหว หรือทำให้เกิด ความไดเ้ ปรยี บใดๆ หรอื อาจเป็นอนั ตรายต่อตัวผเู้ ล่นและคแู่ ขง่ ขนั จะไมไ่ ด้รับอนุญาตใหใ้ ช้ 6.2 เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดความสับสนหรือเกิดการขัดแย้งโดยไม่จำเป็นทั้งสองทีม ทมี ทเ่ี ขา้ แขง่ ขนั ตอ้ งใชเ้ สอ้ื สตี า่ งกนั 6.3 แต่ละทีมต้องมีชุดแข่งขันอย่างน้อย 2 ชุด เป็นสีอ่อนและสีเข้ม หากทั้งสองทีม ท่ีเข้าร่วมการแข่งขันใช้เส้ือสีเดียวกัน ทีมเจ้าบ้านต้องเปล่ียนสีเส้ือทีม ในกรณีสนามกลาง ทีมท่ีม ี ชื่อแรกในโปรแกรมการแข่งขนั ตอ้ งเปลี่ยนสเี สื้อทมี 6.4 เครอื่ งแตง่ กายของผเู้ ลน่ ประกอบดว้ ย เสอ้ื ยดื คอปกหรอื คอกลมแขนสน้ั กางเกงขาสน้ั ถุงเท้าและรองเท้าพื้นยางไม่มีส้น ส่วนต่างๆ ของเคร่ืองแต่งกายของผู้เล่นถือเป็นส่วนหน่ึงของ ร่างกายและชายเส้ือต้องอยู่ในกางเกงตลอดเวลาการแข่งขัน ในกรณีที่อากาศหนาว อนุญาตให้ ผูเ้ ลน่ สวมชุดวอร์มทำการแข่งขัน 38 คมู่ อื ผตู้ ดั สินกีฬาเซปักตะกร้อ

6.5 เสอ้ื ของผเู้ ลน่ ทกุ คนจะตอ้ งตดิ หมายเลขทง้ั ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั และผเู้ ลน่ แตล่ ะคน ตอ้ งใชห้ มายเลขประจำนนั้ ตลอดการแขง่ ขนั ใหแ้ ตล่ ะทมี ใชห้ มายเลข 1-36 เทา่ นนั้ สำหรบั ขนาดของ หมายเลข ด้านหลังสูงไม่น้อยกว่า 19 เซนติเมตร และด้านหน้าสูงไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร (ตรงกลางหน้าอก) เส้ือทีมต้องมีชื่อของผู้เล่นอยู่เหนือหมายเลขด้านหลังเส้ือและมีขนาดใหญ่ ทส่ี ามารถมองเหน็ ไดจ้ ากทางโทรทศั น์ หา้ มไมใ่ หม้ ตี ราสญั ลกั ษณอ์ นื่ ๆ ทไ่ี มใ่ ชส่ ญั ลกั ษณข์ องผผู้ ลติ เสอ้ื ปรากฎอยู่บนเส้ือของผู้เล่นโดยเด็ดขาด ยกเว้นเส้ือทีมอาจมีสัญลักษณ์ของผู้สนับสนุนท่ีด้านหน้า ของเสอื้ ทีม โดยให้ปฏิบัตติ ามกฎ ระเบยี บของการแขง่ ขนั 6.6 หวั หนา้ ทมี ตอ้ งสวมปลอกแขนดา้ นซา้ ยของแขนเสอ้ื และใหส้ ตี า่ งจากสเี สอ้ื ของผเู้ ลน่ 6.7 เครอ่ื งแตง่ กายอน่ื ใดทไ่ี มไ่ ดร้ ะบไุ วใ้ นกตกิ าน้ี ตอ้ งไดร้ บั การรบั รองจากรรมการเทคนคิ ของสหพนั ธเ์ ซปกั ตะกรอ้ นานาชาติ (ISTAF) กอ่ น ขอ้ 7 การเปลีย่ นตวั ผู้เล่น (Substitution) 7.1 ในทมี ชดุ ผเู้ ลน่ แตล่ ะคนทล่ี งแขง่ ขนั ในทมี ใดแลว้ จะไมม่ กี ารแขง่ ขนั ซำ้ ในทมี อนื่ อกี 7.2 การเปล่ียนตัวผู้เล่นจะกระทำในเวลาใดก็ได้ โดยผู้จัดการทีมยื่นขอต่อกรรมการ ผูช้ ขี้ าด (Official Referee) เม่ือลูกตะกร้อไมไ่ ดอ้ ยู่ในการเล่น 7.3 ประเภททมี เดยี่ ว ในการแขง่ ขนั แตล่ ะครงั้ ใหแ้ ตล่ ะทมี มผี เู้ ลน่ สำรองไดไ้ มเ่ กนิ 2 คน นอกเหนือจากผู้เล่น 3 คน ท่ีเร่ิมเล่นในสนามและสามารถทำการเปล่ียนตัวได้ไม่เกิน 2 คร้ัง ในแตล่ ะเซ็ท ประเภททีมชุด ในการแข่งขันแต่ละครั้ง ให้แต่ละทีมเดี่ยวเปลี่ยนตัวผู้เล่นสำรอง ได้ไม่เกิน 1 คน นอกเหนือจากผู้เล่น 3 คน ที่เริ่มเล่นในสนามและสามารถทำการเปลี่ยนตัว ได้ไม่เกนิ 2 คร้งั ในแตล่ ะเซท็ การเปลย่ี นตวั ทกุ ครง้ั ใหอ้ ยใู่ นอำนาจหนา้ ทขี่ องกรรมการประจำสนาม (Court Referee) และให้กระทำท่ีดา้ นขา้ งของสนาม โดยให้อยู่ในสายตาของผู้ตัดสิน (Match Referee) การเปลยี่ นตวั สามารถกระทำไดใ้ นระหวา่ งการแขง่ ขนั เมอื่ ลกู ตะกรอ้ ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นการเลน่ หรอื ในทันทีท่เี รมิ่ การแข่งขนั ในแต่ละเซท็ การเปลี่ยนตัวสามารถเปล่ียนตัวได้ 1 คนหรือ 2 คนพร้อมกันในเวลาเดียวกัน สำหรับประเภททีมเดี่ยวเท่านั้น (เปล่ียน 2 คนพร้อมกัน ให้นับเป็นสองคร้ัง) ก่อนการแข่งขัน ในเซ็ทใหม่ ทีมใดมกี ารเปลยี่ นตวั ในการพกั ระหว่างเซ็ทใหถ้ ือเป็นการเปล่ียนตวั ในเซ็ทใหม่ 7.4 ถ้ามีผู้เล่นเกิดการบาดเจ็บและไม่สามารถทำการแข่งขันต่อไปได้ อนุญาตให้ทีมนั้น ทำการเปลี่ยนตัวผู้เล่นถ้ายังไม่ได้ใช้สิทธิในการเปลี่ยนตัว แต่ถ้ามีการเปล่ียนตัวครบ 2 คร้ัง ในเซ็ทนัน้ แลว้ การแขง่ ขนั จะยุตลิ งและทมี ดังกล่าวจะถูกปรบั ใหเ้ ป็นแพ้ในการแขง่ ขนั คู่มอื ผตู้ ัดสินกีฬาเซปกั ตะกรอ้ 39

7.5 ถ้าผู้เล่นได้รับบัตรแดง จะถูกลงโทษให้ออกจากการแข่งขัน อนุญาตให้ทีมนั้น ทำการเปล่ยี นตัวผเู้ ลน่ ถา้ ยงั ไม่ไดใ้ ช้สิทธ์ใิ นการเปลย่ี นตวั แต่ถา้ มีการเปลีย่ นตวั ผูเ้ ล่นครบ 2 ครั้ง ในเซท็ นั้นแล้ว การแขง่ ขันจะยุตลิ ง และทีมดงั กลา่ วจะถูกปรับให้เป็นแพใ้ นการแขง่ ขัน 7.6 มีผู้เล่นน้อยกว่า 3 คน การแข่งขันจะยุติลง และทีมดังกล่าวจะถูกปรับให้เป็นแพ ้ ในการแขง่ ขนั ขอ้ 8 การเสย่ี งและการอบอนุ่ รา่ งกาย (The Toss of Coin and Warm Up) 8.1 ก่อนเร่ิมการแข่งขัน กรรมการประจำสนาม (Court Referee) จะกระทำการเสี่ยง โดยใชเ้ หรยี ญหรอื วตั ถกุ ลมแบนตอ่ หนา้ หวั หนา้ ทมี ฝา่ ยทช่ี นะการเสย่ี งจะไดส้ ทิ ธเ์ิ ลอื ก “แดน” หรอื เลือก “เสิร์ฟ” ผู้แพ้การเสี่ยงต้องเลือกสิทธิ์ท่ีเหลือและทั้ง 2 ทีมต้องปฏิบัติตามคำส่ังของกรรมการ ประจำสนาม (Court Referee) 8.2 ทมี ทช่ี นะการเสย่ี งจะตอ้ งอบอนุ่ รา่ งกายกอ่ นเปน็ ระยะเวลา 2 นาที ในสนามดว้ ยลกู ตะกรอ้ ทใี่ ชใ้ นการแข่งขันและตามด้วยทีมท่ีแพ้การเส่ยี ง โดยอนญุ าตใหม้ บี ุคคลในสนามเพยี ง 5 คน ขอ้ 9 ตำแหนง่ ของผเู้ ลน่ ระหวา่ งการสง่ ลกู (Position of Players During Service) 9.1 เมื่อเร่ิมเล่น ผู้เล่นทั้งสองทีม ต้องยืนอยู่ในที่ท่ีกำหนดไว้ในแดนของตนในลักษณะ เตรยี มพรอ้ ม 9.2 ผเู้ ลน่ เสริ ์ฟ ต้องวางเทา้ ขา้ งหน่งึ ในวงกลมเสริ ์ฟ 9.3 ผเู้ ล่นหน้าทัง้ สองคนของฝา่ ยเสิรฟ์ ต้องยืนในเส้ยี ววงกลมของตนเอง 9.4 ผเู้ ลน่ ของฝา่ ยตรงขา้ มหรอื ฝ่ายรับ จะยนื อยู่ท่ใี ดกไ็ ด้ในแดนของตนเอง ข้อ 10 การเรม่ิ เล่นและการสง่ ลูก (The Start of Play & Service) 10.1 การแข่งขันถูกดำเนินการโดยผู้ตัดสิน (Match Referee) หน่ึงคน โดยอยู่ใน ตำแหน่งด้านหน่ึงของปลายตาข่าย มีผู้ช่วยผู้ตัดสิน (Assistant Match Referee) หนึ่งคน อยู่ตรงกันข้ามกับผู้ตัดสิน มีกรรมการประจำสนาม (Court Referee) หนึ่งคน อยู่ด้านหลัง ผตู้ ัดสิน มผี ู้ตัดสินกำกับเส้น (Line Referee) สองคน โดยคนหนึง่ อยู่ทางเส้นข้างดา้ นขวามือของ ผตู้ ดั สนิ และอีกคนหน่ึงอยู่ทางเส้นข้างด้านขวามอื ของผู้ชว่ ยผู้ตดั สนิ 40 คู่มอื ผู้ตดั สินกีฬาเซปกั ตะกร้อ

ผตู้ ดั สนิ จะไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากกรรมการผชู้ ขี้ าด (Official Referee) ทอี่ ยนู่ อกสนาม ทีมท่ีได้เสิร์ฟก่อนจะเสิร์ฟติดต่อกัน 3 คร้ัง ในขณะท่ีอีกทีมหนึ่งก็จะได้สิทธ์ิการเสิร์ฟ ในลักษณะเดียวกัน หลังจากน้ันให้สลับกันเสิร์ฟทุกๆ 3 คะแนน ไม่ว่าฝ่ายใดจะได้คะแนน หรอื เสยี คะแนน การดวิ ส์ เมอื่ ทง้ั สองทมี ทำคะแนนไดเ้ ทา่ กนั ที่ 14 - 14 การเสริ ฟ์ จะสลบั กนั ทกุ คะแนน ทีมที่เป็นฝ่ายรับจากการเร่ิมเล่นในเซ็ทใดก็ตาม จะเป็นฝ่ายเสิร์ฟก่อนในเซ็ทต่อไป และจะตอ้ งเปลย่ี นแดนกอ่ นเรม่ิ การแขง่ ขนั ในแตล่ ะเซท็ 10.2 ผู้ส่งลูกจะต้องโยนลูกตะกร้อเม่ือกรรมการตัดสินขานคะแนน หากผู้ส่งลูกโยน ลกู ตะกรอ้ กอ่ นทก่ี รรมการผตู้ ดั สนิ ขานคะแนน ผตู้ ดั สนิ ตอ้ งตกั เตอื นและใหโ้ ยนใหม่ หากกระทำซำ้ ดงั กลา่ วอกี จะตัดสินว่า “เสยี ” (Fault) 10.3 ระหว่างการเสิร์ฟ ทันทีที่ผู้เสิร์ฟเตะลูกตะกร้อ อนุญาตให้ผู้เล่นทุกคนเคลื่อนที่ได ้ ในแดนของตน 10.4 การเสริ ฟ์ ทถี่ กู ตอ้ ง คอื ลกู ตะกรอ้ จะตอ้ งขา้ มตาขา่ ย ไมว่ า่ ลกู ตะกรอ้ จะสมั ผสั ตาขา่ ย หรอื ไมก่ ต็ าม และตกลงในแดนหรอื ขอบเขตของสนามฝา่ ยตรงขา้ ม 10.5 ในระบบการแข่งขันแบบแพ้คัดออก ไม่จำเป็นต้องแข่งขันในทีมที่ 3 เมื่อม ี ผลการแข่งขนั แพ-้ ชนะ เกดิ ขนึ้ แลว้ 10.6 ในระบบการแข่งขันแบบพบกันหมด ถือเป็นข้อบังคับสำหรับทุกทีม ต้องแข่งขัน ครบทง้ั 3 ทีม ข ้อ 11 การผิดกตกิ า (Faults) 11.1 ผเู้ ลน่ ฝา่ ยเสริ ์ฟระหว่างการเสิร์ฟลกู (The Serving Side During Service) 11.1.1 ภายหลังจากที่ผู้ตัดสินขานคะแนนไปแล้ว ผู้เล่นหน้าท่ีทำหน้าท่ีโยนลูก กระทำอย่างหนึ่งอย่างใดกับลูกตะกร้อ เช่น โยนลูกเล่น เคาะลูกเล่น โยนลูกให้ผู้เล่นหน้าอีกคนหน่ึง เปน็ ตน้ 11.1.2 ผู้เล่นหน้าคนใดยกเท้า หรือเหยียบเส้นข้าง หรือเส้นกลางหรือข้ามเส้น หรอื สว่ นหนงึ่ ส่วนใดของรา่ งกายสัมผัสตาขา่ ยขณะโยนส่งลูกตะกรอ้ 11.1.3 ผู้เสิร์ฟ กระโดดเสิร์ฟในขณะเตะส่งลูก หรือเท้าหลักท่ีแตะพ้ืนเหยียบเส้น วงกลมก่อนและระหว่างการสง่ ลกู 11.1.4 ผ้เู สิร์ฟไมไ่ ดเ้ ตะลกู ที่ผูโ้ ยน โยนไปให้เพื่อการเสิร์ฟ 11.1.5 ลกู ตะกร้อถูกผ้เู ล่นคนอนื่ ภายในทีม ก่อนขา้ มไปยังพ้ืนท่ขี องฝ่ายตรงขา้ ม คู่มอื ผู้ตดั สินกีฬาเซปกั ตะกร้อ 41

11.1.6 ลกู ตะกรอ้ ข้ามตาข่ายแตต่ กลงนอกเขตสนาม 11.1.7 ลูกตะกร้อไมข่ า้ มไปยังฝ่ายตรงขา้ ม 11.1.8 ผเู้ ลน่ ใชม้ อื ขา้ งหนง่ึ ขา้ งใดหรอื ทง้ั สองขา้ ง หรอื สว่ นอนื่ ของแขนเพอ่ื ชว่ ยในการ เตะลกู แมม้ อื หรอื แขนไมไ่ ดแ้ ตะลกู ตะกรอ้ โดยตรง แตส่ มั ผสั สง่ิ หนง่ึ สงิ่ ใดในขณะกระทำการดงั กลา่ ว 11.1.9 ผู้สง่ ลกู โยนลูกตะกร้อกอ่ นที่ผู้ตดั สินขานคะแนนเปน็ คร้ังท่สี อง หรือครงั้ ต่อไป ในการแข่งขนั 11.2 ฝ่ายเสิร์ฟและฝ่ายรับในระหว่างการเสิร์ฟ (Serving And Reciving Side During Service) 11.2.1 กระทำการในลักษณะทำให้เสียสมาธิ หรือส่งเสียงรบกวน หรือตะโกน ไปยงั ฝา่ ยตรงข้าม 11.3 สำหรบั ผเู้ ลน่ ทง้ั สองฝา่ ยระหวา่ งการแขง่ ขนั (For Both Side During The Game) 11.3.1 ผู้เลน่ สัมผสั ลูกตะกร้อในแดนของฝา่ ยตรงข้าม 11.3.2 ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายผู้เล่นล้ำไปในแดนฝ่ายตรงข้ามไม่ว่าจะเป็น ด้านบนหรอื ดา้ นลา่ งของตาข่าย ยกเวน้ ระหว่างการเล่นลูกตอ่ เนอื่ ง (Follow Through) 11.3.3 เลน่ ลูกเกนิ 3 ครัง้ ตดิ ต่อกัน 11.3.4 ลูกตะกร้อสัมผัสแขน 11.3.5 หยุดลูกหรือยดึ ลกู ตะกรอ้ ไวใ้ ต้แขน หรอื ระหว่างขา หรอื รา่ งกาย 11.3.6 สว่ นหนง่ึ สว่ นใดของรา่ งกายผเู้ ลน่ หรอื อปุ กรณ์ เชน่ รองเทา้ เสอื้ ผา้ พนั ศรี ษะ สัมผสั ตาขา่ ย หรือเสาตาขา่ ย หรอื เกา้ อ้ีกรรมการผู้ตัดสิน หรอื ตกลงในแดนของฝ่ายตรงข้าม 11.3.7 ลกู ตะกร้อถูกเพดาน หลงั คา ผนัง หรอื วัตถุสงิ่ กีดขวางอนื่ ใด 11.3.8 ผเู้ ลน่ คนใดทีใ่ ช้อปุ กรณห์ รอื สงิ่ กดี ขวางภายนอกอ่นื ใดเพื่อช่วยในการเตะ ขอ้ 12 การนับคะแนน (Scoring System) 12.1 ผเู้ ล่นฝา่ ยเสิร์ฟหรอื ฝ่ายรบั ทำผดิ กติกา (Fault) ฝ่ายตรงขา้ มจะได้คะแนน 12.2 การชนะในแต่ละเซ็ทผู้ชนะต้องทำคะแนนได้ 15 คะแนน จึงจะถือว่าชนะในการ แขง่ ขันครัง้ นัน้ ในกรณแี ตล่ ะทมี มคี ะแนนเทา่ กนั 14 - 14 ผชู้ นะตอ้ งมคี ะแนนนำทตี่ า่ งกนั 2 คะแนน และสูงสุดไม่เกิน 17 คะแนน เม่ือคะแนนเท่ากัน 14-14 ผู้ตัดสินตัดขานว่า “ดิวส์คู่ไม่เกิน 17 คะแนน” (Setting Up to 17 Points) 42 คมู่ อื ผู้ตัดสนิ กฬี าเซปกั ตะกร้อ

12.3 ประเภททมี เดยี่ ว การแขง่ ขนั ตอ้ งชนะกนั 3 ใน 5 เซท็ มกี ารพกั ระหวา่ งเซท็ 2 นาที และเรยี กแต่ละเซ็ทว่า เซท็ ที่หนึ่ง เซ็ทที่สอง เซ็ทที่สาม เซ็ทที่ส่ี และ เซ็ททห่ี า้ ประเภททมี ชดุ การแข่งขันตอ้ งชนะกัน 2 ใน 3 เซ็ท มีการพักระหว่างเซท็ 2 นาที และเรยี กแต่ละเซ็ทวา่ เซท็ ทห่ี นึ่ง เซท็ ทีส่ อง และเซท็ ทีส่ าม 12.4 กอ่ นเรมิ่ การแขง่ ขนั ในเซท็ ทห่ี า้ ในประเภททมี เดย่ี วและเซท็ ทส่ี ามในประเภททมี ชดุ ให้ผู้ตัดสินกระทำการเสี่ยงโดยใช้เหรียญหรือวัตถุกลมแบน ฝ่ายท่ีชนะการเสี่ยงจะเป็นฝ่ายที่เริ่ม เสริ ์ฟก่อน เมอ่ื ทีมใดทีมหน่งึ ทำคะแนนได้ถึง 8 คะแนนตอ้ งทำการเปลยี่ นแดน ข้อ 13 การขอเวลานอก (Time-Out) 13.1 แต่ละทีมสามารถขอเวลานอกได้ 1 คร้งั คร้งั ละ 1 นาที ตอ่ เซ็ท การขอเวลานอก ใหข้ อโดยผู้จัดการทมี หรอื ผฝู้ กึ สอน เมือ่ ลูกตะกร้อไม่ไดอ้ ยู่ในการเลน่ ระหว่างการพักเวลานอก ประเภททีมเดี่ยวจะอนญุ าตใหม้ ผี ้เู ลน่ และเจา้ หนา้ ท่ที ีมอยูน่ อก สนามบริเวณเส้นหลังจำนวน 5 คน ประเภททีมชุดจะอนุญาตให้มีผู้เล่นและเจ้าหน้าที่ทีมอยู่นอก สนามบริเวณเสน้ หลงั จำนวน 6 คน 13.2 ประเภททีมเดี่ยวบคุ คลทงั้ 5 คน ประกอบด้วย ผ้เู ลน่ 3 คน และบุคคลที่แตง่ กาย แตกต่างจากนักกีฬาอีก 2 คน ประเภททีมชุดบุคคลทั้ง 6 คน ประกอบด้วย ผู้เล่น 3 คน และ บคุ คลทแ่ี ต่งกายแตกต่างจากนกั กฬี าอีก 3 คน ข อ้ 14 การหยดุ การแขง่ ขันชั่วคราว (Temporary Suspension of Play) 14.1 กรรมการผู้ตัดสินสามารถหยุดการแข่งขันช่ัวคราว เมื่อผู้เล่นบาดเจ็บและต้องการ การปฐมพยาบาล โดยให้เวลาไม่เกิน 5 นาที สำหรบั แต่ละทีม 14.2 นักกีฬาที่บาดเจ็บจะได้รับการพักไม่เกิน 5 นาที หลังจาก 5 นาทีแล้ว นักกีฬา ไม่สามารถทำการแข่งขันต่อไปได้ ต้องมีการเปลี่ยนตัวผู้เล่น แต่ถ้าทีมท่ีมีนักกีฬาบาดเจ็บได้ม ี การเปลี่ยนตัวผู้เล่นไปแล้วตามกติกาข้อ 7.4 การแข่งขันจะประกาศให้ทีมตรงข้ามเป็นฝ่ายชนะ ในการแข่งขันครั้งน้ัน 14.3 ในกรณีท่ีมีการขัดขวาง รบกวนการแข่งขัน หรือสาเหตุอ่ืนใด กรรมการผู้ช้ีขาด เทา่ น้นั ที่จะเปน็ ผูพ้ จิ ารณาหยุดการแขง่ ขัน โดยหารือกบั คณะกรรมการจัดการแขง่ ขัน 14.4 ในการหยุดการแข่งขันชั่วคราว ไม่อนุญาตให้ผู้เล่นทุกคนออกจากสนาม และไมอ่ นุญาตใหด้ ื่มน้ำหรอื ไดร้ ับความช่วยเหลอื ใดๆ คู่มอื ผ้ตู ัดสนิ กีฬาเซปกั ตะกร้อ 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook