Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการสุขภาพสุนัขเบื้องต้น pdf

การจัดการสุขภาพสุนัขเบื้องต้น pdf

Published by tiang010541, 2020-10-29 05:44:39

Description: การจัดการสุขภาพสุนัขเบื้องต้น pdf

Keywords: สุนัข

Search

Read the Text Version

การจัดการสุขภาพสุนัขเบ้อื งต้น วิชา การจัดการพฤตกิ รรมและการฝกึ สนุ ัขเบ้อื งต้น ภาค ต้น ปกี ารศึกษา 2558 อ.น.สพ.วนัท ศรีเจรญิ คณะเทคนคิ การสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หวั ขอ้ • การดแู ลสุขภาพสุนขั ทว่ั ไป • การสงั เกตอาการเจบ็ ป่วยเบื้องตน้ • โรคท่ีสาคัญ • โปรแกรมการฉีดวัคซีน

การดูแลสุขภาพสุนัขท่ัวไป • สนุ ขั เปน็ สตั ว์เลยี้ งทีต่ อ้ งการการดแู ลเก่ยี วกับอาหารการกนิ การทาความ สะอาด การฝกึ หดั • เช่นเดียวกนั กบั มนษุ ย์ คือต้องการการป้องกันโรค ซงึ่ เป็นวิธที ีด่ กี ว่าและ เสียคา่ ใชจ้ า่ ยน้อยกวา่ การรกั ษาหรือแก้ไขเม่อื ปัญหาเกดิ ขนึ้ แลว้

การให้อาหารสนุ ัข • โภชนาการที่ดี =>> ไดร้ บั อาหารทีม่ สี ารอาหารครบถว้ น และ สมดลุ • สุนขั มีความอยากและความชอบอาหารเชน่ เดียวกับมนุษย์ • แต่มีประสาทรบั ร้รู สชาติไดน้ ้อย =>> กินอาหารได้หลายชนดิ • สุนขั แตล่ ะตวั ต้องการอาหารแตกตา่ งกนั ข้ึนกับอายขุ องสนุ ขั และการใช้ พลงั งาน » สุนขั ใช้งาน » สุนขั ต้ังท้อง » สนุ ขั คลอดลูก และ ใหน้ มลูก » สนุ ขั วัยชรา » สนุ ัขอ้วน

การให้อาหารสุนขั • ไม่ควรให้อาหารประเภทเดยี วมากเกินไป • สนุ ขั ตอ้ งได้รบั อาหารทม่ี สี ารอาหารทค่ี รบถ้วน » โปรตนี » คารโ์ บไฮเดรต » ไขมนั » วิตามนิ » เกลอื แร่

การให้อาหารสุนัข • สุนัขปา่ => หาอาหารเอง => กินทุกอย่างทห่ี าได้ => ยอ่ ยช้า & ดารงชวี ิตอยไู่ ดห้ ลายวัน • สุนขั เลีย้ งมกั มีพฤตกิ รรมเลอื กอาหาร – ควรฝกึ ให้กนิ อาหารตามท่ีจัดไว้เท่านนั้ – ใหก้ นิ อาหาร 1-2 ม้อื ต่อ วนั – สงั เกตวา่ เบ่อื อาหารเพราะเลือกกิน หรอื มอี าการปว่ ย

ขอ้ แนะนาสาหรบั การใหอ้ าหารสนุ ขั • อาหารสาเร็จรูปควรเลอื กใช้ของบริษัทที่น่าเชื่อถอื • หา้ มใหอ้ าหารเสียแก่สุนัข • จัดนา้ สะอาดไว้ให้ตลอดเวลา • หา้ มให้อาหารเลี้ยงแมวกบั สนุ ัข เพราะมโี ปรตนี สงู เกินไป • ควรแยกชามอาหาร กรณีมีสุนขั หลายตัว » อาหารแหง้ ควรท้ิงวนั ตอ่ วนั » อาหารท่มี นี ้า ไม่ควรเก็บไวม้ ้ือตอ่ ไป » การแทะกระดูก ช่วยบริหารเหงือกและขากรรไกร แตอ่ าจทาใหฟ้ นั สึกและเปน็ แผลในชอ่ งปาก » หา้ มให้กระดูกท่เี ปราะแกส่ นุ ัข เช่น กระดกู ไก่

อาหารสาเร็จรูป • มสี ารอาหารและพลงั งานตามความเหมาะสมของสนุ ขั ในสภาพตา่ ง ๆ ได้ เชน่ อาหารแคลอรตี า่ , อาหารสนุ ขั เดก็ , อาหารสนุ ัขชรา, อาหารสนุ ขั เบาหวาน • สะดวก • มีกล่ินน้อย • ยอ่ ยงา่ ย =>> อจุ จาระน้อย & ทาความสะอาดง่าย

อาหารสาเร็จรปู • อาหารแห้ง : แคลอรีสูงกวา่ อาหารกระป๋อง 4 เทา่ บางชนดิ ต้องเตมิ น้าให้นุ่มก่อน • อาหารกึ่งนมุ่ : แคลอรสี งู กวา่ อาหารกระป๋อง 3 เท่า คาร์โบไฮเดรตสงู => ระวงั ในสุนัขทเี่ ป็นเบาหวาน • อาหารกระปอ๋ ง : เปน็ ชิ้น, เปน็ ชนิ้ ในนา้ เกรวี, แบบบด ทาจากเนอ้ื สัตว์ โปรตนี สงู ควรผสมกับอาหารอ่ืน ให้ได้สารอาหารครบถ้วน » ของกินเลน่ : ไขมนั และคารโ์ บไฮเดรตสูง ดังน้ันควรคานวณแคลอรีจากขนมด้วย » ของขบเคี้ยว : ช่วยบรหิ ารเหงือกและฟัน แคลอรตี ่ามาก ช่วยปอ้ งกนั สุนัขที่ชอบกดั ทาลาย

อาหารสด • สนุ ัขไมใ่ ชส่ ัตวก์ ินเน้อื เพยี งอยา่ งเดยี ว • การใหอ้ าหารสด ต้องแนใ่ จว่าสุนัขจะไดร้ ับสารอาหารครบถ้วนและสมดลุ ตามความ ตอ้ งการของรา่ งกาย • อาหารจึงควรประกอบไปด้วยโปรตนี จากเน้อื สัตวแ์ ละพชื รวมท้งั คารโ์ บไฮเดรต • อาหารสดทน่ี ยิ มใหส้ นุ ขั » เนื้อบด : ไขมนั คอ่ นขา้ งสูง แตผ่ ลเสียของไขมันต่อสนุ ขั น้อยกว่าคน » เนอ้ื ไก่ : ย่อยงา่ ย มแี คลอรตี า่ กว่าเน้ือสัตว์ชนดิ อ่นื » ตบั : มีฟอสฟอรสั สงู แตแ่ คลเซียมต่า มี Vit. A และ B1 สูง » หัวใจ : ไขมนั สูง มแี คลอรีมากกว่าเครอื่ งในอนื่ ๆ » ข้าว : แหล่งคารโ์ บไฮเดรต ย่อยงา่ ย » ผกั สดและผลไม้ : แหล่งวิตามิน

โรคอ้วน • สนุ ขั บางตวั จะคิดถึงแต่เรอ่ื งกิน โดยเฉพาะสุนขั ที่เบอ่ื หนา่ ยต่อกิจวัตรประจาวัน • การให้อาหารทุกครง้ั ทส่ี ุนัขขอจะเป็นการสร้างพฤติกรรมท่ไี ม่เหมาะสม และทาใหเ้ กดิ โรคอ้วนได้ • สนุ ขั ที่เงียบขรึม หรอื ทาหมนั แล้ว จะทากจิ กรรมลดลง ดงั น้นั จึงตอ้ งการแคลอรีต่า • สุนขั อว้ น =>> เพิ่มการออกกาลังกาย =>> กนิ อาหารที่มปี รมิ าณแคลอรตี า่

อาหารท่ีสุนัขไม่ควร/ห้ามกิน 1. กระดกู ไก่ ปลาท้ังกา้ ง กระดกู ไก่ กา้ งปลา อาจแตกหักระหว่างเคย้ี วสร้างมมุ แหลม ซึง่ อาจทม่ิ แทงผนงั ของระบบทางเดินอาหารของสนุ ัขได้ 2. หัวหอมและกระเทยี ม เพราะมสี ่วนประกอบของกามะถันอยู่มาก ซึ่งจะทาลายเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงของ สุนัข ทาใหเ้ กดิ โรคโลหติ จาง และโรคเลือดไหลไม่หยดุ ได้ 3. เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ การได้รบั สารพิษจากแอลกอฮอล์ อาจทาใหส้ ุนขั ตายได้ 4. อาหารแมว สว่ นใหญ่มโี ปรตีนและไขมนั มากเกนิ ความต้องการของสุนขั

อาหารทส่ี ุนขั ไมค่ วร/หา้ มกิน 5. ช็อคโกแลต็ มีสว่ นประกอบของสาร theobromine ซง่ึ เปน็ สารกลมุ่ เดยี วกับสาร caffeine สาร theobromine จะกระตุ้นใหม้ ีการหลง่ั สาร adrenaline ทาให้หวั ใจเต้นเร็ว เหงือ่ ออกมาก ถ้ากนิ มากๆอาจทาให้เกิดอาการ อาเจียน ท้องเสีย หายใจถ่ี ฉี่บ่อย กระวนกระวาย และถึงตายได้ สุนัขไวต่อความเปน็ พิษของ theobromine เพราะร่างกายของมนั ไมส่ ามารถกาจัด theobromine ได้รวดเรว็ เหมือนสัตว์ ชนิดอื่น 6. องุน่ และลูกเกด มสี ารพษิ ทท่ี าใหเ้ กดิ ผลเสียกับไต อาจจะทาให้อาเจยี น ปวดทอ้ ง 7. กนิ ตบั ในปรมิ าณมาก ทาใหเ้ กิดอาการวิตามนิ A เป็นพษิ ส่งผลกับกล้ามเน้อื และกระดกู

อาหารที่สุนขั ไมค่ วร/ห้ามกนิ 8. ถั่วแมคคาเดเมยี มีสารพิษท่ีเปน็ อนั ตรายต่อระบบย่อยอาหาร, ระบบประสาท และกล้ามเน้อื 9. นมวัวและผลติ ภัณฑจ์ ากนม เชน่ เนย ชีส ระบบย่อยอาหารของสุนัขและแมวสว่ นใหญจ่ ะไม่มีเอนไซม์ท่ีใช้ยอ่ ยน้าตาลแลคโตส ในนม จงึ เปน็ สาเหตุใหท้ อ้ งเสีย ควรใชน้ มสาหรับสัตวท์ ่ไี มม่ ีน้าตาลแลคโตสแทน 10. ลูกพลับ ลูกพีช หรอื ลูกพลัม เมล็ดจะเข้าไปกีดขวางในลาไสไ้ ด้ ซ่ึงอาจทาใหล้ าไสอ้ กั เสบ 11. มันฝรงั่ /มะเขอื เทศ มี Oxalates ซึง่ จะสง่ ผลกับระบบยอ่ ยอาหาร, ระบบประสาท และระบบขับถา่ ย

การดแู ลผิวหนังและขน • สุนขั ท่ีมีสขุ ภาพดมี ักจะดูแลตวั เองใหส้ ะอาดอยู่เสมอ • สนุ ขั จะแต่งขนตวั เอง – เลียขนตัวเอง – เกาและแทะขนท่ตี ิดกนั – การกลงิ้ และถตู ัวไปตามพนื้ » อาจกล้งิ ตวั ไปบนสิ่งทสี่ กปรก » ผู้เลยี้ งจึงจาเปน็ ต้องช่วยดูแลทาความสะอาดขนให้สนุ ขั » สุนขั มีลกั ษณะขนท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นการดแู ลจึงแตกตา่ ง กนั ไปในแต่ละพนั ธุ์

การดูแลผวิ หนงั และขน • วัตถุประสงคใ์ นการดูแลผิวหนังและขนสุนัข – เพ่ือใหผ้ วิ หนัง ขน รวมถงึ เหงือก ฟัน เลบ็ ของสุนขั มีสขุ ภาพดี – เปน็ การฝกึ หรอื ย้าเตือนสนุ ัขใหเ้ ช่ือฟงั คาส่งั และยอมรบั ว่าเจ้าของมี อานาจเหนือกวา่ – เมอื่ สุนขั ยอมให้ดูแลผวิ หนงั และขน ควรให้รางวลั ด้วยการสมั ผัส ลบู คลา หรือใหอ้ าหารในบางคร้ัง » หากสนุ ัขไมย่ อม จาเป็นต้องออกคาสงั่ บังคบั เช่นกัน

การดแู ลขนสนุ ขั พันธขุ์ นส้ัน • สุนขั ทมี่ ขี นสน้ั และเรยี บ สามารถดแู ลตวั เองไดด้ กี ว่าสนุ ขั ทม่ี ีขนยาว เช่น พันธ์ุบ๊อกเซอร์ • ควรแปรงขนสปั ดาหล์ ะ 1-2 คร้งั โดยมขี ั้นตอนดังน้ี 1. ใชแ้ ปรงยางหรอื แปรงหมุด แปรงยอ้ นขน เพ่ือขจดั ขนท่ี หมดอายแุ ละสิง่ สกปรกบนผวิ หนงั

การดแู ลขนสนุ ขั พนั ธข์ุ นส้นั 2. ใชแ้ ปรงขนสัตว์ (แปรงขนหม)ู แปรงทุกส่วน เพื่อกาจดั ขนและผิวหนงั ท่ีตายออก 3. ใชผ้ า้ ชามัวร์ขดั ขนให้เงางาม

การดแู ลขนสนุ ัขพนั ธ์ุขนสน้ั • สนุ ขั ทม่ี ีขนสนั้ และหนา เช่น พนั ธ์ลุ าบราดอร์ ควรดูแลขนเปน็ ประจาดว้ ย แปรงสลกิ เกอร์ (แปรงขนลวด) เพื่อไมใ่ ห้ขนติดกนั

การดแู ลขนสนุ ขั พันธุ์ขนสน้ั • สนุ ขั ทีม่ ีขนสน้ั และมีขนแขง็ คลา้ ยเสน้ ลวด เช่น พันธ์ุเทอรเ์ รยี ร์ พันธช์ุ เนาเซอร์ ควรถอนขนท่ีหมดอายทุ ุก ๆ 3-4 เดือน • โดยอาจจะใชม้ ือดึงออก หรอื ใชม้ ีดสาหรบั ถอนขน

การดแู ลขนสนุ ัขพันธข์ุ นยาว • สุนขั ทม่ี ขี นยาว นอกจากความสวยงามแลว้ ยังช่วยป้องกันความหนาว เย็น • แต่ก็ตอ้ งมีการดแู ลขนมากกว่าสนุ ัขพนั ธุ์ขนสน้ั โดยสามารถทาไดด้ งั นี้ 1. ใชแ้ ปรงสลิกเกอร์สางขนทีพ่ ันกันออก ต้องทาอย่าง ระมดั ระวัง อย่าดึงแรงจนกระท่ังขนขาด 2. แปรงอีกครัง้ ดว้ ยแปรงขนสตั ว์ เพ่ือให้ขนเงางาม 3. ใชห้ วี หวีขนแต่ละขา้ งให้เยยี ดลง

การดแู ลขนสนุ ัขพันธุข์ นยาว 4. เลม็ ขนทย่ี าวรอบเท้า โดยเฉพาะขนระหวา่ งน้วิ ซง่ึ เปน็ บรเิ วณทม่ี กั มสี ิ่ง สกปรกและสงิ่ แปลกปลอมเข้าไปสะสม 5. เลม็ ขนทยี่ าวรอบหู 6. ขนทยี่ าวเหนอื ตา ควรเลม็ ออกหรือรวบขนไว้ 7. เล็มขนบรเิ วณข้อขา เพือ่ ป้องกนั การพนั กนั ของขนท่ยี าว

การดูแลขนสนุ ัขพนั ธข์ุ นยาว • สนุ ขั ทมี่ ีขนยาวคล้ายเสน้ ไหม เชน่ พนั ธย์ุ อรก์ ไชรเ์ ทอรเ์ รีย จะไมม่ ีขน ชั้นใน ดังน้ัน ในขณะทแ่ี ปรงขนจงึ ต้องระมดั ระวงั อย่าให้ขนแปรงขีดขว่ น และระคายผิวหนัง • สุนขั ท่ขี นยาวและมีขนช้ันในทีแ่ น่นหนา เชน่ พนั ธ์ุคอลลี พนั ธุ์เชตแลนด์ ชีพด็อก ต้องดแู ลและแปรงขนอย่างสมา่ เสมอ เพราะขนจะพันกันไดง้ ่าย

การดูแลผวิ หนังขน้ั ต้น • การดูแลและทาความสะอาดใบหนา้ – ควรตรวจดผู ิวหนัง หู ตา เหงือก ฟัน ของสุนัขเปน็ ประจา โดยเฉพาะสนุ ขั พนั ธท์ุ ่มี ผี วิ หนงั ยน่ มาก • หสู ะอาด ขนไมย่ าวเกินไป ไมม่ ขี ห้ี ูเกรอะกรัง • ตาใสสะอาด ไมม่ ขี ีต้ า » จมกู เปยี กช้ืนและเยน็ » ผวิ หนังสะอาด ไม่มบี าดแผล » ฟันไม่มหี นิ ปนู » เหงือกไมม่ ีแผลหรอื ติดเช้อื

การดแู ลผิวหนังข้ันตน้ • วิธที าความสะอาดใบหนา้ 1. ใชส้ าลีชุบนา้ บดิ ใหแ้ หง้ เช็ดขอบตา ถ้าพบวา่ มขี ี้ตามากผิดปกติ หรือมตี า อักเสบ ควรปรึกษาสัตวแพทย์ ควรใชส้ าลใี หม่สาหรับตาแต่ละขา้ ง 2. ทาความสะอาดบริเวณใบหแู ละซอกหู ไมค่ วรใช้วัสดใุ ด ๆแทงลกึ เข้าไปในหู 3. ทาความสะอาดบริเวณผวิ หนงั ทพ่ี บั ย่นของใบหนา้ เพ่อื ป้องกนั การสะสมของสงิ่ สกปรก กาจัดเซลล์ผิวหนงั ทีต่ ายแล้ว

การทาความสะอาดฟัน • ควรตรวจสภุ าพฟันและเหงอื กของสนุ ัขอยา่ งสม่าเสมอ • เพ่อื ให้แน่ใจวา่ ไม่มปี ัญหาเหงอื ก หรือหนิ ปูน • แปรงฟนั โดยใชแ้ ปรงที่มีขนนุ่ม • อาจใช้น้าเกลอื เจือจางหรอื ยาสีฟันสาหรบั สุนขั ในการแปรงฟัน ไม่ควรใช้ยาสี ฟนั สาหรับมนุษย์ » แปรงฟนั ใหส้ ุนขั อยา่ งนิม่ นวล

การตัดเล็บสุนขั • ปกติสุนขั จะมีการฝนเลบ็ เท้าตัวเอง ทาให้เลบ็ ไม่ยาวเกินไป • หากสุนัขมเี ล็บยาวอาจทาใหเ้ กดิ การบาดเจ็บและตดิ เชอ้ื ตามมาได้ • จึงควรตดั เลบ็ สนุ ัข ด้วยกรรไกรตดั เลบ็ สาหรับสุนัข โดยมวี ิธกี ารดงั นี้ » จับนิว้ สนุ ัขแยกออกจากกนั ตรวจส่ิงแปลกปลอมและสกปรก ระหว่างน้ิว เช็ดโดยใช้สาลชี ุบนา้ บดิ ใหแ้ หง้ » ตัดเล็บดว้ ยความระมัดระวงั ตะไบปลายเล็บใหเ้ รียบ » การตดั เลบ็ ตอ้ งไม่ตดั ลึกถงึ บริเวณสชี มพู (nail bed) เพราะ มีเสน้ เลือดและเสน้ ประสาทมาเล้ียง » หากไมแ่ น่ใจควรให้สตั วแพทยเ์ ป็นผู้ตัดให้

การตดั เลบ็ สนุ ขั

การอาบน้าสนุ ัข • ช่วยกาจัดส่งิ ไม่พึงประสงค์ • กาจัดพยาธิภายนอกบางชนิด • ปรบั สภาพผิวหนังทแ่ี หง้ หรอื มันจนเกนิ ไป • ควรใชแ้ ชมพทู ี่เหมาะสมกับขนและผิวหนงั ของสนุ ขั และไมร่ ะคายเคอื งตา • แชมพูท่ลี า้ งออกไมห่ มดจะสร้างความระคายเคอื งต่อสนุ ัข ทาให้คันและสุนัข อาจจะเกาจนเป็นแผลได้ » ควรใช้สาลกี ้อนอุดหสู ุนขั ไว้ในขณะอาบนา้ » หลังอาบนา้ ต้องเชด็ ขนให้แหง้ ในสนุ ัขที่ผิวหนงั ปกติสามารถ ใชเ้ คร่ืองเป่าผมชว่ ยได้ โดยใชอ้ ณุ หภูมปิ านกลาง และเป่าลม ออกนอกตัวสนุ ัข

การสงั เกตอาการเจบ็ ปว่ ยเบ้อื งตน้

การสังเกตอาการเจ็บปว่ ยเบ้อื งตน้ • เนือ่ งจากสนุ ขั ไมส่ ามารถบอกได้วา่ กาลงั เจ็บปว่ ย • เจา้ ของจงึ ต้องหมั่นสงั เกตพฤตกิ รรมหรอื อาการผิดปกตขิ องสุนขั • ขอ้ มูลจากการบอกเลา่ ของเจา้ ของสุนขั จะชว่ ยใหส้ ตั วแพทย์วินิจฉัยหา สาเหตขุ องโรคไดถ้ ูกทาง • เจา้ ของจงึ ต้องหมน่ั สงั เกตพฤตกิ รรมหรอื อาการเจบ็ ปว่ ยเบอื้ งตน้ ของ สนุ ัข - อาการที่มักพบเสมอเมอ่ื สนุ ัขมีความเจ็บปว่ ย ไดแ้ ก่ ซมึ เบือ่ อาหาร ออ่ นแรง ซบู ผอม เปน็ ต้น

การสงั เกตอาการเจ็บป่วยเบ้ืองตน้ ความผดิ ปกติของตา • ความผิดปกตขิ องตาอาจเกดิ ได้จากหลายสาเหตุ • การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้นึ ในตา มักบ่งบอกว่าสนุ ัขกาลงั มีปญั หาสขุ ภาพ เช่น แววตาเซ่อื งซึม, ตาแดง, มขี ้ีตามากผิดปกต,ิ ตาดาขนุ่ , นา้ ตาไหล มากผิดปกติ - สงั เกตการมองเห็นของสนุ ัขจากพฤตกิ รรมท่ีเปลย่ี นไป

การสังเกตอาการเจ็บป่วยเบื้องตน้ ความผิดปกตขิ องจมูกและระบบหายใจ • จมกู ของสนุ ขั ควรจะมคี วามชุ่มช้นื และเยน็ อยู่เสมอ • หากจมกู แห้งหรอื ร้อนกวา่ ปกติ แสดงถงึ ความผิดปกตขิ องสนุ ขั • ความผดิ ปกตอิ น่ื ๆ ทอี่ าจจะพบ เชน่ มนี า้ มูกไหล, มเี ลือดกาเดาไหล, มี หนองไหลออกมาจากโพรงจมูก, จมกู บวม เปน็ ต้น - ไอ หรือ จาม อย่างต่อเนอื่ งและรุนแรง - กรน - ความผิดปกตขิ องการหายใจ (จังหวะ, เสยี ง)

การสังเกตอาการเจ็บป่วยเบ้อื งต้น ความผดิ ปกตขิ องหู • หเู ป็นอวัยวะทตี่ ดิ เชอ้ื ได้งา่ ย โดยเฉพาะสนุ ัขพันธ์ุทใ่ี บหูใหญแ่ ละห้อยปรกลงมา • เน่ืองจากความอบั ชืน้ ในรูหูจะเออ้ื ต่อการเจริญเตบิ โตของเชอ้ื โรค • หทู ผ่ี ิดปกตจิ ะมีกล่นิ เหม็น มีขี้หูมากกว่าปกติ ขหี้ มู สี ีน้าตาลเข้มหรอื สดี า อาจจะมีหนองหรอื เลอื ดไหลออกมาจากรหู ู – สนุ ัขแสดงอาการคันหู โดยการเกาหรู ว่ มกบั การสะบัดหัวอยา่ ง รุนแรง ซง่ึ จะตามมาดว้ ยการบวมของใบหู – หหู นวก

การสังเกตอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ความผดิ ปกติของช่องปาก • ฟนั ของสุนขั ปกตคิ วรจะขาวสะอาด ไมส่ กึ กรอ่ นและไม่มคี ราบหนิ ปนู • เหงือกทป่ี กติควรมีสีชมพู หากเหงือกมสี ซี ดี อาจจะหมายถึงสนุ ัขเกิด ภาวะโลหิตจาง หรือเหงอื กมีสเี หลือง หมายถงึ มคี วามผดิ ปกติของตับ • ชอ่ งปากของสุนขั ที่มสี ุขภาพดี ไม่ควรมีกลนิ่ ปากรนุ แรง หากมกี ลน่ิ ปากรุนแรงอาจจะหมายถงึ มีการตดิ เช้อื ภายใน ช่องปาก และหากมีกล่นิ ปากรว่ มกับมีแผลในชอ่ งปาก อาจจะบ่งบอกไดถ้ งึ ภาวะความผดิ ปกติของไต

การสังเกตอาการเจ็บปว่ ยเบื้องตน้ ความผดิ ปกตขิ องชอ่ งปาก • สังเกตคราบหนิ ปนู และ การอักเสบของเหงอื ก

การสังเกตอาการเจ็บปว่ ยเบื้องตน้ ความผิดปกตขิ องผวิ หนังและขน • การเกา & ขนรว่ ง • การอักเสบของผิวหนัง : ตมุ่ หนอง ฝี • การเปล่ยี นแปลงของผิวหนงั : หนาตวั เปลี่ยนสี • ผวิ หนงั ปดู โปน

การสงั เกตอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ความผดิ ปกตขิ องระบบทางเดินอาหาร • เบ่ืออาหาร • อาเจยี นเปน็ คร้ังคราว, อาเจยี นบอ่ ย • ทอ้ งเสียหรือทอ้ งผูก ความผิดปกตขิ องกระดกู กล้ามเนื้อและขอ้ ต่อ » ขาหนา้ เดนิ กะเผลก » ขาหลงั เดนิ กะเผลก » ปวดบรเิ วณขอ้ ต่อต่าง ๆ » อมั พาต

การสังเกตอาการเจ็บป่วยเบอื้ งต้น ความผิดปกติของระบบสบื พันธุ์ • ผสมพันธไุ์ มต่ ิด • มขี องเหลวออกจากช่องคลอด • เต้านมขยายใหญ่ ความผดิ ปกติของระบบขับถา่ ยปัสสาวะ - ปวดขณะถ่ายปสั สาวะ - ปัสสาวะกะปริบกะปรอย - ปสั สาวะมากหรือนอ้ ยผิดปกติ

Thank You for Your Attention


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook